โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สุลักษณ์ ศิวรักษ์

ดัชนี สุลักษณ์ ศิวรักษ์

150x150px สุลักษณ์ ศิวรักษ์ (เกิด 27 มีนาคม พ.ศ. 2475) เจ้าของนามปากก.

34 ความสัมพันธ์: ช่วง มูลพินิจฟ้าเดียวกันพ.ศ. 2475พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระธรรมเจดีย์ (กี มารชิโน)พระไชยบูลย์ ธมฺมชโยพิพิธภัณฑ์ชาวบางกอกพิภพ ธงไชยการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลการตรวจพิจารณาในประเทศไทยการประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมีนาคม พ.ศ. 2549รายชื่อนามปากการายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญรางวัลศรีบูรพาลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557วิทยากร เชียงกูลสมบัด สมพอนสมเด็จพระศรีสุลาไลยสามัคคีสมาคมสุลักษณ์ ศิวรักษ์หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมศรีพรหมา กฤดากร ณ อยุธยาหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านทองปานความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยป๋วย อึ๊งภากรณ์โรงเรียนอัสสัมชัญเมษายน พ.ศ. 2549เสฐียรพงษ์ วรรณปกเจ้าชีวิตเจ้าจอมทับทิม (แอนนากับพระเจ้ากรุงสยาม)27 มีนาคม

ช่วง มูลพินิจ

วง มูลพินิจ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) ประจำปี พ.ศ. 2556 เป็นศิลปินที่มีชื่อเสียงชาวไทย มีผลงานปรากฏทั้งในด้านจิตรกรรมและประติมากรรมตลอดหลายสิบปีที่ผ่านมา งานของช่วงในระยะแรกเริ่มเป็นภาพลายเส้นประยุกต์ลายไทย ต่อมาจึงใช้เทคนิคสีน้ำ และสีน้ำมัน ผลงานส่วนใหญ่แสดงถึงเรื่องราวของดอกไม้ แมลง สัตว์ มนุษย์ ผนึกเรื่องราวทางอุดมคติกับธรรมชาต.

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และช่วง มูลพินิจ · ดูเพิ่มเติม »

ฟ้าเดียวกัน

ฟ้าเดียวกัน เป็นวารสารราย 3 เดือน ที่นำเสนอการเคลื่อนไหวทางสังคม ในรูปแบบของขบวนการประชาชนและทางความคิด ฉบับแรกวางแผงเมื่อต้นปี พ.ศ. 2546 พิมพ์โดยสำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน โดยมี ธนาพล อิ๋วสกุล เป็นผู้พิมพ์ผู้โฆษณา ในบทสัมภาษณ์ ลงนิตยสารศิลปวัฒนธรรม ธนาพล อิ๋วสกุลกล่าวว่า "สังคมไทยในปัจจุบันเติบโตเปิดกว้างจนมาถึงจุดที่ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมของประชาชนซึ่งพยายามจะเสนอ 'ทางเลือก/ทางออก' ให้สังคม และความคิดความเห็นที่แตกต่างสวนทางกับความคิดความเชื่อกระแสหลัก ก็พอจะมีที่มีทางอยู่บ้างในพื้นที่สาธารณ...แต่นั่นไม่ได้หมายความว่า การเคลื่อนไหวต่อต้านท้าทายสภาวะสังคมจะสามารถลงรากปักฐานได้อย่าง มั่นคง ซ้ำยังมีแนวโน้มที่จะถูกตอบโต้ทำลาย หรือไม่ก็ถูกผนวกกลืนเข้าไปเป็นลูกไล่อยู่ในโครงสร้างเดิม..." เว็บไซต์ฟ้าเดียวกันถูกกล่าวหาว่ามีเนื้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ เคยถูกปิดกั้นให้เข้าถึงไม่ได้เมื่อวันที่ 4 มกราคม..

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และฟ้าเดียวกัน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และพ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมเจดีย์ (กี มารชิโน)

ระธรรมเจดีย์ นามเดิม กี แซ่ตัน ฉายา มารชิโน เป็นพระราชาคณะชั้นธรรมฝ่ายมหานิกาย เจ้าอาวาสวัดทองนพคุณ เจ้าคณะจังหวัดธนบุรี และเจ้าคณะภาค 4.

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และพระธรรมเจดีย์ (กี มารชิโน) · ดูเพิ่มเติม »

พระไชยบูลย์ ธมฺมชโย

ระไชยบูลย์ ธมฺมชโย หรือ ไชยบูลย์ สุทธิผล เป็นพระภิกษุชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ประธานมูลนิธิธรรมกาย และเป็นผู้ต้องหาตามหมายจับของศาลอาญา ในข้อหาสมคบกันฟอกเงิน ร่วมกันฟอกเงิน และรับของโจร.

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และพระไชยบูลย์ ธมฺมชโย · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก

ัณฑ์ชาวบางกอก หรือ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร เป็นหนึ่งใน 27 พิพิธภัณฑ์กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ที่บ้านเลขที่ 273 ซอยเจริญกรุง 43 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 เป็นพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นที่ก่อตั้งโดยเอกชน โดยเจ้าของบ้านมีวัตถุประสงค์ที่จะมอบบ้านของตนให้เป็นพิพิธภัณฑ์เพื่อให้เยาวชนได้ศึกษา และต่อมาได้โอนกรรมสิทธิ์ให้กรุงเทพมหานครดูแล เมื่อ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และพิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก · ดูเพิ่มเติม »

พิภพ ธงไชย

งไชย พิภพ ธงไชย เกิดเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2488 ที่ อ.ป่าโมก.

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และพิภพ ธงไชย · ดูเพิ่มเติม »

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร สวรรคตเพราะต้องพระแสงปืนเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะเทือนต่อการเมืองไทยอย่างรุนแรง และนำไปสู่การเถลิงถวัลยราชสมบัติของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และการลดบทบาททางการเมืองของปรีดี พนมยงค์ ภายหลังรัฐประหาร พ.ศ. 2490 โดยกลุ่มจอมพล ป. พิบูลสงคราม ทุกวันนี้กรณีดังกล่าวยังคงมีการถกเถียงกันอยู่และได้รับความสนใจในหมู่ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่ แต่ไม่เป็นประเด็นสาธารณะเพราะกรณีดังกล่าวพาดพิงถึงสถาบันพระมหากษัตริย์ไทยโดยตรง.

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

การตรวจพิจารณาในประเทศไทย

การตรวจพิจารณาในประเทศไทยมีประวัติอย่างยาวนาน การก่อกวน การชักใยและการควบคุมข่าวการเมืองอย่างเข้มงวดเป็นเรื่องปกติในรัฐบาลทุกสมัย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ประกันเสรีภาพในการพูด และการประกันเสรีภาพดังกล่าวดำเนินต่อมาในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กลไกในการตรวจพิจารณารวมถึงกฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพที่เข้มงวด การควบคุมโดยตรงของรัฐบาลหรือทหารต่อสื่อแพร่สัญญาณ และการใช้แรงกดดันทางเศรษฐกิจและการเมือง การวิพากษ์วิจารณ์พระมหากษัตริย์ถูกห้ามตามรัฐธรรมนูญ แม้คดีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยส่วนใหญ่มุ่งไปยังคนต่างด้าว หรือคู่แข่งของผู้นำการเมือง สังคมและพาณิชย์ที่เป็นชาวไทย ในการสำรวจดัชนีเสรีภาพสื่อทั่วโลก จัดโดยผู้สื่อข่าวไร้พรมแดน ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 59 จาก 167 ประเทศในปี 2547 แล้วร่วงลงเป็นอันดับที่ 107 ในปี 2548 และไปอยู่อันดับที่ 153 จาก 178 ประเทศในปี 2554 แล้วค่อยขึ้นมาอยู่อันดับที่ 137 จาก 179 ประเทศในปี 2555.

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และการตรวจพิจารณาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง

การประท้วงทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง เป็นเหตุการณ์ในประเทศไทยที่เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่กลางปี พ.ศ. 2547 ในช่วงปลายรัฐบาลทักษิณ 1 เมื่อมีการรวมตัวของกลุ่มคนในนาม กลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์ และมีการชุมนุมปราศรัยเพื่อขับ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เมื่อวันที่ 25 กันยายน..

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และการประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง · ดูเพิ่มเติม »

ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

วิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่และความรับผิดชอบใน การจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตทั้งระดับปริญญาตรีและปริญญาโท และจัดบริการวิชาการแก่สังคมในสาขาวิชาประวัติศาสตร์ รวมทั้งให้การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ทั้งนี้เพื่อพัฒนาบุคลากรของประเทศให้มีคุณภาพที่ดี และสอดคล้องกับความต้องการของสังคมและประเทศชาติ ก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2518 เดิมมีสถานะเป็นแผนกวิชาประวัติศาสตร์ สังกัดวิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร ซึ่งต่อมาได้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒในปัจจุบัน.

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ · ดูเพิ่มเติม »

มีนาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และมีนาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนามปากกา

นี่คือรายชื่อนามปากก.

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และรายชื่อนามปากกา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ

รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ เป็นการรวบรวมรายชื่อบุคคลที่จบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ ซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ตั้งแต่วันสถาปนาโรงเรียนอย่างเป็นทางการในวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และรายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลศรีบูรพา

รางวัลศรีบูรพา เป็นรางวัลที่มอบสำหรับศิลปิน นักคิดนักเขียน และนักหนังสือพิมพ์ ผู้มีผลงานอันทรงคุณค่ามีชีวิตที่เป็นแบบอย่าง เป็นกิจกรรมหนึ่งของ "กองทุนศรีบูรพา" ที่ก่อตั้งขึ้นมาเพื่อรำลึกและเผยแพร่เกียรติประวัติของ กุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือ ศรีบูรพา (31 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 16 มิถุนายน พ.ศ. 2517) นักประชาธิปไตย นักเขียน นักหนังสือพิมพ์คนสำคัญของไทยและของโลก มีงานเขียนหลากหลายทั้งในรูปแบบนวนิยาย เรื่องสั้น สารคดี บทความ กวี นิพนธ์และเรื่องแปล ที่องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก (UNESCO) ยกย่องให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก พิธีมอบรางวัลศรีบูรพา จะมีขึ้นในวันที่ 5 พฤษภาคมของทุกปี ในงานวันนักเขียนซึ่งจัดโดยสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และรางวัลศรีบูรพา · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

ต่อไปนี้ คือลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

วิทยากร เชียงกูล

วิทยากร เชียงกูล รองศาสตราจารย์ วิทยากร เชียงกูล เกิดเมื่อ พ.ศ. 2489 ที่อำเภอบ้านหมอ จังหวัดสระบุรี คณบดีกิตติคุณและอดีตคณบดีวิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต เรียนจบชั้นมัธยมปลายที่ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาจากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2512 และปริญญาโท จากสถาบันศึกษาสังคม เมืองเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ เป็นผู้เขียนบทกลอน "เพลงเถื่อนแห่งสถาบัน" เมื่อ พ.ศ. 2511 ซึ่งมีท่อนติดปากว่า "ฉันเยาว์ ฉันเขลา ฉันทึ่ง ฉันจึง มาหา ความหมาย ฉันหวัง เก็บอะไร ไปมากมาย สุดท้ายให้กระดาษฉันแผ่นเดียว" บทกลอนนี้ได้กลายเป็นข้อเขียนหนึ่งในหลายชิ้น ที่มีอิทธพลต่อการเคลื่อนไหวของขบวนการนักศึกษาในช่วงนั้น ซึ่งต่อมาได้พัฒนาไปสู่การเรียกร้องประชาธิปไตย ในเหตุการณ์ 14 ตุลา พ.ศ. 2516 และ เหตุการณ์ 6 ตุลา พ.ศ. 2519.

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และวิทยากร เชียงกูล · ดูเพิ่มเติม »

สมบัด สมพอน

มบัด สมพอน (ສົມບັດ ສົມພອນ) เป็นนักพัฒนาสังคมชาวลาวและเจ้าของรางวัลแมกไซไซ ซึ่งได้หายตัวไปเนื่องจากการลักพาตัว ที่กรุงเวียงจันทน์ในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2555 แม้ว่ารัฐบาลลาวปฏิเสธการเชื่อมโยงและอ้างว่าไม่มีส่วนรู้เห็น แต่เชื่อว่ามีทฤษฎีสมคบคิดมากพอที่ทำให้เชื่อว่ารัฐบาลลาววางแผนการลักพาตัว เนื่องจากว่าไม่เคยยอมเปิดเผยการลักพาตัวเลยแม้แต่น้อ.

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และสมบัด สมพอน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีสุลาไลย

มเด็จพระศรีสุลาไลยพระนามของพระองค์มีการสะกดได้หลายทาง ได้แก.

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และสมเด็จพระศรีสุลาไลย · ดูเพิ่มเติม »

สามัคคีสมาคม

ตราสัญลักษณ์ของสามัคคีสมาคมสามัคคีสมาคม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (The Thai Students’ Association in UK)ได้ถือกำเนิดครึ่งในปี..

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และสามัคคีสมาคม · ดูเพิ่มเติม »

สุลักษณ์ ศิวรักษ์

150x150px สุลักษณ์ ศิวรักษ์ (เกิด 27 มีนาคม พ.ศ. 2475) เจ้าของนามปากก.

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และสุลักษณ์ ศิวรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมศรีพรหมา กฤดากร ณ อยุธยา

หม่อมศรีพรหมา กฤดากร ณ อยุธยา (นามเดิม เจ้าศรี ณ น่าน, 19 มีนาคม พ.ศ. 2431 — 25 กันยายน พ.ศ. 2521) พระธิดาในพระเจ้าสุริยะพงศ์ผริตเดช เจ้าประเทศราชผู้ครองนครน่าน กับหม่อมศรีคำ (ชาวเวียงจันทน์) เป็นหม่อมเอกในหม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร ทั้งสองท่านได้ออกหนังสือ “กสิกร” มีนักวิชาการ /ผู้รู้ เสนอบทความต่างๆ เกี่ยวกับการเกษตรมากมาย ยังมีคอลัมน์เกี่ยวกับการทำอาหาร และการถนอมอาหาร โดยหม่อม เจ้าศรีพรหมา เช่น การคั้นน้ำผลไม้ การหมักดอง การทำแฮม และเบคอน เป็นต้น.

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และหม่อมศรีพรหมา กฤดากร ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน

รายชื่อหนังสือดี 100 เล่ม ที่คนไทยควรอ่าน (พ.ศ. 2408-2519) เป็นงานวิจัยของวิทยากร เชียงกูล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับคณะวิจัยอีก 10 ท่าน ชื่อ "โครงการวิจัยเพื่อคัดเลือกและแนะนำหนังสือดีในรอบศตวรรษ" ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ในช่วงปี..

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน · ดูเพิ่มเติม »

ทองปาน

ทองปาน เป็นภาพยนตร์ไทยกึ่งสารคดี ที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2519 เรื่องราวเกี่ยวกับชาวนาอีสานที่ได้รับผลกระทบจากโครงการก่อสร้างเขื่อนผามอง เพื่อการพัฒนาลุ่มแม่น้ำโขงตอนกลาง โครงการนี้เป็นโครงการของสหรัฐอเมริกาโดยได้รับการสนับสนุนจากธนาคารโลก เป็นเขื่อนผลิตไฟฟ้าพลังน้ำที่ใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งเมื่อสร้างเสร็จแล้วจะทำให้พื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดเลย หนองคาย หลวงพระบาง และเวียงจันทน์ จมอยู่ใต้น้ำ ฉายครั้งแรกในเทศกาลภาพยนตร์ลอนดอน (London Film Festival) และได้รับรางวัลเกียรติยศ Outstanding Film of Southeast Asia เข้ามาฉายในประเทศไทยครั้งแรกช่วงปลายปี..

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และทองปาน · ดูเพิ่มเติม »

ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย

วามผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยอยู่ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 บัญญัติไว้ว่า "ผู้ใดหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท หรือผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 3 ปีถึง 15 ปี" ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยเป็นความผิดต่อความมั่นคงของรัฐ คนไทยหรือคนต่างด้าวไม่ว่ากระทำในหรือนอกราชอาณาจักรก็ต้องรับโทษ ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับเรื่อยมามีข้อที่กล่าวว่า "องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้" ในประมวลกฎหมายไม่มีนิยามว่าพฤติการณ์แบบใดเข้าข่าย "หมิ่นประมาท" หรือ "ดูหมิ่น" ลักษณะการกระทำความผิดมีหลากหลาย แล้วแต่ศาลจะพิเคราะห์เจตนา เช่น ปราศรัยในที่สาธารณะ ส่งสารสั้น โพสต์รูปภาพ เผยแพร่เอกสารหรือวีดิทัศน์ ละเมิดพระบรมฉายาลักษณ์ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีข้อโต้แย้งว่า ความผิดต่อองคมนตรีเข้าข่ายความผิดนี้หรือไม่ อนึ่ง ในปี 2556 ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า คำว่า "พระมหากษัตริย์" ยังหมายความรวมถึง พระมหากษัตริย์ในอดีตด้วย ธานินทร์ กรัยวิเชียร อดีตนายกรัฐมนตรี ยังตีความว่า กฎหมายห้ามครอบคลุมถึงการวิจารณ์โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สถาบันพระมหากษัตริย์ ราชวงศ์จักรีและพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ พระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ไม่เคยฟ้องร้องเป็นการส่วนพระองค์ ผู้ถูกตั้งข้อหามักไม่ได้รับอนุญาตให้ประกันตัว และถูกคุมขังในเรือนจำหลายเดือนก่อนมีการไต่สวนในชั้นศาล องค์การนิรโทษกรรมสากลถือว่านักโทษตามความผิดนี้เป็นนักโทษการเมือง มีบุคคลส่วนหนึ่งเลือกเดินทางออกนอกประเทศเพื่อมิให้ถูกดำเนินคดี และยังมีผู้ต้องหาและผู้ต้องขังตามความผิดดังกล่าวฆ่าตัวตายหรือเสียชีวิตระหว่างถูกคุมขัง สิทธิศักดิ์ วนะชกิจ โฆษกศาลยุติธรรม มีความเห็นเกี่ยวกับผู้ต้องขังในคดีทำนองนี้ว่า "...บุคคลที่เจนโลกโชกโชน สันดานเป็นโจรผู้ร้าย มีเจตนาทำร้ายสังคม สถาบันหลักของประเทศชาติ และองค์พระประมุขอันเป็นที่เคารพสักการ...ไม่มีใครอยากให้คนเช่นนี้ลอยนวลอยู่ในสังคมเพื่อสร้างความเสียหายต่อเนื่องหรือแก่ผู้อื่นอีก..." และแสดงความเห็นว่า "…ถ้าคดีใดอัยการโจทก์สามารถนำสืบพิสูจน์จนให้ศาลเห็นและเชื่อได้ว่า จำเลยมีเจตนาชั่วร้...จำเลยในคดีนั้นก็สมควรที่จะได้รับโทษานุโทษตามความเหมาะสมแก่พฤติการณ์แห่งคดี..." โดยที่ศาลมิต้องยกประโยชน์แห่งความสงสัยให้จำเลย หลังรัฐประหารเมื่อปี 2549 มีการพิจารณาความผิดดังกล่าวมากขึ้นอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน ปัจจุบัน ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 เป็นกฎหมายว่าด้วยการหมิ่นประมาทราชวงศ์ซึ่งระวางโทษรุนแรงที่สุดในโลก และถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่า "โหดร้ายป่าเถื่อน" บ่อนทำลายกฎหมายไทย ละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ ใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองและทำลายสถาบันพระมหากษัตริย์ บางฝ่ายออกมาเรียกร้องให้มีการแก้ไขหรือยกเลิกกฎหมายนี้ ส่วนพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดำรัสว่า สามารถวิจารณ์พระองค์ได้และไม่เคยตรัสให้เอาผู้วิจารณ์เข้าคุก.

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ป๋วย อึ๊งภากรณ์

ตราจารย์ พันตรี ป๋วย อึ๊งภากรณ์ (ชื่อจีน: 黃培謙 Huáng Péiqiān 9 มีนาคม พ.ศ. 2459 — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2542) เป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย เป็นอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ที่มีอายุน้อยที่สุด ด้วยวัย 43 ปี 3 เดือน และได้ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดถึง 12 ปี 2 เดือน 4 วัน เป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทย อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คนที่ 10 และเป็นผู้แต่งหนังสือ "คุณภาพชีวิต ปฏิทินแห่งความหวัง จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน" ป๋วย เกิดและเติบโตจากคนจีน ด้วยฐานะที่ไม่ร่ำรวย เขาจึงดิ้นรนต่อสู้อุปสรรคในชีวิตต่างๆ จนกระทั่งสำเร็จการศึกษาธรรมศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศไทยเข้าร่วมพันธมิตรกับญี่ปุ่น ป๋วยก็ได้ร่วมก่อตั้งคณะเสรีไทยขึ้นในอังกฤษ และได้พยายามเจรจาไกล่เกลี่ยกับรัฐบาลอังกฤษให้ยอมรับขบวนการเสรีไทย มีครั้นหนึ่งที่ป๋วยเสี่ยงชีวิตในการลอบกระโดดร่มเข้าไทย ณ บ้านวังน้ำขาว จังหวัดชัยนาท จนได้ชื่อว่าเป็น “วีรบุรุษวังน้ำขาว” เมื่อสงครามยุติลง ประเทศไทยจึงไม่ถือเป็นผู้แพ้สงคราม ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เขาก็ได้รับหน้าที่เป็นทั้งผู้ว่าธนาคารแห่งชาติ รวมถึงยังได้รับตำแหน่งทั้งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ป๋วยได้แสดงความกล้าหาญ หลายครั้งโดยเฉพาะการส่งจดหมายในนาม "นายเข้ม เย็นยิ่ง" ถึงจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตยให้กับสังคม จุดประกายให้กับขบวนการ 14 ตุลาคม 2516 ด้วยความที่เขาได้รับการชื่นชมมากมายจากสังคม ในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ป๋วยก็ถูกทั้งฝ่ายซ้าย ฝ่ายขวา ออกมาโจมตีกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ จนในที่สุดก็ต้องออกเดินทางลี้ภัยไปต่างประเทศ และเสียชีวิตลงในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 ที่ประเทศอังกฤษ สเตฟาน คอลินยองส์ (Stefan Collingnon) นักวิชาการร่วมสมัยชาวเยอรมัน ได้กล่าวยกย่องป๋วยว่าเป็น "บิดาของเมืองไทยสมัยใหม่" (Founding Father of Modern Thailand) ในฐานะผู้วางรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจที่สำคัญของไทย ป๋วยได้รับ รางวัลแมกไซไซ สาขาบริการสาธารณะ ในปี พ.ศ. 2508 และได้รับการยกย่องจากองค์กรยูเนสโกให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก ในปี พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และป๋วย อึ๊งภากรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอัสสัมชัญ

รงเรียนอัสสัมชัญ (บ้างเรียก อัสสัมชัญบางรัก หรือ อัสสัมชัญกรุงเทพ, ย่อ: อสช, AC) เป็นโรงเรียนเอกชนชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วยโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเทพศิรินทร์, โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย โรงเรียนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ แผนกประถม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเซนต์หลุยส์ 3 ถนนสาทรใต้ และแผนกมัธยม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก โรงเรียนอัสสัมชัญ ได้รับการสถาปนาอย่างเป็นทางการขึ้นโดยบาทหลวงเอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์ เมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และโรงเรียนอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

เมษายน พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และเมษายน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

เสฐียรพงษ์ วรรณปก

.(พิเศษ) เสฐียรพงษ์ วรรณปก ศาสตราจารย์ (พิเศษ) เสฐียรพงษ์ วรรณปก เป็นอาจารย์หรือนักวิชาการทางด้านศาสนาพุทธและภาษาบาลี ราชบัณฑิตสาขาศาสนศาสตร์ และยังเป็นนักเขียนบทกวี ตำรา และบทความในนิตยสารหลายฉบับ เริ่มเขียนบทความให้นิตยสารต่วยตูน แล้วได้รับการชักนำให้เขียนลงคอลัมน์ประจำให้หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ก่อนจะย้ายไปเขียนประจำให้หนังสือพิมพ์ในเครือมติชนและข่าวสด มีชื่อเสียงโด่งดังจากการเขียนวิจารณ์พระสงฆ์ที่ปฏิบัตินอกรีต โดยเฉพาะกรณีอดีตพระยันตระ อมโร รวมทั้งยังนับได้ว่าเป็นผู้บุกเบิกการตั้งชื่อเป็นมงคลนามแก่ตัวเจ้าของชื่อด้ว.

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และเสฐียรพงษ์ วรรณปก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชีวิต

้าชีวิต เป็นพระนิพนธ์ในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ เดิมทีเขียนขึ้นครั้งแรกเป็นภาษาอังกฤษที่ใช้ชื่อว่า Lords of Life พิมพ์ครั้งแรกในประเทศอังกฤษเมื่อปี ค.ศ. 1960 มีจุดประสงค์ให้ชาวต่างประเทศได้อ่านและรู้จักประเทศไทยดีขึ้น เพราะทรงเห็นว่าหนังสือที่ชื่อ A History of Siam โดย W.A.R. Wood ที่เขียนเรื่องราวประเทศไทยที่ชาวต่างชาติอ่านกันมาก ไม่ได้เขียนอย่างละเอียด ลักษณะการเขียนแบบ การเชื่อมวิธีเขียนพงศาวดารแบบเก่าเข้ากับวิธีการเขียนแบบตะวันตก ที่ให้ความสำคัญกับหลักฐานอ้างอิงทางประวัติศาสตร์ทั้งข้อมูลจากต่างประเทศ และจากเอกสารเดิมที่เป็นภาษาไทยทั้งที่ตีพิมพ์และยังไม่ตีพิมพ์ ผ่านการตีความและพระวินิจฉัยของพระองค์ รวมถึงข้อมูลที่ทรงได้รับจากประสบการณ์ส่วนพระองค์ในช่วงรัชกาลที่ 6 และ 7 รวมถึงเอกสารส่วนพระองค์ของตระกูลจักรพงษ์ด้วย เนื้อหาเริ่มตั้งแต่ประวัติศาสตร์ชนชาติไทย ยุคก่อนประวัติศาสตร์ จนถึงรัชกาลปัจจุบันที่ พ.ศ. 2502 โดยเน้นบรรยายละเอียดในช่วงปี..

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และเจ้าชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมทับทิม (แอนนากับพระเจ้ากรุงสยาม)

ทับทิม รับบทโดย ลินดา ดาร์เนล ในภาพยนตร์ฉบับปี พ.ศ. 2489 แอนนากับทับทิม รับบทโดยเดบอราห์ เคอร์ และริตา มอเรโนในภาพยนตร์ฉบับปี พ.ศ. 2499 เจ้าจอมทับทิม ในเรื่อง แอนนากับพระเจ้ากรุงสยาม เป็นบุคคลที่แอนนา ลีโอโนเวนส์ กล่าวถึงในหนังสือเล่มที่สองชื่อ "นิยายรักในราชสำนักฝ่ายใน" (Romance of the Harem) และถูกนำมาขยายความในบทประพันธ์ของมาร์กาเรต แลนดอน เรื่อง "แอนนากับพระเจ้ากรุงสยาม" (Anna and the King of Siam) ในปี..

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และเจ้าจอมทับทิม (แอนนากับพระเจ้ากรุงสยาม) · ดูเพิ่มเติม »

27 มีนาคม

วันที่ 27 มีนาคม เป็นวันที่ 86 ของปี (วันที่ 87 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 279 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สุลักษณ์ ศิวรักษ์และ27 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ส. ศิวรักษ์ส.ศิวรักษ์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »