โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

หมู่เกาะนิโคบาร์

ดัชนี หมู่เกาะนิโคบาร์

แผนที่หมู่เกาะนิโคบาร์ หมู่เกาะนิโคบาร์ (Nicobar Islands) ปรากฏในแผนที่โบราณสมัยกรุงศรีอยุธยาและต้นกรุงรัตนโกสินทร์ว่า นาควารีเกาะคนเปลือย เป็นหมู่เกาะทางตะวันออกของมหาสมุทรอินเดีย ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเขตปกครองพิเศษอาเจะห์และเกาะสุมาตรา ราว 150 กม.

11 ความสัมพันธ์: กระโดนใต้รายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรปรายชื่ออดีตอาณานิคมของเยอรมนีสกุลหนอนตายหยากหวายกำพวนจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีทะเลอันดามันนกกาเหว่านกขุนทองนโยบายอาณานิคมออสเตรียเส้นขนานที่ 10 องศาเหนือ

กระโดนใต้

กระโดนใต้ Blume) Blume เป็นพืชในวงศ์ Lecythidaceae เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ โคนต้นมีพูพอน หูใบร่วงง่ายรูปลิ่มแคบ ใบเดี่ยว แผ่นใบค่อนข้างบาง ดอกช่อ เรียงแน่น กลีบเลี้ยงติดทน กลีบดอกบาง สีออกเขียวอ่อน ผลมีหลายเมล็ด พบในไทยเฉพาะภาคใต้ตอนล่าง เช่น ที่ ยะลา กระจายพันธุ์ตั้งแต่หมู่เกาะนิโคบาร์ไปจนถึงเกาะนิวกินี.

ใหม่!!: หมู่เกาะนิโคบาร์และกระโดนใต้ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป

ต่อไปนี้คือรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป.

ใหม่!!: หมู่เกาะนิโคบาร์และรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออดีตอาณานิคมของเยอรมนี

"Little Venice" รายชื่ออาณานิคมของเยอรมันและรัฐในอารักขา นอกทวีปยุโรปในสมัยของปรัสเซีย (รวมบรันเดินบวร์ค) และจักรวรรดิเยอรมัน (รวมราชวงศ์ฮับส์บูร์ก).

ใหม่!!: หมู่เกาะนิโคบาร์และรายชื่ออดีตอาณานิคมของเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

สกุลหนอนตายหยาก

กุลหนอนตายหยาก หรือ Stemona เป็นสกุลของไม้เถาหรือไม้กึ่งพุ่มในวงศ์ Stemonaceae ตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: หมู่เกาะนิโคบาร์และสกุลหนอนตายหยาก · ดูเพิ่มเติม »

หวายกำพวน

หวายกำพวน เป็นหวายกอขนาดใหญ่ โตเร็ว ใบย่อยรวมกันเป็นกลุ่ม กาบหุ้มลำมีหนามสีดำหนาแน่น โคนของหนามสีเหลืองอ่อน มีมือเกี่ยวเนื้อค่อนข้างหยาบ ในไทยใช้ทำเฟอร์นิเจอร์ ชาวเกาะในทะเลอันดามันนำผลมารับประทาน พบในบังกลาเทศไทย พม่า หมู่เกาะนิโคบาร.

ใหม่!!: หมู่เกาะนิโคบาร์และหวายกำพวน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

ักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รู้จักกันในนาม ออสเตรีย-ฮังการี (Austria-Hungary) เป็นจักรวรรดิที่มีระบอบการปกครองแบบควบคู่ (Dual Monarchy) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ปีพ.ศ. 2410 จนถึง พ.ศ. 2461 หลังจากนั้น จักรวรรดินี้ถูกล้มล้างหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 จักรวรรดินี้ได้สืบทอดมาจากจักรวรรดิออสเตรีย (ค.ศ. 1804-ค.ศ. 1867) โดยมีอาณาเขตพื้นที่เดียวกัน โดยมีต้นกำเนิดจากการเจรจาต่อรองระหว่างออสเตรียและฮังการี เมื่อปีพ.ศ. 2410 ซึ่งทั้งสองประเทศนี้ถูกปกครองโดยราชวงศ์ฮับส์บูร์กมาช้านาน โดยเจรจาให้มีการรวมอาณาจักรเป็นหนึ่งเดียว โดยจักรวรรดินี้เป็นอาณาจักรที่มีหลากหลายเชื้อชาติและมีความเจริญรุ่งเรืองขีดสุด ทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และอุตสาหกรรม ราชวงศ์ฮับส์บูร์กนั้นได้ปกครองประเทศในฐานะจักรพรรดิแห่งออสเตรีย (Emperor of Austria) และราชอาณาจักรฮังการีในฐานะกษัตริย์แห่งฮังการี (Apostolic King of Hungary) ผู้ทรงเปรียบเสมือนเบื้องขวาแห่งองค์พระผู้เป็นเจ้า นอกจากนั้นยังได้ปกครองทั่วทั้งทางตะวันตกและทางเหนือ รวมทั้งครึ่งหนึ่งของทวีปยุโรปเลยทีเดียว โดยทุกประเทศที่อยู่ภายใต้จักรวรรดินี้ มีรัฐบาลเป็นของตนเอง มิได้มีรัฐบาลและศูนย์กลางทางการเมืองหรือรัฐบาลที่ประเทศเดียว เมืองหลวงของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีนั้น มีอยู่ 2 เมืองด้วยกันคือ กรุงเวียนนา ที่ประเทศออสเตรีย และกรุงบูดาเปสต์ที่ประเทศฮังการี จักรวรรดินี้มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับสองรองจากจักรวรรดิรัสเซีย และเป็นอาณาจักรที่มีประชากรหนาแน่นเป็นอันดับ 3 รองจากจักรวรรดิรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งปัจจุบันนี้ พื้นที่ที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดินั้นมีประชากรรวมทั้งหมดถึง 73 ล้านคน.

ใหม่!!: หมู่เกาะนิโคบาร์และจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลอันดามัน

แนวแผ่นดินไหวของเกาะสุมาตรา (2547) ภาพดาวเทียมของทะเลอันดามัน แสดงให้เห็นสาหร่ายสีเขียวและตะกอนจากแม่น้ำอิรวดี ทะเลอันดามัน (Andaman Sea; আন্দামান সাগর; अंडमान सागर) หรือ ทะเลพม่า (မြန်မာပင်လယ်,; มยะหม่าปิ่นแหล่) เป็นทะลที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของอ่าวเบงกอล เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรอินเดีย ทางเหนือของทะเลติดกับปากแม่น้ำอิระวดีในประเทศพม่า ทางตะวันออกเป็นคาบสมุทรประเทศพม่า ประเทศไทย และประเทศมาเลเซีย ทางตะวันตกเป็นหมู่เกาะอันดามัน และหมู่เกาะนิโคบาร์ ภายใต้การปกครองของอินเดีย ทางใต้ติดกับเกาะสุมาตรา ของอินโดนีเซีย และช่องแคบมะละกา ทะเลอันดามันมีความยาวจากเหนือจรดใต้ประมาณ 1,200 กิโลเมตร กว้าง 645 กิโลเมตร มีพื้นน้ำประมาณ 600,000 ตร.กม. มีความลึกเฉลี่ย 1,096 เมตร จุดที่ลึกที่สุดมีระดับความลึก 4,198 เมตร.

ใหม่!!: หมู่เกาะนิโคบาร์และทะเลอันดามัน · ดูเพิ่มเติม »

นกกาเหว่า

นกกาเหว่า หรือ นกดุเหว่า (Asian koel) เป็นนกชนิดหนึ่งในวงศ์นกคัคคู (Cuculidae) พบในเอเชียใต้ จีน เอเชียอาคเนย์รวมทั้งประเทศไทย เป็นญาติใกล้ชิดกับ E. melanorhynchus (black-billed koel) และกับ E. orientalis (Pacific koel) โดยทั้งสองบางครั้งจัดเป็นสปีชีส์ย่อยของ E. scolopaceus เป็นญาติใกล้ชิดกับ E. melanorhynchus (black-billed koel) และกับ E. orientalis (Pacific koel) โดยทั้งสองบางครั้งจัดเป็นสปีชีส์ย่อยของ E. scolopaceus เป็นนกปรสิตที่วางไข่ให้กาและนกอื่น ๆ เลี้ยง เป็นนกจำพวกคัคคูที่ไม่เหมือนพันธุ์อื่น ๆ เพราะโดยมากกินผลไม้ (frugivore) เมื่อเติบใหญ่ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองในประเทศไทย ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 ชื่อว่า "กาเหว่า" และชื่ออื่น ๆ อีกหลายภาษารวมทั้งชื่ออังกฤษว่า "koel" เป็นชื่อเลียนเสียงนก เป็นนกที่ใช้เป็นสัญลักษณ์อย่างมากมายในวรรณกรรมอินเดี.

ใหม่!!: หมู่เกาะนิโคบาร์และนกกาเหว่า · ดูเพิ่มเติม »

นกขุนทอง

แสดงให้เห็นถึงหัวของนกขุนทองชนิดย่อยต่าง ๆ ซึ่งแตกต่างกันที่เหนียง นกขุนทอง หรือ นกเอี้ยงคำ (คำเมือง) เป็นนกในวงศ์นกเอี้ยงและนกกิ้งโครง (Sturnidae) มีถิ่นอาศัยอยู่ทั่วไปในเอเชียใต้และเอเชียอาคเนย์ มีความสามารถเลียนเสียงมนุษย์ได้เหมือนนกแก้ว จึงนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงกันสูง.

ใหม่!!: หมู่เกาะนิโคบาร์และนกขุนทอง · ดูเพิ่มเติม »

นโยบายอาณานิคมออสเตรีย

อาณานิคมของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิออสเตรียและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีพยายามหากำไรจากการค้าอาณานิคมและสถาปนาอาณานิคมของตนเอง แต่เนื่องจากแรงกดดันจากเจ้าอาณานิคมอื่นและรัฐบาลที่ไม่สามารถแบกรับภาระค่าใช้จ่ายได้ ความพยายามทั้งหมดจึงล้มเหลวในที.

ใหม่!!: หมู่เกาะนิโคบาร์และนโยบายอาณานิคมออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 10 องศาเหนือ

้นขนานที่ 10 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 10 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย อนุทวีปอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก อเมริกากลาง ทวีปอเมริกาใต้ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 12 ชั่วโมง 43 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 11 ชั่วโมง 33 นาที ในระหว่างเหมายัน ส่วนของเขตแดนระหว่างประเทศกินีและประเทศเซียร์ราลีโอนถูกกำหนดด้วยเส้นขนานนี้ ช่องแคบสิบองศาในมหาสมุทรอินเดียตั้งชื่อตามเส้นขนานนี้.

ใหม่!!: หมู่เกาะนิโคบาร์และเส้นขนานที่ 10 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Nicobar Islands

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »