สารบัญ
21 ความสัมพันธ์: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากรพ.ศ. 2466พ.ศ. 2546พรวุฒิ สารสินกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะไดมหาวิทยาลัยศิลปากรรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้ารายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลารายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรีรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยวชิราวุธวิทยาลัยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพหม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากรตำนานพุทธเจดีย์โกวิท ตั้งตรงจิตรโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาเทวสถานปรางค์แขก23 พฤศจิกายน6 พฤศจิกายน
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร (Graduate School, Silpakorn University) มีหน้าที่เป็นหน่วยงานกลางในการบริหารการศึกษา และประสานงานการจัดการศึกษาระดับที่สูงขึ้น ตลอดจนวางแผน วางนโยบาย และควบคุมมาตรฐานการศึกษา การวิจัยประสานงาน สนับสนุน อำนวยความสะดวกในการจัดการศึกษาและวิจัยให้แก่คณะที่เปิดสอน ทำหน้าที่ประเมินและสรุปผลการศึกษาวิจัย ซึ่งจะเป็นการแบ่งเบาภาระงานของคณะ จะทำให้งานสอนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และได้มาตรฐานเท่าเทียมกันทุกสาขาวิชาที่เปิดสอนทั้ง 3 วิทยาเขต ปัจจุบัน บัณฑิตวิทยาลัยเปิดสอนระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต ปริญญามหาบัณฑิต และประกาศนียบัตรบัณฑิต ทั้งหลักสูตรภาคปกติและหลักสูตรลักษณะโครงการพิเศษ เปิดสอนนอกเวลาราชการในบางสาขาว.
ดู หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลและบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
พ.ศ. 2466
ทธศักราช 2466 ตรงกั.
ดู หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลและพ.ศ. 2466
พ.ศ. 2546
ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.
ดู หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลและพ.ศ. 2546
พรวุฒิ สารสิน
รวุฒิ สารสิน เป็นนักธุรกิจ นักการเมือง และนักแสดงชาวไทย ปัจจุบันเป็นประธานกรรมการ บริษัทไทยน้ำทิพย์ จำกัด ซึ่งในประวัติการทำงานส่วนนี้ทำให้ได้รับฉายาว่า "เจ้าพ่อน้ำดำ".
ดู หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลและพรวุฒิ สารสิน
กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได
กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได หรือบางครั้งเรียกว่า กลุ่มชาติพันธุ์ไต-ไท เป็นชื่อเรียกโดยรวมของกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมดในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่มชาติพันธุ์ ไท-กะได กระจายตัวอยู่ในภูมิภาคอุษาคเนย์ รับประทานข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียว เป็นอาหารหลัก นิยมปลูกเรือนเสาสูง มีใต้ถุน อาศัยทั้งในที่ราบลุ่ม และบนภูเขา ประเพณีศพเป็นวิธีเผาจนเป็นเถ้าแล้วเก็บอัฐิไว้ให้ลูกหลานบูชา ศาสนาดั้งเดิมเป็นการนับถือผี นับถือบรรพบุรุษ และบูชาแถน (ผีฟ้า หรือเสื้อเมือง) มีประเพณีสำคัญคือ ประเพณีสงกรานต์ ซึ่งเป็นประเพณีเฉลิมฉลองวสันตวิษุวัต และการขึ้นปีใหม่ ทั้งนี้ คำเรียก ไต เป็นคำที่กลุ่มชนตระกูลไทใหญ่ใช้เรียกตนเอง ส่วน ไท เป็นคำเดียวกัน แต่เป็นสำเนียงของชาวไทน้อย และ ไทยสยาม บางครั้ง การใช้คำ ไต-ไท ในวงแคบจะหมายถึงเฉพาะผู้ที่ใช้ภาษาในกลุ่มภาษาไท (ไม่รวมกลุ่มภาษากะได เช่น ลักเกีย แสก คำ ต้ง หลี เจียมาว ฯลฯ).
ดู หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลและกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได
มหาวิทยาลัยศิลปากร
มหาวิทยาลัยศิลปากร (Silpakorn University; ชื่อย่อ: มศก. – SU) เป็นมหาวิทยาลัยศิลปะแห่งแรกในประเทศไทย มีชื่อเสียงทางด้านศิลปะและการออกแบบ ปัจจุบันเปิดสอนครอบคลุมทุกสาขาวิชา ทั้งกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยสากลอย่างสมบูรณ์ ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัดกรมศิลปากร" ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้พัฒนาขึ้นเป็นลำดับจนเป็น "โรงเรียนศิลปากร" และเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม..
ดู หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลและมหาวิทยาลัยศิลปากร
รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า
ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานของเครื่องอิสริยาภรณ์ รวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานแก่ผู้ที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า แบ่งออกสำหรับพระราชทานฝ่ายหน้าจำนวน 30 สำรับ และฝ่ายในจำนวน 20 สำรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่เจ้านายหรือผู้มีเกียรติจากต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมกับจำนวนดังกล่าว รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า (ไม่รวมพระนามของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าในชั้นที่สูงขึ้น ได้แก่ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ) ตั้งแต่สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เช่น.
ดู หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า
รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา
นื้อหาในหน้านี้เป็นบัญชีรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาประเภทต่างๆ ตามที่ปรากฎหลักฐานในราชกิจจานุเบกษา ตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมาจนถึงแต่รัชกาลปัจจุบัน โดยแบ่งเป็น 2 ระยะ คือระยะที่พระราชทานตามพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสสริยาภรณ์สำหรับความดีความชอบเหรียญดุษฎีมาลา ปีมะเมีย จัตวาศก ศักราช 1244 และระยะที่พระราชทานตามพระราชบัญญัติเหรียญดุษฎีมาลา พุทธศักราช 2484; หมายเหต.
ดู หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา
รายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี
้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี เป็นการรวบรวมรายพระนามเจ้านายในราชวงศ์จักรีตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้า ซึ่งมีพระชันษายืนนับตั้งแต่ 90 ปีขึ้นไปอันเคยมีเป็นสูงสุดลงจน 60 ปีบริบูรณ์ ซึ่งเป็นต้นเขตของ "อายุยืน" เรียงเป็นลำดับกันตามพระชันษา โดยได้อ้างอิงเนื้อหาตามหนังสือชื่อ"เจ้านายพระชันษายืนในพระราชวงศ์จักรี" พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี..
ดู หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลและรายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี
รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px.
ดู หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วชิราวุธวิทยาลัย
วชิราวุธวิทยาลัย เป็นโรงเรียนประจำชายล้วน สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระองค์พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อสร้างโรงเรียนแก่กุลบุตรชาวไทยแทนการสร้างพระอารามซึ่งมีอยู่มากแล้วนั้น ต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้มีพระบรมราชโองการให้รวมโรงเรียนมหาดเล็กหลวง กรุงเทพ และโรงเรียนราชวิทยาลัยเข้าด้วยกัน โดยให้นักเรียนย้ายมาเรียนรวมกันที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวงกรุงเทพ พร้อมทั้งได้พระราชทานนามโรงเรียนขึ้นใหม่ว่า “วชิราวุธวิทยาลัย” เพื่อเป็นพระบรมราชานุสรณ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้พระราชทานกำเนิดโรงเรียนสืบต่อไป วชิราวุธวิทยาลัยมีตึกที่พักนักเรียน เรียกว่า "คณะ" เป็นเสมือนบ้านของนักเรียน แบ่งออกเป็น 2 ฝั่ง คือ คณะเด็กโต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยม แบ่งออกเป็น ๖ คณะ คือ คณะผู้บังคับการ คณะดุสิต คณะจิตรดา คณะพญาไท คณะจงรักภักดี คณะศักดิ์ศรีมงคล ส่วนคณะเด็กเล็กสำหรับนักเรียนชั้นประถม แบ่งออกเป็น ๓ คณะ คือ คณะสนามจันทร์ คณะนันทอุทยาน และ คณะสราญรมย์ นอกจากนี้ ทางโรงเรียนยังส่งเสริมให้นักเรียนได้เล่นกีฬาต่าง ๆ เช่น รักบี้ฟุตบอล แบดมินตัน นอกจากนี้ ยังมีการจัดการแข่งขันรักบี้ประเพณีกับมาเลย์ คอลเลจ (Malay College Kuala Kangsar) จากประเทศมาเลเซีย เป็นประจำทุก ๆ ปี ปัจจุบัน ดำเนินการสอนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตั้งอยู่ที่ ถนนราชวิถี แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.
ดู หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลและวชิราวุธวิทยาลัย
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.
ดู หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์
หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์ เป็นธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประสูติแต่หม่อมเจิม สนธิรัตน.
ดู หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลและหม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์
ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์
ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ เป็นทับหลังที่ปราสาทหินพนมรุ้ง เป็นโบราณวัตถุที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของไทย ที่เชื่อว่าถูกโจรกรรมไปเมื่อราวปี พ.ศ.
ดู หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลและทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์
คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
ณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Archaeology, Silpakorn University) ตั้งขึ้นเป็นคณะที่ 3 ของมหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อ..
ดู หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลและคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
ตำนานพุทธเจดีย์
ตำนานพุทธเจดีย์สยาม เป็นพระะนิพนธ์ของสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เพื่อพิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพ เจ้าจอมมารดาชุ่ม เมื่อ..
ดู หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลและตำนานพุทธเจดีย์
โกวิท ตั้งตรงจิตร
กวิท ตั้งตรงจิตรนักเขียนรางวัลนราธิป พ.ศ. 2551 เป็นนักเขียนสารคดีดีเด่นแห่งชาติ และเป็นนักตอบปัญหาในสถานีโทรทัศน์ช่อง 4 บางขุนพรหม ร่วมสมัยเดียวกับ ม.จ.
ดู หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลและโกวิท ตั้งตรงจิตร
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
รงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (Triam Udom Suksa School) เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแห่งแรกของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.
ดู หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลและโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
เทวสถานปรางค์แขก
ทวสถานปรางค์แขก หรือเรียกสั้น ๆ ว่า ปรางค์แขก เป็นโบราณสถานอยู่ในเขตตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ปัจจุบันตั้งอยู่บนเกาะกลางถนนบริเวณแยกถนนวิชาเยนทร์กับถนนสุระสงคราม ถือเป็นปราสาทขอมที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของจังหวัดลพบุรีรุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง, ผ.
ดู หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลและเทวสถานปรางค์แขก
23 พฤศจิกายน
วันที่ 23 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 327 ของปี (วันที่ 328 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 38 วันในปีนั้น.
ดู หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลและ23 พฤศจิกายน
6 พฤศจิกายน
วันที่ 6 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 310 ของปี (วันที่ 311 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 55 วันในปีนั้น.
ดู หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลและ6 พฤศจิกายน
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุลสุภัทรดิศ ดิศกุล