เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์

ดัชนี ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์

ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ (Dexter's Laboratory) เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของสหรัฐอเมริกา ผลิตโดย Gendy Tatakovsky โดยค่าย Hanna-Barbera Cartoons ในปี 1996-1998 และเปลี่ยนมือมาเป็น Cartoon Network Studios ในปี 2001-2003 ฉายทั่วโลกผ่านทางช่อง Cartoon Network และทางยูบีซีช่อง 29 (ปัจจุบันทรูวิชั่นส์ ช่อง 44) สำหรับประเทศไทย ปัจจุบันออกอากาศที่ช่องบูมเมอแรง ช่อง 89 เรื่องราวของห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ เป็นเรื่องราวของเด็กซ์เตอร์ เด็กอัจฉริยะ ผู้ซึ่งมีสติปัญญาเหนือเด็กทั่วไป เขามีห้องทดลองลับอยู่ในห้องนอนของเขา โดยในแต่ละตอนเขามีหน้าที่ปกป้องห้องทดลองของเขาจากดีดี พี่สาวตัวร้าย และต้องไม่ให้พ่อกับแม่รู้เรื่องนี้อีกด้ว.

สารบัญ

  1. 10 ความสัมพันธ์: บูมเมอแรง (สถานีโทรทัศน์)บูมเมอแรง (ประเทศไทย)การ์ตูนเน็ตเวิร์คการ์ตูนเน็ตเวิร์คเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มอริส ลาเมิร์กรายชื่อการ์ตูนทีวีแอนิเมชันอะยุมิ คิดะแรนดี ซาเวจเจฟ เบนเนตเนิร์ด

บูมเมอแรง (สถานีโทรทัศน์)

นี่เป็นเพียงบูมเมอแรงข้อมูลศูนย์กลาง สำหรับช่องบูมเมอแรงในประเทศไทยดูที่ บูมเมอแรง ไทย (สถานีโทรทัศน์) บูมเมอแรงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ดูที่ บูมเมอแรง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บูมเมอแรง (Boomerang) เป็นสถานีโทรทัศน์การ์ตูนของเทิร์นเนอร์บรอดแคสติง ในเครือของ ไทม์ วอร์เนอร์ เป็นช่องการ์ตูนที่แยกออกมากจากช่อง การ์ตูนเน็ตเวิร์ค ฉายการ์ตูนคลาสิกที่เคยฉายทางการ์ตูนเน็ทเวิร์คนำกลับมาฉาย อาทิเช่น ลูนี่ย์ตูน ป๊อปอาย ฟริ้นสโตน แจ็คสัน สกูปี้-ดู บูมเมอแรงได้เริ่มต้นแพร่ภาพเมื่อวันที่ 1 เมษายน..

ดู ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์และบูมเมอแรง (สถานีโทรทัศน์)

บูมเมอแรง (ประเทศไทย)

ูมเมอแรง ประเทศไทย หรือมักเรียกกันว่า ช่องบูม เป็นสถานีโทรทัศน์การ์ตูนของประเทศไทย ออกอากาศภาคภาษาไทยอย่างเต็มรูปแบบ ผลิตโดย บริษัท เอ็ม เทิร์นเนอร์ จำกัด นำเสนอการ์ตูนที่เคยออกอากาศทางการ์ตูนเน็ตเวิร์คมาแล้ว มีรูปแบบมาจากบูมเมอแรง สหรัฐอเมริกา ออกอากาศผ่านดาวเทียมTHAICOM 6A ผ่านกล่องรับสัญญาณที่มีระบบถอดรหัสสัญญาณ เริ่มออกอากาศเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2556.

ดู ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์และบูมเมอแรง (ประเทศไทย)

การ์ตูนเน็ตเวิร์ค

การ์ตูนเน็ตเวิร์ค เป็นช่องสถานีโทรทัศน์เคเบิลของสหรัฐอเมริกา ภายใต้การบริหารของเทิร์นเนอร์บรอดแคสติง ซึ่งแพร่ภาพการ์ตูนแอนิเมชันเป็นหลัก การ์ตูนเน็ตเวิร์คเริ่มต้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.

ดู ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์และการ์ตูนเน็ตเวิร์ค

การ์ตูนเน็ตเวิร์คเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

นี่เป็นเพียงข้อมูลของช่องการ์ตูนเน็ตเวิร์คเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำหรับข้อมูลศูนย์กลางดูที่ การ์ตูนเน็ตเวิร์ค การ์ตูนเน็ตเวิร์คเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นช่องสถานีโทรทัศน์ ที่ออกฉายในประเทศไทย จีน เกาหลีใต้ ฮ่องกง เวียดนาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ และมัลดีฟส์ โดยมีต้นแบบมาจากการ์ตูนเน็ตเวิร์คของสหรัฐอเมริกา ภายใต้การบริหารของเทิร์นเนอร์บรอดแคสติง บริษัทในเครือของไทม์ วอร์เนอร์ ซึ่งมีสำนักงานศูนย์อยู่ที่ฮ่องกง เริ่มต้นออกอากาศเมื่อ 8 มิถุนายน พ.ศ.

ดู ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์และการ์ตูนเน็ตเวิร์คเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

มอริส ลาเมิร์ก

thumb มอริส ลาเมิร์ก (Maurice LaMarche) เกิดเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2501 ที่เมืองโทรอนโต รัฐออนแทรีโอ ประเทศแคนาดา เป็นนักพากย์ชาวแคนาดา เรื่องที่พากย์ได้แก.

ดู ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์และมอริส ลาเมิร์ก

รายชื่อการ์ตูนทีวีแอนิเมชัน

รายชื่อของการ์ตูนทีวีแอนิเมชัน ตั้งแต..

ดู ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์และรายชื่อการ์ตูนทีวีแอนิเมชัน

อะยุมิ คิดะ

อะยุมิ คิดะ (喜田 あゆ美 Kida Ayumi; เกิดเมื่อวันที่  7 มิถุนายน ค.ศ. 1966) เป็นนักแสดงหญิงและนักพากย์ชาวญี่ปุ่น.

ดู ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์และอะยุมิ คิดะ

แรนดี ซาเวจ

แรนดี มาริโอ พอฟโฟ (Randy Mario Poffo) (15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1952 - 20 พฤษภาคม ค.ศ. 2011) อดีตนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกันของWWFในชื่อ แรนดี ซาเวจ (Randy Savage) ปัจจุบันได้เสียชีวิตลงด้วยวัย 58 ปี และได้เข้าสู่หอเกียรติยศดับเบิลยูดับเบิลยูอีประจำปี 2015.

ดู ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์และแรนดี ซาเวจ

เจฟ เบนเนต

ฟ เกลน เบนเนต (Jeffrey Glenn Bennett หรือชื่อเดิม Jeffrey Glenn Bennett) เกิดเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม, 2505 ที่เมืองเบอร์แบงก์ รัฐแคลิฟอร์เนีย เป็นนักพากย์ภาพยนตร์ การ์ตูน และเกม เรื่องที่พากย์ได้แก.

ดู ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์และเจฟ เบนเนต

เนิร์ด

นิร์ด หรือ เหนิด (Nerd) หมายถึง “​คนที่ทำ​อะ​ไร​ด้วย​ความ​ชอบ​เป็น​หลัก​” หรืออาจกล่าวได้ว่า ​คือ คนที่​ใช้​เหตุผล​และ​ตัดสินใจบนพื้นฐานของ​ความ​ชอบ​หรือ​ความ​หมกมุ่น ไม่​ใช่​เป้าหมาย​อื่น ๆ ​เช่น​ เรื่องของ​เงินทอง​​หรือ​การได้การยอมรับ​จาก​สังคม ​แนวคิดที่ว่า​​ความ​ชอบ​ส่วน​ตัวควร​เป็น​แรงบันดาลใจ​ใน​การตัดสินใจทุกอย่าง​ใน​ชีวิต​นับ​เป็น​ “​หลักการเบื้องต้น​” ของคนในกลุ่มนี้ ทำให้ลักษณะการใช้ชีวิตของคนกลุ่มนี้แตกต่างจากคนทั่วไปอย่างเห็นได้ชัด​ เนิร์ดมักจะเป็นผู้ที่งุ่มง่าม ขี้อายและไม่มีเสน่ห์ดึงดูด เนิร์ด ในความหมายปัจจุบันนั้น หมายถึง คนที่มุ่งพัฒนา​ความ​สนใจเฉพาะด้าน​มากกว่า​จะ​สนใจทำ​ตัวตาม​ความ​คาดหวังของสังคม​ (conformity) ​คนกลุ่มนี้มักมีทักษะ ​(​โดย​เฉพาะด้านเทคนิค) และ​จินตนาการสูง และเห็นว่าเรื่องที่ตนเองสนใจ​ มีความสำ​คัญกว่าการได้รับความยอมรับ​จาก​สังคม​ นิยามนี้​ยัง​ใช้​เรียกคนที่คน​ส่วน​ใหญ่​มองว่าฉลาดหลักแหลมกว่าคนธรรมดามาก เนิร์ด มักจะชอบ​ความ​แปลก​ใหม่​และ​ของ​ใหม่ ๆ​ ใช้​คอมพิวเตอร์คล่อง ​(แม้อาจ​ไม่​ถึง​ขั้นเขียนโปรแกรม​เป็น)​ มักมีทักษะในโลกอินเทอร์เน็ตสูง ​ นอกจากนั้น เนิร์ด ยังหมายถึงคนที่ทุ่มเท​ความ​สนใจ​กับ​อะ​ไรสักอย่าง​ ​จน​ถึง​ระดับที่ทำ​ให้​อยู่​นอก​ “​กระ​แสหลัก​” ​ของสังคม​ ในสมัยนี้มีคำอีกคำที่พัฒนาขึ้นมาในความหมายเฉพาะ อีกคำ คือ Geek ​นิยามของ Geek นี้กว้างมาก​ ​เพราะเมื่อเรา​พูด​ถึง​หัวข้อ​ความ​สนใจ​เป็น​หลัก​แล้วมันจะครอบคลุมวิชาการแทบทุกเรื่อง ไปถึงความสนใจพิเศษในทุกเรื่องที่เกิดความชื่นชอบและสนใจ จึง​ครอบคลุมตั้งแต่​​คณิตศาสตร์​, เครื่องบิน​, ดนตรี​, คอมพิวเตอร์​, ​วิทยาศาสตร์​, ​ภาพยนตร์​, การ์ตูนญี่ปุ่น​ และแอนิเมชัน, ละคร​, ประวัติศาสตร์​, เกมคอมพิวเตอร์​, ภาษา​, การเมือง​​, เศรษฐศาสตร์​, กล้องถ่ายรูป ฯลฯ​ ​ เนิร์ด ในสมัยก่อน มักใช้​ใน​ความ​หมายเชิงลบ​ ใช้​เรียกคนที่​ไม่​มีทักษะ​ใน​การ​เข้า​สังคม​ ​ไม่​ว่า​จะ​ฉลาด​หรือ​ไม่​ ​ความ​หมายนี้​เหมือน​กับ​ศัพท์​แสลงอังกฤษอีกคำ​คือ​ “dork” ​แต่ตอนนี้​เมื่อ เนิร์ด และ geek “​เท่​” ​กว่าสมัยก่อนมาก​แล้ว​ ​คนที่​เข้า​สังคม​ไม่​เป็น​จึง​เรียกว่า​ dork ​อย่างเดียว​ ​ไม่​ใช่​ geek หรือ เนิร์ด อีกต่อไป เนิร์ด สำหรับคนสายหัวเก่า เดิมหมายถึง คนที่ปกติจะขลุกอยู่กับคอมพิวเตอร์ หรือเรื่องที่คนอื่นเห็นว่าไม่น่าสนใจ เนิร์ดจะหมายถึงกลุ่มบุคคลที่มีระดับสติปัญญาสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน สนใจในสิ่งที่สังคมทั่วไปไม่สนใจกัน (โดยมากจะเป็นเรื่องวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์) คำนี้ใช้กันแพร่หลายที่สุดในสหรัฐอเมริกา แต่ก็มีใช้ไม่น้อยในประเทศที่พูดภาษาอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่ในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1990 เนิร์ดจำนวนมากบนโลกอินเทอร์เน็ต ถือเอาคำนี้เสมือนเหรียญตราแห่งความภูมิใจ และเริ่มใช้มันในความหมายแง่บวก เพื่ออธิบายถึงบุคคลที่มีความสามารถทางด้านเทคนิค ถึงแม้ว่าดั้งเดิมแล้วคำว่า "เนิร์ด" และ "กี๊ก" (geek) จะใช้เรียกผู้ชาย แต่ผู้หญิงจำนวนมากที่สนใจในเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และสาขาวิชาอื่น ๆ ที่ปกติจะมีแต่ผู้ชาย ก็เริ่มรับเอาสองคำนี้ไปใช้เสมือนหนึ่งตราแห่งความสำเร็จด้วย ในภาษาไทย อาจใช้คำว่าหนอนหนังสือเพื่ออธิบายเนิร์ดได้ แต่ก็ไม่ได้ให้ความหมายที่ตรงเท่าไรนัก หรือจะใช้คำว่า "แฟนพันธุ์แท้" ก็น่าจะเห็นภาพได้ครอบคลุมกว่า ภาพลักษณ์ของเนิร์ดในสื่อมวลชนและการ์ตูน มักจะเป็นชายหนุ่มใส่แว่นหนากรอบดำ (ที่มักจะแตกและแปะด้วยเทปพันสายไฟ) มีไม้โปรเทกเตอร์ติดกระเป๋า สวมกางเกง "high-water pants" และเสื้อเชิ้ตหรือชุดที่มักจะเป็นทางการเกินไป และบางครั้งภาพที่ออกมาก็มักจะเป็นคนที่ไม่ดูแลความสะอาดของตัวเอง และถ้าไม่ผอมแห้งก็จะอ้วนฉุไปเลย ภาพของเนิร์ดมักจะเป็นคนที่เข้าสังคมไม่คล่อง ไม่สามารถสนทนาเรื่องที่ไม่ใช่เรื่องเทคนิคกับคนอื่น ๆ ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับสาวสว.

ดู ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์และเนิร์ด

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Dexter's Laboratory