โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์

ดัชนี หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์

หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์ (ราชสกุลเดิม: กุญชร; 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2448 — 17 มกราคม พ.ศ. 2506) เป็นนักเขียนหญิงชาวไทย เจ้าของนามปากกา ดอกไม้สด ภริยาของสุกิจ นิมมานเหมินท์ ราชบัณฑิตและนักการเมืองชาวไทย และเธอยังเป็นพี่สาวของหม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ หรือนามปากกาว่า บุญเหลือ ซึ่งเป็นนักเขียนเช่นกัน.

14 ความสัมพันธ์: ชูวงศ์ ฉายะจินดารายชื่อนวนิยายไทยรายชื่อนักเขียนนวนิยายไทยรายชื่อนามปากกาวนิดาสุพรรณ บูรณะพิมพ์สุกิจ นิมมานเหมินท์หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านอิราวดี นวมานนท์อดุลย์ ดุลยรัตน์เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)17 มกราคม18 มีนาคม

ชูวงศ์ ฉายะจินดา

ูวงศ์ ฉายะจินดา เป็นทั้งชื่อ - นามสกุลจริง และเป็นนามปากกาซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีและใช้ในการเขียนนวนิยายจนตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ยังมีนามปากกาอื่น ๆ อีก คือ เทิดพงษ์ ใช้เมื่อเขียนเรื่องสั้นในช่วงแรก ๆ และนวนิยายเรื่องแรก คือ ตำรับรัก กล้วยไม้ ณ วังไพร, แก้วเจียระไน, กรทอง และทวิชาทั้ง 4 นามปากกาใช้ในการเขียนนวนิยายลงตีพิมพ์ในหน้านิตยสารต่าง ๆ ชูวงศ์ ฉายะจินดา เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 25 ธันวาคม พุทธศักราช 2473 เป็นบุตรคนสุดท้องในพี่น้องร่วมมารดาทั้งหมดห้าคนของพระชาญบรรณกิจ (ถวิล ฉายะจินดา) อดีตรองอธิบดีกรมบัญชีกลางกระทรวงการคลังและนางชาญบรรณากิจ (ช่วง ฉายะจินดา) ชูวงศ์ ฉายะจินดา หยุดเขียนนวนิยายไปยาวนาน นับตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2521 เมื่อเดินทางย้ายไปพำนักอยู่ที่ประเทศออสเตรเลีย ทิ้งผลงานให้ผู้อ่านตามรอยไว้เกือบ 70 เล่ม จนกระทั่งปีพุทธศักราช 2540 จึงกลับเข้าสู่วงวรรณกรรมอีกครั้ง ซึ่งนับเป็นเวลาที่ห่างหายไปจากงานเขียนเป็นเวลา 20 ปี ปัจจุบัน ชูวงศ์ ฉายะจินดา อาศัยอยู่ ณ นครเมลเบริร์น ประเทศออสเตรเลียมากว่า 40 ปี มีบุตรชายหนึ่งคน คือ นายโชติรส ฉายะจินดา (เสียชีวิตแล้ว).

ใหม่!!: หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์และชูวงศ์ ฉายะจินดา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนวนิยายไทย

รายชื่อนวนิยายไท.

ใหม่!!: หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์และรายชื่อนวนิยายไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักเขียนนวนิยายไทย

ทความนี้รวบรวมรายชื่อนักเขียนนวนิยายไท.

ใหม่!!: หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์และรายชื่อนักเขียนนวนิยายไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนามปากกา

นี่คือรายชื่อนามปากก.

ใหม่!!: หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์และรายชื่อนามปากกา · ดูเพิ่มเติม »

วนิดา

วนิดา เป็นบทประพันธ์นวนิยายของ วรรณสิริ ตีพิมพ์ในนิตยสารวารสารศัพท์ ว. วินิจฉัยกุลเคยวิเคราะห์ไว้ในในวารสารสมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทย และพิมพ์รวมเล่มในหนังสือ ปากไก่วรรณกรรม ของสำนักพิมพ์ดอกหญ้า เมื่อ..

ใหม่!!: หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์และวนิดา · ดูเพิ่มเติม »

สุพรรณ บูรณะพิมพ์

รรณ บูรณะพิมพ์ (17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2469 - 16 ตุลาคม พ.ศ. 2528) นักแสดง และผู้กำกับอาวุโส ผู้มีผลงานทั้งแสดง และกำกับละครเวที ละครโทรทัศน์ และภาพยนตร์ เคยได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง ผู้แสดงประกอบฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม 2 ปีติดต่อกัน ในปี พ.ศ. 2505 และ พ.ศ. 2506 และได้รับการยกย่อง รางวัลเกียรติคุณทางการแสดง ครั้งที่ 4 ประจำปี..

ใหม่!!: หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์และสุพรรณ บูรณะพิมพ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุกิจ นิมมานเหมินท์

ตราจารย์ สุกิจ นิมมานเหมินท์ (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2449 — 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519) อดีตราชบัณฑิต อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีหลายกระทรวง และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์และสุกิจ นิมมานเหมินท์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ

ตราจารย์พิเศษ หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ (13 ธันวาคม พ.ศ. 2454 - 7 มิถุนายน พ.ศ. 2524) เดิมชื่อ หม่อมหลวงบุญเหลือ กุญชร เป็นนักเขียน และนักวิชาการภาษาไทย เป็นธิดาลำดับที่ 32 ของเจ้าพระยาเทเวศรวงศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว. หลาน กุญชร) กับหม่อมนวล เกิดที่บ้านย่านคลองเตย ถนนสุนทรโกษา ซึ่งเป็นบ้านพักนอกเมืองของบิดา เป็นน้องสาวร่วมบิดากับหม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์ นักเขียนชาวไทย ที่มีนามปากกาว่า ดอกไม้สด จบชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนแวนต์ และไปศึกษาต่อชั้นมัธยมที่ ปีนัง และประเทศอังกฤษ จากนั้นมาศึกษาต่อที่ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จบการศึกษาเมื่อ..

ใหม่!!: หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์และหม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน

รายชื่อหนังสือดี 100 เล่ม ที่คนไทยควรอ่าน (พ.ศ. 2408-2519) เป็นงานวิจัยของวิทยากร เชียงกูล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับคณะวิจัยอีก 10 ท่าน ชื่อ "โครงการวิจัยเพื่อคัดเลือกและแนะนำหนังสือดีในรอบศตวรรษ" ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ในช่วงปี..

ใหม่!!: หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์และหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน · ดูเพิ่มเติม »

อิราวดี นวมานนท์

อิราวดี นวมานนท์ (น้ำอบ) อิราวดี นวมานนท์ (18 มีนาคม พ.ศ. 2494 – 1 ตุลาคม พ.ศ. 2540) หรือนามปากกา น้ำอบ เป็นนักเขียนชาวไทย ผู้เขียน คือหัตถาครองพิภพ และ ผู้ชายไม้ประดับ อิราวดี นวมานนท์ เกิดเมื่อวันที่ 18 มีนาคม..

ใหม่!!: หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์และอิราวดี นวมานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อดุลย์ ดุลยรัตน์

อดุลย์ ดุลยรัตน์ (5 เมษายน พ.ศ. 2475 - 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2559) เป็นนักแสดง ผู้กำกับชาวไทย มีตำแหน่งเป็น คณะกรรมการของสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งประเทศไท.

ใหม่!!: หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์และอดุลย์ ดุลยรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ นามเดิม หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร เป็นพระโอรสในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิงหนาทราชดุรงค์ฤทธิ์ กับหม่อมสุด กุญชร ณ อยุธยา เกิดเมื่อวันพฤหัสบดี เดือนอ้าย ขึ้น ๗ ค่ำ ปีชวด ตรงกับวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน..

ใหม่!!: หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์และเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร) · ดูเพิ่มเติม »

17 มกราคม

วันที่ 17 มกราคม เป็นวันที่ 17 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 348 วันในปีนั้น (349 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์และ17 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

18 มีนาคม

วันที่ 18 มีนาคม เป็นวันที่ 77 ของปี (วันที่ 78 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 288 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์และ18 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

หม่อมหลวงบุบผา นิมมานเหมินทร์หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินทร์บุปผา นิมมานเหมินท์ดอกไม้สด

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »