สารบัญ
19 ความสัมพันธ์: ชัย มุกตพันธุ์พจน์ สารสินกระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)ม่านไผ่ราชอาณาจักรกัมพูชา (พ.ศ. 2497–2513)รายชื่อสนธิสัญญาลำดับเหตุการณ์คณะราษฎรสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมาคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีสุภา สิริสิงหสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซียทำเนียบรัฐบาลไทยขบวนการนวพลคมน์ อรรฆเดชประวัติศาสตร์ไทย (พ.ศ. 2475–2516)ประเทศไทยโมฮัมหมัด อัยยุบข่านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ชัย มุกตพันธุ์
ตราจารย์ ชัย มุกตพันธุ์ (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2460-25 พฤษภาคม พ.ศ. 2530) เป็นนักวิชาการชาวไทยซึ่งได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งวิชาปฐพีกลศาสตร์แห่งประเทศไทย ในอดีตเป็นเลขาธิการราชบัณฑิตยสถาน อธิบดีกรมอาชีวศึกษา คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลงานสำคัญชิ้นหนึ่งคือ ร่วมเป็นผู้แทนของประเทศไทยในการก่อตั้ง บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร.ป.อ.
ดู องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และชัย มุกตพันธุ์
พจน์ สารสิน
น์ สารสิน (25 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 28 กันยายน พ.ศ. 2543) นายกรัฐมนตรีคนที่ 9 ของประเทศไทย นายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไทยที่เป็นพลเรือนในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช, อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ แต่ภายหลังได้ลาออกเนื่องจากมีความเห็นขัดแย้งกับรัฐบาลเกี่ยวกับการรับรองรัฐบาลเบาได๋ แห่งเวียดนามใต้ และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริก.
ดู องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และพจน์ สารสิน
กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)
กระทรวงการต่างประเทศ (Ministry of Foreign Affairs) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการต่างประเทศและราชการอื่น ตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงการต่างประเทศ หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงการต่างประเท.
ดู องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และกระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)
ม่านไผ่
ม่านไม้ไผ่ ปี ค.ศ. 1959 แสดงเป็นเส้นสีดำ ประเทศที่มีรัฐบาลคอมมิวนิสต์ที่อยู่ทางตอนเหนือของม่านไม้ไผ่เป็นสีแดง สมาชิกซีโต้ที่อยู่อีกฝั่งหนึ่งเป็นสีน้ำเงิน ประเทศที่เป็นกลางเป็นสีเทา ม่านไผ่ (Bamboo Curtain) เป็นเส้นแบ่งเขตทางอุดมการณ์ในทวีปเอเชีย นับแต่ชัยชนะของสาธารณรัฐประชาชนจีนในสงครามกลางเมืองจีนบนแผ่นดินใหญ่ในปี..
ดู องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และม่านไผ่
ราชอาณาจักรกัมพูชา (พ.ศ. 2497–2513)
ราชอาณาจักรกัมพูชา ในช่วง..
ดู องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และราชอาณาจักรกัมพูชา (พ.ศ. 2497–2513)
รายชื่อสนธิสัญญา
การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.
ดู องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และรายชื่อสนธิสัญญา
ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร
ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎรแสดงรายการเหตุการณ์สำคัญนับตั้งแต่การก่อตั้งคณะราษฎรในปี 2469 จนหมดอำนาจในปี 2503 เหตุการณ์ปฏิวัติสยามเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 เป็นเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ไทย และทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์ที่เคยเป็นผู้ปกครองสูงสุดของประเทศมาช้านานเสียอำนาจส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงดังกล่าวใน..
ดู องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ทำเนียบเลขาธิการอาเซียน ที่ประเทศอินโดนีเซีย สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) เป็นองค์การทางภูมิรัฐศาสตร์และเศรษฐกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ไทย บรูไน พม่า ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย อาเซียนมีพื้นที่ราว 4,479,210 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 625 ล้านคน ในปี..
ดู องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
สมาคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
มาคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South-East Asia; ASA) เป็นการจัดตั้งองค์กรเพื่อแสดงความร่วมมือในภูมิภาค ตั้งขึ้นเมื่อ 31 กรกฎาคม..
ดู องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และสมาคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นหน่วยงานย่อยของ สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีอำนาจไม่รวมส่วนราชการที่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี แต่ขึ้นตรงกับนายกรัฐมนตรี.
ดู องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
สุภา สิริสิงห
ริสิงห (13 สิงหาคม พ.ศ. 2488 -) นักเขียนชาวไทย เจ้าของนามปากกา "โบตั๋น" ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..
ดู องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และสุภา สิริสิงห
สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย
ันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (Asian Institute of Technology) หรือ เอไอที เป็นสถาบันการศึกษาที่มีสถานะเป็นองค์การระหว่างประเทศ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.
ดู องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย
ทำเนียบรัฐบาลไทย
ทำเนียบรัฐบาล เป็นสถานที่ราชการสำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย เนื่องจากเป็นสถานที่ทำงานของรัฐบาลไทย นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ตลอดจนข้าราชการและเจ้าหน้าที่ ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี, สถานที่ประชุมคณะรัฐมนตรี, สถานที่ต้อนรับบุคคลสำคัญระดับผู้นำต่างประเทศ ซึ่งมาเยือนประเทศไทย และยังใช้เป็นสถานที่จัดรัฐพิธี เช่น งานสโมสรสันนิบาตเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ เป็นต้น ตั้งอยู่เลขที่ 1 ถนนพิษณุโลก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 2 ไร่ 3 งาน 44 ตารางว.
ดู องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และทำเนียบรัฐบาลไทย
ขบวนการนวพล
นวพล เป็นขบวนการที่จัดตั้งตามแผนปฏิบัติการของกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน (กอ.รมน.) ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี 2517 โดยมี ดร.
ดู องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และขบวนการนวพล
คมน์ อรรฆเดช
มน์ อรรฆเดช (26 มีนาคม พ.ศ. 2489 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2555) อดีตนักแสดง, ผู้กำกับภาพยนตร์ และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ชาวไท.
ดู องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และคมน์ อรรฆเดช
ประวัติศาสตร์ไทย (พ.ศ. 2475–2516)
ประวัติศาสตร์ไทยตั้งแต..
ดู องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประวัติศาสตร์ไทย (พ.ศ. 2475–2516)
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ดู องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศไทย
โมฮัมหมัด อัยยุบข่าน
มฮัมหมัด อัยยุบข่าน จอมพลโมฮัมหมัด อัยยุบข่าน (Mohammad Ayub Khan; محمد ایوب خان) เป็นผู้นำทางทหารและการเมืองในปากีสถาน เขาทำรัฐประหารยึดอำนาจรัฐในเดือนตุลาคม..
ดู องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และโมฮัมหมัด อัยยุบข่าน
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.
ดู องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
หรือที่รู้จักกันในชื่อ SEATOSoutheast Asia Collective Defense Treatyสนธิสัญญามะนิลาสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สนธิสัญญาเพื่อการป้องกันร่วมกันของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซีโต้