เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล

ดัชนี หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล

ลตรี หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล มีพระนามเล่นว่า อั๋น เป็นโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการกับหม่อมพุก ประสูติเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ.

สารบัญ

  1. 18 ความสัมพันธ์: บัญชา ล่ำซำพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศรวรฤทธิ์พจน์ สารสินรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้ารายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรีรายนามศิษย์เก่าโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์วุฒิสภาไทย ชุดที่ 2สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการหม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุลหม่อมหลวงขวัญทิพย์ เทวกุลหม่อมเจ้าวงศ์ทิพย์สุดา เทวกุลอรรถกิจ พนมยงค์คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 21แปลก พิบูลสงคราม

บัญชา ล่ำซำ

ัญชา ล่ำซำ (12 มกราคม พ.ศ. 2468 - 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2535) ผู้ก่อตั้งบริษัทเมืองไทยประกันชีวิต กรรมการผู้จัดการธนาคารกสิกรไทย ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารธนาคารกสิกรไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติสมัยที่ 1 และสมัยที่ 2 ในสมัยที่บัญชายังมีชีวิตอยู่สามารถขยายกิจการธนาคารกสิกรไทย จากการที่มีสินทรัพย์ 700 ล้านบาทมาเป็น 600,000 ล้านบาท จนได้การยกย่องเป็นนายธนาคารแห่งปี 2527 จาก วารสารการเงินธนาคารและนิตยสารดอกเบี้ย และยังได้รับรางวัลนักการตลาดไทยแห่งปี 2534 จากสมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยอีกด้ว.

ดู หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุลและบัญชา ล่ำซำ

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ

ลตำรวจเอก พลโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าคำรบ ปราโมช (3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2414 - 7 สิงหาคม พ.ศ.

ดู หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุลและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศรวรฤทธิ์

มหาเสวกเอก จางวางเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศรวรฤทธิ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 17 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุลและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศรวรฤทธิ์

พจน์ สารสิน

น์ สารสิน (25 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 28 กันยายน พ.ศ. 2543) นายกรัฐมนตรีคนที่ 9 ของประเทศไทย นายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไทยที่เป็นพลเรือนในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช, อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ แต่ภายหลังได้ลาออกเนื่องจากมีความเห็นขัดแย้งกับรัฐบาลเกี่ยวกับการรับรองรัฐบาลเบาได๋ แห่งเวียดนามใต้ และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริก.

ดู หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุลและพจน์ สารสิน

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย

รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไท.

ดู หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุลและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ท..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานทั้งฝ่ายหน้า (บุรุษ) และฝ่ายใน (สตรี) โดยทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 13 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย สำหรับฝ่ายใน ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษมีจำนวน 100 สำรับ สตรีที่ได้รับพระราชานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นนี้ สามารถใช้คำนำหน้านามว่า "ท่านผู้หญิง" สำหรับผู้ที่สมรสแล้ว หรือ "คุณ" สำหรับผู้ที่ยังไม่ได้สมรส สำหรับสตรีในราชสกุล ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไปให้ใช้คำนำพระนามตามเดิม.

ดู หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุลและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานของเครื่องอิสริยาภรณ์ รวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานแก่ผู้ที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า แบ่งออกสำหรับพระราชทานฝ่ายหน้าจำนวน 30 สำรับ และฝ่ายในจำนวน 20 สำรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่เจ้านายหรือผู้มีเกียรติจากต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมกับจำนวนดังกล่าว รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า (ไม่รวมพระนามของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าในชั้นที่สูงขึ้น ได้แก่ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ) ตั้งแต่สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เช่น.

ดู หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุลและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

รายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี

้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี เป็นการรวบรวมรายพระนามเจ้านายในราชวงศ์จักรีตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้า ซึ่งมีพระชันษายืนนับตั้งแต่ 90 ปีขึ้นไปอันเคยมีเป็นสูงสุดลงจน 60 ปีบริบูรณ์ ซึ่งเป็นต้นเขตของ "อายุยืน" เรียงเป็นลำดับกันตามพระชันษา โดยได้อ้างอิงเนื้อหาตามหนังสือชื่อ"เจ้านายพระชันษายืนในพระราชวงศ์จักรี" พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี..

ดู หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุลและรายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี

รายนามศิษย์เก่าโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

รายพระนามและรายนามนักเรียนเก่าจากโรงเรียน.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่มีชื่อเสียง.

ดู หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุลและรายนามศิษย์เก่าโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 2

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 2 (18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494) ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 100 ท่าน เท่ากับจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีอายุคราวละ 6 ปี มีพระราชกฤษฎีกาแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา เมื่อ 18 พฤศจิกายน..

ดู หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุลและวุฒิสภาไทย ชุดที่ 2

สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ

อมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ (3 มีนาคม พ.ศ. 2426-13 มิถุนายน พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุล "จักรพงษ์" เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 40 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้เข้าศึกษาในโรงเรียนนายร้อยมหาดเล็กตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย หลังจากสำเร็จการศึกษา ทรงรับราชการทหารเป็นเสนาธิการทหารบก โดยทรงริเริ่มจัดตั้งโรงเรียนเสนาธิการ ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบินในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่า "พระบิดาแห่งกองทัพอากาศไทย" และ "พระบิดาแห่งการบินไทย" ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 เกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งขึ้น มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยศจากนายพลเอกเป็นจอมพล และทรงเป็นผู้ที่จัดส่งทหารอาสาเขาทำการรบในสงครามครั้งนั้น ต่อมาสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ เสด็จทิวงคตด้วยพระโรคพระปับผาสะ ขณะเสด็จไปประทับพักผ่อนพระวรกายที่สิงคโปร์ พระชนม์เพียง 37 พรรษา เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ.

ดู หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุลและสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ

มหาอำมาตย์นายก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับ สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม ในรัชกาลที่ 4) ร่วมพระชนนีเดียวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี โดยเป็นพระเจ้าลูกเธอชั้นเล็ก ลำดับที่ 42 ในจำนวนทั้งหมด 82 พระอง.

ดู หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุลและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ

หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล

หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล (15 กรกฎาคม 2490 -) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตประธานกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐอดีตประธานกรรมการนโยบายอวกาศแห่งชาติ และอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไท.

ดู หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุลและหม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล

หม่อมหลวงขวัญทิพย์ เทวกุล

หม่อมหลวงขวัญทิพย์ เทวกุล หรือรู้จักกันทั่วไปในชื่อ คุณป้อม ผู้เชี่ยวชาญด้านอาหารโดยเฉพาะอาหารไทยตำรับชาววัง และด้านการออกแบบอาหาร กรรมการรายการมาสเตอร์เชฟไทยแลนด์ ซีซันที่ 1 และมาสเตอร์เชฟไทยแลนด์ ซีซันที่ 2 และเป็นเจ้าของวลีเด็ด เตือนแล้วน.

ดู หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุลและหม่อมหลวงขวัญทิพย์ เทวกุล

หม่อมเจ้าวงศ์ทิพย์สุดา เทวกุล

หม่อมเจ้าหญิงวงศ์ทิพย์สุดา เทวกุล (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2437 - 6 เมษายน พ.ศ. 2512) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ และหม่อมพุก เทวกุล ณ อยุธยา ประสูติวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุลและหม่อมเจ้าวงศ์ทิพย์สุดา เทวกุล

อรรถกิจ พนมยงค์

รองอำมาตย์เอก หลวงอรรถกิติกำจร (อรรถกิจ พนมยงค์) หรือนามเดิม กลึง พนมยงค์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย คนที่ 12 สมาชิกคณะราษฎร และอัครราชทูตไทยประจำกรุงสตอกโฮล์ม นายอรรถกิจ พนมยงค์ มีนามเดิมว่า กลึง พนมยงค์ เป็นบุตรของนายเสียง พนมยงค์ มีพี่น้องร่วมมารดา 1 คน ได้แก่ นางน้อม ตามสกุล และพี่น้องต่างมารดาอีก 6 คน ได้แก่ นางธราทรพิทักษ์ (เก็บ กนิษฐะเสน) นายปรีดี พนมยงค์ นายหลุย พนมยงค์ นางนิติทัณฑ์ประภาศ (ชื่น สุจริต) นางเนื่อง ลิมปินันท์ และนายถนอม พนมยงค์ อรรถกิจ พนมยงค์ ได้เข้าสู่การเมืองฝ่านการชักนำของพี่ชาย ปรีดี พนมยงค์ โดยได้เข้าร่วมกับคณะราษฎร และได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศถึง 1 สมั.

ดู หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุลและอรรถกิจ พนมยงค์

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 21

อมพลแปลก พิบูลสงคราม''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 21 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 21 ของไทย (8 เมษายน พ.ศ.

ดู หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุลและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 21

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุลและแปลก พิบูลสงคราม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ หม่อมเจ้าปรีดิเทพพงศ์ เทวกุลพลตรี หม่อมเจ้าปรีดีเทพพงษ์ เทวกุลปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล