โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)

ดัชนี หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)

หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) (Film Archive (Public Organization)) เป็นหน่วยงานของรัฐ ซึ่งคล้ายกับหอสมุด พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ แต่เป็นหอสมุด พิพิธภัณฑ์ และหอศิลป์ ที่เก็บภาพยนตร์และวีดิทัศน์ ตลอดจนอะไรก็ตาม ที่เกี่ยวเนื่องกับภาพยนตร์และวีดิทัศน์ ทั้งนี้เพื่อ อนุรักษ์ไว้เป็นทรัพย์สินทางปัญญาและมรดกทาง ศิลปวัฒนธรรมของชาติ และนำออกบริการ ให้ประชาชนได้ศึกษา ค้นคว้าและชื่นชม หรือใช้ประโยชน์อย่างสะดวกและกว้างขวาง ภาพยนตร์ เป็นสื่อแห่งการเรียนรู้ที่ดีที่สุดอย่างหนึ่งของมนุษย์ และอาจยังให้เกิดปัญญาได้ ภาพยนตร์จึงอาจเปรียบดังศาสนา หอภาพยนตร์ก็คือ วัด ซึ่งมีโรงหนังเป็นโบสถ์ มีพิพิธภัณฑ์เป็นวิหาร หรือเจดีย์ มีห้องเย็นเก็บรักษาฟิล์มเป็นหอไตร มีศูนย์ให้บริการ ค้นคว้าเป็นศาลาการเปรียญ ตราใหม่ของหอภาพยนตร์ คือ ธรรมจักรภาพยนตร์ ซึ่งหมุนวนไปเพื่อเผยแผ่สัจธรรม สำหรับมวลมนุษย์ หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)เป็นองค์การมหาชนของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งหอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)..

38 ความสัมพันธ์: พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระปรางค์สามยอดพระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์)พันท้ายนรสิงห์ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2493)กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)ภาพยนตร์ไทยภาพยนตร์เสียงศรีกรุงมรดกภาพยนตร์ของชาติมูลนิธิหนังไทยมนต์รักลูกทุ่งยามเมื่อแสงดับลารัตน์ เปสตันยีรายชื่อรางวัลที่ธงไชย แมคอินไตย์ได้รับรายชื่อองค์การมหาชนสมโพธิ แสงเดือนฉายสุพรรณ บูรณะพิมพ์สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์สุเชาว์ พงษ์วิไลอำเภอพุทธมณฑลจดหมายเหตุธัญญ์วาริน สุขะพิสิษฐ์ธงทอง จันทรางศุธงไชย แมคอินไตย์ถนนพุทธมณฑล สาย 5นางสาวสุวรรณแมลงรักในสวนหลังบ้านแสงศตวรรษแหวนวิเศษแผลเก่าแผ่นดินของใครแท้ ประกาศวุฒิสารโรงแรมนรกโผน กิ่งเพชรโดม สุขวงศ์เพิ่มพล เชยอรุณเรือนแพ (ภาพยนตร์)เจนภพ จบกระบวนวรรณ100 ภาพยนตร์ไทยที่คนไทยควรดู

พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

นตร์ข่าวเรื่อง "พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว" เป็นภาพยนตร์ข่าวซึ่งผลิตโดยกองภาพยนตร์เผยแผ่ข่าว กรมรถไฟหลวง จัดทำขึ้นโดยได้รับพระบรมราชานุญาตเพื่อจำหน่ายแก่ผู้สนใจเก็บไว้เป็นที่ระลึก รายละเอียดของภาพยนตร์ชุดนี้เป็นการบันทึกเหตุการณ์ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อปลายปี พ.ศ. 2468 นับเป็นครั้งแรกที่มีการบันทึกภาพยนตร์พระราชพิธีสำคัญตามโบราณราชประเพณีของไทย ทั้งนี้ วันที่มีการบันทึกภาพยนตร์ข่าวพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในครั้งนั้นมีทั้งหมด 4 วัน ได้แก.

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระปรางค์สามยอด

ระปรางค์สามยอด จังหวัดลพบุรี เป็นโบราณสถานและ แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีที่สำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดลพบุรี ลักษณะเป็นปราสาทขอมในศิลปะบายน (พ.ศ. 1720 - 1773) โครงสร้างเป็นศิลาแลงประดับปูนปั้น สร้างขึ้นในรัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (ครองราชย์ พ.ศ. 1724 - ประมาณ 1757) เพื่อเป็นพุทธสถานในลัทธิวัชรยานประจำเมืองละโว้หรือลพบุรี ซึ่งในขณะนั้นเป็นเมืองลูกหลวงของอาณาจักรขอม แต่เดิมภายในปราสาทประธานประดิษฐานพระพุทธรูปนาคปรกทรงเครื่อง ปราสาททิศใต้ประดิษฐานรูปพระโลเกศวร (พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร) สี่กร และปราสาททิศเหนือประดิษฐานรูปพระนางปรัชญาปารมิตาสองกร พระปรางค์สามยอดในอดีต (ด้านทิศตะวันออก).

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และพระปรางค์สามยอด · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์)

ระเจ้าช้างเผือก (The King of the White Elephant) เป็นภาพยนตร์ไทยขาวดำ ในระบบ 35 มม.

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และพระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

พันท้ายนรสิงห์ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2493)

ันท้ายนรสิงห์ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2493 ในระบบถ่ายทำฟิล์ม 16 มม.

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และพันท้ายนรสิงห์ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2493) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงวัฒนธรรม (Ministry of Culture) เป็นกระทรวงที่มีหน้าที่ดูแลเกี่ยวกับวัฒนธรรม ภาษา ศาสนา และขนบธรรมเนียมประเพณีอื่น.

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และกระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ไทย

นตร์ไทย มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกถ่ายทำในเมืองไทย คือ เรื่อง นางสาวสุวรรณ ผู้สร้าง คือ บริษัทภาพยนตร์ ยูนิเวอร์ซัล ภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้ผู้แสดงทั้งหมดเป็นคนไทย"" เว็บไซต์ rimpingfunds.com พ.ศ. 2470 ภาพยนตร์เรื่อง โชคสองชั้น เป็นภาพยนตร์ขนาด 35 มิลลิเมตร ขาว-ดำ ไม่มีเสียง ได้รับการยอมรับให้เป็นภาพยนตร์ประเภทเรื่องแสดงเพื่อการค้าเรื่องแรกที่สร้างโดยคนไทย ในช่วงหลัง พ.ศ. 2490 ถือเป็นช่วงยุคเฟื่องฟูของภาพยนตร์ไทย สตูดิโอถ่ายทำและภาพยนตร์มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น หลังจากนั้นประเทศไทยเข้าสู่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ถือเป็นช่วงซบเซาของภาพยนตร์ไทย เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง กิจการภาพยนตร์ในประเทศไทยค่อย ๆ ฟื้นคืนกลับมา ได้เปลี่ยนไปสร้างเป็นภาพยนตร์ขนาด 16 มิลลิเมตรแทน และเมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะคับขัน ภาพยนตร์ไทยหลายเรื่องได้แสดงบทบาทของตนในฐานะกระจกสะท้อนปัญหาการเมือง และสังคม ในช่วงเวลาระหว่างปี..

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์เสียงศรีกรุง

นตร์เสียงศรีกรุง หรือ ศรีกรุงภาพยนตร์ (สัญลักษณ์ พระปรางค์วัดอรุณราชวราราม) เป็นบริษัทสร้างภาพยนตร์ไทย สมัยรัชกาลที่ 7 กิจการแห่งเดียวที่สร้าง "หนังพูด" อัดเสียงลงฟิล์มขณะถ่ายทำพร้อมกัน (ซาวด์ออนฟิล์ม) ของพี่น้องตระกูลวสุวัต เจ้าของโรงพิมพ์และหนังสือพิมพ์รายวัน ศรีกรุง ซึ่งชอบเรื่องสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆตั้งแต่วัยเยาว์ นำโดย มานิต วสุวัต เจ้าของโรงถ่ายภาพยนตร์มาตรฐานสากลแห่งแรกของไทยที่ทุ่งบางกะปิ ซึ่งได้ฉายา ฮอลลีวู้ดเมืองไทย(ติดด้านหลังสยามสมาคมซึ่งถูกเพลิงไหม้ในเวลาต่อมาหรือใกล้สถานีรถไฟฟ้า ถ.อโศก ในปัจจุบัน) ถ่ายทำหนังข่าวและสารคดีที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ หลายเรื่อง ตลอดจนสร้างหนังที่มีชื่อเสียงและเพลงอมตะไว้อีกมาก รวมทั้งหนังชั้น ซูเปอร์ ใช้ทุนและฉากมโหฬาร 2 เรื่อง คือ เลือดทหารไทย และ เพลงหวานใจ ผู้นำความคิดริเริ่มใหม่และนวัตกรรม หลายๆด้านในยุคบุกเบิกของวงการหนังไท.

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และภาพยนตร์เสียงศรีกรุง · ดูเพิ่มเติม »

มรดกภาพยนตร์ของชาติ

มรดกภาพยนตร์ของชาติ เป็นโครงการของหอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) เพื่อขึ้นทะเบียนภาพยนตร์ที่มีคุณค่าของชาติและเสี่ยงต่อการสูญเสีย โดยโครงการจะจัดขึ้นทุกปี และจะประกาศรายชื่อภาพยนตร์ปีละ 25 เรื่อง.

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และมรดกภาพยนตร์ของชาติ · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิหนังไทย

มูลนิธิหนังไทย (Thai Film Foundation) เป็นมูลนิธิเพื่อเก็บรวบรวมประวัติและภาพยนตร์ของประเทศไท.

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และมูลนิธิหนังไทย · ดูเพิ่มเติม »

มนต์รักลูกทุ่ง

มนต์รักลูกทุ่ง เป็นภาพยนตร์ไทยที่สร้างมาจากบทประพันธ์เรื่อง "มนต์รักลูกทุ่ง" ของ รังสี ทัศนพยัคฆ์ โดยใช้นามแฝงว่า "มหศักดิ์ สารากร" โดยมิตร ชัยบัญชา มีส่วนร่วมในเนื้อเรื่องด้วย คู่พระ-นาง คือไอ้คล้าว กับ ทองกวาว รับบทโดย มิตร ชัยบัญชา กับเพชรา เชาวราษฎร์ ส่วนคู่รอง คือแว่น กับบุปผา รับบทโดย ศรีไพร ใจพระ กับบุปผา สายชล ภาพยนตร์เรื่องนี้ออกฉายเมื่อวันศุกร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 ทำรายได้ถล่มทลายจากทั่วประเทศถึง 13 ล้านบาทและฉายติดต่อกันนาน 6 เดือน ที่โรงภาพยนตร์โคลีเซียม จนถึงวันที่ 2 ตุลาคม..

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และมนต์รักลูกทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ยามเมื่อแสงดับลา

มเมื่อแสงดับลา (Lucid Reminiscence) คือ ภาพยนตร์สารคดีขนาดสั้น ปี..

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และยามเมื่อแสงดับลา · ดูเพิ่มเติม »

รัตน์ เปสตันยี

รัตน์ เปสตันยี (22 พฤษภาคม พ.ศ. 2451 – 17 สิงหาคม พ.ศ. 2513) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไท.

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และรัตน์ เปสตันยี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรางวัลที่ธงไชย แมคอินไตย์ได้รับ

รางวัลที่ได้รับของ ธงไชย แมคอินไตย์ ในวงการบันเทิงประเภทรางวัลทางด้านดนตรี ละคร ภาพยนตร์ รวมทั้งรางวัลส่งเสริมภาพลักษณ์ และรางวัลอื่นๆที่ไม่เกี่ยวข้องกับผลงาน ที่ได้รับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และรายชื่อรางวัลที่ธงไชย แมคอินไตย์ได้รับ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อองค์การมหาชน

นี่คือ รายชื่อองค์การมหาชนในประเทศไทย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ องค์การมหาชนที่จัดตั้งตามพระราชบัญญัติองค์การมหาชน..

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และรายชื่อองค์การมหาชน · ดูเพิ่มเติม »

สมโพธิ แสงเดือนฉาย

มโพธิ แสงเดือนฉาย (24 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 —) เป็นผู้อำนวยการสร้าง และผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย เป็นผู้ก่อตั้งบริษัท ไชโยโปรดักชั่นส์ จำกัด มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะผู้อำนวยการสร้างและผู้กำกับภาพยนตร์ในแนวสัตว์ประหลาด, แฟนตาซี ที่ต้องใช้สเปเชียลเอฟเฟกส์ต่าง.

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และสมโพธิ แสงเดือนฉาย · ดูเพิ่มเติม »

สุพรรณ บูรณะพิมพ์

รรณ บูรณะพิมพ์ (17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2469 - 16 ตุลาคม พ.ศ. 2528) นักแสดง และผู้กำกับอาวุโส ผู้มีผลงานทั้งแสดง และกำกับละครเวที ละครโทรทัศน์ และภาพยนตร์ เคยได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง ผู้แสดงประกอบฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม 2 ปีติดต่อกัน ในปี พ.ศ. 2505 และ พ.ศ. 2506 และได้รับการยกย่อง รางวัลเกียรติคุณทางการแสดง ครั้งที่ 4 ประจำปี..

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และสุพรรณ บูรณะพิมพ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์

รสิทธิ์ สัตยวงศ์ (พ.ศ. 2466 - พ.ศ. 2526) อดีตนักร้อง นักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และสุรสิทธิ์ สัตยวงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุเชาว์ พงษ์วิไล

ว์ พงษ์วิไล เป็นนักแสดงชายเจ้าบทบาท เกิดเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2489 ที่จังหวัดลพบุรี สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยวิชาการก่อสร้าง (คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ในปัจจุบัน) เริ่มอาชีพนักแสดงด้วยการเป็นนักแสดงละครเวทีของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เมื่ออายุได้ 30 กว่าแล้ว โดยการรับบทเป็นพระเอก ต่อมาละครเวทีเรื่องนี้ได้มีโอกาสแพร่ภาพออกโทรทัศน์ทางช่อง 5 จึงมีผู้เห็นแววและชักชวนเข้าสู่การแสดงภาพยนตร์ โดยภาพยนตร์เรื่องแรกที่แสดงคือ กิเลสคน ในปี พ.ศ. 2520 ต่อมาก็คือ สวัสดีคุณครู พ.ศ. 2521 และเทพธิดาบาร.ศ 2521 เป็นเรื่องที่สาม รับบทร้ายครั้งแรกในละครของช่อง 3 เรื่อง ขุนศึก โดยการแนะนำและกำกับโดย สักกะ จารุจินดา รวมทั้งเคยรับตลกเป็นกะเทยด้วยในเรื่อง ขบวนการคนใช้ เมื่อปี พ.ศ. 2529 จากการกำกับของ ชนะ คราประยูร สุเชาว์ พงษ์วิไล มีบทบาทที่เป็นที่รู้จักกันดีในบทของดาวร้ายในละครโทรทัศน์และภาพยนตร์หลายต่อหลายเรื่อง ระยะหลังมีการเปลี่ยนมารับบทพ่อหรือตัวละครอาวุโสขึ้นมาบ้าง ผลงานในระยะหลัง ได้แก่ สุริโยไท (พ.ศ. 2544), ผีสามบาท (พ.ศ. 2544), องค์บาก (พ.ศ. 2546), สุดสาคร (พ.ศ. 2549), A Moment in June ณ ขณะรัก (พ.ศ. 2552) และ 2022 สึนามิ วันโลกสังหาร ในปีเดียวกัน เป็นต้น นอกจากนี้แล้ว ยังร่วมแสดงในมิวสิกวิดีโอของธนพล อินทฤทธิ์ ในเพลง 18 ฝน ด้วยการรับบทเป็นพ่อของ สิทธิพร นิยม ในปี พ.ศ. 2537 และในเพลง รอยกรีดที่ข้อมือ ของภานุพงศ์ จำปาเฟื่อง ในปี พ.ศ. 2547 ซึ่งสร้างมาจากชีวิตจริงของลูกสาวตนเองอีกด้วย และในเพลง อกหัก รุ่นเก๋า ของวรนุช กนกากร ในปี พ.ศ. 2552 ชีวิตส่วนตัว สุเชาว์แต่งงานแล้ว มีบุตรสาว 1 คน ชื่อ ณิฐา พงษ์วิไล.

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และสุเชาว์ พงษ์วิไล · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพุทธมณฑล

อำเภอพุทธมณฑล เป็นอำเภอที่ตั้งขึ้นใหม่ที่สุดและมีพื้นที่น้อยที่สุดในจังหวัดนครปฐม.

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และอำเภอพุทธมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

จดหมายเหตุ

หอจดหมายเหตุ (archive) หมายถึงบันทึก หรือรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ณ ช่วงเวลาหนึ่งๆ โดยผู้บันทึกอาจเป็นส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือบุคคลทั่วไปก็ได้ เพื่อบันทึกไว้สำหรับใช้อ้างอิงในอนาคต ตั้งแต่ครั้งอดีต พระมหากษัตริย์ไทย โปรดเกล้าฯให้มีธรรมเนียมการจดบันทึกเหตุการณ์สำคัญของบ้านเมือง วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ รวมถึงปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้น โดยผู้มีหน้าที่จดบันทึกดังกล่าวเรียกว่าอาลักษณ์ จดหมายเหตุนี้จะถูกเก็บรักษาไว้อย่างดีในหอจดหมายเหตุหรือหอหลวง เพื่อให้เป็นประโยชน์ทางการศึกษาต่อคนรุ่นหลัง จดหมายเหตุในราชวงศ์นี้ บางทีก็เรียกพระราชพงศาวดาร เช่น พระราชพงศาวดารกรุงเก่า และพระราชพงศาวดารเหนือในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จดหมายเหตุที่บันทึกโดยบุคคลในอดีตก็มีความสำคัญไม่น้อย มีทั้งการบันทึกเหตุการณ์ทั่วไป การบันทึกเรื่องราวของตนเองอย่างลักษณะไดอารี่ ฯลฯ บางฉบับมีคุณค่าต่อการศึกษาประวัติศาสตร์อย่างมาก เช่น จดหมายเหตุบางกอก (อังกฤษ: Bangkok Recorder) ของหมอบรัดเลย์ จดหมายเหตุลาลูแบร์ (ฝรั่งเศส: Du Royaume de Siam) เขียนโดยมองซิเออร์ เดอ ลาลูแบร์อัครราชทูตของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส จดหมายเหตุเสด็จประพาสยุโรป ร.ศ.116 ของพระยาศรีสหเทพ (เส็ง) จดหมายเหตุความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวี จดหมายเหตุจีนว่าด้วยกรุงสยาม เป็นต้น จดหมายเหตุในอดีตพบว่ามีการบันทึก โดยการเขียน การพิมพ์ ลงบนวัสดุต่างๆตามยุคสมัย เช่น แผ่นหิน ใบลาน กระดาษ เป็นต้น.

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และจดหมายเหตุ · ดูเพิ่มเติม »

ธัญญ์วาริน สุขะพิสิษฐ์

ัญญ์วาริน สุขะพิสิษฐ์ เป็น ผู้กำกับภาพยนตร์ นักเขียนบท นักแสดง อดีตเคยได้รับการเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งนายกสมาคมผู้กำกับภาพยนตร์ไทยคนที่ 5.

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และธัญญ์วาริน สุขะพิสิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงทอง จันทรางศุ

ตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ (8 มิถุนายน 2498 -) ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ภายใต้คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติและการสร้างความสามัคคีปรองดอง (ป.ย.ป.), กรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 8, กรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ, กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านนิติศาสตร์ในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ,ประธานกรรมการ บริษัท ท่าเรือราชาเฟอร์รี่ จำกัด (มหาชน) จังหวัดสุราษฎร์ธานี, ไวยาวัจกร วัดโสมนัสวิหาร, อุปนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประธานอนุกรรมการเครือข่ายสถาบันการศึกษาในรัชกาลที่ 6, ประธานกรรมการพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว สถาบันพระปกเกล้า, นายกสมาคมศิษย์เก่าสาธิตปทุมวัน, อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2539 (ส.ส.ร.) ประเภทผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายมหาชน, อดีตที่ปรึกษาประจำสำนักนายกรัฐมนตรี, อดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี, อดีตเลขาธิการสภาการศึกษา, อดีตรองปลัดกระทรวงยุติธรรม, อดีตรองโฆษกกระทรวงยุติธรรม, อดีตรองอธิบดีกรมคุมประพฤติ, อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอดีตผู้ประสานงานคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา (CPLO) นอกจากนี้แล้ว ศาสตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ ยังมีความเชี่ยวชาญในด้านประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม รวมทั้งเรื่องราวประวัติศาสตร์ทางราชสำนัก และพระราชพิธีเป็นอย่างมาก จนได้แต่งหนังสือเกี่ยวกับเรื่องราวด้านประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่องราวประวัติศาสตร์ทางราชสำนัก และพระราชพิธี เป็นจำนวนมาก ตลอดจนยังได้หนังสือกฎหมายต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องทางด้านประวัติศาสตร์อีกด้วย และยังได้รับเชิญให้มาร่วมบรรยายถ่ายทอดสดในการพระราชพิธีต่างๆ ที่สำคัญมาแล้วหลายวาระ และล่าสุดในปีพ.ศ. 2559 ได้รับเชิญให้มาร่วมบรรยายถ่าดทอดสดในการพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และธงทอง จันทรางศุ · ดูเพิ่มเติม »

ธงไชย แมคอินไตย์

งไชย แมคอินไตย์ (เกิด 8 ธันวาคม พ.ศ. 2501) เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไทย ได้รับขนานนามว่าเป็นซูเปอร์สตาร์เมืองไทย แรกเข้าวงการบันเทิงเป็นนักแสดงสมทบ ต่อมาได้รับบทพระเอก โดยภาพยนตร์ที่สร้างชื่อเสียงให้กับเขาที่สุดเรื่อง ด้วยรักคือรัก ส่วนละครที่สร้างชื่อเสียงที่สุดของเขาคือบท "โกโบริ" ในละครคู่กรรม ด้านวงการเพลงซึ่งเป็นอาชีพหลักเขาเริ่มต้นจากการประกวดร้องเพลงของสยามกลการ และเป็นนักร้องในสังกัดบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) โดยเขามีอัลบั้มเพลงทั้งหมด 17 อัลบั้ม นอกจากผลงานประจำแล้ว เขาได้รับเกียรติให้ขับร้องเพลงเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสที่สำคัญหลายบทเพลง และในช่วง 25 ปีที่ผ่านมามีคอนเสิร์ตใหญ่ โดยเฉพาะคอนเสิร์ตแบบเบิร์ดเบิร์ดโชว์ ครั้งที่ 9 และ คอนเสิร์ตแบบเบิร์ดเบิร์ดโชว์ ครั้งที่ 10 สร้างปรากฏการณ์ยอดผู้ชมสูงสุดในประเทศไทย สำหรับบทบาทอื่น ๆ ของเขาในช่วงแรกของวงการบันเทิงเขาเป็นพิธีกรรายการถ่ายทอดสด 7 สีคอนเสิร์ต นอกจากนั้นเขายังเป็นนักพากย์ และผู้บรรยาย ชีวิตของธงไชยทุ่มเทให้กับการทำงานเป็นหลัก เขามีผู้จัดการ 2 คน ที่ดูแลเรื่องส่วนตัว และเรื่องงาน และมีเจ้าหน้าที่ของบริษัทแกรมมี่ช่วยทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย ชีวิตส่วนตัวของเขาเป็นโสดและไม่พยายามออกไปไหน เขามี "ไร่อุดมสุข" ที่จังหวัดเชียงราย ซึ่งตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ด้านความพอเพียง จากความกตัญญูของเขาภายหลังจากสูญเสียมารดา หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี ประทานพระเมตตา รับเขาเป็นเสมือนบุตรบุญธรรม ธงไชยเป็นศิลปินที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในรอบ 30 ปี ของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และประสบความสำเร็จสูงสุดของประเทศไทย โดยมียอดจำหน่ายอัลบั้มทั้งหมดสูงสุดของประเทศไทย กว่า 25 ล้านชุด ติดระดับแนวหน้าของทวีปเอเชีย และเป็นศิลปินคนแรกของแกรมมี่ที่ทำยอดขายอัลบั้มเกินสองล้านตลับ และมีสตูดิโออัลบั้มเดี่ยวที่ล้านตลับมากที่สุด 7 ชุด โดยเฉพาะอัลบั้มที่ยอดจำหน่ายสูงสุดของเขาคืออัลบั้ม ชุดรับแขก ซึ่งขายได้มากกว่า 5 ล้านชุด จนสื่อบันเทิงต่างประเทศ นำโดยนิตยสาร เอนเตอร์เทนเมนต์วีกลี ยกให้ธงไชยเป็นศิลปินนักร้องผู้ทรงอิทธิพลที่ประสบความสำเร็จสูงสุดของประเทศไทย และเป็นระดับแนวหน้าของทวีปเอเชีย ธงไชยได้รับรางวัลต่าง ๆ จำนวนมาก รวมทั้งบิลบอร์ดวิวเออส์ชอยส์อะวอดส์ 1997 ณ สหรัฐ เป็นนักร้องจากทวีปเอเชียคนแรกที่ได้รับรางวัลดังกล่าว เขาได้รับฉายา "ดาวค้างกรุ" ในปี..

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และธงไชย แมคอินไตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพุทธมณฑล สาย 5

ถนนพุทธมณฑล สาย 5 (Thanon Phutthamonthon Sai 5) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3414 สายอ้อมน้อย - ศาลายา มีจุดเริ่มต้นตั้งตำบลศาลายา จังหวัดนครปฐม วิทยาลัยนาฏศิลป์ หอภาพยนตร์แห่งชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตศาลายา คลองวัฒนา จนถึงแยกอ้อมน้อย ถนนเพชรเกษม อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร เดิมเป็นถนนขนาด 2 ช่องจราจร ปัจจุบันได้มีการขยายถนนเป็น 6 ช่องจราจร พร้อมกับมีการสร้างสะพานข้ามถนนบรมราชชนนี แล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2559 หมวดหมู่:โครงการพุทธมณฑล 3414 4-3414 พุทธมณฑล สาย 5 พุทธมณฑล สาย 5.

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และถนนพุทธมณฑล สาย 5 · ดูเพิ่มเติม »

นางสาวสุวรรณ

นางสาวสุวรรณ (Suvarna of Siam) เป็นภาพยนตร์ใบ้ แนวรักใคร..1923 ขนาดสามสิบห้ามิลลิเมตร ความยาวแปดม้วน เขียนบทและกำกับโดย เฮนรี แม็กเร (Henry MacRae) เป็นเรื่องแรกที่ถ่ายทำในประเทศสยาม (ต่อมาคือ ประเทศไทย) โดยฮอลลีวูด ที่ใช้นักแสดงชาวสยามทั้งหมด เริ่มถ่ายทำเมื่อต้นเดือนมีนาคมและสร้างเสร็จเมื่อเดือนมิถุนายน ในปี พ.ศ. 2465 ฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1923 ในจังหวัดนครศรีธรรมราช และได้เข้าฉายในสหรัฐอเมริกาด้วย ใช้ชื่อว่า "Kingdom of Heaven" เข้ามาฉายในประเทศไทยได้เพียง 3 วัน ฟิล์มต้นฉบับก็สูญหาย นับเป็นโชคร้ายที่ปัจจุบันไม่เหลือสิ่งใดเกี่ยวกับภาพยนตร์เรื่องนี้อีกเลย นอกจากวัสดุประชาสัมพันธ์และของชำร่วยเล็ก ๆ น้อย ซึ่งรักษาไว้ที่ หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)Sukwong, Dome and Suwannapak, Sawasdi.

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และนางสาวสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

แมลงรักในสวนหลังบ้าน

แมลงรักในสวนหลังบ้าน (Insects in the Backyard) เป็นภาพยนตร์สะท้อนปัญหาสังคม กำกับโดยธัญญ์วาริน สุขะพิสิษฐ์ เป็นภาพยนตร์อิสระในโครงการ Indy Spirit Project ของนิตยสารไบโอสโคป ออกฉายครั้งแรกในเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติแวนคูเวอร์ 2010 และได้รับเสนอชื่อเข้าชิงรางวัล Dragons and Tigers Competition ต่อมาได้เข้าฉายในเทศกาลภาพยนตร์โลกกรุงเทพ เมื่อ 6 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และแมลงรักในสวนหลังบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

แสงศตวรรษ

แสงศตวรรษ (Syndromes and a Century) เป็นภาพยนตร์ไทย กำกับโดย อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล เป็นหนึ่งในชุดผลงานของผู้กำกับ 6 คนจากทั่วโลก ร่วมกับผู้กำกับจากปารากวัย อิหร่าน ชาด ไต้หวัน และอินโดนีเซีย ที่ได้รับเชิญให้ร่วมผลิตภาพยนตร์เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของเทศกาล “นิว คราวน์ โฮป” ในโอกาสเฉลิมฉลอง 250 ปีชาตกาลของ โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท คีตกวีชาวออสเตรีย เมื่อ..

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และแสงศตวรรษ · ดูเพิ่มเติม »

แหวนวิเศษ

แหวนวิเศษ เป็นภาพยนตร์ไทย ในปี..

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และแหวนวิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

แผลเก่า

แผลเก่า ของ ไม้ เมืองเดิม แผลเก่า เป็นผลงานประพันธ์เรื่องแรกของ ไม้ เมืองเดิม ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และแผลเก่า · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินของใคร

แผ่นดินของใคร หรือชื่อเดิมว่า แผ่นดินฉกรรจ์ เป็นภาพยนตร์ไทยที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเขาพระวิหารโดยตรง ถ่ายทำและถ่ายทอดบรรยากาศบนเขาพระวิหารแทบตลอดทั้งเรื่อง เปิดตัวโฆษณาในนิตยสาร ดาราไทย ตั้งแต่ปี 2502 โดยกำหนดฉายครั้งแรกที่โรงภาพยนตร์เอ็มไพร์ แต่หลังจากที่กัมพูชายื่นฟ้องต่อศาลโลก แผ่นดินฉกรรจ์ จึงถูกทางเจ้าหน้าที่เซ็นเซอร์พิจารณาอีกครั้ง ซึ่งบางส่วนที่มีการพาดพิงกรณีก็ถูกตัดออกไป แผ่นดินของใคร สร้างในนามสุวรรณสิงห์ฟิล์ม โปรดักชัน ถ่ายทำในระบบฟิล์ม 16 มม.

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และแผ่นดินของใคร · ดูเพิ่มเติม »

แท้ ประกาศวุฒิสาร

แท้ ประกาศวุฒิสาร (26 พฤษภาคม พ.ศ. 2461 -) ผู้อำนวยการสร้าง ผู้กำกับภาพยนตร์ แห่งบริษัทภาพยนตร์ไทยไตรมิตร ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้สร้างภาพยนตร์) ประจำปี..

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และแท้ ประกาศวุฒิสาร · ดูเพิ่มเติม »

โรงแรมนรก

มพงษ์ รับบทศาสตราจารย์ที่เข้ามาซ้อมร้องเพลงโอเปร่าในโรงแรม ชูศรี รับบทคู่รักที่ล่ามโซ่ข้อมือติดกัน ล้อเลียนเรื่อง ชั่วฟ้าดินสลาย ภาพยนตร์เรื่องก่อนหน้าของรัตน์ ที่กำกับโดย มารุต ฉากพ่อแง่-แม่งอน ของเรียมกับชนะ โรงแรมนรก เป็นภาพยนตร์ไทยขาวดำ ที่ออกฉายเมื่อปี..

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และโรงแรมนรก · ดูเพิ่มเติม »

โผน กิ่งเพชร

ผน กิ่งเพชร (12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2478 — 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2525) แชมป์โลกชาวไทยคนแรกในประวัติศาสตร์ โผนเป็นนักมวยรูปร่างผอมบาง มีช่วงขาที่ยาว ถนัดขวา และเป็นแชมป์โลกชาวไทยคนแรกที่ได้ครองแชมป์โลกถึง 3 สมัย แต่ด้วยปัญหาส่วนตัว ทำให้โผนติดสุราจนการชกตกต่ำลง จนเสียแชมป์ไปและไม่มีโอกาสชิงแชมป์คืนได้อีก โผนถือเป็นตำนานของวงการมวยสากลคนหนึ่งของไทย วันที่โผนชิงแชมป์โลกได้ถูกกำหนดให้เป็นวันนักกีฬาไทย และมีการสร้างอนุสรณ์สถานของโผนที่หัวหินหลังจากที่โผนเสียชีวิตไปแล้ว 10 ปี.

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และโผน กิ่งเพชร · ดูเพิ่มเติม »

โดม สุขวงศ์

ม สุขวงศ์ (10 กันยายน พ.ศ. 2494 -) นักวิชาการภาพยนตร์ ผู้ก่อตั้ง หอภาพยนตร์แห่งชาติ และโครงการอนุรักษ์ภาพยนตร์ในประเทศไทย ปัจจุบันเป็น ผู้อำนวยการหอภาพยนตร์ องค์การมหาชน.

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และโดม สุขวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เพิ่มพล เชยอรุณ

มพล เชยอรุณ เกิดเมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2487 เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ไทย มีภูมิลำเนาอยู่จังหวัดฉะเชิงเทรา มีพี่น้อง 7 คน เป็นคนที่ 2 มีบุตรชายเป็นนักแสดง พิธีกรคือ เบญจพล เชยอรุณ ในร้อยเรื่องหนังไทยที่คนไทยควรดู โดยหอภาพยนตร์แห่งชาติ มีหนังของเพิ่มพล ถึง 3 เรื่อง คือเรื่อง ชีวิตบัดซบ, เมืองในหมอก และ ระย้.

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และเพิ่มพล เชยอรุณ · ดูเพิ่มเติม »

เรือนแพ (ภาพยนตร์)

รือนแพ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2504 ร่วมทุนสร้างระหว่าง บริษัทอัศวินภาพยนตร์ กับ บริษัทชอว์บราเดอร์สแห่งฮ่องกง ระบบถ่ายทำด้วย 35 มม.ซูเปอร์ซีเนสโคป สีอิสแมนต์ เสียงพากย์ในฟิล์ม กำกับโดย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล หรือพระนาม ภาณุพันธ์ และ เวตาล ร่วมกับ ครูเนรมิต นักแสดงนำประกอบด้วยนักแสดงไทย และนักแสดงฮ่องกง เพลงประกอบภาพยนตร์ที่ยังมีชื่อเสียงอยู่จนถึงทุกวันนี้ คือเพลง เรือนแพ ประพันธ์คำร้องโดย ชาลี อินทรวิจิตร ทำนองโดย สง่า อารัมภีร ขับร้องโดย ชรินทร์ นันทนาคร ถือได้ว่าเป็นเพลงประจำตัวของชรินทร์ เลยทีเดียว ฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2504 ที่ศาลาเฉลิมไทย ต้อนรับปีใหม่ปี พ.ศ. 2505 และได้นำกลับมาฉายอีกครั้ง ในปี พ.ศ. 2506 สร้างใหม่ครั้งที่สองเมื่อ พ.ศ. 2532 ผลิตโดย ไฟว์สตาร์โปรดักชั่น กำกับโดย วิจิตร คุณาวุฒิ ภาพยนตร์เรื่องนี้ ประสบความสำเร็จอย่างมากทั้งรายได้และรางวัล จากพิธีมอบรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ. 2505 ประกาศผลอย่างเป็นทางการ ณ สวนอัมพร เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506 คือรางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ผู้แสดงนำฝ่ายชายยอดเยี่ยม ผู้แสดงประกอบฝ่ายชายยอดเยี่ยม รางวัลออกแบบและสร้างฉากยอดเยี่ยม และรางวัลบันทึกเสียงยอดเยี่ยม ต่อมา เสด็จพระองค์ชายใหญ่ทรงประทานบทภาพยนตร์ให้นำมาเรียบเรียงดัดแปลงเป็นนวนิยายครั้งแรก ตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ ณ บ้านวรรณกรรม เมื่อปี..

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และเรือนแพ (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

เจนภพ จบกระบวนวรรณ

นภพ จบกระบวนวรรณ (21 เมษายน พ.ศ. 2498 - ปัจจุบัน) นักจดหมายเหตุ-นักวิชาการเพลงไทยลูกทุ่งชาย นักจัดรายการวิทยุ-โทรทัศน์ เป็นผู้ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์เพลงลูกทุ่ง, สถานีวิทยุเสียงศิลปิน 105.

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และเจนภพ จบกระบวนวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

100 ภาพยนตร์ไทยที่คนไทยควรดู

รงการ 100 ภาพยนตร์ไทยที่คนไทยควรดู เป็นโครงการจัดตั้งโดย หอภาพยนตร์แห่งชาติ ซึ่งทั้งภาพยนตร์ไทย 100 เรื่องที่ดูแล้วเกิดปัญญา ดุ จดังบาลีภาษิต ปญญายตถํ วิปสสติ คือ การเห็นเป็นบ่อเกิดแห่งปัญญา ดูดีๆมีปัญญา ดูด้วยปัญญาพาให้เห็นแจ้ง โครงการนี้ จัดกิจกรรมฉายภาพยนตร์ของหอภาพยนตร์แห่งชาติ เป็นไปเพื่อ ยังให้เกิดปัญญา หอภาพยนตร์แห่งชาติ จึงจัดกิจกรรมฉายภาพยนตร์ทุกค่ำวันศุกร์ ที่ห้องประชุม สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ ท่าวาสุกรี และบ่าย 3 โมงวันเสาร์ที่ โรงหนังอลังการ หอภาพยนตร์แห่งชาติ ศาลายา ถนนพุทธมณฑลสาย 5 เรียกชื่อว่า "ภาพยนตร์ปุจฉา-วิสัชนา" ซึ่งเป็นรายการฉายหนังให้ดูแล้วฟังคิดถามตอบ โดยมีพิธีกรและวิทยากรผู้สันทัดกรณีมาร่วมถามร่วมตอบอย่างที่เรียกว่า ปุจฉา - วิสัชนา โดยจะจัดฉายเริ่มจากวันศุกร์แรกของ ปี..

ใหม่!!: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)และ100 ภาพยนตร์ไทยที่คนไทยควรดู · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

หอภาพยนตร์หอภาพยนตร์แห่งชาติ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »