โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

หน้าไม้

ดัชนี หน้าไม้

ก็ตช์โดย เลโอนาโด ดาวินชี ประมาณ ค.ศ. 1500 หน้าไม้ เป็นอาวุธอันประกอบด้วยคันศรติดตั้งบนด้าม และยิงกระสุนวิถีโค้ง ที่มักเรียกว่า bolt หรือ quarrel หน้าไม้ในยุคกลางมีชื่อเรียกหลายชื่อ ซึ่งส่วนมากมีรากศัพท์มาจากคำว่า ballista ซึ่งเป็นเครื่องบิดที่มีรูปลักษณ์คล้ายกับหน้าไม้ ในประวัติศาสตร์ หน้าไม้มีบทบาทสำคัญในการสงครามเอเชียตะวันออก ยุโรป และเมดิเตอร์เรเนียน ปัจจุบัน หน้าไม้ใช้ในกีฬา การล่าสัตว.

13 ความสัมพันธ์: ฟรันซิสคา เพียร์พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอาการสงครามสมัยใหม่ตอนต้นมิกกี สกอตต์ลุนด์วิลเลียม เทลสหัสวรรษที่ 1 ก่อนคริสตกาลสงครามครูเสดครั้งที่ 7หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาธนูและลูกธนูณปภพ ประมวญซามูไรปีใหม่ม้งใบสอ

ฟรันซิสคา เพียร์

ฟรันซิสคา เพียร์ (Franziska Peer) เกิดวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1987 ที่คุฟซไตน์ รัฐทิโรล ประเทศออสเตรีย ผู้ซึ่งเป็นทั้งนักกีฬายิงปืนและนักยิงหน้าไม้ชาวออสเตรีย โดยเป็นสมาชิกสโมสรชึทเซนกีลเดออันเกอร์แบร์ก.

ใหม่!!: หน้าไม้และฟรันซิสคา เพียร์ · ดูเพิ่มเติม »

พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา

ประติมากรรมเศียรของพีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา (กรีก: Φίλιππος Β' ὁ Μακεδών-มีความหมายว่า- φίλος (phílos) "เพื่อน" + ἵππος (híppos) "ม้า") กษัตริย์แห่งราชอาณาจักรมาเกโดนีอา มีรัชสมัยอยู่ระหว่าง 359– 336 ปีก่อนคริสต์ศักราช เป็นพระบิดาของอเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งมาเกโดนีอา หรือที่รู้จักดีในนาม อเล็กซานเดอร์มหาราช พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา มีพระเนตรที่ใช้การได้เพียงข้างเดียว เป็นกษัตริย์นักรบแห่งมาเกโดนีอา ที่ทำการรบเอาชนะนครรัฐต่าง ๆ ของกรีซโบราณได้หลายแห่ง ทั้ง ธีบส์, เอเธนส์ หรือสปาร์ตา เมื่อพระองค์ทำการยึดครองนครรัฐเอเธนส์ซึ่งเสมือนเป็นศูนย์กลางของกรีซโบราณได้แล้ว ทำให้ชาวกรีกในนครรัฐต่าง ๆ ต้องเปลี่ยนมุมมองที่มีต่อชาวมาเกโดนีอาใหม่ จากที่เคยมองว่าเป็นเพียงชนเผ่าที่เหมือนเป็นเผ่าป่าเถื่อน ไร้อารยธรรมทางเหนือของอาณาจักรเท่านั้น เมื่อพระองค์ไม่ได้ทำลายสิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ หรือทำลายอารยธรรมของชาวเอเธนส์ หากแต่พระองค์ได้พยายามเรียนรู้และผสมรวมกันกับอารยธรรมของมาเกโดนีอา และพระองค์ยังได้ส่งเสริมนักวิชาการ นักปราชญ์ชาวเอเธนส์ต่าง ๆ ด้วยว่าจ้างให้ไปเผยแพร่ความรู้ยังมาเกโดนีอา และเป็นอาจารย์สอนวิทยาการต่าง ๆ ให้แก่ชาวมาเกโดนีอา เช่น อริสโตเติล ซึ่งอเล็กซานเดอร์ เมื่อครั้งยังเยาว์วัย ก็เป็นลูกศิษย์ของอริสโตเติลด้วยเช่นกัน ในการสงคราม พระองค์ได้ปรับปรุงยุทธวิธีการรบแบบใหม่ ทรงพัฒนากองทัพมาเกโดเนียโบราณขึ้นจนถึงจุดสมบูรณ์แบบ โดยใช้การผสมระหว่างกองทหารราบและกองทหารม้าเข้าไว้ด้วยกัน ใช้อาวุธแบบใหม่ คือ ทวนที่มีความยาวกว่า 5 เมตร โดยการใช้กองทหารตั้งแถวหน้ากระดานเดินบุกขึ้นหน้า และใช้ทวนยาวนี้พุ่งทะลุแทงข้าศึก ซึ่งรูปแบบการรบที่ใช้กันต่อมาอย่างยาวนานของกรีซโบราณ อีกทั้งยังประดิษฐ์หน้าไม้ที่มีอานุภาพยิงได้ระยะไกล และทะลวงเข้าถึงเกราะหรือโล่ของข้าศึกได้อีกด้วย พีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา มีประสงค์ที่จะทำสงครามกับอาณาจักรเปอร์เซีย ที่เสมือนเป็นคู่สงครามกับชาวกรีกมาตลอด แต่ประสงค์ของพระองค์มิทันได้เริ่มขึ้น เมื่อพระองค์สิ้นพระชนม์ลงก่อนเมื่อเดือนตุลาคม 336 ปีก่อนคริสต์ศักราช ขณะที่มีพระชนมายุได้ 46 ปี จากการลอบสังหารด้วยมีดปักเข้าที่พระอุระของมือสังหารที่เดินตามหลังพระองค์ ขณะที่พระองค์อยู่ในงานเฉลิมฉลอง ซึ่งไม่มีใครทราบถึงสาเหตุของการลอบสังหารครั้งนี้ เพราะมือสังหารได้ถูกสังหารโดยทหารองครักษ์ลงก่อนที่จะไต่สวนใด ๆ ได้มีการสันนิษฐานต่าง ๆ เช่น อาจเป็นการว่าจ้างของกษัตริย์เปอร์เซียด้วยทองคำ เป็นต้น.

ใหม่!!: หน้าไม้และพีลิปโปสที่ 2 แห่งมาเกโดนีอา · ดูเพิ่มเติม »

การสงครามสมัยใหม่ตอนต้น

การสงครามสมัยใหม่ตอนต้น (Early modern warfare) สัมพันธ์กับการที่เริ่มมีการใช้ดินปืนอย่างแพร่หลายและการพัฒนาอาวุธที่เหมาะจะใช้ระเบิด ซึ่งรวมถึงปืนใหญ่และปืนที่ใช้มือถือ (handgun) เช่น ปืนไฟ และต่อมา คือ ปืนคาบศิลา ด้วยเหตุนี้ ยุคนี้จึงสรุปได้ว่าเป็นยุคแห่งการสงครามดินปืน ก่อนหน้าคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีการใช้ดินปืนน้อยมาก แต่เปลี่ยนมาใช้ทั่วไปในสมัยใหม่ตอนต้น โดยพบใช้มากที่สุดระหว่างสงครามนโปเลียน ตั้งแต..

ใหม่!!: หน้าไม้และการสงครามสมัยใหม่ตอนต้น · ดูเพิ่มเติม »

มิกกี สกอตต์ลุนด์

มิกกี สกอตต์ลุนด์ (Micky Skottlund; 2 มกราคม ค.ศ. 1948 —) เป็นนักยิงหน้าไม้ชาวสวีเดน ผู้ซึ่งเข้าแข่งขันให้แก่สโมสรหน้าไม้กอเทนเบิร์ก เขาเป็นแชมป์โลกใน..

ใหม่!!: หน้าไม้และมิกกี สกอตต์ลุนด์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม เทล

ลายเส้นในปี 1554 ขณะวิลเลียม เทล ยิงหน้าไม้ใส่แอปเปิลบนศีรษะลูกชาย วิลเลียม เทล (William Tell; Wilhelm Tell; Guillaume Tell; Guglielmo Tell; Guglielm Tell) เป็นวีรบุรุษจากนิทานพื้นบ้านของสวิตเซอร์แลนด์ที่เล่าขานกันในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 ในปัจจุบันถือว่าเป็นวีรบุรุษที่เป็นตัวแทนผู้รักชาติชาวสวิส เช่นเดียวกับ Arnold von Winkelried วีรบุรุษอีกคนหนึ่ง เนื้อเรื่องเกิดขึ้นในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 14 ในช่วงการก่อตั้งสหพันธรัฐสวิสเก่า กล่าวถึงวิลเลียม เทล เป็นนักธนูที่มีฝีมือแม่นยำ ผู้ลอบสังหาร อัลเบรชต์ เกสเลอร์ ขุนนางผู้ใหญ่แห่งอาณาจักรฮับส์บูร์ก เหตุการณ์ในเรื่องตอนที่มีชื่อเสียง เป็นตอนที่วิลเลียม เทล ถูกเกสเลอร์ทดสอบฝีมือยิงหน้าไม้ โดยบังคับให้ใช้เป้ายิงเป็นผลแอปเปิลที่วางอยู่บนศีรษะของลูกชายของเขา หากวิลเลียม เทลยิงพลาดก็หมายถึงชีวิตของเด็ก.

ใหม่!!: หน้าไม้และวิลเลียม เทล · ดูเพิ่มเติม »

สหัสวรรษที่ 1 ก่อนคริสตกาล

หัสวรรษที่ 1 ก่อนคริสตกาล เป็นช่วงเวลาในช่วงยุคเหล็กและเป็นเวลาที่พบเห็นการปรากฏของจักรวรรดิต่างๆมากมายอย่างต่อเนื่อง ช่วงเวลานี้เริ่มตั้งแต่ 1000 ปีก่อนคริสตกาล ถึง 1 ปีก่อนคริสตกาล.

ใหม่!!: หน้าไม้และสหัสวรรษที่ 1 ก่อนคริสตกาล · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสดครั้งที่ 7

งครามครูเสดครั้งที่ 7 (Seventh Crusade; ค.ศ. 1248 – 1254) เป็นการทัพครูเสด ที่ฝ่ายคริสต์ นำทัพโดยพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส รบกับสุลต่านแห่งราชวงศ์อัยยูบีย์ อัสซาลิห์ อัยยู.

ใหม่!!: หน้าไม้และสงครามครูเสดครั้งที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา

หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา (ท.จ.) (4 ธันวาคม พ.ศ. 2422-20 ตุลาคม พ.ศ. 2481) มีนามเดิมว่า อัญญานางเจียงคำ สกุลเดิม บุตโรบล เป็นเจ้านายสตรีของเมืองอุบลราชธานีซึ่งเป็นเมืองประเทศราชของราชอาณาสยามมาตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) ที่ถวายตัวเป็นหม่อมใน พลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ พระราชโอรสองค์ที่ 11 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) และองค์ที่ 3 ในเจ้าจอมมารดาพึ่ง เพื่อเป็นการกระชับสัมพันธไมตรีระหว่างราชสำนักสยาม กับเจ้านายพื้นถิ่นเมืองอุบลราชธานีให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น ในช่วงที่มีนโยบายปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดิน สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5).

ใหม่!!: หน้าไม้และหม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ธนูและลูกธนู

นูคอมโพสิทสมัยใหม่ ธนูและลูกธนู (Bow and arrow) จัดเป็นอาวุธระยะไกล ที่ได้รับการจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ว่าเป็นวิวัฒนาการที่สำคัญในเกือบทุกวัฒนธรรมโบราณ โดยการยิงธนูถือเป็นศาสตร์และศิลป์อย่างหนึ่งที่ผู้ใช้ต้องใช้เวลาฝึกฝนเป็นระยะเวลานาน ปัจจุบันธนูได้ถูกพัฒนามาเพื่อใช้ในการล่าสัตว์ และเพื่อใช้ในการกีฬาเท่านั้น.

ใหม่!!: หน้าไม้และธนูและลูกธนู · ดูเพิ่มเติม »

ณปภพ ประมวญ

ณปภพ ประมวญ หรือที่รู้จักในชื่อ ครูแปรง (1 กันยายน พ.ศ. 2501 —) เป็นผู้ฝึกสอนมวยไชยาและกระบี่กระบอง เขาเป็นศิษย์ของครูทองหล่อ ยาและ และเป็นผู้ผลักดันมวยไชยาตลอดช่วงระยะเวลา 30 ปี จนเป็นที่รู้จักทั้งในระดับประเทศและระดับโลก ณปภพ ได้รับการจัดให้เป็นปรมาจารย์ (มงคล ๖ - มงคลทอง) แห่งสมาคมครูมวยไทย ปัจจุบันเขาเป็นผู้ดำรงตำแหน่งประธานมูลนิธิมวยไทยไชยา และประธานสมาคมมวยไท.

ใหม่!!: หน้าไม้และณปภพ ประมวญ · ดูเพิ่มเติม »

ซามูไร

ซามูไรในชุดเกราะ ถ่ายในช่วงทศวรรษที่ 1860 โดย เฟรีเช บีอาโต ซามูไร แปลเป็นภาษาไทยว่าทหาร คำว่า ซามูไร มีต้นกำเนิดจากคำว่า ซะบุระอุ ซึ่งเป็นคำกริยาในภาษาญี่ปุ่นโบราณ ที่มีความหมายว่า รับใช้ ฉะนั้น ซามูไรก็คือคนรับใช้นั่นเอง.

ใหม่!!: หน้าไม้และซามูไร · ดูเพิ่มเติม »

ปีใหม่ม้ง

ปีใหม่ม้ง ที่หมู่บ้านของชาวไทยภูเขาเผ่าม้งประเพณีปีใหม่ของพวกเขาตรงกับ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 2 ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ในระยะเวลาระหว่างเดือนธันวาคม-มกราคมของทุกปี ซึ่งในวันปีใหม่นี้ของชาวม้งจัดเป็นงานประเพณีที่ชาวม้งรอคอยอย่างใจจดใจจ่อ เนื่องจากจะเป็นการพบปะกันระหว่างกลุ่มญาติมีประเพณีขอพรจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์และผู้อาวุโส เป็นวันที่หนุ่มๆสาวๆในหมู่บ้านจะได้เลือกคู่ มีการจัดการแข่งขันกีฬาประเพณีและการละเล่นต่างๆ เช่น ลูกข่าง ลูกช่วง และยังมีการแข่งขันล้อเลื่อนไม้ชิงแชมป์ประเทศไทยซึ่งเป็นกีฬาที่ท้าทายน่าสนใจเป็นอย่างมาก แต่นอกการละเล่นที่สร้างความสนุกสนานแล้วชาวม้งก็ไม่ลืมที่จะทำพิธีกรรมต้อนรับปีใหม่ซึ่งจัดเป็นพิธีกรรมที่ชาวม้งให้ความสำคัญกันมากโดยมี 4 อย่างดังนี้.

ใหม่!!: หน้าไม้และปีใหม่ม้ง · ดูเพิ่มเติม »

ใบสอ

แสดงใบสอจากหนังสือ “พจนานุกรมศัพท์สถาปัตยกรรมของฝรั่งเศสระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 11 ถึง 16”http://fr.wikisource.org/wiki/Dictionnaire_raisonn%C3%A9_de_l%27architecture_fran%C3%A7aise_du_XIe_au_XVIe_si%C3%A8cle ''Dictionnaire raisonné de l’architecture française du XIe au XVIe siècle''. โดยเออแชน วียอเลต์-เลอ-ดุค ใบสอ (Merlon) เป็นส่วนประกอบของสิ่งก่อสร้างที่เป็นส่วนหนึ่งของกำแพงบัง (parapet) ของเชิงเทิน ที่บางครั้งสลับกับ “ช่องกำแพง” (Embrasure) คำว่า “Merlon” ในภาษาอังกฤษมาจากภาษาฝรั่งเศสที่มาจากภาษาอิตาลี “merlone” ที่อาจจะย่อมาจากคำว่า “mergola” ที่แผลงมาจากภาษาละติน “mergae” ที่แปลว่าคราด หรือแผลงมาจาก “moerulus” ที่มาจากคำว่า “murus” หรือ “merulus” ที่แปลว่ากำแพง อีกทฤษฎีหนึ่งกล่าวว่ามาจากภาษาละติน “merulus” (กล่าวถึงในคริสต์ศตวรรษที่ 10) ที่ย่อเป็น “merle” ที่ทำให้เห็นภาพพจน์ของนกดำเกาะบนกำแพง ใบสอเป็นส่วนสำคัญของเชิงเทินและใช้กันมาเป็นเวลานาน ตัวอย่างที่พบคือในสิ่งก่อสร้างจากยุคกลางที่ใช้ประโยชน์ทั้งทางการป้องกันทางยุทธการและในการตกแต่ง ลักษณะของใบสอถ้าเป็นสี่เหลี่ยมธรรมดาก็เรียกว่า “ใบสอเกล์พ” ถ้ามีที่คลุมตอนบนเป็นปมรูปตัววีของอิตาลีเรียกว่า “ใบสอเกล์พและกิเบลลิเน” หรือ “ใบสอสวอลโลว์เทล” ทรงอื่นที่ใช้ก็มีใบสอสามเหลี่ยม, สี่เหลี่ยม, โล่, ดอกไม้, กลม (มุสลิมและแอฟริกา), ปิรามิด หรืออื่นๆ ขึ้นอยู่กับการใช้สอยหรือการตกแต่งที่ต้องการ ในสมัยโรมันใบสอมีความกว้างพอที่จะให้ทหารคนหนึ่งใช้บังตัวได้ เมื่อมีการวิวัฒนาการทางอาวุธมากขึ้นในยุคกลางรวมทั้งหน้าไม้และอาวุธปืน ใบสอก็ได้รับการขยายให้กว้างขึ้นและบางครั้งก็จะมีช่องธนู (arrow-loop) ที่มีขนาดและรูปร่างหลายแบบที่อาจจะกลมหรือเป็นกางเขนขึ้นอยู่กับอาวุธที่ใช้ ใบสอสมัยต่อมาสามารถใช้ในการยิงด้วยปืนได้ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 13 ใบสอก็อาจจะมีหน้าต่างไม้ที่เปิดปิดได้เพื่อใช้ในการป้องกันเมื่อปิด หลังจากใบสอหมดความสำคัญลงเพราะการใช้ปืนใหญ่การใช้ใบสอจึงเป็นการใช้สำหรับในการตกแต่งเท่านั้น และกลับมาเป็นที่นิยมใช้กันอีกในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอ.

ใหม่!!: หน้าไม้และใบสอ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »