เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรป

ดัชนี หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรป

หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรป (European Southern Observatory; ESO) มีชื่อเต็มอย่างเป็นทางการว่า European Organization for Astronomical Research in the Southern Hemisphere หรือ องค์การแห่งยุโรปเพื่อการวิจัยทางดาราศาสตร์ในท้องฟ้าซีกใต้ เป็นองค์กรวิจัยนานาชาติสำหรับการศึกษาด้านดาราศาสตร์ ภายใต้การสนับสนุนของประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรป 14 ประเทศ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 27 ความสัมพันธ์: พร็อกซิมาคนครึ่งม้า บีกลีเซอ 581 อีกลีเซอ 581 ซีกลีเซอ 667 ซีซีมหานวดาราประเภท 1เอมิเชล เมเยอร์มู แท่นบูชารายชื่อหอดูดาววิธีตรวจจับดาวเคราะห์นอกระบบศูนย์ประสานงานกล้องโทรทรรศน์อวกาศยุโรปหอดูดาวลาซียาอัลฟาคนครึ่งม้า บีบีดาราจักรหนวดแมลงดาวหางเวสต์ดาวเคราะห์นอกระบบแทรปพิสต์-1ไอโอตา นาฬิกา บีเมซีเย 78เส้นเวลาของอนาคตไกลเอชดี 169830เอชดี 169830 บีเอชดี 40307 จีเอชดี 40307 ดีเนบิวลาดัมบ์เบลล์HE 1523-0901OGLE-2005-BLG-390Lb2เอ็ม1207บี

พร็อกซิมาคนครึ่งม้า บี

ร็อกซิมาคนครึ่งม้า บี (Proxima Centauri b) หรือเรียก พร็อกซิมา บี (Proxima b) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบในเขตอาศัยได้ โคจรรอบดาวฤกษ์พร็อกซิมาคนครึ่งม้า ซึ่งเป็นดาวฤกษ์ประเภทดาวแคระแดงในกลุ่มดาวคนครึ่งม้า และถือเป็นดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด โดยห่างจากโลกราว 4.2 ปีแสง (1.3 พาร์เซก หรือ 40 ล้านล้านกิโลเมตร) ทำให้ดาวเคราะห์นอกระบบดวงนี้เป็นดาวเคราะห์ที่มีศักยภาพต่อการอยู่อาศัยได้ที่อยู่ใกล้ระบบสุริยะมากที่สุดเท่าที่รู้จัก ดาวพร็อกซิมาคนครึ่งม้า บี ค้นพบโดยคณะนักดาราศาสตร์จากหอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรป ประกาศการค้นพบในเดือนสิงหาคม..

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและพร็อกซิมาคนครึ่งม้า บี

กลีเซอ 581 อี

กลีเซอ 581 อี (Gliese 581 e) หรือ Gl 581 e เป็นดาวเคราะห์นอกระบบโคจรรอบดาวแคระแดง กลีเซอ 581 อยู่ห่างจากโลก 20.5 ปีแสง ในกลุ่มดาวคันชั่ง มันเป็นดาวเคราะห์ดวงที่สี่ที่ถูกค้นพบในระบบดาวเคราะห์กลีเซอ 581 โดยเป็นดาวเคราะห์ดวงแรกในระบบดาวเคราะห์กลีเซอ 581 ดาวเคราะห์ที่ถูกค้นพบในหอดูดาวเจนีวา โดยทีมงานโดย มิเชล เมเยอร์ โดยเขาใช้อุปกรณ์ HARPS บนกล้องโทรทรรศน์ยุโรปใต้หอ 3.6 เมตร (140 นิ้ว) ในหอดูดาวลาซียา ประเทศชิลี และเขาได้ประกาศการค้นพบดาวเคาระห์นี้เมื่อวันที่ 21 เมษายน..

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและกลีเซอ 581 อี

กลีเซอ 581 ซี

กลีเซอ 581 ซี (Gliese 581 c) หรือ Gl 581 c เป็นดาวเคราะห์นอกระบบโคจรรอบดาวแคระแดง กลีเซอ 581 ในกลุ่มดาวคันชั่ง อยู่ห่างจากโลกประมาณ 20.5 ปีแสง ชื่อกลีเซอ 581 เป็นชื่อดาวฤกษ์ในบัญชีดาวของ วิลเฮล์ม กลีเซอ นักดาราศาสตร์ชาวเยอรมัน.

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและกลีเซอ 581 ซี

กลีเซอ 667 ซีซี

กลีเซอ 667 ซีซี (Gliese 667 Cc) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบดาวฤกษ์ กลีเซอ 667 ซี ซึ่งอยู่ในสมาชิกของกลีเซอ 667 ระบบดาวฤกษ์ทริปเปิล มวลต่ำสุดของ กลีเซอ 667 ซีซี มีอยูประมาณ 4.39 มวลโลก อยู่ห่างจากโลก 23.62 ปีแสง กลีเซอ 667 ซีซี ที่อยู่ในระบบดาวฤกษ์ทริปเปิล ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวปลากระโทงแทง อยู่ห่างจากโลกประมาณ 22.7 ปีแสง มีการประกาศครั้งแรกในที่สาธารณะก่อนเผยแพร่ในวันที่ 21 พฤศจิกายน ค.ศ.

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและกลีเซอ 667 ซีซี

มหานวดาราประเภท 1เอ

accessdate.

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและมหานวดาราประเภท 1เอ

มิเชล เมเยอร์

มิเชล เมเยอร์ (Michel G. E. Mayor) เกิดเมื่อวันที่ 12 มกราคม..

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและมิเชล เมเยอร์

มู แท่นบูชา

มู แท่นบูชา (μ Ara, μ Arae) หรือที่มักเรียกตามการกำหนดใน Henry Draper Catalogue ว่า HD 160691 เป็นดาวฤกษ์ในแถบลำดับหลักประเภทดาวแคระเหลือง อยู่ห่างจากโลกประมาณ 50 ปีแสง โดยอยู่ในกลุ่มดาวแท่นบูชา ดาวดวงนี้มีระบบดาวเคราะห์ซึ่งเท่าที่ทราบในปัจจุบันมีทั้งหมด 4 ดวง ในจำนวนนี้ 3 ดวงมีมวลเทียบเท่าดาวพฤหัสบดี ดาวเคราะห์ดวงที่อยู่ด้านในสุดของระบบเป็น "ดาวเนปจูนร้อน หรือ ซูเปอร์เอิร์ธ" ดวงแรกที่ถูกค้น.

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและมู แท่นบูชา

รายชื่อหอดูดาว

นี่คือ รายชื่อหอดูดาว เรียงลำดับตามตัวอักษร รวมถึงวันเปิดปฏิบัติการและตำแหน่งที่ตั้ง รายชื่อนี้อาจรวมถึงวันปฏิบัติการวันสุดท้ายสำหรับหอดูดาวที่ได้ปิดตัวลง โดยรายชื่อนี้จะเป็นหอดูดาวซึ่งใช้ศึกษาด้านดาราศาสตร์เท่านั้น.

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและรายชื่อหอดูดาว

วิธีตรวจจับดาวเคราะห์นอกระบบ

นื่องจากดาวเคราะห์นอกระบบจะมีการส่องสว่างในตัวเองน้อยมากๆ เมื่อเทียบกับดาวฤกษ์แม่ของมัน การตรวจจับจึงเป็นไปได้ยาก ทั้งแสงสว่างจากดาวฤกษ์ยังอาจบดบังและกลบการมองเห็นดาวเคราะห์ไปเสีย ด้วยเหตุนี้ การตรวจจับดาวเคราะห์นอกระบบจึงมักไม่สามารถดำเนินการได้จากการเฝ้าสังเกตโดยตรง นักดาราศาสตร์ได้พัฒนากระบวนวิธีตรวจจับทางอ้อมหลายวิธีเพื่อตรวจหาดาวเคราะห์นอกระบบ ในปัจจุบันมีกระบวนวิธีทางอ้อมหลายวิธีที่สามารถใช้ตรวจจับดาวเคราะห์นอกระบบอย่างได้ผล iOS 9.3.5(13G36) wckadse.

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและวิธีตรวจจับดาวเคราะห์นอกระบบ

ศูนย์ประสานงานกล้องโทรทรรศน์อวกาศยุโรป

ูนย์ประสานงานกล้องโทรทรรศน์อวกาศยุโรป (Space Telescope - European Coordinating Facility; ST-ECF) เป็นสถาบันที่ตั้งขึ้นเพื่อทำหน้าที่สนับสนุนและบริหารงานบริการเบื้องต้นสำหรับนักดาราศาสตร์ชาวยุโรปเพื่อเข้าใช้งานกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล อันเป็นโครงการร่วมระหว่างองค์การนาซากับองค์การอวกาศยุโรป ศูนย์นี้ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและศูนย์ประสานงานกล้องโทรทรรศน์อวกาศยุโรป

หอดูดาวลาซียา

หอดูดาวลาซียา (La Silla Observatory) เป็นหอสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ในประเทศชิลี ประกอบด้วยกล้องโทรทรรศน์จำนวน 18 ตัว ในจำนวนนี้ 9 ตัวเป็นกล้องโทรทรรศน์ที่สร้างโดยหอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรป (ESO) นอกจากนี้กล้องอื่น ๆ ที่เหลือก็ได้รับเงินสนับสนุนการบำรุงรักษาส่วนหนึ่งจาก ESO ด้วย หอดูดาวลาซียานี้ถือเป็นหนึ่งในหอดูดาวที่ใหญ่ที่สุดในการสังเกตการณ์ท้องฟ้าซีกใต้ของโลก ลาซียาเป็นภูเขาสูง 2400 เมตร กินอาณาเขตทางใต้สุดของทะเลทรายอาตากามาในประเทศชิลี ตั้งอยู่ 160 กิโลเมตรทางเหนือของเมืองลาเซเรนา, 27 กิโลเมตรทางใต้ของหอดูดาวลัสกัมปานัส (Las Campanas) และ 100 กิโลเมตรทางเหนือของหอดูดาวเซร์โรโตโลโล (Cerro Tololo).

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและหอดูดาวลาซียา

อัลฟาคนครึ่งม้า บีบี

อัลฟาคนครึ่งม้า บีบี เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบดาวฤกษ์อัลฟาคนครึ่งม้า บี ตั้งอยู่ห่างจากโลก 4.37 ปีแสง อยู่ในกลุ่มดาวทางใต้คือ กลุ่มดาวคนครึ่งม้า มันเป็นดาวเคราะห์ใกล้โลกมากที่สุดที่ค้นพบมา ดาวเคราะห์ดวงนี้ถูกค้นพบเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2012.

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและอัลฟาคนครึ่งม้า บีบี

ดาราจักรหนวดแมลง

ราจักรหนวดแมลง (ที่รู้จักกันดี คือ NGC 4038/NGC 4039 หรือ Caldwell 60/61) เป็นคู่ของดาราจักรมีปฏิสัมพันธ์อยู่ในกลุ่มดาวนกกา พวกเขากำลังจะผ่านระยะของ ดาวกระจาย ถูกค้นพบโดย วิลเลียม เฮอร์เชล ในปี ค.ศ.

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและดาราจักรหนวดแมลง

ดาวหางเวสต์

วหางเวสต์ ถ่ายเมื่อต้นเดือนมีนาคม ค.ศ. 1976 ดาวหางเวสต์ (Comet West) หรือชื่ออย่างเป็นทางการตามระบบดาวหางคือ C/1975 V1, 1976 VI และ 1975n เป็นดาวหางที่โดดเด่นเป็นพิเศษ บางครั้งก็เป็นที่เรียกขานกันว่าเป็น "ดาวหางใหญ่" ด้วย ดาวหางเวสต์ถูกค้นพบเป็นครั้งแรกจากภาพถ่ายโดย ริชาร์ด เอ็ม.

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและดาวหางเวสต์

ดาวเคราะห์นอกระบบ

accessdate.

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและดาวเคราะห์นอกระบบ

แทรปพิสต์-1

แทรปพิสต์-1 (TRAPPIST-1) หรือ 2MASS J23062928-0502285 เป็นดาวฤกษ์แคระเย็นจัด (ultra-cool dwarf star) ตั้งอยู่ห่างออกไป 39.5 ปีแสง อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำ ทีมนักดาราศาสตร์นำโดยมีกาแอล ฌียง (Michaël Gillon) แห่งสถาบันดาราศาสตร์ฟิสิกส์และธรณีฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยลีแยฌ ประเทศเบลเยียม ใช้กล้องโทรทรรศน์ขนาดเล็กสำหรับตรวจจับการผ่านหน้าของดาวเคราะห์และดาวเคราะห์แรกเริ่ม (Transiting Planets and Planetesimals Small Telescope; TRAPPIST) ซึ่งเป็นกล้องโทรทรรศน์ในหอดูดาวลาซียาในทะเลทรายอาตากามา ประเทศชิลี เพื่อสังเกตดาวฤกษ์และค้นหาดาวเคราะห์ที่โคจรรอบดาวฤกษ์นี้ เทคนิคที่ใช้ค้นหาคือการตรวจสอบการเคลื่อนผ่านหน้าดาวฤกษ์ ทำให้พวกเขาค้นพบดาวเคราะห์ขนาดใกล้เคียงกับโลกจำนวน 3 ดวงโคจรรอบดาวฤกษ์แคระแดงดวงนี้ ดาวเคราะห์ชั้นในสุดสองดวงอยู่ใต้ภาวะไทดัลล็อกกับดาวฤกษ์แม่ คือจะหันหน้าเพียงด้านเดียวเข้าหาดาวฤกษ์แม่ตลอดเวลา ส่วนอีกหนึ่งดวงอยู่ในเขตอาศัยได้ (habitable zone) ทีมนักดาราศาสตร์เฝ้าสังเกตการณ์ตั้งแต่ช่วงเดือนกันยายนถึงธันวาคม..

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและแทรปพิสต์-1

ไอโอตา นาฬิกา บี

อโอตา นาฬิกา บี เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่อยู่ห่างจากโลก 56 ปีแสง อยู่ในกลุ่มดาวนาฬิกา มีมวลต่ำสุด 1.94 หน่วยของดาวพฤหัสบดี.

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและไอโอตา นาฬิกา บี

เมซีเย 78

อะ เนบิวลา เมซีเย 78 (ที่รู้จักกันดี คือ M 78 หรือ NGC 2068) เป็นเนบิวลาสะท้อนแสง ในกลุ่มดาวนายพราน ถูกค้นพบโดย Pierre Mechain ในปี ค.ศ.

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและเมซีเย 78

เส้นเวลาของอนาคตไกล

ำหรับแผนภาพเส้นเวลาสเกลลอการิทึมของเหตุการณ์เหล่านี้ ดูที่.

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและเส้นเวลาของอนาคตไกล

เอชดี 169830

อชดี 169830 (HD 169830) เป็นดาวแคระเหลือง-ขาว (สเปกตรัมประเภท F9V) ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตั้งอยู่ห่างจากระบบสุริยะ 118.46 ปีแสง.

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและเอชดี 169830

เอชดี 169830 บี

อชดี 169830 บี (HD 169830 b) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่มีมวล 3 เท่าของดาวพฤหัสบดี เนื่องจากเป็นมวลระดับสูง มันมีแนวโน้มมากที่สุดของดาวเคราะห์แก๊สยักษ์ คล้ายกับดาวพฤหัสบดี และดาวเสาร์ในระบบสุริยจักรวาลของเราเอง โคจรอยู่รอบ ๆ ดาวฤกษ์ของมันทุก ๆ 262 วัน.

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและเอชดี 169830 บี

เอชดี 40307 จี

อชดี 40307 จี (HD 40307 g) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบเขตอาศัยได้ของดาวฤกษ์ เอชดี 40307 อยู่ห่างจะโลกประมาณ 42 ปีแสง ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวขาตั้งภาพ ค้นพบโดยวิธีความเร็วแนวเล็ง โดยใช้อุปกรณ์ตรวจวัดความเร็วเชิงรัศมีของดาวฤกษ์ความแม่นยำสูง ในหอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรป โดยทีมงานของนักดาราศาสตร์นำ โดย Mikko Tuomi แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์ทฟอร์ดเชอร์ และ Guillem Anglada-Escude แห่งมหาวิทยาลัยกอตทิงเกน.

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและเอชดี 40307 จี

เอชดี 40307 ดี

อชดี 40307 ดี (HD 40307 d) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบดาวฤกษ์ เอชดี 40307 ตั้งอยู่ห่างจากโลกประมาณ 42 ปีแสง ในทิศทางใต้ของกลุ่มดาวขาตั้งภาพ ดาวเคราะห์ดวงนี้คันพบโดยใช้วิธีการรัศมีความเร็ว ใช้อุปกรณ์ตรวจวัดความเร็วเชิงรัศมีของดาวฤกษ์ความแม่นยำสูง เครื่องช่วยในเดือนมิถุนายน..

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและเอชดี 40307 ดี

เนบิวลาดัมบ์เบลล์

นบิวลาดัมบ์เบลล์ (ที่รู้จักกันดี คือ เนบิวลาแกนแอปเปิล,เมซีเย 27,เอ็ม27 หรือ เอ็นจีซี 6853) เป็นเนบิวลาดาวเคราะห์ ในกลุ่มดาวหมาจิ้งจอก ตั้งอยู่ประมาณ 1,360 ปีแสง วัตถุนี้เป็นเนบิวลาดาวเคราะห์แรกที่ค้นพบ โดยชาร์ล เมซีเย ในปี ค.ศ.

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและเนบิวลาดัมบ์เบลล์

HE 1523-0901

วาดดาวฤกษ์ที่เก่าแก่ที่สุดในดาราจักรของเรา HE 1523-0901 คือรหัสใช้เรียกดาวยักษ์แดงซึ่งตั้งอยู่ในดาราจักรทางช้างเผือกห่างจากเราไปประมาณ 7500 ปีแสง เชื่อว่าเป็นดาวฤกษ์ชนิดดารากร 2 หมายความว่าเป็นดาวที่มีโลหะเป็นส่วนประกอบอยู่น้อย แอนนา ฟรีเบล และคณะ ใช้กล้องสำรวจ Hamburg/ESO Survey ตรวจพบดาวดวงนี้อยู่ในกลุ่มตัวอย่างดาวฤกษ์ฮาโลสว่างที่มีโลหะน้อย งานวิจัยของคณะนี้ได้ตีพิมพ์เผยแพร่เมื่อ 10 พฤษภาคม 2007 ใน Astrophysical Journal กล้องดูดาวขนาดใหญ่มาก (Very Large Telescope) ของหอดูดาวยุโรปใต้ ประมาณการอายุของดาวดวงนี้ไว้ที่ประมาณ 13,200 ล้านปี ทำให้มันเป็นวัตถุที่มีอายุมากที่สุดเท่าที่มีการค้นพบในดาราจักรในปัจจุบัน และเกือบจะมีอายุเก่าแก่เท่ากับอายุโดยประมาณของเอกภพ (13,700 ล้านปี จากการประมาณการของ WMAP) HE 1523-0901 เป็นดาวดวงแรกที่ใช้การประมาณการอายุด้วยเทคนิคตรวจสอบการเสื่อมสลายของธาตุกัมมันตรังสียูเรเนียมและทอเรียม โดยการตรวจวัดธาตุที่ตรวจจับนิวตรอน เชื่อกันว่า มันเกิดขึ้นมาจากเศษซากดาวฤกษ์ยุคแรกโดยตรง ซึ่งหมดอายุขัยและระเบิดเป็นซูเปอร์โนวานับแต่ยุคแรกๆ ของประวัติศาสตร์เอก.

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและHE 1523-0901

OGLE-2005-BLG-390Lb

OGLE-2005-BLG-390Lb เป็นดาวเคราะห์นอกระบบซูเปอร์เอิร์ธ ที่โคจรรอบดาวฤกษ์OGLE-2005-BLG-390L ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากโลก 21,500 ± 3,300 ปีแสง ใกล้กับศูนย์กลางของดาราจักรทางช้างเผือก.

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและOGLE-2005-BLG-390Lb

2เอ็ม1207บี

2เอ็ม1207บี เป็นวัตถุมวลดาวเคราะห์ ที่โคจรรอบดาวแคระน้ำตาล 2เอ็ม1207 อยู่ในกลุ่มดาวคนครึ่งม้า อยู่ห่างจากโลกประมาณ 170 ปีแสง, Eric Mamajek, November 8, 2007.

ดู หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปและ2เอ็ม1207บี

หรือที่รู้จักกันในชื่อ ESOEuropean Southern Observatoryหอดูดาวยุโรปใต้