สารบัญ
17 ความสัมพันธ์: บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2551พ.ศ. 2551พระยาสุรินทราชาพระยาสุรินทราชา (นกยูง วิเศษกุล)พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภากันยา เทียนสว่างรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้ารายนามชาวไทยที่มีอายุเกิน 100 ปีวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารวณี เลาหเกียรติสยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์คณะกรรมการส่งเสริมวัฒนธรรมภาษาไทยเจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่19 พฤษภาคม
บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2551
้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2551.
ดู หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยาและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2551
ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยาและพ.ศ. 2551
พระยาสุรินทราชา
ระยาสุรินทรราชา เป็นบรรดาศักดิ์ อาจหมายถึง.
ดู หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยาและพระยาสุรินทราชา
พระยาสุรินทราชา (นกยูง วิเศษกุล)
มหาเสวกโท พระยาสุรินทราชา สยามราชภักดี พิริยะพาหะ (นกยูง วิเศษกุล) มีนามเดิมว่า นกยูง วิเศษกุล อดีตอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข อดีตสมุหเทศาภิบาล มณฑลภูเก็ต เป็นผู้แปลนวนิยายเรื่อง ความพยาบาท จากเรื่อง Vendetta ของมารี คอเรลลี ใช้นามปากกา "แม่วัน" ถือเป็นนิยายแปลเล่มแรกของไทย พระยาสุรินทราชา (นกยูง วิเศษกุล) เดิมมีบรรดาศักดิ์เป็น หลวงอภิรักษ์ราชฤทธิ์ เมื่อ..
ดู หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยาและพระยาสุรินทราชา (นกยูง วิเศษกุล)
พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
นี่คือ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระราชโอรส พระราชธิดา และพระราชนั.
ดู หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยาและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์
ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ (ประสูติ: 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 — สิ้นพระชนม์: 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2451) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ที่ต่อมาได้เสกสมรสเป็นพระชายาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ โดยเป็นพระมารดาของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในรัชกาลที่ 8.
ดู หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยาและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์
นายพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (19 ธันวาคม พ.ศ. 2423 — 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2466) มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ ทรงเป็นต้นราชสกุล "อาภากร" เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงได้รับสมัญญานามว่า "องค์บิดาของทหารเรือไทย" พระองค์ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบริหารงานของกองทัพเรือ ทรงได้รับการเชิดชูในหมู่ทหารเรือเรียกขานพระองค์ว่า "เสด็จเตี่ย" หรือ "หมอพร" และ "พระบิดาแห่งกองทัพเรือไทย" ต่อมาในปี 2536 มีประกาศกองทัพเรือขนานพระนามพระองค์ว่า "พระบิดาของกองทัพเรือไทย" และในปี 2544 แก้ไขเป็น "องค์บิดาของทหารเรือไทย" ภายหลังจากการสิ้นพระชนม์ของพระองค์ ได้มีการจัดสร้างศาลและพระอนุสาวรีย์พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ รวมทั้งสิ้น 217 แห่งทั่วประเทศไทย เช่น โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี หรือที่พระตำหนักที่หาดทรายรี จังหวัดชุมพร.
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา
ลโท พลเรือโท พลอากาศโท พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา (ประสูติ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2447 - สิ้นพระชนม์ 19 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยาและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา
กันยา เทียนสว่าง
กันยา เทียนสว่าง นางสาวสยาม พ.ศ. 2477 มีชื่อเล่นว่า "ลูซิล" เป็นธิดาของ นายสละ เทียนสว่าง และนางสนอม เทียนสว่าง แม่เธอมีเชื้อสายมอญ บิดาของเธอทำงานเป็นนายท่าเรืออยู่ที่ท่าเขียวไข่กา บางกระบือ พระนคร เกิดเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม..
ดู หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยาและกันยา เทียนสว่าง
รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า
ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานของเครื่องอิสริยาภรณ์ รวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานแก่ผู้ที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า แบ่งออกสำหรับพระราชทานฝ่ายหน้าจำนวน 30 สำรับ และฝ่ายในจำนวน 20 สำรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่เจ้านายหรือผู้มีเกียรติจากต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมกับจำนวนดังกล่าว รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า (ไม่รวมพระนามของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าในชั้นที่สูงขึ้น ได้แก่ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ) ตั้งแต่สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เช่น.
ดู หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยาและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า
รายนามชาวไทยที่มีอายุเกิน 100 ปี
ระบบสถิติทางการทะเบียนของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ระบุว่า ในเดือนธันวาคม..
ดู หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยาและรายนามชาวไทยที่มีอายุเกิน 100 ปี
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึ้นเมื่อใด เดิมชื่อ วัดแหลม หรือ วัดไทรทอง ภายหลังได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวใหม่ว่า วัดเบญจบพิตร ซึ่งหมายถึง วัดของเจ้านาย ๕ พระองค์ที่ทรงร่วมกันปฏิสังขรณ์วัดแห่งนี้ เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างสวนดุสิตขึ้นพระองค์ทรงทำผาติกรรมสถาปนาวัดขึ้นใหม่และพระราชทานามว่า วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม อันหมายถึง วัดของพระเจ้าแผ่นดินรัชกาลที่ ๕.
ดู หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยาและวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร
วณี เลาหเกียรติ
วณี สมประสงค์ (สกุลเดิม: เลาหเกียรติ; 3 เมษายน พ.ศ. 2464) หรือชื่อเดิมว่า เอเวอลีน เลาหเกียรติ เป็นนางสาวสยาม..
ดู หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยาและวณี เลาหเกียรติ
สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์
มสมาคม หอประชุม สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์ ตั้งอยู่ถนนอโศกมนตรี กรุงเทพมหานคร ตั้งขึ้นเมื่อ..
ดู หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยาและสยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์
คณะกรรมการส่งเสริมวัฒนธรรมภาษาไทย
ณะกรรมการส่งเสริมวัฒนธรรมภาษาไทย (หรือ คนะกัมการส่งเสิมวัธนธัมภาสาไทย) ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2485 โดยมีวัตถุประสงค์ปรับปรุงส่งเสริมวัฒนธรรมทางภาษาไทยให้เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้น และเพื่อพิจารณาปรับปรุงส่งเสริมภาษาไทยและหนังสือไทย ทั้งในทางเรียงความ ร้อยแก้ว และกาพย์ กลอน โคลง ฉันท์ ทั้งนี้ คณะกรรมการส่งเสริมวัฒนธรรมภาษาไทยได้ยกร่างและเสนอรัฐบาลสมัยจอมพล ป.
ดู หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยาและคณะกรรมการส่งเสริมวัฒนธรรมภาษาไทย
เจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่
้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่ หรือเป็นที่รู้จักในนาม เจ้าป้า (16 พฤษภาคม พ.ศ. 2478 — 13 มีนาคม พ.ศ. 2548) เป็นธิดาของเจ้ากาวิละวงศ์ กับเจ้าศิริประกาย ณ เชียงใหม่ และเป็นนัดดาของเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์สุดท้.
ดู หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยาและเจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่
19 พฤษภาคม
วันที่ 19 พฤษภาคม เป็นวันที่ 139 ของปี (วันที่ 140 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 226 วันในปีนั้น.