โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สีส้ม

ดัชนี สีส้ม

ีส้ม เป็นหนึ่งในกลุ่มสีโทนร้อน แสงสีส้มที่มองเห็นได้มีความยาวคลื่นราว 590 นาโนเมตร สีเพลิง เป็น รูปลักษณ์ของสีออกคล้ายสีแสด ซึ่งมีความเข้มกว่าสีส้ม.

354 ความสัมพันธ์: ชะนีแก้มขาวบาป 7 ประการช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีฟุนะพรรคสหภาพประชาธิปไตยคริสเตียน (เยอรมนี)พรรคประชาชนกัมพูชาพรรคประชาธิปไตยใหม่พรรคประชาธิปไตยใหม่ (ประเทศแคนาดา)พรรคแรงงานประชาธิปไตย (เกาหลีใต้)กบมะเขือเทศมาดากัสการ์กระรอกสวนกระต่ายลายเสือกรดกลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยกะพรุนน้ำจืดกิ้งก่าบินคอแดงกิ้งก่าบินปีกจุดมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์นมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้างมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสานมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชรมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร แม่สอดมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทามหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมามหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงรายมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่มหาวิทยาลัยราชธานีมหาวิทยาลัยราชธานี วิทยาเขตอุดรธานีมหาวิทยาลัยรามคำแหงมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุลมหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ เออร์แบนา-แชมเปญจน์มหาวิทยาลัยนเรศวรมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนครมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี...มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมดแดงม้าน้ำหนามขอรันชูราชมงคลเกมส์ ครั้งที่ 30ราชมงคลเกมส์ ครั้งที่ 31ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์รายชื่อสีรายชื่อธงในประเทศอินเดียรายชื่อธงในประเทศแอฟริกาใต้รายชื่อธงในประเทศเนเธอร์แลนด์รายชื่อตัวละครในกันดั้มดับเบิลโอรุ่งอรุณลิงลมเหนือลูกโป่ง (ปลาทอง)ลูนี่ตูนส์ บ้าหลุดโลกวันพฤหัสบดีวากิ้นวายเอชบอยส์วิทยาลัยพิชญบัณฑิตวิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดลวิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาวิทยาลัยนานาชาติราฟเฟิลส์วิทยาลัยแสงธรรมวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาวงศ์ปลาแป้นแก้วสกุลปลาวัวปิกัสโซสกุลเสือไฟสัตว์ประหลาดแฟลทวูดส์สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม กำแพงแสนสีสีทองสีที่ใช้ในเว็บสีขาวสีเทาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดลสถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดลสถาบันการบินพลเรือนสถาบันออกแบบนานาชาติชนาพัฒน์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ส้ม (แก้ความกำกวม)ส้มเขียวหวานหมาจิ้งจอกแดงหมาในหอยงวงช้างมุกหอยเต้าปูนหาดราไวย์หางนกยูงฝรั่งหงส์ห่านหัวลายออเรนจ์อินทรีหัวขาวอโรคา ปาร์ตี้ผีเสื้อหนอนใบกระท้อนจังหวัดบุรีรัมย์จังหวัดศรีสะเกษจังหวัดอุดรธานีจังหวัดอุตรดิตถ์จังหวัดนครราชสีมาจิ้งเหลนจระเข้ตาแดงธงชาติภูฏานธงชาติศรีลังกาธงชาติอาร์มีเนียธงชาติอินเดียธงชาติแซมเบียธงชาติโกตดิวัวร์ธงชาติไอร์แลนด์ธงชาติไนเจอร์ธงศาสนาพุทธครั่งคาเวียร์คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลยคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุมคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนมคณะศิลปนาฏดุริยางค์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์คณะอุตสาหกรรมการโรงแรมและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลยคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนมคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะเศรษฐศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ค่างกระหม่อมขาวค้างคาวยอดกล้วยผีเสื้องูก้นขบงูเขียวหัวจิ้งจกตราแผ่นดินของญี่ปุ่นตราแผ่นดินของแองกวิลลาตะพาบไต้หวันตัวต้านทานตังเกี๋ยตุ๊ดตู่ฉัพพรรณรังสีซาลาแมนเดอร์ปฏิทินสุริยคติไทยปลาบู่เกาะสุรินทร์ปลาช่อนออแรนติปลาช่อนจุดอินโดปลาพลวงทองปลาพาราไดซ์ปลาพาราไดซ์ (สกุล)ปลากระทิงไฟปลากระดี่มุกปลากระดี่ยักษ์ปลากระดี่หม้อปลากระดี่ปากหนาปลากระดี่แดงปลากระดี่แคระปลากระเบนโมโตโร่ปลากะรังจุดฟ้าจุดเล็กปลากัดช้างปลาการ์ตูนปลาการ์ตูนลายปล้องปลาการ์ตูนลายปล้องหางเหลืองปลาการ์ตูนส้มขาวปลาการ์ตูนอานม้าปลาการ์ตูนเพอร์คูล่าปลากาแดงปลากดคังปลารีดฟิชปลาวัวลายส้มปลาวัวจมูกยาวปลาวัวปิกัสโซเรดซีปลาสร้อยนกเขาทะเลปลาสร้อยน้ำเงินปลาสลิดหินฟ้าหางส้มปลาสลิดหินจุดแดงปลาสะนากปลาสะนากยักษ์ปลาสิงโตธรรมดาปลาสินสมุทรบั้งเหลืองปลาสุดสาครจิ๋วลายเข้มปลาหมอฟลามิงโก้ปลาหมอออสเซลาริสปลาหมอคอนวิคปลาหมอแคระคาเคทอยเดสปลาหมอเซวารุ่มปลาหมูโยโย่ปลาหางไหม้ปลาหนามหลังสาละวินปลาออสการ์ปลาอะราไพม่าปลาอะโรวานาออสเตรเลียจุดปลาอะโรวาน่าเอเชียปลาอามาทัสปลาอีกองปลาอเล็กซานดรี่ปลาผีเสื้อนกกระจิบปลาจาดแถบดำปลาทาทูเอียปลาคิลลี่ฟิชราโชวี่อายปลาตะพัดปลาตะพากส้มปลาตะโกกหน้าสั้นปลาตะเพียนสาละวินปลาตะเพียนหยดน้ำปลาตั๊กแตนหินสองสีปลาฉลามหางไหม้ (ไทย)ปลาซิวกาแล็กซีปลาซิวหัวตะกั่วอินเดียปลาซิวหนูปลาซิวใบไผ่แม่แตงปลาซิวใบไผ่เขียวปลาปล้องอ้อยคูลี่ปลาปักเป้าจุดส้มปลาปักเป้าควายปลาปักเป้าคองโกปลาปากหนวดปลานวลจันทร์เทศปลาแฟนซีคาร์ปปลาแพะเหลืองปลาแก้มช้ำปลาแมนดารินปลาแมนดารินจุดปลาแซลมอนทองคำปลาแป้นแก้วปลาแป้นแก้วรังกาปลาใบโพปลาใบโพจุดปลาโรซี่บาร์บปลาเรดฮุกปลาเทวดาจมูกยาวปัญญริสา เธียรประสิทธิ์ปูม้าปูทะเลปูไก่ปูเสฉวนบกก้ามแถวฟันปีศาจโดเวอร์นกขุนแผนนกเอี้ยงคำนิวต์ท้องแดงจีนแก๊งฉึกฉักไดโนเสาร์แมลงสาบมาดากัสการ์แมงกะพรุนแม่มดน้อยโดเรมีแย้แรดขาวแจ็กโอแลนเทิร์นแคร์รอตโยชิโรงเรียนชลราษฎรอำรุงโรงเรียนบางมดวิทยาโรงเรียนบางปะกงบริหารธุรกิจโรงเรียนบางแก้วประชาสรรค์โรงเรียนบุญวัฒนาโรงเรียนช่องพรานวิทยาโรงเรียนบ้านสันโค้ง (เชียงรายจรูญราษฎร์)โรงเรียนบ้านหาดเสือเต้นโรงเรียนบ้านดอน (ศรีเสริมกสิกร)โรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา)โรงเรียนพรหมคีรีพิทยาคมโรงเรียนกันตังพิทยากรโรงเรียนกาวิละวิทยาลัยโรงเรียนกิ่งแก้ว (เทวะพัฒนาคาร)โรงเรียนกู่ทองพิทยาคมโรงเรียนกงไกรลาศวิทยาโรงเรียนมัธยมวัดบึงทองหลางโรงเรียนมัธยมวัดเขาสุกิมโรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวรโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัยโรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัยโรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลาโรงเรียนวัดบวรนิเวศโรงเรียนวัดจันทราวาส(ศุขประสารราษฎร์)โรงเรียนวัดคลองตันราษฎร์บำรุงโรงเรียนวัดใหญ่ชัยมงคล(ภาวนารังสี)โรงเรียนวังยาวศึกษาวิทย์โรงเรียนวังสมบูรณ์วิทยาคมโรงเรียนวิชูทิศโรงเรียนสามโคก องค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานีโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรีโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่นโรงเรียนสาธิตเตรียมวิศวกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานโรงเรียนสำโรงทาบวิทยาคมโรงเรียนสุรวิวัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีโรงเรียนสุรนารีวิทยาโรงเรียนสตรีราชินูทิศโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัยโรงเรียนหัวเรือพิทยาคมโรงเรียนหนองเรือวิทยาโรงเรียนอุดมวิทยา (อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี)โรงเรียนอุดรพัฒนาการโรงเรียนอนุบาลองครักษ์ (ผดุงองครักษ์ประชา)โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรีโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย บุรีรัมย์โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรังโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราชโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เลยโรงเรียนทองผาภูมิวิทยาโรงเรียนคำแสนวิทยาสรรค์โรงเรียนประสาทวิทยาคารโรงเรียนประจักษ์ศิลปาคารโรงเรียนประทายโรงเรียนปางศิลาทองศึกษาโรงเรียนแก่นนครวิทยาลัยโรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย ๒โรงเรียนโชคเพชรพิทยาโรงเรียนโพธิสัมพันธ์พิทยาคารโรงเรียนไชยาวิทยาโรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรีโรงเรียนเกษมพิทยาโรงเรียนเมืองถลางโรงเรียนเลยอนุกูลวิทยาโรงเรียนเผยอิงโรงเรียนเทศบาล 2 หนองบัว (อุบลราชธานี)โรงเรียนเทศบาลบ้านหนองใหญ่โรงเรียนเขื่อนพิทยาสรรค์โจ ฮิกาชิโตเกียวเมโทรสายกินซะโนโซมิ สึจิไรทะเลเกล็ดแก้วเสือโคร่งเสือไฟเหยี่ยวดำเขตสะพานสูงเครย์ฟิชเป็ดพม่าเป็ดก่าเป็ดแมลลาร์ด ขยายดัชนี (304 มากกว่า) »

ชะนีแก้มขาว

นีแก้มขาว (White-cheeked gibbon, Northern white-cheeked gibbon) เป็นชะนีชนิดหนึ่ง มีลักษณะที่แตกต่างกันชัดเจนระหว่างตัวผู้และตัวเมีย กล่าวคือ ตัวผู้จะมีขนสีดำตลอดทั้งลำตัว ยกเว้นบริเวณแก้มซึ่งจะมีสีขาวเด่นชัด ส่วนตัวเมียนั้นจะมีขนสีเหลืองอ่อนหรือสีครีมตลอดทั้งลำตัว ยกเว้นบริเวณกระหม่อมหรือกลางศีรษะซึ่งมีสีดำ ขนาดเมื่อโตเต็มที่มีความยาวลำตัวตั้งแต่ศีรษะ 45-63 เซนติเมตร น้ำหนักตัวผู้ประมาณ 5.6 กิโลกรัม ขณะที่ตัวเมีย 5.8 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ในป่าดิบชื้นของทางตอนเหนือของลาวติดต่อกับพรมแดนเวียดนาม และจีน มีพฤติกรรมและนิเวศวิทยาอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดเล็ก ๆ บนต้นไม้สูง ซึ่งในฝูงจะเป็นครอบครัวกัน ประกอบไปด้วยตัวผู้จ่าฝูง 1 ตัว ตัวเมีย 1 ตัว และลูก ๆ อีก 2-3 ตัว จะมีอาณาเขตครอบครองเป็นของตัวเอง และมักจะส่งเสียงร้องที่สอดประสานกันระหว่างตัวผู้และตัวเมีย ขณะที่ห้อยโหนไปกับกิ่งไม้ โดยที่ตัวผู้จะมีเสียงร้องที่สลับซับซ้อนกว่า ประชากรชะนีแก้มขาวในจีน เดิมเคยเหลือเพียง 60 ตัวเท่านั้น ก่อนที่จะมีการอนุรักษ์ ซึ่งปัจจุบันได้มีจำนวนเพิ่มขึ้นแล้ว.

ใหม่!!: สีส้มและชะนีแก้มขาว · ดูเพิ่มเติม »

บาป 7 ประการ

ป 7 ประการ (seven deadly sins) หรือบาปต้น (cardinal sins) เป็นหลักคำสอนของศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิคในอดีตกาล ให้มนุษย์ไม่ทำตามสัญชาตญาณของตนมากจนเกินไป ทางศาสนาคริสต์ได้แบ่งบาปออกเป็น 2 ประเภทคือ แบบที่สามารถยกโทษให้ได้ และ แบบรุนแรง ในต้นศตวรรษที่ 14 หลักคำสอนนี้เป็นที่นิยมในหมู่ศิลปิน (หรือแม้กระทั่งในปัจจุบัน) ผลงานศิลปะมากมายที่สื่อถึงบาป 7 ประการแพร่ไปทั่ววัฒนธรรมต่างๆทั่วโลก.

ใหม่!!: สีส้มและบาป 7 ประการ · ดูเพิ่มเติม »

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ใหม่!!: สีส้มและช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี · ดูเพิ่มเติม »

ฟุนะ

ฟุนะ(ปลาทองป่า) ฟุนะ (Carassius; フナ; โรมะจิ: funa) เป็นปลาทองป่าในแหล่งน้ำธรรมชาติของประเทศจีน ที่มีรูปร่างเรียวยาวคล้ายกับปลาทั่วๆไป มีสีเขียวเข้ม และสีน้ำตาล แต่ดั้งเดิมถือเป็นปลาที่นิยมนำมาเป็นอาหารจนถึงปัจจุบัน ชาวบ้านเลี้ยงฟุนะไว้ในบ่อ บริเวณบ้านเพื่อไว้เป็นอาหาร และได้เกิดลูกปลาที่แตกต่างจากพ่อแม่ คือมีสีส้ม ชาวบานในระแวกนั้นจึงสนใจและได้เลี้ยงไว้ จนมีการพัฒนามาเป็นปลาทองสายพันธุ์ต่างๆในปัจจุบัน ซึ่งชาวจีนจะเรียกปลาทองฟุนะที่หาได้ตามแหล่งน้ำธรรมชาติว่า chi yu ฟุนะที่วางขายตามตลาดเพื่อนำไปประกอบอาหารในประเทศจีน.

ใหม่!!: สีส้มและฟุนะ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคสหภาพประชาธิปไตยคริสเตียน (เยอรมนี)

รรคสหภาพประชาธิปไตยคริสเตียนแห่งเยอรมนี (Christlich Demokratische Union Deutschlands (CDU)) มีชื่อย่อว่า เซเดอู เป็นพรรคการเมืองในประเทศเยอรมนี ก่อตั้งหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 โดย คอนราด อเดเนาร์ อดีตนายกรัฐมนตรี และ Andreas Hermes โดยมีอุดมการณ์และจุดยืนคือ ประชาธิปไตยคริสเตียนและกลาง-ขวา ตามลำดับ ซึ่งพรรคสหภาพประชาธิปไตยคริสเตียนจะทำงานในทุกรัฐ ยกเว้นรัฐบาวาเรีย โดยจะนั่งเป็นกลุ่มเดียวกันกับพรรคสหภาพสังคมคริสเตียนในสภาผู้แทนราษฎร (Bundestag) มีนางอังเกลา แมร์เคิล นายกรัฐมนตรีแห่งเยอรมนีคนปัจจุบันเป็นหัวหน้าพรร.

ใหม่!!: สีส้มและพรรคสหภาพประชาธิปไตยคริสเตียน (เยอรมนี) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาชนกัมพูชา

รรคประชาชนกัมพูชา (គណបក្សប្រជាជនកម្ពុជា คณบกฺสบฺรชาชนกมฺพุชา: KPK; Cambodian People’s Party เป็นพรรคที่สืบทอดมาจากพรรคปฏิวัติประชาชนกัมพูชาที่ก่อตั้งมาตั้งแต่ พ.ศ. 2522 การเปลี่ยนแปลงมาเป็นพรรคประชาชนกัมพูชาเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2534 โดยมีการเปลี่ยนแปลงอุดมการณ์ของพรรค ยกเลิกแนวคิดนิยมคอมมิวนิสต์ก่อนการประชุมสันติภาพที่ปารีส ผู้นำพรรคคือฮุน เซน และ เจีย ซิม พรรคเข้าร่วมการเลือกตั้งใน พ.ศ. 2536 และได้คะแนนเสียงเป็นลำดับที่สอง ได้เข้าร่วมรัฐบาลผสมกับพรรคฟุนซินเปก โดยฮุน เซนได้เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่สอง เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2540 ฮุน เซน เข้ายึดอำนาจและขับไล่สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ออกจากตำแหน่ง และจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปใน พ.ศ. 2541 ซึ่งพรรคได้เสียงมากที่สุดและได้เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาลผสม.

ใหม่!!: สีส้มและพรรคประชาชนกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปไตยใหม่

รรคประชาธิปไตยใหม่ (New Democracy Party, ตัวย่อ: ปธม.) เป็นพรรคการเมืองไทย ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2554 โดยมีนายสุรทิน พิจารณ์ เป็นหัวหน้าพรรค นายนิพนธ์ ชื่นตา เป็นรองหัวหน้าพรรค และนายจำรัส ไกยสิทธิ์ เป็นเลขาธิการพรรค ต่อมาเดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: สีส้มและพรรคประชาธิปไตยใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปไตยใหม่ (ประเทศแคนาดา)

รรคประชาธิปไตยใหม่ (New Democratic Party, Nouveau Parti démocratique หรือรู้จักในชื่อ NDP)เป็นพรรคการเมืองที่มีอุดมการณ์ประชาธิปไตยสังคมนิยมในประเทศแคนาดา หัวหน้าพรรคคนปัจจุบัน คือ นายโธมัส มัลแคร์ ผู้นำฝ่ายค้านในสภาสามัญชน หลังจาก แจ็ก เลย์ตัน อดีตหัวหน้าพรรคเสียชีวิตลง ในการเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2554 พรรคได้เป็นพรรคฝ่ายค้านหลักอย่างเป็นทางการครั้งแรกในประวัติศาสตร.

ใหม่!!: สีส้มและพรรคประชาธิปไตยใหม่ (ประเทศแคนาดา) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคแรงงานประชาธิปไตย (เกาหลีใต้)

รรคแรงงานประชาธิปไตย ก่อตั้งเมื่อเดือนมกราคม..

ใหม่!!: สีส้มและพรรคแรงงานประชาธิปไตย (เกาหลีใต้) · ดูเพิ่มเติม »

กบมะเขือเทศมาดากัสการ์

กบมะเขือเทศมาดากัสการ์ หรือ อึ่งมะเขือเทศมาดากัสการ์ (Tomato frog, Madagascar tomato frog) สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ ในอันดับกบชนิดหนึ่ง ในวงศ์อึ่งอ่าง (Microhylidae) มีผิวหนังเรียบลื่นเป็นมัน สีแดงเข้มเหมือนมะเขือเทศ จึงเป็นที่มาของชื่อสามัญ มีรอยย่นสีดำที่ตาและมีดวงตาสีเขียว ปากแคบ มีสันนูนเป็นรอยย่นขึ้นมาบนปาก ใต้ท้องสีเหลือง ช่องคอเป็นสีดำ ลำตัวอ้วนสั้น ขนาดเมื่อโตเต็มที่ตัวผู้จะมีสีส้มยาวประมาณ 2.5 นิ้ว หนัก 40 กรัม ขณะที่ตัวเมียจะมีสีแดง และมีขนาดใหญ่กว่า คือ ยาว 4 นิ้ว หนัก 227 กรัม เมื่อยังเป็นวัยอ่อนสีสันจะยังไม่ฉูดฉาดเหมือนตัวเต็มวัย กระจายพันธุ์อยู่ในแหล่งน้ำจืดบนเกาะมาดากัสการ์ ทางแอฟริกาตะวันออก ว่ายน้ำได้ไม่เก่ง แต่กินอาหารไม่เลือก ได้แก่ แมลงขนาดใหญ่, ตัวอ่อนของสัตว์ชนิดต่าง ๆ เช่นหนอน, จิ้งหรีด, หนอนผึ้ง ตลอดจนสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังทั้งในน้ำและบนบก กบมะเขือเทศมาดากัสการ์มีพิษที่รุนแรงบนผิวหนัง เมื่อตกใจหรือเครียด จะปล่อยสารเคมีสีขาวขุ่นเหมือนกาวเพื่อใช้ในการป้องกันตัว ซึ่งสารนี้สามารถเกาะติดกับลำตัวของศัตรูที่มาคุกคามได้นานถึง 2 วัน แม้แต่ขนาดงูพิษยังไม่อาจจะกินได้ ขยายพันธุ์ในช่วงฤดูฝน ตัวผู้จะส่งเสียงเรียกตัวเมีย ภายหลังการผสมพันธุ์แล้ว ตัวเมียจะนำไข่ซึ่งมีทั้งสีขาวและสีดำ ประมาณ 1,000-1,500 ฟอง ปล่อยลงสู่ผิวน้ำ ไข่จะฟักเป็นลูกอ๊อดในเวลา 2 วัน ใช้เวลาพัฒนาเหมือนตัวเต็มวัย 1 ปี และมีอายุขัยโดยเฉลี่ย 10 ปี กบมะเขือเทศมาดากัสการ์ นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสำหรับผู้ที่นิยมเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลานหรือสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ และมีแสดงตามสวนสัตว์ต่าง ๆ อาทิ เขาดินวน.

ใหม่!!: สีส้มและกบมะเขือเทศมาดากัสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

กระรอกสวน

กระรอกสวน หรือ กระรอกท้องแดง (Pallas's squirrel, Red-bellied squirrel) เป็นกระรอกชนิดหนึ่ง เป็นกระรอกขนาดกลาง มีขนาดเล็กกว่ากระรอกหลากสี (C. finlaysonii) เล็กน้อย ทั่วไปลำตัวมีสีน้ำตาลแกมเขียว ลำตัวส่วนล่างขนสีน้ำตาลแดง, ส้ม หรือสีเหลืองนวล แบ่งออกเป็นชนิดย่อยต่าง ๆ ได้ถึง 20 ชนิดย่อย บางชนิดย่อยมีปื้นสีดำบริเวณหลังส่วนท้าย หางเป็นพวงสวยงาม มีสีแถบสีเนื้อจาง ๆ สลับดำ บางชนิดย่อยปลายหางมีสีดำ บางชนิดย่อยปลายหางเป็นสีอ่อน มีความยาวลำตัวและหัวประมาณ 20-26 เซนติเมตร ความยาวหาง 20 เซนติเมตร กระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่ ภูฏาน อินเดีย จีน ประเทศไทย ลาว เวียดนาม คาบสมุทรมลายู อินโดนีเซีย ปจนถึงเอเชียตะวันออกอย่างไต้หวัน ญี่ปุ่น กระรอกสวนกินผลไม้และลูกไม้ต่าง ๆ เป็นอาหารรวมถึงสัตว์ขนาดเล็กต่าง ๆ อย่างแมลงและหนอน หากินและอาศัยเป็นหลักบนต้นไม้ พบได้ในหลายพื้นที่ทั้งสวนสาธารณะและเมืองใหญ่ นับเป็นกระรอกที่พบได้มากและบ่อยที่สุดในประเทศไทย พบมากตามสวนผลไม้หรือสวนมะพร้าว มักถูกกำจัดหรือจับมาขายเพราะทำลายพืชผล จัดเป็นศัตรูพืชชนิดหนึ่ง ตามปกติจะอาศัยและหากินตามลำพัง เวลาหากินจะเป็นเวลากลางวัน สามารถแทะกินเปลือกไม้เปลือกแข็งหรือผลไม้เปลือกแข็งได้ นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง หากเลี้ยงตั้งแต่เล็ก ๆ ขณะยังไม่หย่านม จะเชื่องกับผู้เลี้ยง ถูกนำไปเป็นสัตว์เลี้ยงในหลายประเทศ จนกลายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่น และไม่จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองหรือสัตว์ป่าสงวนในประเทศไทยแต่ประการใด Stuyck, Baert, Breyne & Adriaens (2010).

ใหม่!!: สีส้มและกระรอกสวน · ดูเพิ่มเติม »

กระต่ายลายเสือ

กระต่ายลายเสือ หรือ กระต่ายป่าลายเสือ (Striped rabbit) เป็นกระต่ายสกุล Nesolagus (/นี-โซ-ลา-กัส/) กระต่ายลายเสือ จัดเป็นกระต่ายที่มีขนาดเล็ก มีใบหูที่เล็กกว่ากระต่ายสกุลอื่น ๆ มีลักษณะเด่น คือ ขนตามลำตัวมีสีน้ำตาลเหลือง หรือน้ำตาลแกมส้ม มีลายสีดำพาดขวางตามลำตัว เป็นลวดลายแลดูคล้ายลายของเสือโคร่ง อันเป็นที่มาของชื่อ มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด กระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ คือ.

ใหม่!!: สีส้มและกระต่ายลายเสือ · ดูเพิ่มเติม »

กรด

กรด (อังกฤษ: acid, มาจากภาษาละติน acidus/acēre หมายถึง "เปรี้ยว") เป็นสสารซึ่งทำปฏิกิริยากับเบส โดยทั่วไป กรดสามารถระบุได้ด้วยรสเปรี้ยว,สมบัติทำปฏิกิริยากับโลหะอย่างแคลเซียม และเบสอย่างโซเดียมคาร์บอเนต กรดที่ละลายน้ำมี pH น้อยกว่า 7 โดยที่กรดจะแรงขึ้นตามค่า pH ที่ลดลง และเปลี่ยนกระดาษลิตมัสสีน้ำเงินเป็นแดง ตัวอย่างทั่วไปของกรด รวมไปถึง กรดน้ำส้ม (น้ำส้มสายชู), กรดซัลฟิวริก (ในแบตเตอรีรถยนต์), และกรดทาร์ทาริก (ในการทำขนม) ดังสามตัวอย่างข้างต้น กรดสามารถเป็นได้ทั้งสารละลาย ของเหลวหรือของแข็ง สำหรับแก๊ส อย่างเช่น ไฮโดรเจนคลอไรด์ ก็เป็นกรดได้เช่นกัน กรดแรงและกรดอ่อนเข้มข้นบางตัวมีฤทธิ์กัดกร่อน แต่มีข้อยกเว้น เช่น คาร์บอรีนและกรดบอริก นิยามกรดโดยทั่วไปมีสามนิยาม ได้แก่ นิยามอาร์เรเนียส นิยามเบรินสเตด-ลาวรี และนิยามลิวอิส นิยามอาร์เรเนียสกล่าววว่า กรดคือ สสารที่เพิ่มความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) ในสารละลาย นิยามเบรินสเตด-ลาวรีเป็นการขยายขึ้น คือ กรดเป็นสสารซึ่งสามารถทำหน้าที่ให้โปรตอน กรดส่วนมากที่พบในชีวิตประจำวันเป็นสารละลายในน้ำ หรือสามารถละลายได้ในน้ำ และสองนิยามนี้เกี่ยวเนื่องที่สุด สาเหตุที่ pH ของกรดน้อยกว่า 7 นั้น เป็นเพราะความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนมากกว่า 10-7 โมลต่อลิตร เนื่องจาก pH นิยามเป็นลอการิทึมลบของความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไออน ดังนั้น กรดจึงมี pH น้อยกว่า 7 ตามนิยามเบรินสเตด-ลาวรี สารประกอบใดซึ่งสามารถให้โปรตอนง่ายสามารถพิจารณาได้ว่าเป็นกรด ตัวอย่างมีแอลกอฮอล์และเอมีน ซึ่งมีหมู่ O-H หรือ N-H ในทางเคมี นิยามกรดลิวอิสเป็นนิยามที่พบมากที่สุด กรดลิวอิสเป็นตัวรับอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว ตัวอย่างกรดลิวอิส รวมไปถึงไอออนลบโลหะทั้งหมด และโมเลกุลอิเล็กตรอนน้อย เช่น โบรอนฟลูออไรด์ และอะลูมิเนียมไตรคลอไรด์ ไฮโดรเนียมไอออนเป็นกรดตามทั้งสามนิยามข้างต้น ที่น่าสนใจคือ แม้แอลกอฮอล์และเอมีนสามารถเป็นกรดเบรินเสตด-ลาวรีได้ตามที่อธิบายข้างต้น ทั้งสองยังทำหน้าที่เป็นเบสลิวอิสได้ เนื่องจากอะตอมออกซิเจนและไนโตรเจนมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว.

ใหม่!!: สีส้มและกรด · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย

รงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เป็นกลุ่มโรงเรียนวิทยาศาสตร์ที่จัดตั้งขึ้นจากวัตถุประสงค์ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สัมพันธ์ ทองสมัคร เพื่อสนองพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ที่ทรงมุ่งมั่นจะส่งเสริมคุณภาพชีวิต ในด้านความเป็นอยู่และการศึกษาของเยาวชน ปัจจุบันเป็นโรงเรียนที่อยู่ในแผนและยุทธศาสตร์ สำหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์ โดยจัดการเรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนส่งเสริมให้เด็กคิดเป็น และกล้าลงมือทำ โดยโรงเรียนจะสนับสนุนทั้งด้านอุปกรณ์การเรียนการสอน อุปกรณ์ในห้องทดลองที่มีครบถ้วนและเพียงพอต่อความต้องการของเด็ก ในการศึกษาคนคว้าส่งที่ตนเองสนใจได้เอง โดยมีอาจารย์ที่มีความรู้ความสามารถ คอยให้คำปรึกษาและสนับสนุนให้เด็กแสดงศักยภาพของตนได้อย่างเต็มที.

ใหม่!!: สีส้มและกลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

กะพรุนน้ำจืด

กะพรุนน้ำจืด หรือ แมงกะพรุนน้ำจืด (Freshwater jellyfish) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในพวกแมงกะพรุนที่อยู่ในชั้นไฮโดรซัว ต่างจากแมงกะพรุนที่พบในทะเลที่ส่วนมากจะอยู่ในชั้นไซโฟซัว ใช้ชื่อสกุลว่า Craspedacusta (/คราส-พี-ดา-คัส-ต้า/).

ใหม่!!: สีส้มและกะพรุนน้ำจืด · ดูเพิ่มเติม »

กิ้งก่าบินคอแดง

กิ้งก่าบินคอแดง หรือ กะปอมปีกคอแดง ในภาษาอีสาน (Blanford's flying lizard, Orange winged flying lizard, Banded winged flying lizard; 裸耳飞蜥) จัดเป็นกิ้งก่าบินชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Draco blanfordii อยู่ในวงศ์กิ้งก่า (Agamidae) มีเหนียงสีเหลืองอ่อน มีประสีดำบนพื้นสีแดงสด ปีกมีลายบั้งสีเข้มสลับกับสีส้มเหลือง อันเป็นที่มาของชื่อ ลำตัวสีเขียวปนเทา กินปลวกต้นไม้, หนอนขนาดเล็ก และมดไม้ยักษ์ เป็นอาหาร ตัวเมียวางไข่ในพื้นทราย หรือจอมปลวกบนต้นไม้ หรือโพรงไม้ ครั้งละ 5-6 ฟอง พบมากที่สุด คือ 10 ฟอง แพร่กระจายพันธุ์ได้กว้างไกลตั้งแต่อนุทวีปอินเดียจนถึงภูมิภาคอินโดจีน และประเทศจีนตอนล่าง เช่น มณฑลยูนนาน สำหรับในประเทศไทย พบได้ทางภาคเหนือลงมาจนถึงภาคใต้ตอนล่าง และมาเลเซีย จัดเป็นกิ้งก่าบินที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ มีความยาวตั้งแต่ปลายหัวจรดโคนหาง 4.75 นิ้ว และหางมีความยาว 9นิ้ว มักพบในป่าดิบชื้นที่ราบ หรือ ป่าดิบเขาระดับกลาง และป่าเบญจพรรณ กิ้งก่าบินคอแดง จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ตามกฎหมายในประเทศไท.

ใหม่!!: สีส้มและกิ้งก่าบินคอแดง · ดูเพิ่มเติม »

กิ้งก่าบินปีกจุด

กิ้งก่าบินปีกจุด หรือ กิ้งก่าบินปีกส้ม (Spotted flying dragon, Orange-winged flying lizard) เป็นกิ้งก่าบินชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Draco maculatus อยู่ในวงศ์กิ้งก่า (Agamidae) เป็นกิ้งก่าบินขนาดเล็ก ใต้คางมีเหนียงคู่หนึ่งรูปร่างกลมมน ซึ่งกึ่งกลางเหนียงตรงนี้สามารถยกขึ้นลงได้ ในตัวผู้จะมีขนาดโตเห็นชัดเจน ข้างลำตัวระหว่างขาคู่หน้าและขู่หลัง มีแผ่นหนังขนาดใหญ่ที่ใช้ในการร่อน ลำตัวมีสีน้ำตาลแดง มีลายประสีเหมือนลายไม้ จึงสามารถพรางได้เป็นอย่างดีบนต้นไม้ แผ่นหนังด้านข้างนี้ออกสีส้ม มีลายพาดตามยาวสีจาง ใต้ท้องมีสีน้ำตาลอ่อนกว่า ใต้แผ่นหนังข้างลำตัวจะมีจุดสีดำ 2-3 จุด อันเป็นที่มาของชื่อเรียก มีความยาวจากหัวจรดโคนหาง 60-65 มิลลิเมตร ส่วนหางมีความยาวกว่าคือ 93-110 มิลลิเมตร พบแพร่กระจายพันธุ์ตั้งแต่รัฐอัสสัมของอินเดีย จนถึงเกาะไหหลำในจีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงตอนเหนือของมาเลเซีย พบได้ในป่าหลากหลายประเภท รวมถึงบ้านเรือนของมนุษย์ที่ปลูกใกล้ชายป่าด้วย หากินในเวลากลางวันจนถึงพลบค่ำ โดยมากจะหากินและอยู่ตามลำพังตัวเดียว ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่โดยตัวเมียวางไข่ไว้ในหลุมดินที่ขุดไว้ ในที่ ๆ มีแสงแดดส่องถึง ครั้งละ 3-5 ฟอง วางไข่ในฤดูฝน จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: สีส้มและกิ้งก่าบินปีกจุด · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 1 ใน 5 แห่งแรกในประเทศไทยถูกสถาปนาขึ้นพร้อมกับ วิทยาลัยเกริก วิทยาลัยไทยสุริยะ วิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และวิทยาลัยพัฒนา เริ่มแรกนั้นได้รับการก่อตั้งในชื่อ “วิทยาลัยไทยเทคนิค” เมื่อปี พ.ศ. 2505 ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น “วิทยาลัยกรุงเทพ” และได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น “มหาวิทยาลัยกรุงเทพ” เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2527 ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 18 ธันวาคม..

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น

มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น (The Eastern University of Management and Technology) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ถึงระดับปริญญาเอก ตั้งอยู่ที่ถนนชยางกูร ตำบลในเมือง อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นสถาบันการศึกษาของสงฆ์ ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ของประเทศไทย ที่จัดการศึกษาในรูปแบบมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่เริ่มประยุกต์หลักพระพุทธศาสนาให้เข้ากับสังคมสมัยใหม่ โดยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ หนึ่งในสองแห่งของประเทศไท.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขศรีล้านช้าง (Mahamakut Buddhist University, Sri Lanchang Campus) เป็นวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ตั้งอยู่ที่ตำบลกุดป่อง อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2536.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน (Mahamakut Buddhist University Isan Campus) เป็นวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ตั้งอยู่ที่ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2533.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ (Chaiyaphum Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในจังหวัดชัยภูมิ จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา โดยมี คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ เพื่อจัดการหลักสูตรของมหาวิทยาลัย ผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ จะได้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์เป็นประจำทุกปี ณ หอประชุมมหาวชิราลงกรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร

มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร (Kamphaengphet Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ที่ตำบลนครชุม อำเภอเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2516.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร แม่สอด

มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร แม่สอด (Kamphaengphet Rajabhat University Maesot) เป็นศูนย์การศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ตั้งอยู่222 หมู่ 7 ตำบลแม่ปะ อำเภอแม่สอดจังหวัดตาก จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2543.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร แม่สอด · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต (Phuket Rajabhat University) ตั้งอยู่ ณ ต.รัษฎา อ.เมือง จังหวัดภูเก็ต บนที่ดินเนื้อที่ประมาณ 354 ไร่ 78 ตารางวา ซึ่งเดิมเป็นที่ดินขององค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต 78 ไร่ ที่ดินที่ได้รับบริจาคจากขุนเลิศโภคารักษ์และทายาท 273 ไร่ และได้รับบริจาคจากนายโสภณ เอกวานิช 3 ไร่ 78 ตารางวา โดยจัดการศึกษาแบ่งเป็นภาคปกติ คือ ระดับปริญญาตรี (จันทร์ -ศุกร์) และระดับปริญาตรี (เสาร์ -อาทิตย์) และภาคพิเศษ ได้แก่ ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดศรีสะเกษ โดยเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏในกลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษาในสาขาต่างๆ รวมทั้งดำเนินงานวิจัยและให้บริการทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ศิลปศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ เพื่อตอบสนองความต้องการของจังหวัดศรีสะเกษและจังหวัดใกล้เคียง ตลอดจนประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นแผ่นดินใหญ่ โดยเฉพาะเขตอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (Suan Sunandha Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ถูกจัดอันดับมหาวิทยาลัยให้เป็นราชภัฏอันดับ 1 จากการจัดอันดับของสภาวิจัยจากประเทศสเปน สหภาพยุโรป และได้รับการติดจาก QS Star ประเทศอังกฤษ ในระดับ 2 ดาว ซึ่งหมายความว่าเป็นที่พูดถึงในระดับนานาชาติจำนวนมาก เป็นที่รู้จักในวงกว้างของสถาบันที่นำเสนองานวิจัยระดับนานาชาติ (เป็นราชภัฏเพียงแห่งเดียวจาก 38 แห่งทั่วประเทศไทยที่ได้รับการติดดาวQS) นอกจากนี้ยังมี สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ได้รับดาวจาก QS โดยสวนสุนันทาตั้งเป้าไว้ที่จะได้รับการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกจาก QS ซึ่งเป็นที่ยอมรับในสากลเรื่องของการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก มหาวิทยาลัยแห่งนี้มีรากฐานมาจากการสถาปนา "โรงเรียนสวนสุนันทาวิทยาลัย" เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2480 เปิดสอน ประกาศนียบัตรประโยคครูประถม (ป.ป.) ต่อมาจึงได้ยกฐานะขึ้นเป็นวิทยาลัยครูสวนสุนันทา" ในปี พ.ศ. 2518 ตามพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู..

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี (UdonThani Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2466 เป็นโรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมมณฑลอุดร ต่อมาในปี..

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ (Uttaradit Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกและเพียงแห่งเดียวที่ตั้งอยู่ในจังหวัดอุตรดิตถ์ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2479 ในนาม "โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตร จังหวัดอุตรดิตถ์" ในอดีตสถาบันแห่งนี้เคยเป็นศูนย์กลางทางการศึกษาฝึกหัดครูของภาคเหนือ ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์, แพร่, น่าน, เชียงราย, ลำปาง และอุตรดิตถ์มณเฑียร ดีแท้.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา เลขที่ 340 ถนนสุรนารายณ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา อยู่ห่างจากอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารีไปทางตำบลจอหอ ประมาณ 3 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 274 ไร่ 3 งาน 41 ตารางวา พื้นที่หลักอยู่ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา จำนวน 174 ไร่ 3 งาน 41 ตารางวา และมีศูนย์ฝึกปฏิบัติงานด้านการเกษตรอีก 100 ไร่ อยู่ที่ตำบลโพธิ์กลาง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ติดกับสวนสัตว์ จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งอยู่ห่างจากมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ประมาณ 15กิโลเมตร มีปรัชญาประจำมหาวิทยาลัยว.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช (Nakhon Si Thammarat Rajabhat University; อักษรย่อ:มร.นศ.) เป็นมหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2500 ตั้งอยู่ที่ตำบลท่างิ้ว อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมร.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (Chiang Rai Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ที่ตำบลบ้านดู่ อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย เริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พุทธศักราช 2512 ในนามชื่อ "โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา วิทยาเขตจังหวัดเชียงราย" จนกระทั่งถึงปี พุทธศักราช 2516 เปลี่ยนมาเป็น "วิทยาลัยครูเชียงราย".

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ (ChiangMai Rajabhat University; ชื่อย่อ: มร.ชม. - CMRU) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐที่เก่าแก่ที่สุดในจังหวัดเชียงใหม่ เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกของภาคเหนือ เป็นวิทยาลัยครูแห่งแรกที่ก่อตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาค และเป็นสถาบันการศึกษาที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2467 ในนาม "โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมประจำมณฑลพายัพ" มีบทบาทและความรับผิดชอบในฐานะสถาบันการศึกษาและวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษาวิชาการในสาขาวิชาต่าง ๆ ตามความต้องการของท้องถิ่น และผลิตครูบุคลากรทางการศึกษา ทำการวิจัยส่งเสริมวิทยฐานะของครู อาจารย์ และบุคลากรประจำการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ในปี พ.ศ. 2518 "โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมประจำมณฑลพายัพ" หรือ "โรงเรียนฝึกหัดครูเชียงใหม่" ได้ยกฐานะขึ้นเป็น "วิทยาลัยครูเชียงใหม่" ตาม "พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ. 2518" ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานนามวิทยาลัยครูทั่วประเทศว่า "สถาบันราชภัฏ" แปลว่า "ผู้ที่อยู่ใกล้พระราชา" ทั้งยังได้พระราชทานตราพระราชลัญจกรประจำพระองค์ เป็นตราประจำสถาบันราชภัฏ และเมื่อได้ประกาศใช้ "พระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ" ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2538 "วิทยาลัยครูเชียงใหม่" จึงมีชื่อเป็น "สถาบันราชภัฏเชียงใหม่" เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2547 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมลงพระปรมาภิไธยใน "พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547" อันมีผลให้สถาบันราชภัฏ 41 แห่งทั่วประเทศ เปลี่ยนชื่อเป็น "มหาวิทยาลัยราชภัฏ" และมีสถานภาพเป็นนิติบุคคลโดยสมบูรณ์ ยังความปลาบปลื้มยินดีแก่ชาวราชภัฏทุกคน ในปี พ.ศ. 2557 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มีอายุครบรอบ 90 ปี.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชธานี

มหาวิทยาลัยราชธานี เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ตั้งอยู่ในจังหวัดอุบลราชธานี โดยมีวิทยาเขต 1 แห่ง ที่จังหวัดอุดรธานี ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2536 โดยมีชื่อว่า "วิทยาลัยเทคโนโลยีราชธานี" และได้เปลี่ยนสถานะเป็น "มหาวิทยาลัยราชธานี" เมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2546.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชธานี วิทยาเขตอุดรธานี

มหาวิทยาลัยราชธานี วิทยาเขตอุดรธานี  (อังกฤษ: Ratchathani University, UdonThani Campus) เป็นวิทยาเขต ในกำกับของมหาวิทยาลัยราชธานี ซึ่งตั้งอยู่ที่ จังหวัดอุดรธานี.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยราชธานี วิทยาเขตอุดรธานี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Ramkhamhaeng University; ชื่อย่อ: ม.ร. - RU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยตลาดวิชาแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งรับบุคคลเข้าศึกษาโดยไม่สอบคัดเลือกและไม่จำกัดจำนวน ทำการเรียนการสอนแบบตลาดวิชา คือมีการเรียนการสอนในชั้นเรียนเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยปกติ แต่ไม่บังคับเข้าชั้นเรียน อันเป็นระบบเดียวกันกับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองในอดีต มหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศไทย และมีชื่อเสียงในด้านนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์อย่างมาก.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ (Walailak University; อักษรย่อ:มวล.) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐ จัดตั้งตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ..

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งแรกที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ เออร์แบนา-แชมเปญจน์

อัลมามาเทอร์ สัญลักษณ์ที่สำคัญของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ เออร์แบนา-แชมเปญจน์ (University of Illinois at Urbana-Champaign, ตัวย่อ: UIUC) เป็นมหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2410 (ค.ศ. 1867) มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงทางด้าน วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ ฟิสิกส์ นิเทศศาสตร์ การเกษตร การบัญชี และ ครุศาสตร์ ตามการจัดอันดับของ ยูเอสนิวส์แอนด์เวิลด์รีพอร์ต มหาวิทยาลัยประกอบไปด้วย 18 คณะ และมีภาควิชามากกว่า 150 ภาควิชา มีนักศึกษากว่า 40,000 คน มหาวิทยาลัยตั้งอยู่คร่อมเมืองสองเมือง คือเมืองเออร์แบนาและเมืองแชมเปญจน์ ในรัฐอิลลินอยส์ ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของชิคาโก ห่างประมาณ 200 กม.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ เออร์แบนา-แชมเปญจน์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนเรศวร

มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ "มหาวิทยาลัยนเรศวร" นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน มหาวิทยาลัยนเรศวรได้รับการจัดอันดับในด้านการวิจัยให้เป็นมหาวิทยาลัยระดับดีเยี่ยมและเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 9 ของประเทศไทย จากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เมื่อปี พ.ศ. 2549 หนังสือพิมพ์ข่าวสด วันที่ 1 กันยายน 2549 และได้รับการจัดอันดับโดย เว็บโอเมตริกซ์ (Webometrics) เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 ให้อยู่ในอันดับที่ 605 ของโลก อันดับที่ 15 ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอันดับที่ 9 ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยนเรศวรเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาคภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางตอนบนของประเทศไทย โดยมีการเรียนการสอนครอบคลุมครบทุกสาขาวิชาทั้งสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รวมทุกระดับการศึกษาทั้งสิ้น 184 หลักสูตร มีจำนวนนิสิตประมาณ 22,200 คน และมีอาจารย์ประจำกว่า 1,400 คน พิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในช่วงเดือนธันวาคม โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์มาทรงประกอบพิธีสำคัญต่าง ๆ ในกิจการของมหาวิทยาลัยนเรศวร.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต วิทยาเขตสวนหลวง เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต (Kasem Bundit University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2530 ในชื่อ วิทยาลัยเกษมบัณฑิต.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี เป็นหนึ่งในวิทยาเขตของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ซึ่งเป็นสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บริหารธุรกิจและการท่องเที่ยว ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี หรือ บางมด (อังกฤษ: King Mongkut's University of Technology Thonburi; อักษรย่อ: มจธ.) โดยเป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ และเป็น สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตามประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 115 ตอนที่ 11 ก ลงวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2541 มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในด้าน วิศวกรรมศาสตร์, วิทยาศาสตร์, เทคโนโลยี, สถาปัตยกรรมศาสตร์ เดิมชื่อ วิทยาลัยเทคนิคธนบุรี, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตธนบุรี และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ตามลำดับ ปัจจุบันเปิดสอนใน 8 คณะ, 1 สถาบัน, 1 บัณฑิตวิทยาลัย และ 1 บัณฑิตวิทยาลัยร่วม โดยมีทั้งหลักสูตรปกติ และนานาชาติ ในระดับปริญญาตรี, โท และเอก ซึ่งมี 3 วิทยาเขต และ 1 อาคาร คือ วิทยาเขตบางมด, วิทยาเขตบางขุนเทียน, วิทยาเขตราชบุรี และอาคารเคเอ็กซ์ คลองสาน.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (Rajamangala University of Technology) เป็นระบบมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปัจจุบันมีอยู่ 9 แห่งทั่วประเทศ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2518 ในชื่อ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อใหม่ว่า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และได้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล..

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (อังกฤษ: Rajamangala University of Technology Isan) เป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีที่จัดการเรียนการสอนในพื้นที่ 4 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ นครราชสีมา ขอนแก่น สกลนคร และสุรินทร์ โดยได้รับการยกฐานะจากวิทยาเขตในสังกัดสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล เป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล จำนวน 9 แห่งทั่วประเทศไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน อยู่ห่างจากตัวเมืองประมาณ 3 กิโลเมตร พื้นที่หลักของมหาวิทยาลัยฯมีเนื่อที่ประมาณ 330 ไร่ ติดกับถนนสุรนารายณ์ และยังมีพื้นที่ป่าหนองระเวียง เดิมใช้เป็นพื้นที่ฝึกภาคสนามของนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเรียกว่า "ศูนย์ฝึกภาคสนามหนองระเวียง" ปัจจุบันมหาวิทยาลัยฯได้รักษาสภาพพื้นที่ป่านี้ไว้ เพื่อใช้เป็นโรงเรียนธรรมชาติ มีพื้นที่ทั้งหมด 2,600 ไร่ มีรั้วล้อมรอบอย่างถาวร มีการแบ่งพื้นที่เป็นส่วนๆ คือ สวนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ จำนวน 200 ไร่ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา จำนวน 200 ไร่ พื้นที่รองรับการขยายการศึกษาของมหาวิทยาลัยฯ จำนวน 1,100 ไร่ และพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จำนวน 1,000 ไร.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร เป็นวิทยาเขตในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เริ่มเปิดทำการสอนเมื่อปี พ.ศ. 2539 ตั้งอยู่ที่ตำบลพังโคน อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร ห่างจากตัวจังหวัด 50 กิโลเมตร.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เป็นวิทยาเขตในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เริ่มเปิดทำการสอนเมื่อปี พ.ศ. 2473 ตั้งอยู่ที่ตำบลนอกเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น เป็นวิทยาเขตในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เริ่มเปิดทำการสอนเมื่อปี พ.ศ. 2507 ตั้งอยู่ที่ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (อังกฤษ: Suranaree University of Technology; อักษรย่อ: มทส.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนครราชสีมา ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 โดยได้มีการยกฐานะจาก "วิทยาลัยสุรนารี" ในสังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น ขึ้นเป็น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ทำการจัดการเรียนการสอนครอบคลุมสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ใน 7 สำนักวิชาและ 1 สถาบันสมทบ โดยมีหลักสูตรในระดับปริญญาตรี 32 หลักสูตร ปริญญาโท 34 หลักสูตร และปริญญาเอก 28 หลักสูตร (ข้อมูลในปีการศึกษา 2553) นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคณาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอกคิดเป็นร้อยละสูงที่สุดในประเทศไทย (ร้อยละ 80.21) และเป็นมหาวิทยาลัยที่มีผลงานวิจัยต่อหัวคณาจารย์สูงที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: สีส้มและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี · ดูเพิ่มเติม »

มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย (Mahapajapati Buddhist College, Mahamakut Buddhist University) เป็น วิทยาลัย สังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศไทยที่รับเฉพาะนักศึกษาหญิง และแม่ชี เท่านั้น.

ใหม่!!: สีส้มและมหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มดแดง

ชื่อมดชนิด Oecophylla smaragdina ในวงศ์ Formicidae ตัวยาวประมาณ ๑ เซนติเมตร ลำตัว หนวด และขามีสีส้ม หรือสีน้ำตาลปนแดง หัว และอกมีขนสั้น ๆ สีขาว ทำรังบนต้นไม้โดยใช้ใยเหนียวสีขาวเชื่อมใบไม้ให้ชิดติดกันเป็นรังกลม ๆ หากถูกรบกวนจะปล่อยกรดออกมาแล้วกัดให้เกิดแผลบนผิวหนัง ทำให้แสบร้อน.

ใหม่!!: สีส้มและมดแดง · ดูเพิ่มเติม »

ม้าน้ำหนามขอ

ม้าน้ำหนามขอ หรือ ม้าน้ำหนามยาว (Thorny seahorse, Spiny seahorse) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกม้าน้ำ มีปากที่ยาวกว่าม้าน้ำชนิดอื่น ๆ มีส่วนของหนามยาว ปลายแหลมและคมกว่าม้าน้ำชนิดอื่น ๆ ปลายหนามโค้งเล็กน้อยและมักจะมีสีเข้มหรือดำ มีสีผิวลำตัวแตกต่างกันไป เช่น สีเหลือง, สีเขียว, สีส้ม, สีชมพู มีความยาวเต็มที่ประมาณ 7.9-13.5 เซนติเมตร มีรายงานความยาวสูงสุด 17 เซนติเมตร พบในเขตร้อน แถบทะเลแดง, มหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟิคตอนกลางและตะวันตก สำหรับในน่านน้ำไทยพบทั้งในฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน ในแนวปะการัง หรือซากเรือจม.

ใหม่!!: สีส้มและม้าน้ำหนามขอ · ดูเพิ่มเติม »

รันชู

รันชู รันชู หรือ รันจู (ランチュウ; Ranchu) เป็นสายพันธุ์ของปลาทองสายพันธุ์หนึ่ง ที่ได้รับความนิยมอย่างมากในการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม รันชู ได้รับการพัฒนาสายพันธุ์ขึ้นมา ในราวปี ค.ศ. 1700 ที่ประเทศญี่ปุ่น หลังจากการเกิดขึ้นมาของปลาทองสายพันธุ์สิงห์จีน โดยชาวญี่ปุ่นได้นำปลาทองสิงห์ญี่ปุ่นมาพัฒนาจนได้เป็นปลาทองสายพันธุ์ใหม่ที่แตกต่างไปจากปลาทองสิงห์ญี่ปุ่นที่มีอยู่ และเรียกชื่อปลาทองสายพันธุ์นี้ว่า "รันชู" หรือ "รันจู" ปลาทองรันชูเป็นปลาทองที่มีลักษณะคล้ายกับปลาทองสิงห์ญี่ปุ่นมาก โดยเป็นปลาทองที่มีลำตัวอ้วนหนา บึกบึน ไม่มีครีบหลัง ลักษณะของปลาทองรันชูที่สวย ได้มาตรฐาน คือ ต้องมีช่วงหลังโค้งลาดลงได้สัดส่วน ไม่นูนไปข้างหน้าหรือข้างหลังจนเกินไป ความโค้งของหลังไม่ตื้นหรือลึกเกินไป ไม่จำเป็นต้องมีหลังที่โค้งเรียบ ส่วนท้องด้านข้างควรโป่งพอง แนวลำตัวเริ่มจากจะงอยปากจนถึงปลายหางต้องอยู่ในแนวเส้นตรงไม่บิดเบี้ยวหรือโค้งงอ เกล็ดควรมีความสม่ำเสมอเรียงตัวกันเป็นระเบียบจากต้นคอจนถึงโคนหาง และเป็นเงางามแลดูสดใสแวววาว โคนหางใหญ่ บึกบึน แลดูมีพละกำลัง ส่วนหลังดูเมื่อมองจากด้านบนจะแลดูคล้ายเหรียญโคบัน (小判) ครีบหางต้องแผ่กว้าง สมดุลกันทั้งด้านซ้ายและขวา ไม่บิดโค้งงอ มีขนาดที่เหมาะสมกับลำตัว ลักษณะของครีบหางมีสองแบบ คือ หางสามแฉก และสี่แฉก มุมยกของหางควรทำมุมไม่เกิน 45 องศา กับแผ่นหลัง ไหล่หางงุ้มมาข้างหน้าเล็กน้อย ส่วนปลายของหางไม่ควรยกสูงกว่าแนวของสันหลัง สีของปลาทองรันชู มีสีขาว, แสด, แดง หรือแม้กระทั่งดำ เป็นสีเดียวตลอดทั้งตัว หรือจะเป็นหลายสีผสมกันก็ได้ แต่ไม่ว่าจะเป็นสีในโทนเข้มหรืออ่อน ควรมีความเงางามของเกล็ดและเรียงเป็นระเบียบสวยงาม มีรูปทรงลำตัวที่ดี ขณะว่ายน้ำไม่เชิดหัวขึ้นหรือก้มหัวจนต่ำเกินไป มีพละกำลังในการว่ายน้ำ พริ้วสวยไม่อืดอาด มีการสะบัดสะโพกที่สวยงาม ครีบทวารหรือครีบก้น ต้องมี จะมีเดี่ยวหรือมีคู่ก็ได้ หากมีควรมีคู่กัน ส่วนครีบอื่น ๆ ไม่มีครีบหลัง มีครีบอก และครีบท้องอย่างละหนึ่งคู่ มีขนาดเท่ากัน ส่วนหัว มีช่องของดวงตาห่างและมีระยะห่างช่วงริมฝีปากจนถึงนัยน์ตาควรจะยาว กลุ้มวุ้นบนหัวทั้งสามส่วนไม่กำหนดลักษณะที่แน่นอน เพียงแต่ให้แลดูแล้วสมดุลกลมกลืนเหมาะสมกับช่วงลำตัว ส่วนของหัววุ้นบนหัว ต้องปิดทั้งแผ่นปิดเหงือก, ข้างแก้มไปจนถึงริมฝีปาก และบนส่วนหัว แต่ต้องไม่มีขนาดเหมือน ชิชิ คาชิร.

ใหม่!!: สีส้มและรันชู · ดูเพิ่มเติม »

ราชมงคลเกมส์ ครั้งที่ 30

กีฬามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 30 (อีสานเกมส์) เป็นการแข่งขันกีฬาระหว่างนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลทั้ง 9 แห่งทั่วประเทศไทย จัดขึ้นในระหว่างวันที่ 31 มกราคม - 7 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สีส้มและราชมงคลเกมส์ ครั้งที่ 30 · ดูเพิ่มเติม »

ราชมงคลเกมส์ ครั้งที่ 31

กีฬามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 31 (พระนครเกมส์) เป็นการแข่งขันกีฬาระหว่างนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลทั้ง 9 แห่งทั่วประเทศไทย จัดขึ้นในระหว่างวันที่ 7 กุมภาพันธ์ - 14 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สีส้มและราชมงคลเกมส์ ครั้งที่ 31 · ดูเพิ่มเติม »

ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์

ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ (CRA) เป็นสถาบันการวิจัยและวิชาการชั้นสูง (มิใช่สถาบันอุดมศึกษา แต่มีสถาบันอุดมศึกษาอยู่ในส่วนงาน) และจัดการศึกษาทางวิชาการและวิชาชีพด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม การแพทย์ และการสาธารณสุข มีวัตถุประสงค์ในการวิจัย สร้าง ประมวล ประยุกต์ ส่งเสริม เผยแพร่ พัฒนา จัดการศึกษาและผลิตบุคลากรในระดับสูง เพื่อสร้างองค์ความรู้ เป็นศูนย์ความเป็นเลิศทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม การแพทย์ และการสาธารณสุข ให้บริการทางการแพทย์และการสาธารณสุขแก่ประชาชน ให้ความช่วยเหลือผู้ยากไร้และผู้ประสบภัยพิบัติ รวมทั้งส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม และทะนุบํารุงศิลปวัฒนธรรม.

ใหม่!!: สีส้มและราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสี

รายชื่อต่อไปนี้คือชื่อของรายการสี.

ใหม่!!: สีส้มและรายชื่อสี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอินเดีย

งในหน้านี้ เป็นธงต่างๆ ที่มีการใช้และเคยใช้ในสาธารณรัฐอินเดี.

ใหม่!!: สีส้มและรายชื่อธงในประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศแอฟริกาใต้

งต่าง ๆ ในหน้านี้ เป็นธงชาติ และธงอื่น ๆ ที่มีการใช้ในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้.

ใหม่!!: สีส้มและรายชื่อธงในประเทศแอฟริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศเนเธอร์แลนด์

นื้อหาในหน้านี้ว่าด้วยธงประเภทต่างๆ ที่มีการใช้ในราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ สำหรับเนื้อหาเกี่ยวกับธงชาติ สามารถศึกษาได้ที่บทความ ธงชาติเนเธอร์แลน.

ใหม่!!: สีส้มและรายชื่อธงในประเทศเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในกันดั้มดับเบิลโอ

รายละเอียดของตัวละครจากภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกันดั้มดับเบิลโอผลงานของบริษัทซันไร.

ใหม่!!: สีส้มและรายชื่อตัวละครในกันดั้มดับเบิลโอ · ดูเพิ่มเติม »

รุ่งอรุณ

รุ่งอรุณ (Chinese trumpet vine) เป็นพันธุ์ไม้พื้นเมืองของประเทศจีนตอนใต้ อยู่ในวงศ์แคหางค่าง และอยู่ในสกุล Campsis เดิมรุ่งอรุณมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Bignonia grandiflora Thunb.

ใหม่!!: สีส้มและรุ่งอรุณ · ดูเพิ่มเติม »

ลิงลมเหนือ

ลิงลมเหนือ หรือ ลิงลมเบงกอล (Bengal slow loris, Northern slow loris) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในอันดับวานร (Primates) ในวงศ์ลิงลม (Lorisidae) จัดเป็นลิงลมชนิดหนึ่ง ที่เป็นลิงลมที่พบได้ในประเทศไทยทั่วทุกภาค นอกจากลิงลมใต้ (N. coucang) ซึ่งลิงลมเหนือนับเป็นลิงลมที่เพิ่งมีการจำแนกออกเป็นชนิดใหม่ เป็นลิงลมที่มีขนาดใหญ่ มีน้ำหนักตัว 900-1,400 กรัม ความยาวลำตัวจากหัวและลำตัว 325-360 มิลลิเมตร ใบหูมองเห็นได้ชัดเจน โดยจะจมหายไปกับขนบนหัว สีขนมีความแตกต่างหากหลายกันไปตามสภาพพื้นที่ ตั้งแต่ สีเทาอมครีม, สีครีม, สีน้ำตาลอ่อน, สีส้มหม่น มีเส้นพาดกลางหลังสีน้ำตาลจรดหาง บนใบหน้าไม่ปรากฏเส้นพาดสีดำไปยังหูทั้ง 2 ข้าง และไปยังดวงตา 2 ข้าง เป็นลักษณะรูปคล้ายช้อนส้อม หรือถ้าปรากฏก็จะจาง ๆ ขนรอบดวงตาเป็นสีเข้ม ผิวหนังที่ขาทั้ง 4 ข้าง เป็นสีซีด พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่เอเชียใต้จนถึงภูมิภาคอินโดจีน แต่ตามกฎหมายในประเทศไทย ยังไม่จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามกฎหม.

ใหม่!!: สีส้มและลิงลมเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ลูกโป่ง (ปลาทอง)

ลูกโป่ง ลูกโป่ง (Bubble eye; スイホウガン; โรมะจิ: Suihogan) เป็นสายพันธุ์ของปลาทองชนิดหนึ่ง ที่ปรากฏในปัจจุบัน เป็นปลาที่มีลักษณะเด่นที่เห็นได้ชัดเจนคือ มีถุงใต้ตาขนาดใหญ่ที่มีเส้นเลือดอยู่ภายใน ปูดยื่นออกมาทั้งสองข้างแลดูคล้ายลูกโป่ง จึงเป็นที่มาของชื่อ มีลักษณะลำตัวเรียวยาว ครีบทุกครีบสั้น ไม่มีครีบหลังซึ่งลักษณะดังกล่าวนี้คล้ายกับปลาทองอีกสายพันธุ์หนึ่งคือ สิงห์จีน, สิงห์ญี่ปุ่น และ รันชู ลูกโป่ง เป็นปลาทองที่มีสายพันธุ์กำเนิดมาจากประเทศจีน นับว่าเป็นปลาทองอีกสายพันธุ์หนึ่งที่มีความเปราะบาง เลี้ยงยาก ทั้งนี้เพราะผู้เลี้ยงต้องคอยระวังมิให้ถุงใต้ตานั้นแตก ซึ่งอาจจะทำให้ปลาพิการหรือตายได้เลย เพราะปลาจะเสียการทรงตัวและติดเชื้อโรค ลูกโป่งนับว่าเป็นปลาทองที่มีสีสันหลากหลายมากที่สุดสายพันธุ์หนึ่ง เพราะมีทั้ง เหลือง, แดง, ขาว, เหลือง, ส้ม หรือหลากหลายสีสันในตัวเดียวหรือแม้กระทั่งน้ำตาลดำทั้งตัว เมื่อยังเล็ก ถุงใต้ตาจะยังเล็กอยู่และจะโตขึ้นเรื่อย ๆ ตามอายุขัยปลา จนกระทั่งเจริญเติบโตเต็มที่เมื่ออายุได้ 2 ขวบปี ลูกโป่งมีอายุขัยเต็มที่ราว 5 ปี.

ใหม่!!: สีส้มและลูกโป่ง (ปลาทอง) · ดูเพิ่มเติม »

ลูนี่ตูนส์ บ้าหลุดโลก

ลูน่าติด บ้าหลุดโลก (Loonatics Unleashed) เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของประเทศสหรัฐอเมริกา ผลิตโดย Warner Bros.

ใหม่!!: สีส้มและลูนี่ตูนส์ บ้าหลุดโลก · ดูเพิ่มเติม »

วันพฤหัสบดี

วันพฤหัสบดี เป็นวันลำดับที่ 5 ในสัปดาห์ อยู่ระหว่างวันพุธกับวันศุกร์ แต่ตามมาตรฐาน ISO 8601 กำหนดให้เป็นวันที่ 4 ของสัปดาห.

ใหม่!!: สีส้มและวันพฤหัสบดี · ดูเพิ่มเติม »

วากิ้น

วากิ้น(วากิ้นดั้งเดิม) วากิ้น (Wakin; ワキン; โรมะจิ: wakin) เป็นปลาทองสายพันธุ์หนึ่งที่มีแหล่งกำเนิดที่ประเทศจีน ในช่วงราชวงศ์จิน มันคือบรรพบุรุษของปลาทองตัวอ้วนกลมทั้งหลาย เมื่อปี 1502 วากิ้นได้ถูกนำเข้ามายังประเทศญี่ปุ่น ยุคมุโระมะจิ ในจังหวัดโอะซะกะ และซะไก วากิ้นในประเทศไทยมีฟาร์มบางที่ที่เพาะวากิ้นกันอยู่ แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยมมากนัก ลักษณะของสายพันธุ์ลำตัวเรียวยาว และใหญ่ มีครับหางเดียว และคู่ สีบนลำตัวสีส้ม, สีแดง เป็นต้น วากิ้นสามารภแบ่งได้เป็น 2 ประเภท 1.

ใหม่!!: สีส้มและวากิ้น · ดูเพิ่มเติม »

วายเอชบอยส์

วายเอชบอยส์ (อังกฤษ: YHBOYS) (จีน: 乐华少年) ย่อจาก เยฮวาบอยส์ (Yuehua Boys) เป็นบอยแบนด์สัญชาติจีนอยู่ภายใต้บริษัทเยฮวาเอนเตอร์เทนเมนต์ (Yuehua Entertainment) เปิดตัวในปี ค.ศ.2017 ประกอบไปด้วยสมาชิกเด็กชายชาวจีนอายุระหว่าง 10-13 ปี ทั้งหมด 7 คนได้แก่ จาง จวิ้นอี, กัว เตี้ยนเจี่ย, จาง หมิงฮ่าว, หลิว กวานอี้, จาง เอินซั่ว, ซุน เจียข่าย และ หลี่ หลินหม่า ที่ล้วนแต่มีความสามารถเกินอายุ ไม่ว่าจะร้อง เต้น แนวคิดของกลุ่มคือการช่วยให้แฟน ๆ มีส่วนร่วมในการเติบโตของสมาชิกตั้งแต่เริ่มเดบิวท์ในขณะที่สมาชิกทำงานทั้งในด้านการร้องเพลงและการแสดง.

ใหม่!!: สีส้มและวายเอชบอยส์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยพิชญบัณฑิต

วิทยาลัยพิชญบัณฑิต (Pitchayabundit College) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองหนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2551 นับเป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งแรกของจังหวัดหนองบัวลำภูและมีวิทยาเขตตั้งอยู่ที่จังหวัดอุดรธานีด้ว.

ใหม่!!: สีส้มและวิทยาลัยพิชญบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล

วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นผลมาจากการประชุมวิชาการเรื่อง "โครงการบริหารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี" เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 และเรื่อง "บัณฑิตศึกษาเชิงสหวิทยาการ" ซึ่งจัดขึ้นโดยบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อวันที่ 12-13 กันยายน..

ใหม่!!: สีส้มและวิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์

วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ส่วนงานหนึ่งของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ มีหน้าที่จัดการศึกษาทางด้าน แพทยศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ สาธารณสุขศาสตร์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ ทําการวิจัย และสนับสนุนให้ทําการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ในเรื่องดังกล่าว และให้บริการในการบําบัดรักษาผู้ป่ว.

ใหม่!!: สีส้มและวิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (อังกฤษ:College of Innovation and Management, Suansunandha Rajabhat University)  เป็นส่วนราชการไทยเทียบเท่าระดับคณะวิชา อยู่ในกำกับของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กระทรวงศึกษาธิการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดการศึกษาสำหรับผู้ใหญ่ที่ขาดโอกาสทางการศึกษาทั้งนักธุรกิจ นักการเมือง ดารา นักแสดง และผู้ประกอบการ ที่มีกิจการของตัวเองหรือมีหน้าที่การงานระดับผู้บริหาร.

ใหม่!!: สีส้มและวิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยนานาชาติราฟเฟิลส์

วิทยาลัยนานาชาติราฟเฟิลส์ (Raffles International College) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน มาตรฐานระดับสากล เปิดสอนวิชาด้านการออกแบบและบริหารธุรกิจ มีการร่วมมือทางวิชาการอย่างเต็มรูปแบบกับมหาวิทยาลัยในประเทศอังกฤษอย่าง มหาวิทยาลัยนอร์ทัมเบรีย ประเทศอังกฤษ(Northumbria University).

ใหม่!!: สีส้มและวิทยาลัยนานาชาติราฟเฟิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยแสงธรรม

วิทยาลัยแสงธรรม เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ตำบลท่าข้าม อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เริ่มต้นจัดการเรียนการสอนเมื่อปี พ.ศ. 2515 โดยใช้ชื่อว่า "สามเณราลัย แสงธรรม" ปัจจุบันมี บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ เป็นอธิการบดี.

ใหม่!!: สีส้มและวิทยาลัยแสงธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (อังกฤษ:College of Logistics and Supply Chain, Suansunandha Rajabhat University)  เป็นส่วนราชการไทยเทียบเท่าระดับคณะวิชา อยู่ในกำกับของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันจัดการศึกษาที่ วิทยาเขตศาลายา  โดยจัดการศึกษาในระดับปริญญาตรี  ปริญญาโท และปริญญาเอก ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชนซึ่งถือว่าเป็นวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชนแห่งแรกของมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้งหม.

ใหม่!!: สีส้มและวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาแป้นแก้ว

ระวังสับสนกับปลาวงศ์อื่น ดูที่: วงศ์ปลาแป้น วงศ์ปลาแป้นแก้ว (วงศ์: Ambassidae อดีตเคยใช้ Chandidae; Asiatic glassfish) วงศ์ปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลากะพง พบทั้งน้ำจืด น้ำกร่อย และทะเล มีลักษณะโดยรวมมีรูปร่างเป็นรูปไข่ ส่วนหัวและท้องกว้าง ลำตัวแบนข้าง หัวโต ตาโต ปากกว้าง ครีบหลังแบ่งออกได้เป็น 2 ตอน ตอนแรกเป็นก้ามแข็งแรงและแหลมคม ตอนหลังเป็นครีบอ่อน ครีบหางเว้าลึก ครีบก้นมีก้านแข็ง 3 ชิ้น ครีบท้องมีก้านแข็ง 1 ชิ้น ครีบอกเล็ก ลำตัวโดยมากเป็นสีใสหรือขุ่นจนสามารถมองเห็นกระดูกภายในลำตัวได้ ด้านท้องมีสีเงิน เป็นปลากินเนื้อ มักอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดใหญ่ เป็นปลาขนาดเล็กมีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 10 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในเขตอบอุ่นของชายฝั่งมหาสมุทรอินเดียจนถึงฟิลิปปินส์และออสเตรเลีย มีทั้งหมด 8 สกุล 49 ชนิด สำหรับในประเทศไทยพบในน้ำจืด 5 ชนิด โดยชนิดที่พบมากที่สุดคือ ปลาแป้นแก้ว (Parambassis siamensis) และชนิดที่ใหญ่ที่สุดคือ ปลาแป้นแก้วยักษ์ (P. wolffii) มีชื่อสามัญเรียกโดยรวมว่า "แป้นแก้ว" หรือ "แป้นกระจก" หรือ "กระจก" หรือ "ข้าวเม่า" ในภาษาถิ่นเหนือเรียกว่า "แว่น" ในภาษาอีสานเรียกว่า "คับของ" หรือ "ปลาขี้ร่วง" มีความสำคัญคือเป็นปลาเศรษฐกิจใช้บริโภคในพื้นถิ่น เช่น บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำภาคกลาง โดยทำปลาแห้งและบริโภคสด อีกทั้งยังนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามด้วย โดยมักฉีดสีเข้าในลำตัวปลา เป็นสีสันต่าง ๆ เช่น สีเหลือง, สีส้ม, สีน้ำเงิน และเรียกกันในแวดวงปลาสวยงามว่า "ปลาเรนโบว์" หรือ "ปลาสายรุ้ง" ซึ่งเมื่อเลี้ยงนานเข้า สีเหล่านี้จะหลุดหายไปเอง โดยที่ปลาไม่ได้รับอันตร.

ใหม่!!: สีส้มและวงศ์ปลาแป้นแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

สกุลปลาวัวปิกัสโซ

กุลปลาวัวปิกัสโซ (Picasso triggerfish) เป็นสกุลของปลากระดูกแข็งน้ำเค็มสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาวัว (Balistidae) อันดับปลาปักเป้า (Tetraodontiformes) ใช้ชื่อสกุลว่า Rhinecanthus (มาจากภาษากรีก rhinos หมายถึง "จมูก" และ akantha หมายถึง "หนาม" หรือ"เงี่ยง") มีชื่อสามัญเรียกรวม ๆ กันว่า "ปลาวัวปิกัสโซ" ขณะที่ในภาษาฮาวายจะเรียกปลาวัวสกุลนี้ว่า Humuhumu (ฮูมูฮูมู) หมายถึง "ปลาวัวที่มีหน้าคล้ายหมู" อันเนื่องจากมีส่วนหน้าที่ยื่นยาวออกมาเหมือนหมู ปากมีขนาดเล็ก ฟันแหลมคม และตามลำตัวมีลวดลายและสีสันต่าง ๆ สวยงาม ทั้ง สีดำ, สีฟ้า, สีเหลือง บนพื้นลำตัวสีขาวหรือสีส้ม มีขนาดยาวเต็มที่ประมาณ 25-30 เซนติเมตร กระจายพันธุ์อยู่ในแนวปะการัง ของแถบอินโด-แปซิฟิก ตั้งแต่ฮาวาย จนถึงอินโดนีเซีย จัดเป็นปลาวัวที่ไม่ดุร้ายมากนักเมื่อเทียบกับสกุลอื่น ๆ ประกอบกับสีสันที่สวยงาม จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่ก็สามารถกัดให้ได้รับบาดเจ็บเหมือนกัน.

ใหม่!!: สีส้มและสกุลปลาวัวปิกัสโซ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเสือไฟ

กุลเสือไฟ (Golden cat) เป็นสกุลของสัตว์กินเนื้อจำพวกเสือขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Catopuma ในวงศ์เสือและแมว (Felidae) ลักษณะโดยทั่วไปของเสือในสกุลนี้ คือ จะมีขนสีเดียวตลอดทั้งตัว คือ สีแดงหรือสีส้ม ในขณะที่ส่วนหัวจะมีลวดลายสีเข้มเป็นเอกลักษณ์ พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ จนถึงเกาะบอร์เนียว ปัจจุบันมีการแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด โดยทั้ง 2 ชนิดนี้ถูกแยกออกจากกันชัดเจนจากการวิเคราะห์ทางพันธุกรรม โดยทั้ง 2 ชนิดนี้ถูกแยกออกจากกันเมื่อ 4.9-5.3 ล้านปีมาแล้ว โดยชนิดที่พบบนเกาะบอร์เนียววิวัฒนาการตัวเองแยกออกมาก่อน โดยมีญาติใกล้ชิดที่สุด คือ แมวลายหินอ่อน ซึ่งอยู่ในสกุล Pardofelis ซึ่งแยกออกมาต่างหากเมื่อ 9.4 ล้านปีก่อน.

ใหม่!!: สีส้มและสกุลเสือไฟ · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์ประหลาดแฟลทวูดส์

รูปสเก็ตสัตว์ประหลาดแฟลทวูดส์ เทียบกับมนุษย์ สัตว์ประหลาดแฟลทวูดส์ หรือ สัตว์ประหลาดบรอกตันเคาน์ตี หรือ ปีศาจแฟลทวูดส์ (อังกฤษ: Flatwoods Monster, Braxton County Monster, Phantom of Flatwoods) เป็นสิ่งมีชีวิตประหลาดที่มีรายงานการพบที่เมืองแฟลทวูดส์ ในบรอกตันเคาน์ตี รัฐเวสต์เวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา ในคืนวันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 1952.

ใหม่!!: สีส้มและสัตว์ประหลาดแฟลทวูดส์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม กำแพงแสน

|.

ใหม่!!: สีส้มและสำนักส่งเสริมและฝึกอบรม กำแพงแสน · ดูเพิ่มเติม »

สี

วงล้อสี สี คือการรับรู้ความถี่ (ความกว้างคลื่นหรือความยาวคลื่น) ของแสง ในทำนองเดียวกันกับที่ระดับเสียง มนุษย์สามารถรับรู้สีได้เนื่องจากโครงสร้างอันละเอียดอ่อนของดวงตา ซึ่งมีความสามารถในการรับรู้แสงในช่วงความถี่ที่ต่างกัน การรับรู้สีนั้นขึ้นกับปัจจัยทางชีวภาพ (คนบางคนตาบอดสี ซึ่งหมายถึงคนคนนั้นเห็นสีบางค่าต่างจากคนอื่นหรือไม่สามารถแยกแยะสีที่มีค่าความอิ่มตัวใกล้เคียงกันได้ หรือแม้กระทั่งไม่สามารถเห็นสีได้เลยมาแต่กำเนิด), ความทรงจำระยะยาวของบุคคลผู้นั้น, และผลกระทบระยะสั้น เช่น สีที่อยู่ข้างเคียง บางครั้งเราเรียกแขนงของวิชาที่ศึกษาเรื่องของสีว่า รงคศาสตร์ วิชานี้จะครอบคลุมเรื่องของการรับรู้ของสีโดยดวงตาของมนุษย์, แหล่งที่มาของสีในวัตถุ, ทฤษฎีสีในวิชาศิลปะ, และฟิสิกส์ของสีในสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้.

ใหม่!!: สีส้มและสี · ดูเพิ่มเติม »

สีทอง

สีทอง เป็นสีเหลืองแกมส้ม และเป็นสีของทองคำในธรรมชาติ ทอง.

ใหม่!!: สีส้มและสีทอง · ดูเพิ่มเติม »

สีที่ใช้ในเว็บ

ีที่ใช้ในเว็บ หรือ สีเว็บ มีหลักการอ้างอิงถึงในลักษณะสองแบบ คือ อ้างอิงตามเลขฐานสิบหก ในรูปแบบ RGB รหัสผสมสีของสีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน หรืออ้างอิงตามชื่อสีภาษาอังกฤษ.

ใหม่!!: สีส้มและสีที่ใช้ในเว็บ · ดูเพิ่มเติม »

สีขาว

ีขาว คือ โทนสี หรือ การรับรู้ที่เกิดจากแสงไปกระตุ้นเซลล์สีรูปกรวยทั้ง 3 แบบในดวงตาของมนุษย์ในปริมาณที่เกือบจะเท่ากันและมีความสว่างสูงสุดเมื่อเทียบกับสิ่งแวดล้อมรอบข้าง สีขาว เป็นสีที่เกิดจากการรวมความเข้มของแสงสเปกตรัมที่มองเห็นได้ เป็นสีที่เต็มไปด้วยความสว่าง แต่ไม่มีสีสัน แหล่งกำเนิดของแสงสีขาวมีอยู่หลายแหล่ง เช่น ดวงอาทิตย์ในเวลากลางวัน, หลอดไฟแบบไส้, หลอดไฟแบบฟลูออเรสเซนท์ และหลอด LED สีขาว สีขาวยังมีความพิเศษอยู่อีกอย่างหนึ่ง ก็คือ เป็นสีที่เกิดจากการผสมกันระหว่างแสงสีปฐมภูมิ ซึ่งได้แก่ สีแดง, เขียว และน้ำเงิน (RGB) โดยเรียกกระบวนการนี้ว่า การผสมแสงสี (additive mixing) ซึ่งพบได้ทั่วไปในเทคโนโลยีการแสดงผล แสงสีขาวที่สะท้อนออกมาจากวัตถุจะสามารถมองเห็นได้ก็ต่อเมื่อไม่มีสเปกตรัมของแสงส่วนไหนที่สะท้อนมากกว่าส่วนอื่นๆและวัตถุที่สะท้อนแสงนั้นมีมุมตกกระทบที่เหมาะสมที่จะทำให้เกิดการกระจัดกระจายของแสง (diffusion) ได้.

ใหม่!!: สีส้มและสีขาว · ดูเพิ่มเติม »

สีเทา

ีเทา เป็นสีที่อยู่ระหว่างสีขาวและสีดำซึ่งเป็นสีที่ไม่มีสีสัน สีเทาในภาษาอังกฤษสะกดได้สองอย่างคือ grey (อังกฤษบริเตน) และ gray (อังกฤษอเมริกัน) ไทยสมัยโบราณมีคำเรียก "สีเหล็ก" หมายถึงสีเทาออกดำ.

ใหม่!!: สีส้มและสีเทา · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

ันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (Bunditpatanasilpa Institute; ชื่อย่อ: BPI) เป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเป็นผู้พระราชทานนามสถาบัน ซึ่งหมายถึง "สถาบันผลิตบัณฑิตทางศิลปะแห่งความเจริญ" โดยมีหน้าที่จัดการศึกษาระดับปริญญาตรีทางด้านช่างศิลป์ นาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ และคีตศิลป์ ทั้งไทยและสากล รวมถึงศิลปวัฒนธรรม.

ใหม่!!: สีส้มและสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์

ันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ (Chulabhorn Graduate Institute) เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ส่วนงานหนึ่งของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ มีหน้าที่จัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ทําการวิจัย นําผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ และให้บริการทางวิชาการ อดีตเป็นบัณฑิตวิทยาลัยเอกชน ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้รับอนุมัติจากกระทรวงศึกษาธิการเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ตั้งอยู่ที่ถนนกำแพงเพชร 6 แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร โดยให้ดำเนินการสอนระดับปริญญาโทและเอก ในหลักสูตรวิทยาศาสตร์ชีวภาพประยุกต์ สาขาเคมีชีวภาพ และสาขาพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2559 ราชกิจจานุเบกษา ได้ลงประกาศ พระราชบัญญัติราชวิทยาลัยจุฬาภรณ..

ใหม่!!: สีส้มและสถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล

ันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล มีฐานะเทียบเท่าคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยมหิดล เป็นสถาบันวิจัยที่มีความเป็นเลิศด้านการวิจัย ทางด้านชีววิทยาศาสตร์ระดับโมเลกุล และสนับสนุนภารกิจหลักด้านการวิจัย การจัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา การบริการวิชาการสู่สังคม ปัจจุบันจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตและมหาบัณฑิต.

ใหม่!!: สีส้มและสถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล

ันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นส่วนงานระดับคณะของมหาวิทยาลัย ทำหน้าที่วิจัย พัฒนาสาธารณสุขมูลฐานของประเทศไทยและอาเซียน อีกทั้งยังเป็นสถาบันที่ให้การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาอีกด้ว.

ใหม่!!: สีส้มและสถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันการบินพลเรือน

ันการบินพลเรือน (Civil Aviation Training Center) เดิมชื่อ "ศูนย์ฝึกการบินพลเรือนในประเทศไทย" เป็นหน่วยงานประเภทรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงคมนาคม โดยมีหน้าที่ในการอบรมและผลิตบุคลากรด้านการบินทั้งระดับภายในประเทศและระหว่างประเทศ ตามมาตรฐานระดับสากลที่องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (International Civil Aviation Organization: ICAO) กำหนดไว้ โดยตำแหน่งหัวหน้าสถานศึกษาเรียกว่า "ผู้ว่าการสถาบันการบินพลเรือน" ในปัจจุบัน คือ พลเรือตรี ปิยะ อาจมุงคุณ รองผู้ว่าการได้แก่ นางสาว ภัคณัฎฐ์ มากช่วย และ ดร.กนก สารสิทธิธรรม ผู้ที่สำเร็จการศึกษาจะมีความรู้ความสามารถในการเข้าไปปฏิบัติงานในหน่วยงานด้านการบินทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ในตำแหน่งงานต่าง ๆ เช่น นักบิน ช่างซ่อมบำรุงอากาศยาน เจ้าหน้าที่ควบคุมการจราจรทางอากาศ เจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏบัติการในท่าอากาศยาน เป็นต้น.

ใหม่!!: สีส้มและสถาบันการบินพลเรือน · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันออกแบบนานาชาติชนาพัฒน์

ันออกแบบนานาชาติชนาพัฒน์ เป็นสถาบันการศึกษาที่ไม่แสวงหาผลกำไร มีศาสตราจารย์พิเศษ ดร.สาคร สุขศรีวงศ์ เป็นผู้อำนวยการ ชื่อ "ชนาพัฒน์" ประพันธ์โดย พระธรรมมงคลญาณ(หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร) ซึ่งหมายถึง พัฒนาประชาชน มีพันธกิจหลักคือ มุ่งพัฒนานักออกแบบไทยให้สามารถพัฒนาฝีมือการออกแบบให้มีความทัดเทียมและสามารถแข่งขันกับชาวต่างชาติได้ ปัจจุบันสถาบันเปิดทำการสอน 2 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรออกแบบแฟชั่น (Fashion Design) และ หลักสูตรออกแบบตกแต่งภายในและผลิตภัณฑ์ (Interior and Product Design)โดยมีความร่วมมือทางวิชาการกับ 2 สถาบันชั้นแนวหน้าของโลก คือ สถาบัน NABA ซึ่งเป็นเจ้าของ Domus Academy เมือง Milan ประเทศอิตาลี และ ความร่วมมือทางวิชาการกับInterior Design Program, Royal College of Art กรุง London ประเทศอังกฤษ.

ใหม่!!: สีส้มและสถาบันออกแบบนานาชาติชนาพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า

ันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เป็นอดีตสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ เคยมีสถานะเป็นกรมในกระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: สีส้มและสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ก่อตั้งด้วยความช่วยเหลือของรัฐบาลญี่ปุ่น โดยเน้นการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งอยู่เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สีส้มและสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์

ันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ จังหวัดชุมพร เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร.

ใหม่!!: สีส้มและสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ส้ม (แก้ความกำกวม)

้ม อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สีส้มและส้ม (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ส้มเขียวหวาน

้มเขียวหวาน เป็นส้มชนิดหนึ่ง ที่พัฒนาสายพันธุ์มาจากส้มจีน (C. reticulata) ในประเทศไทยมีผู้สันนิษฐานว่ามีผู้นำเข้าต้นพันธุ์มาจากประเทศจีนเมื่อระยะเวลากว่า 100 ปีมาแล้ว โดยลักษณะทั่วไปของส้มเขียวหวานมีรูปกลมมน แป้นเล็กน้อย ฐานผลกลมมน ด้านล่างเป็นแอ่งตื้น ๆ ผิวผลเรียบ มีเปลือกบาง เนื้อส้มภายในเป็นสีส้มอมทอง ฉ่ำน้ำ กลีบแยกออกจากกันได้โดยง่าย มีรสชาติอร่อยหวานอมเปรี้ยวเล็กน้อย เมื่อแกะออกมาแล้วกลิ่นจะติดจมูก ทำให้เป็นที่นิยมกันเป็นอย่างมาก ทั้งในรูปของผลไม้สดและในรูปของน้ำส้มคั้น ซึ่งนอกจากจะให้คุณค่าทางอาหารสูงแล้ว การบริโภคในลักษณะที่รวมทั้งเส้นใยและกากจะเป็นยาระบายอ่อนๆได้เป็นอย่างดีอีกด้วยส้มเขียวหวานที่ผลิตในแต่ละปีจะใช้บริโภคทั้งภายในประเทศและส่งออกไปจำหน่ายประเทศเพื่อนบ้าน นำรายได้เข้าประเทศปีละหลายล้านบาท แหล่งที่ขึ้นชื่อว่าปลูกส้มเขียวหวานกันมากและมีชื่อเสียงในประเทศไทย คือ ตำบลบางมดในพื้นที่อำเภอราษฎร์บูรณะและอำเภอบางขุนเทียนของจังหวัดธนบุรี (ปัจจุบันคือแขวงบางมดในเขตทุ่งครุและเขตจอมทองของกรุงเทพมหานคร) จนได้ชื่อว่า "ส้มบางมด" แต่ต่อมาในปี พ.ศ. 2510 มีน้ำทะเลได้หนุนเข้ามาทำให้ไม่สามารถปลูกได้ จึงได้เปลี่ยนมาปลูกที่ทุ่งรังสิต โดยเริ่มที่คลองสอง ธัญบุรี ต่อมาในปี พ.ศ. 2511 จึงมาปลูกที่อำเภอหนองเสือ จนได้ชื่อว่า "ส้มรังสิต" แต่ปัจจุบันก็มีการเพาะปลูกน้อยลง รวมถึงในพื้นที่บางมดด้วย ส้มเขียวหวาน มีสรรพคุณทางยาและโภชนาการ ตรงที่ผลนำมารับประทานหรือคั้นน้ำดื่มมีรสชาติเปรี้ยวอมหวานบรรเทาอาการกระหายน้ำ ป้องกันโรคหวัดและการติดเชื้อแบคทีเรีย ลดปริมาณโคเลสเตอรอลในโลหิต ช่วยระบบย่อยอาหารของร่างกาย ระบายได้มีแก้อาการท้องผูก และมีคุณค่าทางอาหาร ส้มเขียวหวานน้ำหนัก 100 กรัม ให้วิตามินซี 42 มิลลิกรัม นอกจากนี้แล้ว ส้มเขียวหวานยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ส้มแก้วเกลี้ยง", "ส้มจันทบูร", "ส้มแป้นกระดาน", "ส้มแสงทอง", "ส้มแป้นเกลี้ยง", "ส้มจุก" หรือ "ส้มบางมด" เป็นต้น.

ใหม่!!: สีส้มและส้มเขียวหวาน · ดูเพิ่มเติม »

หมาจิ้งจอกแดง

หมาจิ้งจอกแดง (Red fox) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับสัตว์กินเนื้อ ซึ่งอยู่ในวงศ์สุนัข (Canidae) จัดได้ว่าเป็นหมาจิ้งจอกแท้ชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: สีส้มและหมาจิ้งจอกแดง · ดูเพิ่มเติม »

หมาใน

หมาใน, หมาป่าเอเชีย หรือ หมาแดง เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cuon alpinus ในวงศ์สุนัข (Canidae) เป็นหมาป่าที่มีขนาดใหญ่กว่าหมาจิ้งจอก จมูกสั้น ใบหูกลมมีขนาดใหญ่ ขนตามลำตัวค่อนข้างสั้นมีสีน้ำตาลแดง สีขนบริเวณท้องจะอ่อนกว่าบริเวณหลัง หางยาวเป็นพวง ปลายหางมีสีเทาเข้มหรือดำ จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวที่อยูในสกุล Cuon มีความยาวลำตัวและหัว 80–90 เซนติเมตร ความยาวหาง 30.5–34.5 เซนติเมตร น้ำหนักในเพศผู้ 10–21 กิโลกรัม เพศเมีย 10–13 กิโลกรัม หมาในมีฟันที่แข็งแรงแต่มีฟันกรามล่างเพียงข้างละ 2 ซี่เท่านั้น ซึ่งต่างจากสัตว์ในวงศ์สุนัขชนิดอื่น ๆ มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง ทำให้มีชนิดย่อย ถึง 11 ชนิด พบตั้งแต่ภาคใต้ของไซบีเรีย เรื่อยมาจนถึงคาบสมุทรเกาหลี, เนปาล, อินเดีย, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม และเกาะชวาในอินโดนีเซีย มักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ โดยฝูงหนึ่ง ๆ มีสมาชิกตั้งแต่ 6–12 ตัว โดยสมาชิกแต่ละตัวจะมีหน้าที่ช่วยกันล่าเหยื่อที่มีขนาดใหญ่ เช่น กระทิง ควายป่า หรือ กวางป่า มีความเชื่อว่า ก่อนล่าเหยื่อจะปัสสาวะรดพื้นหรือใบไม้เมื่อเหยื่อดมถูกจะเกิดความหวาดกลัวจนยืนแข็งทำอะไรไม่ถูก จึงเชื่อว่า สามารถทำให้เหยื่อตาบอดได้ด้วยวิธีนี้ ฝูงหมาในมีความใกล้ชิดกันทางสายเลือด ภายในกลุ่มมีสมาชิกตั้งแต่ 2–3 ครอบครัว ออกล่าเหยื่อในเวลากลางวัน แต่ในบางครั้งอาจล่าในเวลากลางคืนหรือพลบค่ำหรือเช้าตรู่ได้ อาหารโดยปกติ ได้แก่ สัตว์กินพืชขนาดใหญ่ เช่น กวางป่า, เก้ง และกระต่ายป่า แต่ในบางสถานการณ์ที่อาหารขาดแคลน อาจกินลูกตัวเองเป็นอาหารได้ หมาในระบบประสาทหู ตา และการดมกลิ่นที่ดีเยี่ยม สามารถผสมพันธุ์ได้ตลอดทั้งปี ใช้เวลาตั้งท้องประมาณ 9 สัปดาห์ ออกลูกครั้งละ 8–10 ตัว ตามโพรงดินหรือในถ้ำที่ปลอดภัย แม่หมาในมีเต้านม 8 คู่ ลูกที่เกิดใหม่จะมีสีขนสีน้ำตาลเทา มีอายุในที่เลี้ยงประมาณ 16 ปี ในธรรมชาติราว 10 ปี ฝูงหมาในล่ากวางป่า ที่อุทยานแห่งชาติบันดิเปอร์ ประเทศเนปาล สถานภาพในประเทศไทย เป็นหมาป่า 1 ใน 2 ชนิดที่สามารถพบได้ในประเทศไทย (อีกหนึ่งชนิด คือ หมาจิ้งจอก) จากเดิมที่เคยพบในป่าทั่วประเทศ ปัจจุบันเชื่อว่าเหลือเพียงในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ และที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่เท่านั้น และเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: สีส้มและหมาใน · ดูเพิ่มเติม »

หอยงวงช้างมุก

หอยงวงช้างมุก (Chambered nautilus, Pearly nautilus) เป็นสัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหลังชนิดหนึ่ง อยู่ในไฟลัมมอลลัสคา ชั้นเซฟาโลโพดา จัดเป็นหอยงวงช้าง (Nautilidae) ชนิดหนึ่ง มีลักษณะของเปลือกค่อนข้างโตและมีพื้นสีขาว มีลายสีส้มอมแดง จากบริเวณปากไปจนถึงก้นเปลือกหอย โดยเป็นสัตว์ที่มีชีวิตอยู่มาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยมีการพบซากฟอสซิลที่ทะเลเกาะลูซอน ในประเทศฟิลิปปินส์ มีขนาดประมาณ 10-25 เซนติเมตร พบได้ทั่วไปในน่านน้ำเขตอินโด-แปซิฟิก จนถึงฟิลิปปิน, ทะเลญี่ปุ่น, ทะเลซูลู จนถึงเกรตแบร์ริเออร์รีฟ แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) ในน่านน้ำไทยจัดว่าหาได้ยาก โดยจะพบได้น้อยที่ฝั่งทะเลอันดามัน เช่น เกาะอาดัง, หมู่เกาะสิมิลัน, เกาะหลีเป๊ะ โดยไม่พบในอ่าวไทย เป็นสัตว์ที่ว่ายและหากินในแถบกลางน้ำและพื้นดิน โดยสามารถดำน้ำได้ถึง 3 กิโลเมตร จับสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่า เช่น ปลาหรือกุ้ง เป็นอาหาร รวมทั้งซากสัตว์ทั่วไป เป็นสัตว์ที่ใช้เนื้อรับประทานได้เช่นเดียวกับหมึกหรือหอยทั่วไป เปลือกใช้ประโยชน์ในการทำเครื่องประดับ รวมถึงการจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำทั่วไป ซึ่งหอยงวงช้างมุกจะไม่ค่อยเคลื่อนไหวมากนัก ทั้งนี้เนื่องจากในธรรมชาติอาศัยอยู่ในน้ำลึก แต่จะลอยตัวนิ่ง ๆ อยู่ข้างตู้มากกว่า อุณหภูมิที่ใช้เลี้ยงจะอยู่ที่ประมาณ 18-20 องศาเซลเซียส และเป็นสัตว์ที่ไม่กินอาหารมากนัก จนสามารถให้อาหารเพียงแค่สัปดาห์ละครั้งหรือ 2 ครั้งเท่านั้น โดยสามารถใช้ไม้เสียบล่อให้มากินหรือให้อาหารเองกับมือได้ นอกจากนี้แล้วในสถานที่เลี้ยงพบว่า หอยงวงช้างมุกสามารถวางไข่ได้ด้วย โดยจะวางไข่ติดกับก้อนหิน ไข่ใช้ระยะเวลาฟัก 8 เดือน หรือมากกว่าขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของน้ำ ตัวอ่อนมีเส้นผ่าศูนย์กลางเพียง 3 เซนติเมตร แต่อย่างไรก็ตาม จวบจนปัจจุบันยังไม่สามารถเลี้ยงลูกหอยงวงช้างมุกจนกระทั่งโตเต็มวัยได้.

ใหม่!!: สีส้มและหอยงวงช้างมุก · ดูเพิ่มเติม »

หอยเต้าปูนหาดราไวย์

หอยเต้าปูนหาดราไวย์ (Rawai cone snail) เป็นหอยฝาเดี่ยวชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์หอยเต้าปูน (Conidae) เป็นหอยเต้าปูนขนาดเล็ก มีความยาวโดยเฉลี่ย 20-46 มิลลิเมตร ถูกตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ตามชื่อของหาดราไวย์ ในจังหวัดภูเก็ต สถานที่ ๆ พบครั้งแรก มีเข็มพิษที่สามารถฆ่ามนุษย์ให้ถึงแก่ความตายได้เหมือนหอยเต้าปูนชนิดอื่น ๆ สีของเปลือกโดยปกติจะเป็นสีเดียวทั้งเปลือก คือ สีแดงปนส้มสด มีตุ่มเป็นแนวเพียงเล็กน้อย แต่ในบางตัวที่จัดว่าสวยจะนิยมเก็บเป็นของสะสม คือ เปลือกมีสีส้มสลับกับแดงสด มีแถบสีเข้ม-อ่อนสลับกันไล่เรียงเป็นทางยาวตลอดทั้งเปลือก ขณะที่ทางก้นหอยเป็นแต้ม และแถบสลับสีแดงและส้ม ตุ่มขึ้นชัดเจนเหมือนไข่มุกถึง 3-4 ชั้น.

ใหม่!!: สีส้มและหอยเต้าปูนหาดราไวย์ · ดูเพิ่มเติม »

หางนกยูงฝรั่ง

หางนกยูงฝรั่ง (Flam-boyant, The Flame Tree, Royal Poinciana) หรือที่เรียกว่า นกยูง, นกยูงฝรั่ง, ชมพอหลวง, ส้มพอหลวง (ภาคเหนือ), หงอนยูง (ภาคใต้), อินทรี (ภาคกลาง), และยูงทอง (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) พันธุ์ไม้จากทวีปแอฟริกาอยู่ในวงศ์พืชตระกูลถั่ว เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ผลัดใบในหน้าแล้ง ทรงพุ่มต้นแผ่กว้าง ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ดอกเป็นช่อออกที่ปลายกิ่ง มีกลีบห้ากลีบ สีแดงจัดจนถึงสีส้ม ฝักเป็นลักษณะฝักถั่วแบนยาว เมื่อแก่จะเป็นฝักแห้งแข็งสีดำ.

ใหม่!!: สีส้มและหางนกยูงฝรั่ง · ดูเพิ่มเติม »

หงส์

หงส์ (มักเขียนผิดเป็น หงษ์) เป็นนกน้ำขนาดใหญ่ที่อยู่ในสกุล Cygnus ในวงศ์ Anatidae อันเป็นวงศ์เดียวกับเป็ดและนกเป็ดน้ำ มีลักษณะทั่วไป มีขนสีขาวทั้งตัว จะงอยปากสีเหลืองส้มและมีปุ่มสีดำที่ฐานของปาก มักรวมฝูงในบึงน้ำเพื่อกินพืชน้ำและสัตว์น้ำขนาดเล็ก พบในทวีปเอเชียทางตอนเหนือ, ยุโรปทางตอนเหนือ, อเมริกา และออสเตรเลีย หงส์ สามารถร่อนลงบนพื้นน้ำแข็งหรือผิวน้ำที่เยือกตัวเป็นน้ำแข็งได้ เพราะมีอุ้งตีนที่ใหญ่คล้ายใบพายซึ่งช่วยกระจายน้ำหนักได้เมื่อร่อนลง แต่จะควบคุมการร่อนได้ดีกว่าในบริเวณที่น้ำแข็งละลาย หงส์มีทั้งหมด 6 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สีส้มและหงส์ · ดูเพิ่มเติม »

ห่านหัวลาย

ห่านหัวลาย (Bar-headed goose) เป็นสัตว์ปีกจำพวกห่านชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Anatidae มีลักษณะทั่วไป คือ มีขนตามร่างกายเป็นสีเทาอ่อน ส่วนหัวมีสีขาวมีแถบสีดำพาดจากหางตาขึ้นไปที่กระหม่อม และมีแถบสีดำอีกเส้นหนึ่งที่ท้ายทอย อันเป็นที่มาของชื่อ คอสีเทาเข้มและมีแถบสีขาวตามแนวยาวของคอต่อกับสีขาวของหัว สีข้างเป็นลายขวางสีดำ หางสีขาวและตรงกลางคาดแถบสีเทา ปากสีส้มถึงเหลือง นิ้วสีเหลือง ตัวที่ยังโตไม่เต็มวัยมีสีเทาเช่นเดียวกับตัวที่โตเต็มวัย แต่บริเวณกระหม่อมและท้ายทอยเป็นสีดำตัดกับหน้าผากสีขาว หน้าและลำคอส่วนที่เหลือสีขาว สีข้างไม่มีลาย ลำตัวด้านล่างมีลายแต้มสีน้ำตาลแดง มีการแพร่กระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียกลางในหลายประเทศ และในฤดูหนาวจะอพยพข้ามเทือกเขาหิมาลัยไปสู่ที่ราบลุ่มที่อบอุ่นกว่าในปากีสถานและอินเดีย โดยใช้เวลาเพียงไม่กี่ชั่วโมง ทำให้เชื่อกันว่าเป็นนกที่บินได้สูงที่สุดในโลก โดยเคยพบว่าบินได้สูงถึง 30,000 ฟุต (ประมาณ 9 กิโลเมตร) และสามารถบินได้สูงกว่านี้อีกเท่าตัว เพราะเลือดของห่านหัวลายสามารถดูดซับออกซิเจนได้ดีกว่านกชนิดอื่น ๆ จึงทำให้สามารถบินในระดับความสูงที่มีออกซิเจนเพียงเบาบางได้ ห่านหัวลาย มีพฤติกรรมมักรวมกันเป็นฝูงใหญ่ อาจถึงขั้นเป็นร้อยตัว ห่านหัวลายมักจะทำลายพืชไร่ชนิดต่าง ๆ ด้วยการกัดกินเป็นอาหาร เช่น ข้าวฟ่าง, ข้าวโพด โดยเฉพาะยอดอ่อน ออกหากินในเวลากลางคืน ขณะที่กลางวันจะนอนหลับพักผ่อน ด้วยการยืนนิ่ง ๆ ในแหล่งน้ำตื้น ๆ แพร่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ประมาณ 3-8 ฟองในรังใกล้ ๆ ทะเลสาบบนภูเขา การจำแนกห่านชนิดนี้ออกจากห่านชนิดอื่นในสกุล Anser สามารถทำได้ง่าย โดยดูจากแถบสีดำบนหัว และมีขนสีซีดจางกว่าห่านชนิดอื่นในสกุลเดียวกัน ห่านหัวลาย โดยปกติแล้ว ไม่ใช่นกประจำถิ่นของไทย แต่จะเป็นนกอพยพ ที่หาได้ยาก มีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งประเทศไทย พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สีส้มและห่านหัวลาย · ดูเพิ่มเติม »

ออเรนจ์

ออเรนจ์ (orange หรือ Orange) เป็นคำศัพท์ในภาษาอังกฤษ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สีส้มและออเรนจ์ · ดูเพิ่มเติม »

อินทรีหัวขาว

อินทรีหัวขาว หรือ อินทรีหัวล้าน (White-Head Eagle, Bald Eagle, American Eagle) เป็นนกอินทรีชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในจำพวกอินทรีทะเล มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Haliaeetus leucocephalus เป็นนกขนาดใหญ่ มีจุดเด่น คือ ขนส่วนหัวจนถึงลำคอเป็นสีขาว ตัดกับสีขนลำตัวและปีกซึ่งเป็นสีดำ และปลายหางสีขาว ขณะที่กรงเล็บ รวมทั้งจะงอยปากเป็นสีเหลือง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 70-102 เซนติเมตร (28-40 นิ้ว) ความยาวปีกเมื่อกางปีก 1.8-2.3 เมตร (5.9-7.5 ฟุต) และมีน้ำหนักประมาณ 2.5 ถึง 7 กิโลกรัม (9-12 ปอนด์) ขณะที่ตัวเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ประมาณร้อยละ 25 สามารถบินได้เร็วประมาณ 48 กิโลเมตร/ชั่วโมง และมีสายตาที่สามารถมองได้ไกลประมาณ 1 ไมล์ (1.6 กิโลเมตร) จัดเป็นนกที่มีความสวยงามและสง่างามมากชนิดหนึ่ง มีถิ่นกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาเหนือตลอดไปจนถึงเม็กซิโกตอนเหนือ และทะเลแคริบเบียน มักอาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำหรือชายทะเล เพราะกินปลาเป็นอาหารหลัก มีอายุขัยโดยเฉลี่ยประมาณ 25-30 ปี ในขณะที่ยังเป็นนกวัยอ่อนจนถึง 5 ขวบ ขนบริเวณหัวและปลายหางจะยังเป็นสีน้ำตาล ไม่เปลี่ยนไปเป็นสีขาว อินทรีหัวขาวมีพฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีกันค่อนข้างโลดโผน โดยนกทั้งคู่จะใช้กรงเล็บเกาะเกี่ยวกันกลางอากาศ แล้วทิ้งตัวดิ่งลงสู่พื้นดิน แต่เมื่อใกล้จะถึงพื้น ก็จะผละแยกออกจากกัน ซึ่งพฤติกรรมเช่นนี้เป็นไปเพื่อต้องการทดสอบความแข็งแกร่งของคู่ของตน ซึ่งจะทำให้ได้ลูกนกที่เกิดมาใหม่นั้นเป็นนกที่แข็งแรง อีกทั้งยังเป็นคู่ที่จับคู่กันตลอดชีวิตอีกด้วย เว้นแต่ตัวใดตัวหนึ่งตายไปเสียก่อน จึงจะหาคู่ใหม่ อินทรีหัวขาวถือเป็นสัญลักษณ์ของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยปรากฏในตราประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา และอีกหลายหน่วยงานราชการในประเทศ อินทรีหัวขาว เป็นนกที่ได้รับการคุ้มครองในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สีส้มและอินทรีหัวขาว · ดูเพิ่มเติม »

อโรคา ปาร์ตี้

อโรคา ปาร์ตี้ (AROKA PARTY) เป็นรายการวาไรตี้โชว์เพื่อสุขภาพ ซึ่งเป็นรายการที่นำเสนอเรื่องราวที่เกี่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัว ซึ่งเป็นรายการวาไรตี้โชว์จากประเทศญี่ปุ่น โดยมีชื่อว่า มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า "Medical Horror Check Show" ซึ่งเรียกห้องส่งของรายการว่า Black Hospital ผลิตขึ้นโดยบริษัท ทีวีอาซาฮี จำกัด ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งถูกผลิตขึ้นให้ผู้คนหวาดกลัว (ต่อโรคที่เป็นแล้วจะมีลักษณะใด) ในประเทศไทยได้รับลิขสิทธิ์รายการนี้มาผลิตในประเทศไทยโดยบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ร่วมมือกับโรงพยาบาลพญาไท โดยใช้ชื่อว่า "อโรคา ปาร์ตี้" ดังกล่าว โดยออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 22.05 น. - 22.50 น. (จากนั้นเลื่อนเวลาออกอากาศเป็น 22.15 น. - 23.00 น. และจะเปลี่ยนวันออกอากาศเป็นทุกวันจันทร์ เวลา 22.15 - 23.00 น.เริ่มตั้งแต่วันจันทร์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2552) เริ่มออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2551 และ ออกอากาศเป็นเทปสุดท้ายวันจันทร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ดำเนินรายการโดย ธงชัย ประสงค์สันติ และ หมอพี (ทันตแพทย์หญิง พอลลีน เต็ง) โดยใช้คำปรัชญาประจำรายการว่า "อโรคาปาร์ตี้ วาไรตี้ไม่มีโรค"รายการอโรคาปาร์ตี้นำมาออกอากาศอีกครั้งหนึ่งในวันที่ 2 มกราคม 2553 เวลา 20.15 - 21.10 น.ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5และปรับเปลี่ยนรูปแบบเป็นรายการเกมโชว์ควิซโชว์โดยใช้ชื่อรายการเป็น ปาร์ตี้วิทยาศาสตร์ ตอน อโรคา ซายส์ ปาร์ตี้ แทน อโรคาปาร์ตี้.

ใหม่!!: สีส้มและอโรคา ปาร์ตี้ · ดูเพิ่มเติม »

ผีเสื้อหนอนใบกระท้อน

ผีเสื้อหนอนใบกระท้อน หรือ ผีเสื้อยักษ์ (Atlas moth) เป็นผีเสื้อที่อยู่ในวงศ์ Saturniidae จัดเป็นผีเสื้อกลางคืนชนิดหนึ่งที่มีขนาดใหญ่ ระยะที่เป็นตัวหนอนกินใบกระท้อน, ฝรั่ง, ขนุน และใบดาหลา ตัวเมียวางไข่บนใบพืชอาหาร.

ใหม่!!: สีส้มและผีเสื้อหนอนใบกระท้อน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบุรีรัมย์

ังหวัดบุรีรัมย์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 5 รองจากกรุงเทพมหานคร จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดขอนแก่น และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 17 ของประเทศไท.

ใหม่!!: สีส้มและจังหวัดบุรีรัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดศรีสะเกษ

รีสะเกษ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ลักษณะภูมิประเทศทางตอนใต้เป็นที่สูง และค่อย ๆ ลาดต่ำไปทางเหนือลงสู่ลุ่มแม่น้ำมูลซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัด ปัจจุบันมีเนื้อที่ 8,840 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยอำเภอ 22 อำเภอ มีประชากรราว 1.47 ล้านคน ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย ซึ่งพูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กัน อาทิ ภาษาลาว (สำเนียงลาวใต้ซึ้งใช้ครอบคลุมทั้งฝั่งอุบลราชธานีและจำปาศักดิ์), ภาษากูย, ภาษาเยอ และภาษาเขมรถิ่นไทย ส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนิกชนและนับถือผีมาแต่เดิมกรมศิลปากร.

ใหม่!!: สีส้มและจังหวัดศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุดรธานี

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สีส้มและจังหวัดอุดรธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุตรดิตถ์

ังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมสะกดว่า อุตรดิฐ เป็นจังหวัดหนึ่งตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ได้ชื่อว่าเมืองท่าแห่งทิศเหนือ ตำนานอันลึกลับของเมืองลับแล ดินแดนแห่งลางสาดหวานหอม อุตรดิตถ์เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มายาวนาน โดยมีการค้นพบหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เดิมทีตัวเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบันนี้เป็นเพียงตำบลชื่อ "บางโพธิ์ท่าอิฐ" แต่เพราะบางโพธิ์ท่าอิฐซึ่งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำน่านมีความเจริญรวดเร็ว เพราะเป็นท่าเรือขนถ่ายสินค้าสำคัญในหัวเมืองฝ่ายเหนือ ดังนั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ย้ายเมืองหลักมาจากเมืองพิชัยมายังตำบลบางโพธิ์ท่าอิฐ และยกฐานะขึ้นเป็นเมือง "อุตรดิตถ์" ซึ่งมีความหมายว่า ท่าน้ำแห่งทิศเหนือของสยามประเทศ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 เมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้น เมืองอุตรดิตถ์จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด จังหวัดอุตรดิตถ์ตั้งอยู่ทางใต้สุดของภาคเหนือตอนล่าง โดยสภาพภูมิศาสตร์จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่สูงสลับซับซ้อน ซึ่งจะอยู่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด เนื่องจากทำเลที่ตั้งดังกล่าวจึงทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีอากาศค่อนข้างร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน มีอากาศฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูฝน และมีช่วงฤดูแล้งคั่นอยู่อย่างชัดเจนตั้งแต่ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤษภาคม เดือนที่ร้อนที่สุดคือเดือนเมษายน จังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงใต้ปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลอันดามัน ทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกันยายน โดยเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยสูงที่สุด ประชากรส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 99.66 นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 26.70 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ รวมทั้งมีการทำพืชไร่ปลูกผลไม้นานาชนิด โดยผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดอุตรดิตถ์คือลางสาด ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดอุตรดิตถ์สามารถใช้เส้นทางได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ ทางรถโดยสารประจำทาง และทางรถยนต์ส่วนบุคคล สำหรับการเดินทางโดยเครื่องบิน จังหวัดอุตรดิตถ์เคยมีท่าอากาศยาน 1 แห่ง สำหรับการเดินทางพาณิชย์ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น วัดพระแท่นศิลาอาสน์ วัดพระฝางสว่างคบุรีมุนีนาถ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรสุโขทัย แหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน และแหล่งท่องเที่ยวอีกมากมาย ทั้งน้ำตก เขื่อนสิริกิติ์ วัด พระพุทธรูปสำคัญของจังหวัด เป็นต้น.

ใหม่!!: สีส้มและจังหวัดอุตรดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..

ใหม่!!: สีส้มและจังหวัดนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

จิ้งเหลนจระเข้ตาแดง

้งเหลนจระเข้ตาแดง หรือ จิ้งเหลนจระเข้ตาส้ม หรือ จิ้งเหลนจระเข้ตาเหลือง (ตัวย่อ: Trib) เป็นสัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tribolonotus gracilis อยู่ในวงศ์ Scincidae หรือจิ้งเหลน มีผิวลำตัวเรียบลื่นเหมือนจิ้งเหลนทั่วไป แต่มีหนามแข็งคล้ายจระเข้ทั่วทั้งตัวจรดหาง หัวมีขนาดใหญ่ เป็นรูปทรงสามเหลี่ยม ลำตัวคล้ายทรงสี่เหลี่ยม มีสีน้ำตาลเข้มจนถึงสีดำ ดวงตามีขนาดกลมโต มีจุดเด่น คือ มีวงแหวนสีส้มหรือแดงรอบดวงตา บางตัวอาจเป็นสีน้ำตาลทอง ที่บริเวณใบหน้าและเท้า อันเป็นที่มาของชื่อเรียกในภาษาอังกฤษ มีความยาวเต็มที่ประมาณ 7-10 นิ้ว โดยเป็นส่วนหัวและลำตัวประมาณ 3 นิ้ว และส่วนหาง 2 นิ้วเท่านั้น ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ซึ่งแตกต่างไปจากจิ้งเหลนชนิดอื่น ๆ ที่มักออกลูกเป็นตัว เมื่อแรกเกิดที่ฟักออกจากไข่จะมีขนาดราว 2 นิ้ว โตเต็มวัยเมื่อมีอายุประมาณ 6-8 เดือน ตั้งท้องนานประมาณ 20 วัน มีอายุยืนประมาณ 10-15 ปี มีถิ่นกระจายพันธุ์อยู่ที่นิวกินี ในป่าดิบชื้น ที่มีความชื้นพอสมควร หากินตามพื้นดินไม่ค่อยขึ้นต้นไม้ โดยกินสัตว์ขนาดเล็ก เช่น จิ้งหรีด, ทาก, ลูกกบ, หนอน, ตั๊กแตน, ไส้เดือน, หนู หรือแมลงปีกแข็ง เป็นต้น ปัจจุบัน นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง สำหรับผู้ที่นิยมเลี้ยงสัตว์เลี้ยงแปลก ๆ หรือสัตว์เลื้อยคลาน เป็นสัตว์ที่เลี้ยงง่าย นิสัยไม่ดุร้าย ซึ่งนิยมเลี้ยงกันในตู้กระจก โดยจัดสภาพแวดล้อมให้คล้ายกับถิ่นที่อยู่ในธรรมชาติจริง.

ใหม่!!: สีส้มและจิ้งเหลนจระเข้ตาแดง · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติภูฏาน

งชาติภูฏาน มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมพื้นผ้ากว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นธงแบ่งเป็นสองส่วนตามแนวทแยงมุม จากมุมธงด้านปลายธงบนมายังมุมธงด้านต้นธงล่าง ครึ่งบนเป็นพื้นสีเหลือง ครึ่งล่างเป็นพื้นสีส้ม กลางธงระหว่างเส้นทแยงมุมมีรูปมังกรสายฟ้าสีขาวหรือดรุก หันหน้าไปทางด้านปลายธง ต้นแบบของธงนี้เริ่มใช้ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 24 ก่อนจะเปลี่ยนแปลงมาเป็นธงรูปแบบปัจจุบันเมื่อ พ.ศ. 2512.

ใหม่!!: สีส้มและธงชาติภูฏาน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติศรีลังกา

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นสีทอง ภายในประกอบด้วยแถบสีเขียวและสีแสดแนวตั้งที่ด้านคันธง ส่วนด้านปลายธงเป็นกรอบสี่เหลี่ยมสีแดงเลือดหมู ภายในมีรูปราชสีห์ยืน เท้าหน้าข้างหนึ่งถือดาบ ที่มุมสี่เหลี่ยมแต่ละมุมนั้นมีใบโพธิ์มุมละ 1 ใบ ธงนี้เรียกชืออีกอย่างว่า "ธงราชสิห์" ("Lion Flag") ธงนี้ใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2494 เมื่อประเทศศรีลังกายังใช้ชื่อว่ารัฐอธิราชซีลอน (Dominion of Ceylon) ภายใต้ความปกครองของสหราชอาณาจักรต่อมาจึงได้มีการแก้ไขให้เป็นธงแบบปัจจุบันเมื่อประเทศศรีลังกาได้รับเอกราชอย่างสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2515.

ใหม่!!: สีส้มและธงชาติศรีลังกา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอาร์มีเนีย

งชาติอาร์มีเนีย หรือ ธงไตรรงค์อาร์มีเนีย (եռագույն, Erraguyn) เป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ภายในแบ่งเป็นแถบ 3 แถบ ตามแนวนอน ความกว้างเท่ากัน ประกอบด้วย สีแดง สีน้ำเงิน และสีส้ม ตามลำดับจากบนลงล่าง สภาโซเวียตสูงสุดแห่งอาร์มีเนียได้รับรองเป็นธงชาติเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2533 ส่วนกฎหมายว่าด้วยธงชาติฉบับปัจจุบัน ได้ผ่านการรับรองจากสภาแห่งชาติอาร์มีเนียเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2549 ตามประวัติศาสตร์อาร์มีเนีย ได้มีการใช้ธงต่างๆ เป็นสัญลักษณ์ของอาร์มีเนียจำนวนมาก ดังเช่นในสมัยโบราณ ราชวงศ์ของอาร์มีเนียได้ใช้ธงรูปสัตว์ต่างๆ เป็นสัญลักษณ์ ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 อาร์มีเนียอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต ธงของสหภาพโซเวียตก็ได้มีการนำมาใช้เป็นสัญลักษณ์ของประเทศอาร์มีเนียอยู่หลายแบบด้ว.

ใหม่!!: สีส้มและธงชาติอาร์มีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอินเดีย

(ดูทั้งสีแถบทั้งสีธรรมจักร) ธงชาติสาธารณรัฐอินเดีย หรือ ติรังคา (तिरंगा) คำนี้เป็นคำเดียวกับคำว่า "ไตรรงค์" ซึ่งเป็นชื่ออีกอย่างของธงชาติไทย แปลว่า "สามสี" เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ภายในแบ่งเป็นแถบ 3 สี ตามแนวนอน ได้แก่ สีแสด สีขาว สีเขียว เรียงลำดับจากบนลงล่าง กลางแถบสีขาวมีรูปธรรมจักรของพระเจ้าอโศกมหาราชสีน้ำเงิน ภายในแบ่งกำเป็น 24 ซี่ วงธรรมจักรนั้นกว้างเป็น 3 ใน 4 ของความกว้างแถบสีขาว.

ใหม่!!: สีส้มและธงชาติอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติแซมเบีย

งชาติแซมเบีย เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีเขียว กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ที่ด้านปลายธงมีแถบแนวตั้ง 3 แถบ เรียงกันเป็นสีแดง สีดำ และสีแสด แถบเหล่านี้แต่ละแถบกว้างเป็น 1 ใน 9 ส่วนของด้านยาวธง และยาวเป็น 2 ใน 3 ของความกว้างของธง ที่ตอนบนของแถบสีดังกล่าวมีรูปนกอินทรีสีแสดอยู่ในท่ากางปีกจะบิน ธงนี้ออกแบบโดย นางกาเบรียล เอลลิสัน (Mrs Gabriel Ellison) ผู้มีผลงานในการออกแบบภาพตราแผ่นดินของแซมเบีย และตราไปรษณียากรอีกจำนวนมากของประเทศ และได้เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2507 ซึ่งเป็นวันที่โรซีเดียเหนือประกาศเอกราชจากสหราชอาณาจักร และก่อตั้งประเทศแซมเบีย ภายหลังในปี พ.ศ. 2539 จึงได้มีการปรับสีพื้นธงชาติให้สว่างขึ้น พื้นธงสีเขียวหมายถึงเกษตรกรรมและกิจการป่าไม้ แถบสีแดงหมายถึงการต่อสู้เพื่อเรียกร้องเสรีภาพ แถบสีดำหมายถึงประชาชนชาวแซมเบีย แถบสีแสดหมายถึงทรัพยากรแร่ธาตุต่างๆ ในประเทศ รูปนกอินทรีหมายถึงความสามารถของประชาชนที่จะเผชิญหน้ากับปัญหาของชาติ โดยตรานกอินทรีนำมาจากธงชาติโรซีเดียเหนือในสมัยอาณานิคม.

ใหม่!!: สีส้มและธงชาติแซมเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติโกตดิวัวร์

งชาติโกตดิวัวร์ (Drapeau de la Côte d'Ivoire) มีลักษณะเป็นธงสามสี กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ประกอบด้วยแถบสีแนวตั้ง 3 แถบ ได้แก่ สีส้ม สีขาว และ สีเขียว เรียงจากด้านคันธงไปยังด้านปลายธง แต่ละแถบกว้างเท่ากัน การออกแบบธงนี้ได้รับอิทธิพลจากธงชาติฝรั่งเศส ซึ่งเป็นชาติเจ้าอาณานิคมเดิม และมีลักษณะที่คล้ายคลึงกับธงชาติไอร์แลนด์ซึ่งใช้สีแบบเดียวกัน แต่ผิดกันที่การเรียงลำดับสีธงนั้นสลับที่กัน และสัดส่วนของธงชาติไอร์แลนด์นั้นยาวกว่าธงชาติโกตดิวัวร์ ธงนี้เริ่มใช้ในปี พ.ศ. 2502 ก่อนการประกาศเอกราชไม่นานนัก.

ใหม่!!: สีส้มและธงชาติโกตดิวัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติไอร์แลนด์

งชาติไอร์แลนด์ (แถบสีทอง) ธงชาติสาธารณรัฐไอร์แลนด์ (bratach na hÉireann / suaitheantas na hÉireann) เป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นธงแบ่งแถบสีตามแนวตั้ง แต่ละแถบมีขนาดเท่ากัน เรียงตามลำดับ คือ สีเขียว สีขาว และสีแสด ธงนี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อ "ธงไตรรงค์ไอริช" หรือที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า "Irish tricolour" สัดส่วนของธงกว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน โดยทางการแล้ว ความหมายของธงไชาติไอร์แลนด์มิได้มีการบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐ แต่โดยทั่วไปแล้ว ได้มีนิยามความหมายของธงไว้ว่า สีเขียวคือสีแห่งความเป็นชาตินิยมของชาวไอริชตามธรรมเนียมปฏิบัติ สีแสดเป็นสีของกลุ่มออเรนจ์อินสติติวชั่น (Orange Institution) ซึ่งเป็นชื่อขององค์กรศาสนาคริสต์นิกายโปรแตสแตนท์แห่งหนึ่งที่มีบทบาทสำคัญในทางการเมืองของไอร์แลนด์ ส่วนสีขาวซึ่งแทรกอยู่ระหว่างสีทั้งสองถือเป็นสัญลักษณ์แห่งสันติภาพ สีขาวที่กลางธงนี้ยังอาจหมายถึงการสงบศึกครั้งสุดท้ายระหว่างฝ่ายสีเหลืองกับฝ่ายสีแสดก็ได้.

ใหม่!!: สีส้มและธงชาติไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติไนเจอร์

20px ธงชาติไนเจอร์ สัดส่วนธง 6:7 ธงชาติไนเจอร์ เป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นธงแบ่งเป็น 3 แถบตามแนวนอน แต่ละแถบนั้นกว้างเท่ากัน โดยแถบบนมีสีส้ม แถบกลางเป็นสีขาว และแถบล่างคือสีเขียว กลางแถบสีขาวเป็นดวงกลมสีส้ม ลักษณะของธงนี้ได้รับอิทธิพลจากธงชาติฝรั่งเศส ซึ่งเป็นชาติเจ้าอาณานิคมเดิม เช่นเดียวกับธงของหลายประเทศที่เคยเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศส ก่อนหน้าที่ประเทศไนเจอร์จะประกาศเอกราชจากดินแดนแอฟริกาตะวันตกของฝรั่งเศส ได้มีการออกแบบธงชาติไนเจอร์ขึ้นในปี พ.ศ. 2501 และได้รับการรับรองจากรัฐสภาดินแดนอาณานิคมไนเจอร์เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2502 อันเป็นเวลาก่อนการจัดตั้งสาธารณรัฐในเครือประชาคมฝรั่งเศสเพียงไม่นาน (ตรงกับวันที่ 18 ธันวาคม ปีเดียวกัน) ธงนี้ยังคงใช้เป็นธงชาติไนเจอร์เมื่อได้รับเอกราชในปี พ.ศ. 2503 และยังคงกำหนดเป็นธงชาติตามรัฐธรรมนูญสาธารณรัฐไนเจอร..

ใหม่!!: สีส้มและธงชาติไนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงศาสนาพุทธ

งศาสนาพุทธที่ใช้ทั่วไปเป็นสากลมีชื่อเรียกว่า ธงฉัพพรรณรังสี เริ่มปรากฏการใช้ตั้งแต่ช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 25 (เทียบแบบสากลคือราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19).

ใหม่!!: สีส้มและธงศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ครั่ง

รั่ง (Lac) คือแมลงจำพวกเพลี้ยหลายชนิดที่อยู่ในวงศ์ Kerridae อาทิ Laccifer lacca ถือว่าเป็นแมลงที่เป็นศัตรูต่อพืชตามธรรมชาติ ที่จะใช้งวงปากเจาะเพื่อดูดน้ำเลี้ยงของต้นไม้ ประเภทไม้เนื้อแข็ง แต่ว่ากลับเป็นแมลงที่มีประโยชน์ต่อมนุษย์เป็นอย่างมากนับจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ครั่งจะขับสารชนิดหนึ่งซึ่งมีลักษณะเป็นเหมือนยางหรือชันออกมาไว้ป้องกันตัวเองจากศัตรู ซึ่งสารที่ขับถ่ายออกมานี้เรียกว่า "ครั่งดิบ" ตามชื่อเรียก สารนี้มีสีแดงม่วง ลักษณะคล้ายขี้ผึ้งสีเหลืองแก่ หรือยางสีส้ม ซึ่งมนุษย์ได้นำมาใช้ประโยชน์กันมานานกว่า 4,000 ปี แล้วในหลายอารยธรรม โดยใช้เป็นสมุนไพร เป็นยารักษาโรคโลหิตจาง, โรคลมขัดข้อ เป็นต้น นอกจากนี้ยังนำไปใช้ในอุตสาหกรรมการทำเชลแล็ก, แลกเกอร์, เครื่องใช้, เครื่องประดับต่าง ๆ, ย้อมสีผ้า สีโลหะ หรือผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ตลอดจนใช้ประทับในการไปรษณีย์ขนส่งหรือตราประทับเอกสารทางราชการใด ๆ ปัจจุบันครั่งเป็นสินค้าออกที่สำคัญของหลาย ๆ ประเทศ อาทิ อินเดีย, ไทย ซึ่งมีการเลี้ยงในเชิงเกษตร มีราคาขายที่แพงมาก.

ใหม่!!: สีส้มและครั่ง · ดูเพิ่มเติม »

คาเวียร์

ปลาสเตอร์เจียนเบลูกา (''Huso huso''), คาเวียร์สีส้ม (ล่าง) มาจาก เวอจีน่า คาเวียร์ (caviar) เป็นไข่ปลาที่ผ่านการปรุงรสโดยไข่มาจากปลาหลากหลายประเภท โดยส่วนมากนิยมนำมาจากไข่ปลาสเตอร์เจียน คาเวียร์ได้มีการโฆษณาและได้ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในอาหารที่อร่อยที่สุดในโลก คำว่า คาเวียร์ มาจากภาษาเปอร์เซีย ว่า خاگ‌آور (Khag-avar) ซึ่งมีความหมายว่า "ไข่ปลาที่ปรุงรส" โดยในแถบเปอร์เซียจะใช้หมายถึงปลาสเตอร์เจียน การรับประทานคาเวียร์ นิยมจะตักไข่ปลาด้วยช้อนคันเล็ก ๆ ทาลงบนขนมปังแล้วรับประทาน ในปัจจุบัน คาเวียร์ที่มีชื่อเสียงจะมาจากทะเลสาบแคสเปียน ในแถบอาเซอร์ไบจาน, อิหร่าน และรัสเซีย คาเวียร์มีหลายประเภทและหลายสี โดยคาเวียร์สีทองที่มาจากปลาสเตอร์เลต (Sterlet, ชื่อวิทยาศาสตร์: Acipenser ruthenus) เป็นคาเวียร์ที่หายาก นิยมรับประทานกันในหมู่กษัตริย์และบุคคลชั้นสูง โดยในปัจจุบันคาเวียร์ชนิดนี้แทบจะหาไม่ได้เนื่องจากมีการล่ามากจนเกินไป จนทำให้ปลาชนิดนี้แทบจะสูญพันธุ์ ในสมัยอดีต เมื่อเด็กป่วยเป็นหวัด แม่ที่ฐานะดีจะให้ลูกกินคาเวียร์จนหายเป็นปกติ ชนชั้นสูงในรัสเซียก็นิยมกินคาเวียร์ เพราะเชื่อว่าเป็นอาหารอายุวัฒนะ และชาวโรมันนิยมบริโภคคาเวียร์เป็นยา เมื่อครั้งพระเจ้าซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย เสด็จเยือนฝรั่งเศส พระองค์พระราชทานคาเวียร์เป็นราชบรรณาการแด่จักรพรรดินโปเลียน เพราะในฝรั่งเศสคาเวียร์เป็นของหายาก และเมื่อจักรพรรดินโปเลียนทรงปราชัยในสงครามกับรัสเซีย ความนิยมกินคาเวียร์ก็ได้แพร่เข้าสู่ยุโรปโดยใช้เส้นทางจากรัสเซียผ่านเมืองฮัมบูร์ก ในเยอรมนี โดยแหล่งที่ขึ้นชื่อว่ามีปลาสเตอร์เจียนชุกชุม คือทะเลสาบแคสเปียน ในอดีตเคยอาศัยอยู่อย่างอุดมสมบูรณ์ให้ชาวประมงรัสเซียได้จับกันเป็นจำนวนมาก จนทำให้ปลาลดจำนวนลงมาก รัฐบาลสหภาพโซเวียตจึงต้องออกกฎหมายห้ามจับโดยเด็ดขาด และส่งเฮลิคอปเตอร์ออกตรวจจับผู้ที่จับปลาที่ทำผิดกฎหมาย ซึ่งถ้าพบว่าชาวประมงคนใดจับปลาสเตอร์เจียนโดยไม่ได้รับอนุญาต จะถูกส่งไปลงโทษจับปลาที่ไซบีเรีย แต่เมื่อสหภาพโซเวียตล่มสลาย ชาวประมงรัสเซียก็ได้ออกมาจับปลาสเตอร์เจียนอีก และถือว่าโชคดีถ้าใครจับปลาสเตอร์เจียนที่มีไข่ได้ เพราะปลาหนึ่งตัวอาจมีไข่ในท้องถึง 50 กิโลกรัม เพียงพอจะทำให้คนที่จับมีฐานะขึ้นมาได้ และนอกจากจะขายไข่ได้ในราคาดีแล้ว เนื้อปลาเองก็อาจขายได้ราคางามถึงปอนด์ละ 900 ดอลลาร์ขึ้นไปด้วย ในเวลาต่อมา เหตุเพราะปลาสเตอร์เจียนถูกจับไปเป็นจำนวนมากในแต่ละปี ดังนั้นรัฐบาลรัสเซียจึงจัดตั้งศูนย์เลี้ยงปลาสเตอร์เจียนขึ้นที่เมืองอัสตราคัน ส่วนที่คาซัคสถานนั้นก็มีศูนย์ประมงซึ่งมีบริษัทคาเวียร์ เฮ้าส์ & พรีเมียร์ เป็นผู้ดูแล โดยมีปลาสเตอร์เจียนเลี้ยงมากถึง 160,000 ตัว สำหรับประเทศอิหร่านนั้น ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1957 เป็นต้นมา ได้มีการทำฟาร์มเลี้ยงปลาสเตอร์เจียน เนื่องจากพระเจ้าชาห์แห่งอิหร่านทรงเคยดำริจะมีฟาร์มเลี้ยงปลาสเตอร์เจียน ของอิหร่านเอง และได้พยายามโฆษณาว่า คาเวียร์จากฟาร์มอิหร่านมีรสดีกว่าคาเวียร์จากทะเลสาบแคสเปียนของรัสเซีย ส่วนที่สหรัฐอเมริกา ชาวรัสเซียที่อพยพไปอเมริกาได้เริ่มทำฟาร์มปลาสเตอร์เจียนบ้างเพื่อส่งคาเวียร์ออกขายแข่งกับรัสเซียและอิหร่าน ในปัจจุบันทั้งในทวีปยุโรปและอเมริกาเหนือ มีการล่าจับปลาสเตอร์เจียนกันมาก จนอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (ไซเตส) ซึ่งมีหน้าที่ควบคุมการค้าสัตว์และพืชที่ใกล้สูญพันธุ์ทั้งหมดราว 30,000 ชนิด ได้เข้ามาควบคุมการทำร้ายปลาสเตอร์เจียนด้วย เพื่อไม่ให้สูญพันธุ์ ทั้งนี้เพราะได้มีการพบว่า ผู้คนส่วนใหญ่ยังเชื่อว่า คาเวียร์จากทะเลสาบแคสเปียนมีคุณภาพดีที่สุด จึงทำให้มีการซื้อขายคาเวียร์ทำเงินได้ปีละตั้งแต่ 2,000–4,000 ล้านเหรียญ แต่ไซเตสก็ตระหนักดีว่าการปกป้องคุ้มครองปลาจำพวกนี้นั้น จำต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่าย ทั้งศุลกากร นักวิทยาศาสตร์ และชาวประมง จึงได้ออกกฎหมายบังคับห้ามจับปลาสเตอร์เจียนในปริมาณที่เกินกำหนด อีกทั้งห้ามชาวประมงไม่ให้สร้างมลภาวะที่ร้ายแรงในทะเลสาบ และห้ามฆ่าปลาสเตอร์เจียนในช่วงก่อนอายุวางไข่ (15 ปี) รวมถึงให้มีการจำกัดโควตาการผลิตคาเวียร์ โดยให้ทุกประเทศที่อยู่รายรอบทะเลสาบแคสเปียนปฏิบัติตาม.

ใหม่!!: สีส้มและคาเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ณะสหเวชศาสตร์ สถานศึกษาภาคปฏิบัติของนิสิต​คณะพยาบาลศาสตร์ ณ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2539 เป็นคณะในกลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพของมหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนล่าง ณ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: สีส้มและคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นสถาบันการศึกษาพยาบาลศาสตร์ในสังกัดของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตั้งอยู่ภายในบริเวณเดียวกับโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่(โรงพยาบาลสวนดอก) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และใกล้กับสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ และคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะพยาบาลศาสตร์ ได้จัดการเรียนการสอนหลักสูตรระดับประกาศนียบัตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก ทั้งในหลักสูตรภาษาไทย(Regular programs) และหลักสูตรนานาชาติ(International programs) โดยปัจจุบัน มีนักศึกษาและศิษย์เก่าทั้งในประเทศไทยและจากต่างประเทศเข้ารับการศึกษาและสำเร็จการศึกษาจากคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ใหม่!!: สีส้มและคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: สีส้มและคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2514 โดยเป็นหนึ่งในสี่คณะที่กำเนิดขึ้นพร้อมกับการจัดตั้งมหาวิทยาลัยรามคำแหง เมื่อแรกเริ่มมีทำหน้าที่สอนวิชาพื้นฐานด้านมนุษยศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้แก่คณะอื่น ๆ ต่อมาได้มีการพัฒนาเรื่อยๆมาจนเปิดหลักสูตร ทางด้านสายสังคมศาสตร์, วิทยาศาสตร์ และครอบคลุมไปยังด้านสาขามานุษยวิทยา, สังคมวิทยา รวมไปถึงภาษาต่างประเทศ ในปัจจุบันคณะมนุษยศาสตร์เปิดสอนหลักสูตรทั้งระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก.

ใหม่!!: สีส้มและคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

ณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี (อังกฤษ: Faculty of Humanities and Social Sciences, UdonThani Rajabhat University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2517 โดยทำการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยศูนย์กลางและศูนย์สามพร้าว.

ใหม่!!: สีส้มและคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จัดตั้งมาโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อการเรียนการสอนและการค้นคว้าวิจัยทางด้านรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ในเขตภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: สีส้มและคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

ณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย (Faculty of Management Science, Loei Rajabhat University) เป็น คณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏเล.

ใหม่!!: สีส้มและคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (อังกฤษ: Faculty of Learning Sciences and Education, Thammasat University) ก่อตั้งขึ้นเป็นคณะวิชาลำดับที่ 19 ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2557สำนักงานสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,, สืบค้นเมื่อ 8 เมษายน 2560 รับผิดชอบการพัฒนาบุคลากรทางการเรียนรู้และการศึกษาที่เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง โดยมุ่งจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอกและนานาชาติ เพื่อสร้างพื้นที่การเรียนรู้ที่ผสมผสานศาสตร์และศิลป์ด้านต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจความหมายของการเรียนรู้และการศึกษาจากหลากหลายสาขาวิชาคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,, สืบค้นเมื่อ 8 เมษายน 2560.

ใหม่!!: สีส้มและคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นหน่วยงานหนึ่งของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 เดิมสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ได้รับการจัดตั้งตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 110 ตอนที่ 34 เมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2536 อาคารแม่โจ้ 60 ปี คณะวิทยาศาสตร.

ใหม่!!: สีส้มและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดิมชื่อว่า สำนักวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้พัฒนามาจากภาควิชาพลศึกษา คณะครุศาสตร์ ซึ่งเป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศที่ให้ความสำคัญด้านการพลศึกษาและสุขศึกษา มีการผลิตบุคลากรสาขาวิชาพลศึกษาในระดับปริญญาบัณฑิตเมื่อปี..

ใหม่!!: สีส้มและคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

ณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เป็น 1 ใน 4 คณะที่จัดตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกของมหาวิทยาลัยฯ เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สีส้มและคณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา · ดูเพิ่มเติม »

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

ณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา (School of Liberal Arts, University of Phayao) เป็นคณะในสังกัดมหาวิทยาลัยพะเยา เปิดทำการสอนในด้านศิลปศาสตร์ เดิมเป็นสำนักวิชาในสังกัดมหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา ต่อมาได้รับการยกฐานะเป็นคณะในปี พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: สีส้มและคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม (School of Liberal Arts, Sripatum University) เป็น คณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยศรีปทุม เปิดสอนทั้งหมด 3 แห่งคือ 1.คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน 2.คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ขอนแก่น และ3.คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี.

ใหม่!!: สีส้มและคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม · ดูเพิ่มเติม »

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (Faculty of Liberal Arts, Prince of Songkla University) เป็นคณะที่จัดการเรียนการสอนและการค้นคว้าวิจัยทางด้านมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร๋ ปัจจุบันดำเนินการเรียนการสอนทั้งในระดับปริญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก.

ใหม่!!: สีส้มและคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Faculty of Liberal Arts, Thammasat University) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: สีส้มและคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม

ณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม (Faculty Liberal arts And Science, Nakhonphanom University) เป็น คณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยนครพนม.

ใหม่!!: สีส้มและคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม · ดูเพิ่มเติม »

คณะศิลปนาฏดุริยางค์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

ณะศิลปนาฏดุริยางค์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (Faculty of Music and Drama, Bunditpatanasilpa Institute) เป็นคณะวิชาสังกัดสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ มีหน้าที่ผลิตศิลปิน นักวิชาการ นักบริหารจัดการด้านนาฏศิลป์ ดนตรีไทยและคีตศิลป์ไท.

ใหม่!!: สีส้มและคณะศิลปนาฏดุริยางค์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (Faculty of Education, North Eastern University) เป็น คณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2559.

ใหม่!!: สีส้มและคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นคณะที่กล่าวได้ว่ามีรากฐานการกำเนิดมาพร้อมกับการกำเนิดวิทยาลัยวิชาการศึกษามหาสารคาม เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2511 เพราะวิทยาลัยวิชาการศึกษา ได้ก่อตั้งขึ้นมาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตครูในสาขาวิชาต่าง ๆ ออกไปเป็นครูตามโรงเรียนโดยทั่วไปในแถบพื้นที่ภาคอีสาน วันที่ 29 มิถุนายน 2517 วิทยาลัยวิชาการศึกษามหาสารคาม ได้ยกฐานะขึ้นเป็น "มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม" และในวันที่ 9 ธันวาคม 2537 ได้แยกตัวเป็นเอกเทศจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เป็น "มหาวิทยาลัยมหาสารคาม" ซึ่งคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามก็ได้ถูกยกฐานะเป็น "คณะ" อย่างสมบูรณ์เช่นเดียวกับคณะต่างๆ ในมหาวิทยาลัยอื่น.

ใหม่!!: สีส้มและคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นคณะลำดับที่ 2 ต่อจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดรับนักศึกษารุ่นแรกเมื่อ..

ใหม่!!: สีส้มและคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Education, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 4 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการศึกษาในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยการผลิตครูระดับปริญญา และระดับอนุปริญญาสาขาวิชาต่างๆ ที่จะสอนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีสถานปฏิบัติการคือ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น รหัสหน่วยงานในระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 05.

ใหม่!!: สีส้มและคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Faculty of Architecture and Planning) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2542 นักศึกษาคณะนี้มักใช้คำเรียกแทนตัวเองว่า "ชาวเรา".

ใหม่!!: สีส้มและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เป็นหนึ่งในสี่คณะที่ก่อตั้งพร้อมสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ หรือ นิด้า โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวต้องการจะปรับปรุงการสถิติของชาติที่เป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจประเท.

ใหม่!!: สีส้มและคณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะอุตสาหกรรมการโรงแรมและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

ณะอุตสาหกรรมการโรงแรมและท่องเที่ยว (Faculty of Hospitality and Tourism Industry) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร.

ใหม่!!: สีส้มและคณะอุตสาหกรรมการโรงแรมและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

ณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (อังกฤษ: Faculty of Education, Bansomdejchaopraya Rajabhat University) ถือกำเนิดมาจาก โรงเรียนราชวิทยาลัย เมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2439 ต่อมาได้พัฒนาเป็นส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2547 นับเป็นคณะแรก ของมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพร.

ใหม่!!: สีส้มและคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

ณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย (Faculty of Education, Loei Rajabhat University) เป็น คณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏเล.

ใหม่!!: สีส้มและคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย · ดูเพิ่มเติม »

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม

ณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม (Faculty of Education, Nakhonphanom University) เป็น คณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยนครพนม.

ใหม่!!: สีส้มและคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม · ดูเพิ่มเติม »

คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือกำเนิดมาจาก "โรงเรียนฝึกหัดครู" ต่อมาได้พัฒนาเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนข้าราชการพลเรือน และเป็นแผนกวิชาหนึ่งในคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ พร้อมกับการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเป็นคณะครุศาสตร์ เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 นับเป็นคณะที่ 7 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: สีส้มและคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เปิดสอนในระดับปริญญาตรี โท และเอก ทั้งหลักสูตรปกติ และหลักสูตรนานาชาต.

ใหม่!!: สีส้มและคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะเศรษฐศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะเศรษฐศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นหน่วยงานภายในตามประกาศสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยจัดตั้งเพื่อดูแลการบริหารจัดการเรียน-การสอน หลักสูตรระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาทางด้านเศรษฐศาสตร์ ที่ดำเนินการ ณ วิทยาเขตศรีร.

ใหม่!!: สีส้มและคณะเศรษฐศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ค่างกระหม่อมขาว

งกระหม่อมขาว หรือ ค่างกระหม่อมทอง หรือ ค่างก๊าตบ่า (อังกฤษ: White-headed langur, Golden-headed langur, Cat Ba langur) เป็นลิงจำพวกค่างชนิดหนึ่ง มีรูปร่างเหมือนค่างทั่วไป แต่มีจุดเด่นคือ ขนบริเวณหัว, ต้นคอ, หัวไหล่ และสะโพกมีสีขาว แต่สีขนบริเวณสะโพกของตัวผู้บางตัวอาจมีสีส้มเทา มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 54.8 เซนติเมตร หางยาวประมาณ 84.9 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 15-20 กิโลกรัม ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย ค่างกระหม่อมขาว มีการกระจายพันธุ์อยู่เฉพาะบนเกาะก๊าตบ่า ซึ่งเป็นเกาะขนาดเล็กที่อยู่กลางอ่าวตังเกี๋ย ทางตอนเหนือของเวียดนามใกล้กับเมืองไฮฟอง และที่มณฑลกวางสี ประเทศจีนเท่านั้น โดยแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย คือ T. p. poliocephalus ซึ่งมีขนส่วนหัว, แก้ม และลำคอเป็นสีเหลือง เป็นประชากรที่พบบนเกาะก๊าตบ่า และเป็นสีขาวในชนิด T. p. eucocephalus ที่พบในมณฑลกวางสี มีพฤติกรรมมักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงตามหน้าผาที่สูงชันที่เป็นเขาหินปูน สำหรับสถานะของค่างกระหม่อมขาวในปัจจุบันนี้ นับว่าอยู่ในสถานะใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤตแล้ว จากการสำรวจของสมาคมอนุรักษ์สัตว์ป่า (Wildlife Conservation Society) พบว่าเหลือเพียงแค่ 59 ตัวเท่านั้นบนเกาะก๊าตบ่า และจัดเป็นหนึ่งใน 10 ชนิดของสัตว์ป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ของโลก.

ใหม่!!: สีส้มและค่างกระหม่อมขาว · ดูเพิ่มเติม »

ค้างคาวยอดกล้วยผีเสื้อ

้างคาวยอดกล้วยผีเสื้อ หรือ ค้างคาวสี (Painted bat, Painted woolly bat) เป็นค้างคาวขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ค้างคาวกินแมลง (Vespertilionidae) เป็นค้างคาวขนาดเล็ก มีขนาดลำตัวและปีกพอ ๆ กับผีเสื้อ มีน้ำหนักประมาณ 10 กรัม ความยาวตลอดปลายปีกประมาณ 15 เซนติเมตร ขนตามลำตัวสีส้มสด ใบหูใหญ่ ปีกมีสีแดงแกมน้ำตาลบางส่วน ส่วนที่เหลือเหมือนค้างคาวทั่วไป ซึ่งชื่อวิทยาศาสตร์นั้น คำว่า "pict" เป็นรากศัพท์ภาษาละติน หมายถึง "ระบายสี" โดยรวมแล้วหมายถึง มีสีสันหลายสีในตัวเดียวกัน ค้นพบครั้งแรกในหมู่เกาะโมลุกกะ ประเทศอินโดนีเซีย กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปตั้งแต่อินเดีย, ศรีลังกา, พม่า, ตอนใต้ของประเทศจีน, เวียดนาม, ไทย, มาเลเชีย และอินโดนีเซีย สำหรับในประเทศไทยแล้ว เป็นค้างคาวที่พบได้น้อย แต่สามารถพบได้ทั่วทุกภาค มีพฤติกรรม มักเกาะอาศัยตามยอดใบกล้วยที่ม้วนเป็นหลอดหรือท่อ และจะย้ายไปเรื่อย ๆ เมื่อยอดกล้วยแก่ขยายออกไม่ม้วนเป็นหลอดแล้ว นอกจากนี้ยังพบเกาะตามใบไม้แห้งของต้นไม้, ยอดหญ้าพง, ยอดอ้อ และยอดอ้อย รวมทั้งมีรายงานเกาะตามรังของนกกระจาบธรรมดาตัวผู้ ซึ่งเป็นรูปหยดน้ำแขวนตามกิ่งก้านของต้นไม้ อยู่เป็นคู่หรือโดดเดี่ยว ออกหากินในเวลาเย็น โดยบินต่ำระดับยอดไม้พุ่ม ลักษณะการบินคล้ายผีเสื้อกลางคืนขนาดใหญ่ แต่บินเร็วกว่ามาก อาหารได้แก่แมลงต่าง ๆ โดยเฉพาะแมลงที่มีขนาดเล็ก มีพฤติกรรมจับคู่ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมิถุนายน ค้างคาวตัวผู้และตัวเมียรวมทั้งลูกอ่อนที่เกาะติดอกแม่ถูกจับได้พร้อมกันบนใบตองแห้งในเดือนสิงหาคม เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สีส้มและค้างคาวยอดกล้วยผีเสื้อ · ดูเพิ่มเติม »

งูก้นขบ

งูก้นขบ (Red-tailed pipe snakeSpecies at The Reptile Database. Accessed 17 August 2007.) เป็นงูไม่มีพิษชนิดหนึ่ง ยาวได้ถึง 1 เมตรBurnie D, Wilson DE.

ใหม่!!: สีส้มและงูก้นขบ · ดูเพิ่มเติม »

งูเขียวหัวจิ้งจก

งูเขียวหัวจิ้งจก หรือ งูเขียวปากจิ้งจก (Oriental whipsnake) เป็นงูที่มีพิษอ่อนมากชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ahaetulla prasina ในวงศ์ Colubridae มีลักษณะลำตัวเรียวยาว หัวหลิม ปลายปากแหลม ขนาดเมื่อโตเต็มที่ได้ถึง 2 เมตร พื้นลำตัวโดยมากเป็นสีเขียว มักจะมีเส้นสีขาวข้างลำตัวบริเวณแนวต่อระหว่างเกล็ดตัวกับเกล็ดท้อง เส้นขาวยาวตั้งแต่บริเวณคอ จนถึงโคนหาง ท้องขาว ส่วนหางตั้งแต่โคนหางถึงปลายหางจะมีสีน้ำตาลหรือสีชมพู ตามีขนาดใหญ่ ม่านตาอยู่ในแนวนอน อาศัยอยู่ตามต้นไม้ พบทั่วไปในภูมิภาคเอเชียใต้จนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบได้ทุกภาค ในป่าทุกประเภท แม้กระทั่งสวนสาธารณะหรือสวนในบริเวณบ้านเรือนของผู้คนที่อยู่ในเมือง มีพิษอ่อนมาก โดยพิษจะสามารถทำอันตรายได้เฉพาะสัตว์เล็กที่เป็นอาหาร เช่น จิ้งจก, กิ้งก่า, นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก เป็นต้น ขณะที่ลูกงูจะกินแมลงเป็นอาหาร โดยเป็นงูที่ออกลูกเป็นตัว ระยะเวลาการตั้งท้อง 4 เดือน ออกลูกได้ครั้งละ 6-10 ตัว การผสมพันธุ์จะเริ่มขึ้นในช่วงต้นฤดูฝน งูเขียวหัวจิ้งจก มีลักษณะทางกายภาพคล้ายคลึงกับงูอีก 2 ชนิด ที่อยู่ในสกุลเดียวกัน คือ งูเขียวปากแหนบ (A. nasuta) และงูเขียวหัวจิ้งจกมลายู (A. mycterizans) โดยงูทั้ง 3 ชนิด นี้ จะมีความหลากหลายทางสีสันมาก โดยจะมีสีสันแตกต่างหลากหลายออกไป ทั้งสีเขียว, สีส้ม, สีเหลือง, สีน้ำตาล, สีเทา, สีฟ้า หรือ สีเหล่านี้ผสมกัน เป็นต้น โดยงูที่มีโทนสีส้ม จะถูกเรียกว่า "กล่อมนางนอน" ขณะที่งูที่มีโทนสีเทาจะถูกเรียกว่า "ง่วงกลางดง" ซึ่งชาวบ้านโดยทั่วไปเชื่อว่าเป็นงูที่มีพิษร้ายแรง แต่หาใช่เป็นความจริงไม่ นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงของผู้นิยมเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลาน ซึ่งมีราคาซื้อขายที่ไม่แพง.

ใหม่!!: สีส้มและงูเขียวหัวจิ้งจก · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของญี่ปุ่น

ตราแผ่นดินญี่ปุ่น มีชื่อเรียกในภาษาญี่ปุ่นว่า คิกกะมนโช แปลว่า เบญจมาศ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์พระราชวงศ์ญี่ปุ่น ในรัฐธรรมนูญรัชสมัยเมจิได้กำหนดไว้ว่า ไม่มีพระราชวงศ์พระองค์ใดสามารถใช้พระราชลัญจกรนี้ได้นอกจากสมเด็จพระจักรพรรดิเท่านั้น ดังนั้น พระราชวงศ์ญี่ปุ่นจึงต้องใช้ตราประจำพระองค์ที่ดัดแปลงจากพระราชลัญจกรองค์นี้ไปบ้างแทน ส่วนศาลเจ้าชินโตที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับพระราชวงศ์จะใช้ตราดังกล่าวนี้เป็นตราประจำศาลเจ้าด้วยเช่นกัน หากศาลเจ้าชินโตใดไม่ได้มีความสัมพันธ์กับพระราชวงศ์จะต้องได้รับพระบรมราชานุญาตให้ใช้ตราก่อน จึงจะนำตราดอกเบญจมาศนี้ประกอบเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตราศาลเจ้าได้ ลักษณะของพระราชลัญจกรนี้เป็นรูปดอกเบญจมาศสีเหลืองหรือสีแสดอยู่บนพื้นหลังสีแดงหรือสีดำ หากเป็นตราที่มีลายเส้นในภาพจะใช้สีแดงหรือสีดำตัดเส้นแทนเช่นกัน พระราชลัญจกรนี้หากดอกเบญจมาศมี 14 กลีบ เป็นตราใช้สำหรับพระราชวงศ์ญี่ปุ่น ส่วนพระราชลัญจกรแบบ 16 กลีบนั้นจะใช้สำหรับเข็มเครื่องหมายสมาชิกรัฐสภา ตราหัวกระดาษหนังสือราชการ ตราบนปกหนังสือเดินทาง และอื่นๆ อนึ่ง ประเทศญี่ปุ่นไม่ได้มีกฎหมายระบุลักษณะตราแผ่นดิน พระราชลัญจกรดอกเบญจมาศนี้จึงใช้เป็นตราประจำประเทศโดยธรรมเนียมปฏิบัติ เหมือนกับบางประเทศ เช่น สหราชอาณาจักร ที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและไม่มีการกำหนดตราประจำประเทศอย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: สีส้มและตราแผ่นดินของญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของแองกวิลลา

ตราแผ่นดินของแองกวิลลา เป็นรูปโลมาสีส้ม 3 ตัว ขดกันเป็นวงกลม หมายถึงความแข็งแกร่ง การร่วมมือร่วมใจเป็นนำหนึ่งใจเดียวกัน อยู่บนพื้นท้องฟ้าสีขาวในสัญลักษณ์และพื้นธง หมายถึงความสงบและสันติภาพ ส่วนแถบสีฟ้าแทนท้องน้ำทะเล หมายถึงความเยาว์วัยและความหวัง.

ใหม่!!: สีส้มและตราแผ่นดินของแองกวิลลา · ดูเพิ่มเติม »

ตะพาบไต้หวัน

ตะพาบไต้หวัน (Chinese softshelled turtle; 中華鱉; พินอิน: zhōnghuá biē) ตะพาบชนิดหนึ่ง ไม่ใช่ตะพาบพันธุ์พื้นเมืองของไทย แต่เป็นตะพาบที่พบได้ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เช่น จีน, ไต้หวัน, ญี่ปุ่น, เกาหลีเหนือ, เกาหลีใต้ ตลอดจนรัสเซีย และเวียดนาม มีรูปร่างคล้ายตะพาบสวน (Amyda cartilaginea) ที่พบได้ในประเทศไทย แต่ตะพาบไต้หวันมีขนาดเล็กกว่า โตเต็มมีขนาดกระดองประมาณ 25 เซนติเมตร มีนิสัยดุร้าย ลักษณะกระดองเป็นทรงรีเล็กน้อย ลักษณะโครงร่างแบบผิวกระดองเรียบมีกระดองส่วนที่นิ่มหรือเชิงค่อนข้างมาก มีหัวใหญ่ คอ ยาวมาก ปากแหลม ฟันคมและแข็งแรง เมื่อยังเล็กกระดองเป็นสีเขียวเข้มด้านท้องจะมีสีส้มและสีดำสลับ 5-6 ตำแหน่ง ใต้ท้องมีสีขาว เมื่อโตเต็มวัยกระดองจะเป็นสีเขียวอมเหลือง บริเวณขอบตาจะมีสีเหลืองเห็นได้ชัดเจน ตรงกลางกระดองจะมีรอยขีดขวางลำตัว 6-7 ขีด ส่วนท้องอ่อนนุ่มมีสีขาวอมชมพูหรือสีเหลืองอ่อน ๆ นิยมรับประทานโดยทำเป็นซุป นิยมกันมากในแบบอาหารจีนและอาหารญี่ปุ่น ทำให้นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เศรษฐกิจ ที่ปัจจุบันนิยมเลี้ยงมากกว่าตะพาบสวน เพราะโตได้เร็วและแพร่ขยายพันธุ์ได้เร็วกว่า และยังนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงามอีกด้วย โดยเฉพาะในตัวที่เป็นเผือก แต่ในด้านสิ่งแวดล้อมขณะนี้พบเป็นเผ่าพันธุ์ต่างถิ่น ที่รุกรานที่อยู่อาศัยและที่วางไข่ของตะพาบและเต่าพื้นเมืองของไทย ปัจจุบัน มีฟาร์มเพาะเลี้ยงกันในประเทศไทยแถบจังหวัดภาคตะวันออก เช่น ระยอง, ชลบุรี, ตราด และเพชรบุรี.

ใหม่!!: สีส้มและตะพาบไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

ตัวต้านทาน

ตัวต้านทานแบบมีขาออกทางปลายแบบหนึ่ง ตัวต้านทาน หรือ รีซิสเตอร์ (resistor) เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่มีคุณสมบัติในการต้านการไหลผ่านของกระแสไฟฟ้า ทำด้วยลวดต้านทานหรือถ่านคาร์บอน เป็นต้น นั่นคือ ถ้าอุปกรณ์นั้นมีความต้านทานมาก กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านจะน้อยลง เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดพาสซีฟสองขั้ว ที่สร้างความต่างศักย์ไฟฟ้าคร่อมขั้วทั้งสอง (V) โดยมีสัดส่วนมากน้อยตามปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน (I) อัตราส่วนระหว่างความต่างศักย์ และปริมาณกระแสไฟฟ้า ก็คือ ค่าความต้านทานทางไฟฟ้า หรือค่าความต้านทานของตัวนำมีหน่วยเป็นโอห์ม (สัญลักษณ์: Ω) เขียนเป็นสมการตามกฏของโอห์ม ดังนี้ ค่าความต้านทานนี้ถูกกำหนดว่าเป็นค่าคงที่สำหรับตัวต้านทานธรรมดาทั่วไปที่ทำงานภายในค่ากำลังงานที่กำหนดของตัวมันเอง ตัวต้านทานทำหน้าที่ลดการไหลของกระแสและในเวลาเดียวกันก็ทำหน้าที่ลดระดับแรงดันไฟฟ้าภายในวงจรทั่วไป Resistors อาจเป็นแบบค่าความต้านทานคงที่ หรือค่าความต้านทานแปรได้ เช่นที่พบใน ตัวต้านทานแปรตามอุณหภูมิ(thermistor), ตัวต้านทานแปรตามแรงดัน(varistor), ตัวหรี่ไฟ(trimmer), ตัวต้านทานแปรตามแสง(photoresistor) และตัวต้านทานปรับด้วยมือ(potentiometer) ตัวต้านทานเป็นชิ้นส่วนธรรมดาของเครือข่ายไฟฟ้าและวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และเป็นที่แพร่หลาย ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ตัวต้านทานในทางปฏิบัติจะประกอบด้วยสารประกอบและฟิล์มต่างๆ เช่นเดียวกับ สายไฟต้านทาน (สายไฟที่ทำจากโลหะผสมความต้านทานสูง เช่น นิกเกิล-โครเมี่ยม) Resistors ยังถูกนำไปใช้ในวงจรรวม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุปกรณ์แอนะล็อก และยังสามารถรวมเข้ากับวงจรไฮบริดและวงจรพิมพ์ ฟังก์ชันทางไฟฟ้าของตัวต้านทานจะถูกกำหนดโดยค่าความต้านทานของมัน ตัวต้านทานเชิงพาณิชย์ทั่วไปถูกผลิตในลำดับที่มากกว่าเก้าขั้นของขนาด เมื่อทำการระบุว่าตัวต้านทานจะถูกใช้ในการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ ความแม่นยำที่จำเป็นของความต้านทานอาจต้องให้ความสนใจในการสร้างความอดทนของตัวต้านทานตามการใช้งานเฉพาะของมัน นอกจากนี้ค่าสัมประสิทธิ์อุณหภูมิของความต้านทานยังอาจจะมีความกังวลในการใช้งานบางอย่างที่ต้องการความแม่นยำ ตัวต้านทานในทางปฏิบัติยังถูกระบุถึงว่ามีระดับพลังงานสูงสุดซึ่งจะต้องเกินกว่าการกระจายความร้อนของตัวต้านทานที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในวงจรเฉพาะ สิ่งนี้เป็นความกังวลหลักในการใช้งานกับอิเล็กทรอนิกส์กำลัง ตัวต้านทานที่มีอัตรากำลังที่สูงกว่าก็จะมีขนาดที่ใหญ่กว่าและอาจต้องใช้ heat sink ในวงจรไฟฟ้าแรงดันสูง บางครั้งก็ต้องให้ความสนใจกับอัตราแรงดันการทำงานสูงสุดของตัวต้านทาน ถ้าไม่ได้พิจารณาถึงแรงดันไฟฟ้าในการทำงานขั้นต่ำสุดสำหรับตัวต้านทาน ความล้มเหลวอาจก่อให้เกิดการเผาใหม้ของตัวต้านทาน เมื่อกระแสไหลผ่านตัวมัน ตัวต้านทานในทางปฏิบัติมีค่าการเหนี่ยวนำต่ออนุกรมและค่าการเก็บประจุขนาดเล็กขนานอยู่กับมัน ข้อกำหนดเหล่านี้จะมีความสำคัญในการใช้งานความถี่สูง ในตัวขยายสัญญาณเสียงรบกวนต่ำหรือพรีแอมป์ ลักษณะการรบกวนของตัวต้านทานอาจเป็นประเด็น การเหนี่ยวนำที่ไม่ต้องการ, เสียงรบกวนมากเกินไปและค่าสัมประสิทธิ์อุณหภูมิ เหล่านี้จะขึ้นอยู่กับเทคโนโลยีที่ใช้ ในการผลิตตัวต้านทาน ปกติพวกมันจะไม่ได้ถูกระบุไว้เป็นรายต้วของตัวต้านทานที่ถูกผลิตโดยใช้เทคโนโลยีอย่างใดอย่างหนึ่ง.

ใหม่!!: สีส้มและตัวต้านทาน · ดูเพิ่มเติม »

ตังเกี๋ย

อาณานิคมตังเกี๋ย (Bắc Kỳ บั๊กกี่; Tonkin, Tongkin, Tonquin หรือ Tongking) เป็นส่วนที่อยู่ทางเหนือสุดของประเทศเวียดนาม มีอาณาเขตติดต่อกับเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วงและมณฑลยูนนานของจีนทางเหนือ ทางตะวันตกติดต่อกับลาว และทางตะวันออกติดต่อกับอ่าวตังเกี๋ย ตังเกี๋ยตั้งอยู่บริเวณสามเหลี่ยมแม่น้ำแดงอันอุดมสมบูรณ์ และนับเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ.

ใหม่!!: สีส้มและตังเกี๋ย · ดูเพิ่มเติม »

ตุ๊ดตู่

ตุ๊ดตู่ (Dumeril's monitor) เป็นสัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่งในวงศ์เหี้ย (Varanidae) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายเหี้ย (V. salvator) ซึ่งเป็นสัตว์ในวงศ์เดียวกัน เมื่อเล็กตั้งแต่ปลายปากถึงคอจะมีสีส้มหรือสีแดงเข้ม เมื่อโตสีจะจางลง มีขีดสีดำตั้งแต่ขอบตาถึงคอ ลำตัวมีขวั้นสีเหลืองตั้งแต่คอถึงปลายหาง เป็นสัตว์ที่มีความเชื่องช้า ไม่ค่อยออกไปหากินไกลจากที่อาศัย เมื่อหิวจึงจะออกหากิน แล้วก็กลับเข้าหลับนอนตามเดิม การวางไข่ วางไข่ครั้งละ 23 ฟอง ระยะฟักไข่ 203–230 วัน ถือได้ว่าเป็นสัตว์ที่เล็กที่สุดในวงศ์นี้ที่พบในประเทศไทย เป็นสัตว์ไม่มีพิษ โดยเต็มที่จะมีขนาด 50–125 เซนติเมตรเท่านั้น โดยชื่อสามัญในภาษาอังกฤษและชื่อวิทยาศาสตร์ตั้งขึ้นเป็นเกียรติแก่ อองเดรย์ มารี คอนสแตนต์ ดูเมรีล นักวิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกชาวฝรั่งเศส เป็นสัตว์ขี้อาย มักอาศัยอยู่ในโพรงไม้ จนมีเอ่ยถึงในบทสร้อยสุภาษิตว่า ในประเทศไทยจะพบตั้งแต่จังหวัดกาญจนบุรีไปจนถึงคอคอดกระในภาคใต้ และพบไปจนถึงมาเลเซียและอินโดนีเซียCota, M.; Chan-ard, T.; Mekchai, S.; Laoteaw, S. (2008).

ใหม่!!: สีส้มและตุ๊ดตู่ · ดูเพิ่มเติม »

ฉัพพรรณรังสี

ฉัพพรรณรังสี คือสีที่แผ่ออกจากพระวรกายขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มี 6 สี คือ.

ใหม่!!: สีส้มและฉัพพรรณรังสี · ดูเพิ่มเติม »

ซาลาแมนเดอร์

ซาลาแมนเดอร์ (salamander) เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่อยู่ในชั้นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ จัดอยู่ในอันดับ Caudata และ Urodela.

ใหม่!!: สีส้มและซาลาแมนเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินสุริยคติไทย

ปฏิทินสุริยคติไทย คือปฏิทินอย่างเป็นทางการของประเทศไทยในปัจจุบัน เป็นระบบปฏิทินสุริยคติอ้างวันเดือนปีตรงตามปฏิทินเกรกอเรียนที่มีจำนวนวัน 365 หรือ 366 วันในแต่ละปี โดยปรับเปลี่ยนจากปฏิทินจันทรคติไทยเดิมเมื่อ พ.ศ. 2431 (จุลศักราช 1240) ในสมัยรัชกาลที่ 5 ชื่อเดือนในภาษาไทยทั้งสิบสองในปฏิทินตั้งชื่อโดยกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ ในปฏิทินไทยจะมีการแสดงปีปฏิทินสุริยคติไทยเป็นหลักแสดงในรูปแบบปีพุทธศักราช และในหลายปฏิทินมักจะมีการแสดงวันพระ วันข้างขึ้น ข้างแรม ปีจีน และคริสต์ศักราชคู่กัน.

ใหม่!!: สีส้มและปฏิทินสุริยคติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบู่เกาะสุรินทร์

ปลาบู่เกาะสุรินทร์ หรือ ปลาบู่ปาปัวนิวกินี (Aporos sleeper, Ornate sleeper, Snakehead gudgeon, Mud gudgeon) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาบู่ทราย (Eleotridae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Giuris มีรูปร่างคล้ายปลาบู่ทั่วไปผสมกับปลาช่อน คือ มีส่วนหัวใหญ่และกลมมน เป็นปลาที่มีสีสันสวยงามมากชนิดหนึ่ง ลำตัวเป็นสีเหลืองอมส้ม มีจุดประสีส้มและสีฟ้าอมน้ำเงิน ที่แก้มและคางมีสีส้มสด ครีบต่าง ๆ เป็นสีฟ้าหรือน้ำเงินแลดูสวยงาม มีขนาดความยาวเต็มที่ 40 เซนติเมตร ขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 20-25 เซนติเมตร ตัวผู้มีครีบและมีสีสดสวยกว่าตัวเมียอย่างเห็นได้ชัดเจน เป็นปลาที่พบแพร่กระจายพันธุ์อย่างกว้างขวาง โดยพบในลำธารหรือบริเวณปากแม่น้ำที่เป็นน้ำกร่อยติดกับทะเล ตั้งแต่ชายฝั่งมหาสมุทรอินเดียจากแอฟริกาตอนใต้ถึงอินโดนีเซีย รวมถึงหมู่เกาะต่าง ๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิก เช่น ปาปัวนิวกินี, เมลานีเซีย, ปาเลา, เกาะเซเลบีส, เกาะโอกินาวา ไปจนถึงตอนเหนือของออสเตรเลีย ส่วนในประเทศไทยพบเพียงที่เดียว คือ ในลำธารที่หมู่เกาะสุรินทร์ ในเขตทะเลอันดามัน เป็นปลาที่กินสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ รวมถึงแมลงน้ำ เป็นอาหาร ฟักไข่และวัยอ่อนเจริญเติบโตในทะเล ก่อนจะอพยพเข้าสู่น้ำจืดหรือน้ำกร่อยเมื่อเจริญวัยขึ้น นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ถือเป็นปลาที่มีความสวยงาม เลี้ยงได้ง่าย เนื่องจากอุปนิสัยที่ไม่หลบซ่อนตัว และไม่ดุร้ายก้าวร้าวต่อปลาอื่นในที่เลี้ยง อีกทั้งยังกินอาหารสำเร็จรูปได้อีกด้ว.

ใหม่!!: สีส้มและปลาบู่เกาะสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาช่อนออแรนติ

ปลาช่อนออแรนติ หรือ ปลาช่อนทองลายบั้ง หรือ ปลาช่อนเจ็ดสียักษ์ (Orange-spotted snakehead) เป็นปลาช่อนในสกุล Channa ชนิดหนึ่ง มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาช่อนบาร์กา (C. barca) แต่มีส่วนหัวโตและแบนกว่า สีพื้นของลำตัวและหัวเป็นสีเหลืองทอง แต่เกล็ดทั้งส่วนหัวและลำตัวมีจุดสีน้ำตาลเข้มขนาดใหญ่เกือบเต็มเม็ด ยกเว้นบริเวณข้างลำตัวที่เป็นลายแถบแนวขวางไม่เป็นระเบียบหรือเป็นแต้มกลมขนาดใหญ่ มีสีเหลืองทองเรียงกันในแนวยาว เกล็ดข้างลำตัวประมาณ 51-54 เกล็ด ใต้คางและท้องมีสีขาว มีจุดสีน้ำตาลเข้มกระจายอยู่ทั่ว ครีบหลังและครีบก้นมีสีเหลืองอ่อน ครีบหลังมีก้านครีบทั้งหมด 45-47 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบ 28-30 ก้าน ครีบอกสีส้มมีสีเหลืองทองมีลายเส้นขวาง 6-7 แถบ ปลาตัวผู้วัยโตเต็มที่จะมีครีบหลัง และครีบก้นขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย มีสีสันสดใสมากกว่ามากโดยเฉพาะสีเหลือบม่วงอมน้ำเงินบนหัวและครีบหลัง ขณะที่ปลาตัวเมียจะมีบั้งสีเหลืองเป็นหลัก เหลือบสีอื่น ๆ ไม่สดเท่าตัวผู้ เมื่อมองจากด้านบนตัวผู้จะมีลำตัวเพรียวยาว และส่วนหัวที่กว้างกว่าตัวเมีย สามารถเพาะขยายพันธุ์ในตู้กระจกได้แล้ว โดยปลาตัวผู้จะเป็นฝ่ายอมและฟักไข่ มีความยาวเต็มที่ประมาณ 45 เซนติเมตร โตเต็มที่ได้ถึง 60 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำรามบุตรา ซึ่งเป็นแควสาขาของแม่น้ำพรหมบุตร ในตอนเหนือรัฐอัสสัมและรัฐอรุณาจัลประเทศของประเทศอินเดีย โดยในตอนแรกมักถูกสับสนกับปลาช่อนบาร์กาเนื่องจากมีลักษณะใกล้เคียงกันมากและพบในแหล่งน้ำเดียวกัน แต่ได้ถูกอนุกรมวิธานจาก ดร.

ใหม่!!: สีส้มและปลาช่อนออแรนติ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาช่อนจุดอินโด

ปลาช่อนจุดอินโด (Green spotted snakehead, Ocellated snakehead, Eyespot snakehead) เป็นปลาช่อนชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Channa pleurophthalma ในวงศ์ปลาช่อน (Channidae) มีรูปร่างเพรียวยาวในวัยอ่อน แต่เมื่อปลาโตขึ้นแล้วจะเปลี่ยนเป็นหัวแหลมแต่ส่วนลำตัวกลับป้อม คล้ายปลาชะโด (C. miropeltes) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน ปลาขนาดเล็กจะมีลำตัวสีเขียว, สีน้ำเงินหรือแกมน้ำตาลในบางตัว ส่วนท้องสีขาว เมื่อโตขึ้นจะมีลักษณะเด่น คือ มีจุดสีดำที่ล้อมด้วยวงสีส้มกลมคล้ายดวงตาขนาดใหญ่อันเป็นที่มาของชื่อ เรียงกันบริเวณข้างลำตัว โดยจุดแรกจะพบบนแก้มหรือกระดูกปิดเหงือก จุดสุดท้ายจะพบบริเวณคอดหาง โดยจะมีประมาณ 3-7 จุด ในปลาแต่ละตัวอาจมีไม่เท่ากัน หรือข้างสองก็ไม่เท่ากัน และเมื่อปลาโตเต็มวัยจุดเหล่านี้จะกลายเป็นกระจายเป็นจุดกระสีดำตามตัวแทน มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 40 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในทางตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะสุมาตรา และยังพบในแถบตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะบอร์เนียว และในจังหวัดกาลีมันตัน พบมีการบริโภคในท้องถิ่น และยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่ทว่าเป็นปลาที่เลี้ยงให้รอดได้ยาก เนื่องจากปลาขนาดเล็กมักจะปรับตัวให้กับสภาพน้ำในสถานที่เลี้ยงไม่ได้ เพราะเป็นปลาที่อยู่ในน้ำที่มีสภาพความเป็นกรดของน้ำค่อนข้างต่ำ.

ใหม่!!: สีส้มและปลาช่อนจุดอินโด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาพลวงทอง

ปลาพลวงทอง (Golden mahseer, Gold soro brook carp) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในกลุ่มปลามาห์เซียร์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Neolissochilus soroides อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะคล้ายปลาพลวงหิน (N. stracheyi) ที่อยู่ในสกุลเดียวกัน แต่ว่ามีสีเหลืองเหลือบทองที่ด้านข้างลำตัวเห็นได้ชัดเจนกว่า และมีครีบต่าง ๆ สีแดงส้ม ด้านหลังมีสีน้ำตาล และไม่มีแถบสีดำด้านข้างลำตัวเหมือนปลาพลวงชนิดอื่น ๆ อาศัยอยู่ตามต้นน้ำลำธารที่สะอาด และไหลแรงในป่าหรือน้ำตกโดยในประเทศไทยจะพบได้ที่จังหวัดแถบภาคตะวันออก และพบได้จนถึงประเทศมาเลเซีย มีความยาวเต็มที่ 50 เซนติเมตร นิยมตกเป็นเกมกีฬาและเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว และถือเป็นปลาประจำจังหวัดระยอง.

ใหม่!!: สีส้มและปลาพลวงทอง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาพาราไดซ์

ปลาพาราไดซ์ (Paradise fish, Paradise gourami) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Macropodus opercularis อยู่ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) จึงมีอวัยวะช่วยหายใจพิเศษที่มีความวนเวียนเหมือนเขาวงกต เหมือนเช่นปลาชนิดอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน ทำให้สามารถขึ้นมาฮุบอากาศที่ผิวน้ำได้โดยตรง และสามารถอยู่ในบริเวณที่มีออกซิเจนต่ำได้ โดยไม่ต้องรอให้ออกซิเจนละลายลงในน้ำก่อนเช่นปลาทั่วไป มีขนาดความยาวลำตัว ประมาณ 7.5 เซนติเมตร มีลำตัวค่อนข้างกว้าง แบนข้าง หัวเล็ก นัยน์ตาโต ปากอยู่หน้าสุด ริมฝีปากยืดหดได้ มีฟันบนกระดูกเพดานปาก เส้นข้างตัวไม่สมบูรณ์ มีลักษณะเด่นอยู่ที่ครีบหลัง ครีบหลัง ครีบท้อง และครีบก้น มีปลายที่ยื่นยาวเป็นเส้นสวยงาม ครีบท้องและครีบหางเป็นสีส้มแดง ครีบหลังมีก้านครีบแขนงไม่เกิน 10 ก้าน ครีบหลังและครีบก้นมีขนาดใกล้เคียงกัน ครีบอกบางใส ครีบท้องมีก้านครีบเดี่ยว อันแรกยื่นออกมาเป็นเส้นยาว ครีบหางมีปลายครีบตัดตรง สีพื้นลำตัวเป็นสีเขียวมีลายสีส้มขวางลำตัวจำนวน 9 แถบ ตัวผู้จะมีสีสันสวยสดกว่าตัวเมีย เป็นปลาที่มีถิ่นกำเนิดในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เช่น ไต้หวัน, จีน, ฮ่องกง, เกาหลีเหนือ, เกาหลีใต้ และตอนเหนือของเวียดนาม โดยอาศัยอยู่ตามหนองบึง นาข้าว เหมือนกับปลากัดหรือปลากระดี่โดยตัวผู้จะมีการก่อหวอด กินอาหารจำพวก ลูกน้ำ, ลูกไร หรือสัตว์น้ำขนาดเล็ก มีการผสมพันธุ์และดูแลไข่เหมือนปลาในวงศ์นี้ชนิดอื่น ๆ ปลาพาราไดซ์ มีนิสัยค่อนข้างก้าวร้าว แต่สามารถเลี้ยงรวมกันเป็นฝูงได้ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยมีการเพาะขยายพันธุ์จนมีสีสันต่าง ๆ ที่แปลกออกไปจากชนิดที่มีอยู่ในธรรมชาติ เช่น สีเผือกทั้งตัว หรือ สีเขียว เป็นต้น.

ใหม่!!: สีส้มและปลาพาราไดซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาพาราไดซ์ (สกุล)

ปลาพาราไดซ์ หรือ ปลาสวรรค์ (Paradise fishes, Paradise gouramis) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ Macropodinae และอยู่ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae ใช้ชื่อสกุลว่า Macropodus (/แม็ค-โคร-โพ-ดัส/).

ใหม่!!: สีส้มและปลาพาราไดซ์ (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระทิงไฟ

ปลากระทิงไฟ (Fire spiny eel) ปลาน้ำจืดพื้นเมืองของไทยชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mastacembelus erythrotaenia อยู่ในวงศ์ปลากระทิง (Mastacembelidae) มีรูปร่างเหมือนปลาในวงศ์นี้ทั่วไป กล่าวคือ รูปร่างยาวคล้ายงูหรือปลาไหล แต่ท้ายลำตัวส่วนที่อยู่ค่อนไปทางหางจะมีลักษณะแบนข้าง และส่วนหัวหรือปลายปากจะยื่นยาวและแหลม จะงอยปากล่างจะยื่นยาวกว่าจะงอยปากบน ตามีขนาดเล็ก ครีบหลัง ครีบทวาร และหางจะเชื่อมต่อติดกันเป็นครีบเดียว โดยครีบหลังตอนหน้าจะมีขนาดเล็กมากและลักษณะเป็นหยักคล้ายกับฟันเลื่อย หากไม่สังเกตจะมองไม่เห็น โดยปลายหางมีลักษณะมนโค้ง ปลายค่อนข้างแหลม ไม่มีหนามใต้ตาเช่นปลากระทิงชนิดอื่น ๆ มีหนามแหลมขนาดเล็กตลอดทั้งความยาวลำตัวช่วงบนไว้เพื่อป้องกันตัว ปลากระทิงไฟจะมีรูปร่างป้อมแต่มีขนาดยาวกว่าปลากระทิง (M. armatus) ซึ่งเป็นปลาที่อยู่ในสกุลเดียวกัน มีขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 60 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุดถึง 1 เมตร พบได้ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทุกประเทศจนถึงอินโดนีเซีย สำหรับในประเทศไทยพบได้ในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ในภาคกลางและภาคใต้ ปลากระทิงไฟ มีลักษณะเด่นคือ เป็นปลาที่มีสีสันและลวดลายสวยงามมาก อันเป็นที่มาของชื่อ โดยพื้นลำตัวมีสีน้ำตาลเข้มจนถึงดำสนิทและประแต้มด้วยแถบสีแดงสดเป็นเส้นๆ และเป็นจุด ๆ ลักษณะคล้ายกับเส้นประ โดยลายนี้จะคาดตามความยาวจากหัวจรดหางหัวค่อนข้างแหลม ซึ่งสีของครีบจะกลมกลืนกับสีพื้นลำตัวและบริเวณขอบครีบด้านนอกเป็นสีแดงหรือสีส้ม บริเวณแนวโคนครีบมีจุดกลมสีแดงประแต้มตลอดแนวซึ่งจุดและลายแถบสีแดงเหล่านี้ขณะที่ปลายังเล็กจะเป็นสีน้ำตาลอมส้มหรือเหลือง เมื่อปลาโตขึ้นจุดและแถบลายเหล่านี้สีก็จะเข้มขึ้นเรื่อย ๆ จนกลายเป็นสีแดงหรือสีแดงอมส้มในที่สุด แต่ปลาส่วนใหญ่สีแดงสดจะเข้มจัดเฉพาะบริเวณลำตัวส่วนที่อยู่ค่อนไปทางหัว ส่วนลาย ที่อยู่ค่อนไปทางหางโดยมากจะเป็นสีแดงส้มหรือสีน้ำตาลส้ม พบน้อยตัวมากที่มีลายสีแดงเพลิงทั้งตัว สำหรับลวดลายและสีสันทั้งหมดนี้ ยังแตกต่างกันออกไปตามแต่ละท้องที่ สำหรับปลาที่พบในพื้นที่ภาคใต้จะมีลวดลายและสีสันแตกต่างออกไป ซึ่งภาษาใต้จะเรียกปลาชนิดนี้ว่า "กระทิงลายดอก" หรือ "กระทิงลายดอกไม้" มีพฤติกรรมหากินในเวลากลางคืน โดยมักชอบหลบอยู่ใต้ซากไม้ใต้น้ำเพื่อรออาหาร ซึ่งได้แก่ ปลาขนาดเล็กและสัตว์น้ำขนาดเล็กทั่วไป จากสีสันที่สวยงาม จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่สำหรับสถานะในธรรมชาติ มีแนวโน้มว่าใกล้สูญพันธุ์เนื่องจากถูกจับจากธรรมชาติมากเกินไป.

ใหม่!!: สีส้มและปลากระทิงไฟ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระดี่มุก

ปลากระดี่มุก ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Trichopodus leerii ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) มีรูปร่างคล้ายปลากระดี่หม้อ (T. trichopterus) ซึ่งเป็นปลาที่อยู่ในสกุลเดียวกัน แต่กระดี่มุกมีลำตัวกว้างกว่าเล็กน้อย ครีบหลัง ครีบหาง และครีบก้นมีขนาดใหญ่และมีก้านครีบอ่อนยาวเป็นเส้นริ้ว ลำตัวสีเงินจาง มีแถบสีดำจางพาดยาวไปถึงโคนครีบหาง ท้องมีสีส้มหรือสีจาง และมีจุดกลมสีเงินมุกหรือสีฟ้าเหลือบกระจายไปทั่ว อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ ครีบท้องเป็นสีส้มสดหรือสีเหลือง มีความยาวเต็มที่เฉลี่ย 10-12 เซนติเมตร มีพฤติกรรมมักอาศัยอยู่เป็นคู่หรือกลุ่มเล็ก ๆ ในแหล่งน้ำที่มีค่าของน้ำมีความเป็นกรด (pH) ต่ำกว่าค่าของน้ำปกติ (ต่ำกว่า 7.0) เช่น ในป่าพรุ เป็นต้น เป็นปลาจำพวกปลากระดี่ที่พบในธรรมชาติได้น้อยที่สุดในประเทศไทย โดยจะพบในเฉพาะพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้ตอนล่างเท่านั้น นิยมเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงาม โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ เป็นปลาที่สามารถเพาะพันธุ์ในสถานที่เลี้ยงได้ และมีการแข่งขันประกวดความสวยงามอีกด้ว.

ใหม่!!: สีส้มและปลากระดี่มุก · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระดี่ยักษ์

ปลากระดี่ยักษ์ (Giant gourami, Banded gourami, Striped gourami) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Trichogaster fasciata อยู่ในสกุล Trichogaster ในวงศ์ Osphronemidae มีรูปร่างแบนข้างเหมือนปลาในสกุลเดียวกันนี้ชนิดอื่น มีสีสันสวยสะดุดตาเหมือนปลากระดี่แคระ (T. lalia) แต่มีขนาดของลำตัวยาวกว่า ลำตัวเป็นสีส้มอมเหลืองมีแถบสีฟ้าครามพาดเป็นแนวขวางลำตัวเรียงกันตั้งแต่ช่วงอกจนถึงช่วงหาง ขนาดเมื่อโตเต็มที่แล้วจะยาวได้ประมาณ 12 เซนติเมตร ซึ่งนับได้ว่าใหญ่ที่สุดในสกุลนี้ จึงเป็นที่มาของชื่อว่ากระดี่ยักษ์ พบกระจายพันธุ์ในอนุทวีปอินเดีย, รัฐอัสสัม, บังกลาเทศ ไปจนถึงพม่า และเคยมีรายงานว่าพบในประเทศไทยและคาบสมุทรมลายูด้วย เป็นปลาที่มีนิสัยค่อนข้างเรียบร้อยไม่ก้าวร้าว โดยที่ปลาตัวผู้จะเป็นฝ่ายก่อหวอด และเป็นผู้ดูแลไข่ ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 24 ชั่วโมง เป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม ซึ่งในปัจจุบัน มีการจำหน่ายและส่งออกไปทั่วโลก จนมีการแพร่กระจายพันธุ์แล้วในธรรมชาติของหลายพื้นที่ในสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: สีส้มและปลากระดี่ยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระดี่หม้อ

ปลากระดี่หม้อ ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Trichopodus trichopterus ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) มีรูปร่างคล้ายปลากระดี่นาง (T. microlepis) ซึ่งเป็นปลาที่อยู่ในสกุลเดียวกัน แต่กระดี่หม้อมีรูปร่างป้อมกว่า ส่วนท้ายไม่เรียวเล็ก หัวเล็ก ตาเล็ก ปากเล็กอยู่ปลายสุดของจะงอยปาก ลำตัวแบนข้างเล็กน้อย ส่วนหลังยกสูงเล็กน้อย ครีบอกเล็ก ครีบท้องเป็นเส้นยาว ครีบหางเว้าตื้นปลายใน เกล็ดมีขนาดใหญ่ ตัวมีสีเทาอมสีฟ้าหรือสีคล้ำตามแนวพาดขวางหรือพาดเฉียง ตลอดลำตัวด้านข้างหลายแถบรวมถึงที่ข้างแก้มกลางลำตัวด้านข้างและโคนครีบหางมีจุดสีดำขนาดใหญ่แห่งละจุด ครีบก้นมีจุดประสีส้มหรือเหลือง ขอบครีบสีเหลือง ครีบอื่นสีใส ครีบหางใสมีสีประคล้ำ ขนาดโดยเฉลี่ยมีความยาวประมาณ 8-10 เซนติเมตร พบใหญ่สุดคือ 15 เซนติเมตร ปลากระดี่หม้อเป็นปลาที่มีสีสันต่างตากหลากหลายกันออกไปตามพันธุกรรมและถิ่นที่อยู่อาศัย จึงมีหลากสีมาก เช่น ปลาที่พบในพื้นที่ภาคใต้จะมีลำตัวสีฟ้าเข้มกว่าปลาที่พบในที่อื่น นอกจากนี้ยังมีที่พบสีออกเหลืองทองหรือออกขาวนวลด้วย แต่ปลาที่พบโดยทั่วไปมักมีลำตัวออกสีน้ำตาลใส เป็นปลาที่พบได้ในแหล่งน้ำนิ่งทุกภาคของประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคนี้ จัดเป็นปลาสกุล Trichopodus ที่พบชุกชุมที่สุด นิยมบริโภคในท้องถิ่น เช่นเดียวกับปลาสลิด (T. pectoralis) และปลากระดี่นาง นอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้วย มีชื่อเรียกในภาษาอีสานว่า "กระเดิด" หรือ "เดิด" ภาษาเหนือเรียก "สลาก" หรือ "สลาง" ชื่อในภาษาอังกฤษเรียกว่า "กระดี่สามจุด" (Three spot gourami) หมายถึง จุดดำสองจุดใหญ่ตามลำตัวและนับลูกตาด้วย ชื่อที่นิยมเรียกกันในแวดวงปลาสวยงามคือ "กระดี่นางฟ้า".

ใหม่!!: สีส้มและปลากระดี่หม้อ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระดี่ปากหนา

ปลากระดี่ปากหนา (Thick-lipped gourami) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) เป็นปลากระดี่แคระชนิดหนึ่ง มีรูปร่างยาว ลำตัวเป็นรูปไข่ สีของลำตัวแตกต่างกันออกไป ทั้งสีน้ำตาลเข้มอมส้ม ส่วนท้องมีสีเขียวเข้ม มีแถบสีส้มแกมน้ำตาลสลับกับสีฟ้าครามพาดขวางบริเวณทั้งลำตัว ครีบหางกลมเหมือนพัดมีสีส้มคล้ำ ๆ ครีบอกเป็นเส้นยาว ครีบท้องมีสีแดงส้ม ครีบก้นมีสีฟ้ามีขอบเป็นสีฟ้าหรือสีขาว มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 9 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ในตอนใต้ของประเทศพม่า โดยไม่พบในประเทศไทย และปัจจุบันมีการนำเข้าไปปล่อยในธรรมชาติในโคลัมเบียอีกด้วย เป็นปลาที่ตัวผู้เมื่อแพร่ขยายพันธุ์ จะเป็นฝ่ายสร้างหวอด ซึ่งคือน้ำลายผสมกับอากาศติดกับพืชน้ำและวัสดุบริเวณผิวน้ำชนิดต่าง ๆ และเป็นฝ่ายดูแลไข่จนกระทั่งฟักเป็นตัว เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว และมีการผสมข้ามพันธุ์กับปลากระดี่ชนิดอื่น ๆ ที่ใกล้เคียงกัน เช่น ปลากระดี่อินเดีย, ปลากระดี่แคระ จนได้ลูกที่ออกมาสีสันต่าง ๆ สวยงามจากเดิม เช่น สีแดง, สีทอง, สีเขียว แต่สำหรับในประเทศไทย ปลากระดี่ปากหนายังไม่มีการซื้อขายและเลี้ยงกันในวงการปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สีส้มและปลากระดี่ปากหนา · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระดี่แดง

ปลากระดี่แดง (Honey gourami, Red gourami) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในสกุล Trichogaster ในวงศ์ Osphronemidae มีรูปร่างและลักษณะคล้ายปลากระดี่แคระ (T. lalia) ซึ่งจัดเป็นปลาอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่ทว่าปลากระดี่แดงจะมีรูปร่างที่ยาวกว่าอย่างเห็นได้ชัด สีของลำตัวจะเป็นสีแดง, สีส้ม หรือสีเหลือง ช่วงท้องสีจะจางไปเป็นสีขาว โดยที่ตลอดทั้งลำตัวโดยไม่มีลวดลายเหมือนปลากระดี่แคระ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ ตัวผู้จะมีขนาดประมาณ 5 เซนติเมตร ขณะที่ตัวเมียประมาณ 4 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในประเทศอินเดียและบังกลาเทศ อีกทั้งยังมีบางข้อมูลว่าระบุว่าพบในประเทศไทยด้วย ส่วนพฤติกรรมและการวางไข่คล้ายกับปลากระดี่ในสกุล Trichogaster ชนิดอื่น ๆ เป็นปลาอีกชนิดหนึ่ง ที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยมีอุปนิสัยไม่ดุร้ายก้าวร้าวมากนัก สามารถรวมกับปลาชนิดอื่น ๆ ที่มีขนาดลำตัวไล่เลี่ยกันได้เป็นอย่างดี.

ใหม่!!: สีส้มและปลากระดี่แดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระดี่แคระ

ปลากระดี่แคระ (Dwarf gourami) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในสกุล Trichogaster อยู่ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) พบกระจายพันธุ์ในอนุทวีปอินเดีย มีรูปร่างแบนข้างมาก ตามลำตัวมีแถบสีเขียวหรือสีน้ำเงินอ่อนสลับกับสีแดงทั่วไปตามครีบต่าง ๆ ด้วย และอาจมีสีสันที่หลากหลายกว่านี้ โดยในบางตัวอาจจะไม่มีลวดลายเลยก็ได้ ตัวผู้มีความแตกต่างจากตัวเมียอย่างชัดเจน กล่าวคือ มีสีที่สดสวยกว่ามาก มีขนาดความยาวตำตัวประมาณ 5-7 เซนติเมตร มีอุปนิสัยไม่ก้าวร้าวเท่าปลากระดี่ในสกุล Trichopodus ชอบอยู่กันเป็นฝูงตามแหล่งน้ำที่พืชไม้น้ำขึ้นหนาแน่น โดยจะหลบอยู่ตามกอพืช แต่เมื่อถึงเวลาผสมพันธุ์และวางไข่ ปลาตัวผู้จะเป็นฝ่ายก่อหวอด และเมื่อวางไข่เสร็จแล้ว ตัวผู้จะดุร้ายกับตัวเมียทันที และอาจทำร้ายตัวเมียจนตายได้ และเมื่อหลังวางไข่เสร็จแล้วตัวเมียมักจะตาย มีอายุเต็มที่ประมาณ 4 ปี นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งได้มีการเพาะขยายพันธุ์ออกมาเป็นสีสันที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น ในปลาตัวที่สีสีแดงทั้งตัวหรือสีส้ม มักจะเรียกว่า "กระดี่นีออน".

ใหม่!!: สีส้มและปลากระดี่แคระ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนโมโตโร่

ปลากระเบนโมโตโร่ (Ocellate river stingray) ปลากระเบนที่อาศัยอยู่ในน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากระเบนหางสั้น (Potamotrygonidae) มีลักษณะตัวกลมคล้ายจานข้าวหรือแผ่นซีดี ผิวลำตัวสีน้ำตาลอ่อนหรือเข้ม มีจุดกลมสีส้มอมเหลืองวงรอบด้วยสีน้ำตาลเข้มกระจายไปจนถึงโคนหาง มีเงี่ยงแหลมคม 2 ชิ้นที่โคนหาง ที่ปลายหางมีริ้วหนังบาง ๆ โดยที่จุดกลมเหล่านี้จะแตกต่างและมีปริมาณมากน้อยไม่เท่ากันในแต่ละตัว ขนาดเมื่อโตเต็มที่ในธรรมชาติจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางลำตัวราว 1 เมตร น้ำหนัก 15 กิโลกรัม อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำธรรมชาติของทวีปอเมริกาใต้ เช่น เปรู, อุรุกวัย, โคลัมเบีย, โบลิเวีย, อาร์เจนตินา, บราซิล ซึ่งคนพื้นถิ่นนิยมกินเนื้อเป็นอาหาร ปลากระเบนโมโตโร่ ได้รับความนิยมอย่างมากในฐานะของการเป็นปลาตู้สวยงาม โดยผู้เลี้ยงสามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้ โดยปลาที่จะเริ่มผสมพันธุ์ได้นั้นจะมีความยาวลำตัวประมาณ 2 ฟุต อายุราว 1 ปีครึ่ง และสามารถผสมพันธุ์ออกมาเป็นลูกปลาที่มีสีสันและลวดลายสวยแปลกตากว่าดั้งเดิมได้หลากหลาย และผสมกับปลากระเบนในสกุลเดียวกัน ของวงศ์เดียวกันนี้ได้อีกด้วย ซึ่งจะทำให้ได้ปลาสายพันธุ์ใหม่ขึ้นมา รวมถึงปลากระเบนเผือก ที่มีราคาซื้อขายแพงด้ว.

ใหม่!!: สีส้มและปลากระเบนโมโตโร่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะรังจุดฟ้าจุดเล็ก

ปลากะรังจุดฟ้าจุดเล็ก (leopard grouper) เป็นปลากระดูกแข็งในวงศ์ปลากะรัง (Serranidae) วงศ์ย่อย Epinephelinae มีชื่อสามัญอื่น ๆ ว่า "ปลากุดสลาด", "ปลาเก๋าจุดฟ้า" หรือ "ปลาย่ำสวาท" เป็นต้น ปลากะรังจุดฟ้าจุดเล็กมีลำตัวแบนยาว มีความยาวลำตัวได้จนถึง 120 เซนติเมตร บริเวณรอบดวงตาแบน ไม่มีเกล็ด ก้านซี่เหงือกจำนวน 6–10 อัน หลังมีก้านครีบแข็ง 7–8 ก้าน ครีบที่ 3 หรือ 4 ยาวที่สุด ก้านครีบอ่อน 10–12 อัน ครีบอกมีก้านครีบอ่อน 15–17 อัน ครีบก้นมีก้านครีบแข็ง 3 อัน และก้านครีบอ่อน 8 อัน หางเป็นแบบตรงเว้ากลางเล็กน้อย สีลำตัวมีหลากหลายตั้งแต่สีเขียวมะกอกถึงแดงน้ำตาล สีส้มแดงถึงแดงเข้ม จะมีจุดสีฟ้าเล็ก ๆ บนหัวและแก้มมากกว่า 10 จุด และที่ลำตัว ยกเว้นใต้ท้อง พบในทะเลความลึกตั้งแต่ 3–100 เมตร พบชุกชุมแถบทะเลเขตร้อน ได้แก่ ประเทศไทย, อินเดีย, ศรีลังกา, พม่า, มาเลเซีย, อินโดนีเซีย, สิงคโปร์, ออสเตรเลียตอนเหนือ, ทะเลแดง, ทะเลอาหรับ และทวีปแอฟริกาตอนใต้ ในเขตอบอุ่นพบบ้างแต่ไม่มากเท่า ปลากะรังจุดฟ้าจุดเล็กสืบพันธุ์วางไข่ในทะเล ลูกปลาจะเข้ามาเจริญเติบโตอยู่บริเวณชายฝั่งทะเลหรือปากแม่น้ำ สามารถเปลี่ยนเพศได้ ขนาดสมบูรณ์เพศอายุประมาณ 3 ปี น้ำหนักตัวประมาณ 3 กิโลกรัม จะเป็นเพศเมียทั้งหมด เมื่อปลาเจริญเติบโตมีน้ำหนักตัวประมาณ 7 กิโลกรัม ก็จะเปลี่ยนเป็นเพศผู้ ดังนั้นการผสมพันธุ์ของปลาชนิดนี้ในธรรมชาติจะเกิดจากปลาเพศผู้ที่มีขนาดใหญ่กับปลาเพศเมียที่มีขนาดเล็กกว่า ฤดูกาลผสมพันธุ์อยู่ระหว่างเดือนพฤศจิกายนจนถึงเมษายน แต่ละตัวสามารถวางไข่ได้ 208,000–269,500 ฟอง โดยปริมาณและคุณภาพของไข่ขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์ของตัวปลา ปลากะรังจุดฟ้าจุดเล็กเป็นปลาเศรษฐกิจที่มีเนื้อรสชาติอร่อย มีราคาขายที่สูงกว่าปลากะรังชนิดอื่น ๆ โดยมีราคาขายตกถึงตัวละ 750–800 บาท จึงมีการเพาะเลี้ยงกันในกระชัง.

ใหม่!!: สีส้มและปลากะรังจุดฟ้าจุดเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ปลากัดช้าง

ปลากัดช้าง หรือ ปลากัดน้ำแดง ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) มีรูปร่างป้อมสั้น ครีบหลังยาว ครีบท้องเป็นเส้นยาว ครีบก้นยาว ปลายครีบเรียวยาว ครีบหางค่อนข้างใหญ่ หัวโต ปากกว้าง เกล็ดใหญ่ ส่วนหัวละลำตัวมีสีน้ำตาลอ่อนหรือสีน้ำตาลแดง มีลายใต้คางซึ่งมีลักษณะเหมือนสัญลักษณ์พาย (π) อันเป็นที่มาของชื่อวิทยาศาสตร์ ใต้ขอบตาเป็นสีส้มเข้มในตัวผู้ ครีบสีจางมีเหลือบสีเขียวอ่อน ปากสีคล้ำ มีรอยสีคล้ำเป็นรูปโค้งและมีแถบ 2 แถบติดกันที่ใต้คางและริมฝีปากล่าง นับเป็นหนึ่งในปลากัดอมไข่ ที่พบได้ในประเทศไทย จัดเป็นชนิดที่ใหญ่ที่สุด โดยสามารถโตเต็มที่ได้ถึง 12 เซนติเมตร แต่เฉลี่ยทั่วไป 9 เซนติเมตร ซึ่งนับว่าใหญ่ที่สุดด้วยในบรรดาปลากัดทั้งหมดที่พบในประเทศไทย พบในป่าพรุโต๊ะแดง จังหวัดนราธิวาส ของประเทศไทย โดยอาศัยในน้ำที่มีสีชาหรือสีแดง อันเกิดจากการทับถมของซากพืชเป็นเวลานาน และมีค่าความเป็นกรดเป็นด่างค่อนข้างต่ำ (ประมาณ pH 5-6) เป็นปลาที่ไม่ดุร้าย ก้าวร้าว เหมือนพวกปลากัดประเภทก่อหวอด จึงสามารถเลี้ยงรวมกันได้หลาย ๆ ตัว สถานภาพเป็นปลาที่ถูกคุกคามทางด้านถิ่นที่อยู่อาศัยในธรรมชาติ จัดเป็นปลาเฉพาะถิ่น ปัจจุบัน สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในสถานที่เลี้ยง.

ใหม่!!: สีส้มและปลากัดช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์ตูน

ปลาการ์ตูน เป็นปลากระดูกแข็งขนาดเล็กที่อาศัยอยู่ในทะเล จัดอยู่ในวงศ์ย่อย Amphiprioninae ในวงศ์ปลาสลิดหิน (Pomacentridae).

ใหม่!!: สีส้มและปลาการ์ตูน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์ตูนลายปล้อง

ปลาการ์ตูนลายปล้อง หรือ ปลาการ์ตูนลายปล้องหน้าทอง (Clark's anemonefish, Yellowtail clownfish) เป็นปลาการ์ตูนชนิดหนึ่ง มีสีสันบนลำตัวเมื่อยังเล็ก ด้านล่างจะเป็นสีเหลืองหรือสีส้ม และด้านบนบริเวณหลังจะเป็นสีน้ำตาลเข้มไปจนถึงดำ เมื่อโตขึ้นสีดำนี้จะค่อย ๆ ลามลงมาเรื่อย ๆ ทางด้านท้องจนดำสนิททั้งตัว ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 5.5 นิ้ว พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งแต่อ่าวเปอร์เซียจนถึง เมลานีเซีย, ไมโครนีเซีย, เกาะไต้หวัน, ตอนใต้ของญี่ปุ่น, หมู่เกาะริวกิว และออสเตรเลีย ทางน่านน้ำไทย ไม่พบทางฝั่งอ่าวไทย แต่จะพบทางฝั่งอันดามัน เป็นปลาการ์ตูนอีกชนิดหนึ่ง ที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในสถานที่เลี้ยง แต่ปลาที่มีขายในตลาดปลาสวยงามส่วนใหญ่ในประเทศไทย ยังเป็นปลาที่จับมาจากแหล่งธรรมชาติจากต่างประเทศอยู่ เนื่องจากมีสีสันที่สวยและได้มาตรฐานกว่า อีกประการ คือ ปลาที่จับได้ในน่านน้ำไทยมักจะตายในระยะเวลาอันสั้น เนื่องจากการกระบวนการจับที่ผิดวิธี.

ใหม่!!: สีส้มและปลาการ์ตูนลายปล้อง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์ตูนลายปล้องหางเหลือง

ปลาการ์ตูนลายปล้องหางเหลือง (Sebae clownfish, Sebae anemonefish) ปลาการ์ตูนชนิดหนึ่ง มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาการ์ตูนลายปล้อง (A. clarkii) แต่มีครีบหางและครีบก้นสีเหลืองเข้มกว่า อันเป็นที่มาของชื่อเรียก มีขนาดโตเต็มที่ 14 เซนติเมตร ในธรรมชาติจะกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรอินเดีย, อินเดีย, ศรีลังกา และมัลดีฟส์ โดยปกติแล้วจะอาศัยอยู่กับดอกไม้ทะเลชนิด พรมทะเล (Stichodactyla haddoni) เป็นปลาที่มีความหลากหลายทางสีสันมากในธรรมชาติ โดยปล่าที่พบในแต่ละแหล่งจะมีสีสันและลวดลายที่ไม่เหมือนกัน โดยปลาที่พบในน่านน้ำไทยเมื่อโตเต็มที่ มักมีลำตัวสีดำสนิท มีเพียงส่วนปาก, หาง, ครีบอก, ครีบท้อง และบริเวณส่วนท้องตั้งแต่โคนครีบไปจนถึงปลายปากล่างเป็นสีส้มสด เป็นปลาการ์ตูนอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และเพาะขยายพันธุ์ในสถานที่เลี้ยงได้แล้ว แต่ได้รับความนิยมน้อยกว่าปลาการ์ตูนลายปล้อง เนื่องจากมีความสวยน้อยกว.

ใหม่!!: สีส้มและปลาการ์ตูนลายปล้องหางเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์ตูนส้มขาว

ปลาการ์ตูนส้มขาว (ocellaris clownfish, clown anemonefish, clownfish, false percula clownfish) เป็นปลาการ์ตูนชนิดหนึ่ง ที่ลำตัวตัวมีสีส้มเข้ม มีแถบสีขาว 3 แถบ พาดบริเวณส่วนหัว ลำตัวและบริเวณหาง ขอบของแถบสีขาวเป็นสีดำ ขอบนอกของครีบเป็นสีขาวและขอบในเป็นสีดำ อาศัยในที่ลึก ตั้งแต่ 1-15 เมตร ขนาดตัวโตที่สุดประมาณ 10 เซนติเมตร อาศัยอยู่กับดอกไม้ทะเลชนิด Heteractis magnifica และ Stichodactyla gigantea เป็นต้น ในดอกไม้ทะเลแต่ละกออาจพบอยู่ด้วยกัน 6-8 ตัว มีการกระจายพันธุ์ในแถบอินโด-แปซิฟิก, มหาสมุทรอินเดีย, หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์, ทะเลฟิลิปปิน, อินโดนีเซีย หายากที่เกาะโอะกินะวะและเกาะไต้หวัน ส่วนในน่านน้ำไทยจะไม่พบในด้านอ่าวไทย แต่จะพบได้ในฝั่งทะเลอันดามัน โดยอาศัยอยู่เป็นครอบครัวใหญ่ ปลาการ์ตูนส้มขาวนับเป็นปลาการ์ตูนชนิดที่รู้จักกันดีและคุ้นเคยเป็นอย่างดี และถือเป็นตัวละครเอกในภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง Finding Nemo ของพิกซาร์ ในปี ค.ศ. 2003 จนได้รับการเรียกขานเล่น ๆ ว่า "ปลานีโม" เป็นปลาที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างยิ่งในการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งในปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในสถานที่เลี้ยง โดยสถานที่แรกที่สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้สำเร็จ คือ สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี ในประเทศไทย และยังสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้อีกจากภาคเอกชนต่าง ๆ จนในปัจจุบัน ปลาการ์ตูนส้มขาวที่มีจำหน่ายในตลาดปลาสวยงามในประเทศไทย เกิดจากการเพาะขยายพันธุ์ทั้งสิ้น แต่ก็ยังมีความต้องการปลาจากธรรมชาติอยู่อีก โดยถูกจับมาจากทะเลฟิลิปปิน และอินโดนีเซีย เนื่องจากมีสีสันที่สวยงามกว่านั่นเอง นอกจากนี้แล้ว ยังมีชนิดย่อยของปลาการ์ตูนส้มขาวอีกชนิดหนึ่ง คือ "ปลาการ์ตูนดำ" ซึ่งจะพบได้ในถิ่นเฉพาะคือทางเหนือของออสเตรเลียเท่านั้น และพบได้น้อยมาก ซึ่งมีขนาดและลวดลายเหมือนเช่นปลาการ์ตูนส้มขาวชนิดธรรมดา แต่ส่วนที่เป็นสีส้มนั้นจะเป็นสีดำ ซึ่งในช่วงแรกนั้นมีราคาซื้อขายที่สูงมากถึงคู่ละ 5,000-6,000 บาท โดยเป็นปลาที่นำจากประเทศอังกฤษ แต่ต่อมาไม่นานก็ได้มีการเพาะขยายพันธุ์ได้มากขึ้น จนในปัจจุบันราคาขายปลาการ์ตูนดำอยู่ที่คู่ละ 600-700 บาท เท่านั้น.

ใหม่!!: สีส้มและปลาการ์ตูนส้มขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์ตูนอานม้า

ปลาการ์ตูนอานม้า (Saddleback anemonefish, Saddleback clownfish) เป็นปลาการ์ตูนชนิดหนึ่ง ได้ชื่อมาจากการที่มีลายสีขาวพาดตั้งแต่บริเวณปลายครีบหลังมายังบริเวณกลางลำตัว เหมือนอานม้า พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในมหาสมุทรอินเดีย เช่นเดียวกับปลาการ์ตูนลายปล้องหางเหลือง (A. sebae) มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 12 เซนติเมตร จะอาศัยอยู่กับดอกไม้ทะเลชนิด พรมทะเล (Stichodactyla haddoni) ซึ่งจะฝังตัวอยู่ในทรายพื้นทะเล ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน ปลาการ์ตูนอานม้า นับว่าเป็นปลาการ์ตูนที่มีความหลากหลายทางสีสันและลวดลายมากที่สุดชนิดหนึ่ง โดยบางตัวอาจมีลายสองแถบ หรือสามแถบ สีสันมีตั้งแต่สีดำตลอดทั้งลำตัว หรือบางตัว มีเฉพาะส่วนปากเท่านั้นที่มีสีส้ม ลำตัวสีดำ ส่วนปากและท้องเป็นสีส้ม ไปจนถึงบางตัวที่มีสีส้มตั้งแต่ปาก, ท้อง และลำตัว มากกว่าพื้นที่สีดำบนลำตัว และขณะที่บางตัวอาจมีลายอานม้าเพียงไม่ถึงครึ่งหนึ่งของลำตัว แต่บางตัวมีลายอานม้าพาดยาวไปจนสุดด้านล่างของลำตัว เป็นต้น ส่วนปลาที่พบในเขตน่านน้ำไทยมักมีลายแถบสามแถบครึ่งลำตัว และมีลำตัวสีดำตลอดทั้งลำตัว เป็นปลาการ์ตูนชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในสถานที่เลี้ยง.

ใหม่!!: สีส้มและปลาการ์ตูนอานม้า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์ตูนเพอร์คูล่า

ปลาการ์ตูนเพอร์คูล่า หรือ ปลาการ์ตูนส้ม (Orange clownfish, Blackfin clownfish, Percula anemonefish) เป็นปลาการ์ตูนที่มีลักษณะคล้ายกับปลาการ์ตูนส้มขาว (A. ocellaris) มากที่สุด แต่มีความแตกต่างจากปลาการ์ตูนส้มขาวตรงที่ ลวดลายบนลำตัวจะมีความหลากหลายกว่ามาก และพื้นลำตัวจะมีสีดำปรากฏมากกว่า บางตัวอาจมีสีดำกินพื้นที่ลำตัวจนเต็มเหลือเพียงครีบ, ปาก และหางเท่านั้นที่เป็นสีส้ม อีกประการ คือ ปลาการ์ตูนเพอร์คูล่านั้นจะมีซี่กระดูกบนครีบหลัง 9-10 ชิ้น ส่วนปลาการ์ตูนส้มขาวจะมี 11 ชิ้น, ซี่กระดูกที่ครีบหู 16-18 ชิ้น ขณะที่ปลาการ์ตูนส้มขาวมีน้อยกว่า คือ 15-17 ชิ้น มีขนาดโตเต็มที่ 11 เซนติเมตร ซึ่งก็ใกล้เคียงกับปลาการ์ตูนส้มขาว พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก, หมู่เกาะโซโลมอน, เมลานีเซีย, นิวแคลิโดเนีย, วานูอาตู, เกรตแบร์ริเออร์รีฟ และไม่พบในน่านน้ำไทย ปลาการ์ตูนเพอร์คูล่า นับเป็นปลาการ์ตูนชนิดที่ได้รับความนิยมสูงสุดในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม อันเนื่องจากลวดลายและสีสันที่สวยงามที่มากกว่า ยิ่งโดยเฉพาะตัวที่มีลวดลายหรือสีสันที่แปลกไปจากปกติ มักถูกตั้งชื่อทางการค้าไปต่าง ๆ เช่น "ปลาการ์ตูนปิกัสโซ่" คือ ปลาการ์ตูนเพอร์คูล่า ตัวที่มีลวดลายเชื่อมต่อกันคล้ายไม้กางเขน หรือ "ปลาการ์ตูนพลาตินั่ม" คือ ปลาการ์ตูนเพอร์คูล่า ที่มีสีขาวเป็นปื้นไปตลอดทั้งลำตัว เป็นต้น ซึ่งชนิดหลังนี้มีราคาขายที่สูงมากถึงคู่ละ 60,000 บาท ปัจจุบัน ปลาการ์ตูนเพอร์คูล่า นับเป็นปลาการ์ตูนอีกชนิดหนึ่งที่สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ โดยลวดลายของปลาการ์ตูนเพอร์คูล่าที่เพาะออกมานั้น จะมีลวดลายและสีสันที่เป็นเอกลักษณะเฉพาะตัว ไม่เหมือนกัน ซึ่งต่างจากปลาการ์ตูนส้มขาว ที่ลวดลายจะเหมือนกันทั้งหมด ถึงแม้จะใช้พ่อแม่ปลาที่มีลวดลายและสีสันที่สวยงาม แปลกตาแล้ว แต่ลูกปลาที่ออกมาก็จะมีที่เหมือนกับพ่อแม่ปลาเพียงร้อยละ 10 เท่านั้น.

ใหม่!!: สีส้มและปลาการ์ตูนเพอร์คูล่า · ดูเพิ่มเติม »

ปลากาแดง

ปลากาแดง ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Epalzeorhynchos frenatum อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae).

ใหม่!!: สีส้มและปลากาแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลากดคัง

ปลากดคัง (Asian redtail catfish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลากด (Bagridae) ที่มีขนาดโตเต็มที่ราว 1.5 เมตร หนักได้ถึง 100 กิโลกรัม แต่ที่พบโดยเฉลี่ยจะมีขนาดประมาณ 50 - 60 เซนติเมตร ลำตัวมีสีเทาอ่อนอมฟ้าหรือเขียวมะกอก ท้องสีจาง ครีบหางและครีบอื่น ๆ มีสีแดงสดหรือสีส้มสด ไม่มีแถบขาวบนขอบครีบหางส่วนบนเหมือนปลากดชนิดอื่น ๆ พบในแม่น้ำของไทยทุกภาค และในแหล่งน้ำนิ่งขนาดใหญ่ นิยมนำมาบริโภคโดยการปรุงสด ลวก จิ้ม หรือยำ มีราคาค่อนข้างแพง มีการเพาะเลี้ยงเป็นกระชังอยู่ริมแม่น้ำสายใหญ่บางสาย และยังเลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้อีกด้วย ปลากดคังมีชื่อเรียกอื่น อีกเช่น "ปลากดแก้ว" "ปลากดเขี้ยว" เป็นต้น.

ใหม่!!: สีส้มและปลากดคัง · ดูเพิ่มเติม »

ปลารีดฟิช

ปลารีดฟิช หรือ ปลาโรปฟิช หรือ ปลางู (Reedfish, Ropefish, Snakefish) เป็นปลาน้ำจืดกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Erpetoichthys calabaricus อยู่ในวงศ์ปลาไบเคอร์ (Polypteridae) ปลารีดฟิชจัดเป็นปลาไบเคอร์เพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Erpetoichthys มีรูปร่างที่เรียวยาวคล้ายเชือกหรืองูมากกว่าปลาไบเคอร์ชนิดอื่น ๆ โดยไม่มีครีบท้อง ส่วนหัวมีขนาดเล็ก ครีบหูมีจุดสีดำที่ฐานครีบ ครีบหลังมีสีน้ำตาลจนถึงสีเขียวมะกอก ลำตัวสีเขียวมะกอก ขณะที่ส่วนท้องเป็นสีเหลืองอมส้ม มีขนาดความเต็มที่ประมาณ 37 เซนติเมตร และพบได้ยาวที่สุดถึง 90 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำนิ่งและน้ำกร่อยในแอฟริกาตะวันตก แถบสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก, แองโกลา, ไนจีเรีย, แคเมอรูน, อิเควทอเรียล กินี และเบนิน อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่มีสภาพเป็นกรดเล็กน้อย (ค่า pH ต่ำกว่า 7 เล็กน้อย) และมีพืชพรรณไม้น้ำขึ้นรกครึ้ม หากินในเวลากลางคืน เช่น ปลาไบเคอร์ชนิดอื่น ๆ ปลารีดฟิชนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งในปัจจุบันยังไม่สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ ซึ่งชื่อสกุลของปลารีดฟิช คือ Erpetoichthys นั้นดัดแปลงมาจากภาษากรีกคำว่า erpeton ที่หมายถึง "สิ่งที่คลานได้" และ ichthys ที่หมายถึง "ปลา".

ใหม่!!: สีส้มและปลารีดฟิช · ดูเพิ่มเติม »

ปลาวัวลายส้ม

ปลาวัวลายส้ม หรือ ปลาวัวหางเหลือง (Orange-lined triggerfish, Orange-striped triggerfish, Undulated triggerfish, Green trigger, Redlined triggerfish) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Balistapus undulatus อยู่ในวงศ์ปลาวัว (Balistidae) เป็นเพียงชนิดเดียวนั้นที่อยู่ในสกุล Balistapus ลักษณะลำตัวแบนทางด้านข้างตาเล็กอยู่เยื้องขึ้นไปใกล้ส่วนหลัง ปากมีขนาดเล็ก ครีบหลังมี 2 ตอนแยกออกจากกัน ตอนหน้ามีก้านครีบแข็งตอนหลังเป็นครีบอ่อนโค้งไปตามแนวลำตัว เช่นเดียวกับครีบก้น ครีบหูเล็กครีบท้องสั้นครีบหางปลายตัดและเว้าตรงกลางเพียงเล็กน้อย โดยที่ครีบหลังอันหน้าสุดได้ลดรูปไปเหลือเป็นเพียงก้านครีบแข็งอันเดียวมองเห็นได้ชัด มีลักษณะคล้ายกับเขาสัตว์ ซึ่งเป็นเอกลักษณะเฉพาะ มีขนาดความยาวเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร พื้นผิวลำตัวเป็นสีเขียวไพรและมีลายคาดสีส้มตามแนวเฉียงจากปากและหลังลงมายังครีบก้นและหางจำนวนประมาณ18-20 เส้นครีบหลังตอนท้ายและครีบก้นมีก้านครีบอ่อนสีส้ม ครีบหางสีส้มสลับลายเส้นสีน้ำเงินตรงโคนหางก่อนถึงครีบหางมีปานสีดำ พบกระจายพันธุ์อยู่ตามแนวปะการังและกองหินใต้น้ำทางของมหาสมุทรอินเดีย โดยไม่พบในอ่าวไทย พบได้ตั้งแต่ความลึกประมาณ 2-50 เมตร เป็นปลาวัวอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สีส้มและปลาวัวลายส้ม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาวัวจมูกยาว

ปลาวัวจมูกยาว หรือ ปลาวัวจุดส้ม (Long-nose filefish, Orangespotted filefish, Harlequin filefish, Beaked leatherjacket) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Oxymonacanthus longirostris อยู่ในวงศ์ปลาวัวจมูกยาว (Monacanthidae) มีรูปร่างเรียวยาวอย่างเห็นได้ชัด มีจะงอยปากยื่นยาวคล้ายหลอดหรือท่อ ครีบหลังแบ่งเป็น 2 ตอน ตอนแรกมีเงี่ยงแข็งซึ่งสามารถตั้งชี้หรือกระดกได้เพื่อใช้ข่มขู่ผู้รุกรานหรือป้องกันตัวจากปลาที่ใหญ่กว่า เมื่อเวลาถูกกินเข้าปากจะถูกเงี่ยงนี้ทิ่มเอา ครีบท้องลดรูปลงไปทำให้เล็กและมีก้านครีบแข็งเช่นเดียวกับครีบหลัง สามารถพับเก็บได้ ครีบท้องยาว ครีบหางกลมเป็นรูปพัด มีจุดกลมสีส้มกระจายอยู่ทั่วบนพื้นลำตัวสีเขียวอมฟ้า โดยที่ส่วนหน้าจะเป็นรอยขีดยาวตามดวงตา ที่ปลายครีบหางจะมีจุดสีดำขนาดใหญ่ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 10 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้าง โดยพบได้ตั้งแต่ชายฝั่งของทวีปแอฟริกาฝั่งตะวันออกและใต้, โมซัมบิก, ทะเลแดง, ซามัว, หมู่เกาะริวกิวในทะเลจีนตะวันออก, นิวแคลิโดเนีย, ตองกา และเกรต แบร์ริเออร์ รีฟ ในน่านน้ำไทยพบได้เฉพาะฝั่งทะเลอันดามัน เป็นปลาที่มักอยู่เป็นคู่ โดยจะพบมากที่สุดในแนวปะการัง เพราะกินปะการังเขากวาง (Acropora spp.) เป็นหลัก พบได้ในความลึกตั้งแต่ 4-30 เมตร หากินในเวลากลางวัน และนอนหลับในเวลากลางคืนในแนวปะการังหรือกองหิน เป็นปลาที่เป็นที่ชื่นชอบถ่ายรูปของนักดำน้ำเนื่องจากเป็นปลาที่สวยงามและไม่มีพฤติกรรมก้าวร้าว และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้ว.

ใหม่!!: สีส้มและปลาวัวจมูกยาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาวัวปิกัสโซเรดซี

ปลาวัวปิกัสโซเรดซี (Arabian picasso triggerfish, Picasso triggerfish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาวัว (Balistidae) มีรูปร่างและลักษณะคล้ายกับปลาวัวปิกัสโซ (R. aculeatus) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่ว่าจะไม่มีลวดลายที่ลำตัว จะมีลวดลายที่บริเวณหน้า ดวงตาสีส้ม ข้อหางมีขีดสีดำพาดตรงจำนวน 3 ขีด บนพื้นสีเงิน มีความยาวประมาณ 30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในทะเลอาหรับและทะเลแดง โดยที่ไม่พบในน่านน้ำไทย นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่ทว่าในประเทศไทย ถือเป็นปลาหาที่ยาก.

ใหม่!!: สีส้มและปลาวัวปิกัสโซเรดซี · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสร้อยนกเขาทะเล

ปลาสร้อยนกเขาทะเล หรือ ปลาสร้อยนกเขา เป็นสกุลของปลาทะเลสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลากะพงแสม (Haemulidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Plectorhinchus มีลำตัวป้อม แบนด้านข้าง สันหัวโค้งลาดลง รอบปากมีเนื้อนุ่ม ๆ ใต้คางมีรู 1-3 คู่ เกล็ดมีขนาดเล็กและเป็นแบบสาก พื้นลำตัวและอกมักมีสีฉูดฉาด ในปลาขนาดเล็กมักมีลายสีทึบพาดตามยาวหลายเส้นและมักแตกเป็นจุดเมื่อปลามีขนาดใหญ่ขึ้น ขอบแผ่นปิดเหงือกและในโพรงปากมักมีสีแดงส้ม ส่วนใหญ่พบ อาศัยอยู่ตามแนวปะการังใกล้ชายฝั่ง ในแถบอินโด-แปซิฟิก มีขนาดลำตัวตั้งแต่ 30-80 เซนติเมตร ปลาสร้อยนกเขาลายขวางเมื่อเป็นปลาวัยโต เมื่อยังเป็นปลาขนาดเล็กจะมีพฤติกรรมการว่ายน้ำที่ไม่เหมือนปลาขนาดใหญ่ จะว่ายดีดดิ้น พริ้วไปมา เหมือนหนอนตัวแบน เชื่อว่าเป็นการเลียนแบบเพื่อเอาตัวรอดจากสัตว์นักล่าขนาดใหญ.

ใหม่!!: สีส้มและปลาสร้อยนกเขาทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสร้อยน้ำเงิน

ปลาสร้อยน้ำเงิน หรือ ปลาสร้อยปีกแดง ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cirrhinus caudimaculatus อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างที่เพรียวยาว ท้องป่องออก เหนือครีบหลังหลังช่องปิดเหงือกมีแถบสีน้ำเงิน ครีบหลังค่อนข้างใหญ่ โคนครีบหางมีแต้มสีคล้ำ ครีบหางสีส้มเว้าเป็นแฉกและมีขอบสีเข้ม มีขนาดประมาณ 25–30 เซนติเมตร มีพฤติกรรมการหากินเช่นเดียวกับปลาในสกุลเดียวกัน หรือปลาในสกุล Henicorhynchus ซึ่งเป็นชื่อพ้องของกันและกัน พบในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณภาคกลางของประเทศไทย และในลุ่มแม่น้ำโขง.

ใหม่!!: สีส้มและปลาสร้อยน้ำเงิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสลิดหินฟ้าหางส้ม

ปลาสลิดหินฟ้าหางส้ม หรือ ปลาแดมเซลฟ้าหางส้ม (Blue devil damsel, Cornflower sargeantmajor, Sapphire devil) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสลิดหิน (Pomacentridae) มีรูปร่างและลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาในวงศ์เดียวกันชนิดอื่น ๆ ต่างกัน คือ ลักษณะแตกต่างทางเพศของปลาทั้ง 2 เพศ คือ ปลาตัวผู้จะมีการพัฒนาสีส้มขึ้นตามครีบต่าง ๆ เช่น ครีบหาง, ครีบท้อง ส่วนปลาตัวเมียจะไม่มีพัฒนาการดังกล่าว แต่ในบางแหล่งอาศัย ปลาตัวเมียจะมีจุดสีดำขึ้นบริเวณด้านหลังของครีบหาง เป็นปลาที่มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 8.5 เซนติเมตร มีพฤติกรรมในธรรมชาติ คืออยู่แบบฮาเร็ม โดยมีตัวผู้หนึ่งตัวอาศัยอยู่รวมกับตัวเมียหลายตัว พบทั่วไปในเขตอินโด-แปซิฟิก จัดเป็นปลาที่มีความสวยงามชนิดหนึ่ง นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว แต่ปลาในตลาดปลาสวยงามส่วนใหญ่ ยังถูกนำเข้ามาจากทะเลฟิลิปปินและอินโดนีเซี.

ใหม่!!: สีส้มและปลาสลิดหินฟ้าหางส้ม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสลิดหินจุดแดง

ปลาสลิดหินจุดแดง หรือ ปลาใบขนุนจุดเหลือง (Golden spinefoot, Orange-spotted spinefoot) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสลิดทะเล (Siganidae) มีรูปร่างแบนเป็นรูปไข่ ช่องปากมีขนาดเล็กอยู่ปลายสุดของจะงอยปาก ครีบหลังและครีบก้นมีก้านครีบแข็งหลายชิ้น ครีบท้องมีก้านครีบแข็งทั้งด้านหน้าและด้านหลังรวมสองชิ้น ผิวเรียบ ครีบหางมีปลายตัดตรง ลำตัวมีสีเทา มีจุดประสีเหลืองหรือสีส้มแดงกระจายอยู่ทั่วตัว รวมทั้งที่เป็นลายที่หน้าฐานครีบหลังส่วนปลายมีแต้มสีเหลือง มีความยาวเต็มที่ประมาณ 35 เซนติเมตร แต่มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 15-20 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในแถบอินโด-แปซิฟิก บริเวณชายฝั่ง มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมเป็นฝูงขนาดเล็ก ๆ ใกล้กองหินและแนวปะการัง หากินสาหร่ายและสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร จัดเป็นปลาที่พบได้ชุกชุม ปัจจุบัน สามารถที่จะเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วด้วยวิธีการผสมเทียม นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และสามารถรับประทานเนื้อได้.

ใหม่!!: สีส้มและปลาสลิดหินจุดแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสะนาก

ำหรับปลานางอ้าวชนิดอื่น ดูได้ที่ ปลาซิวอ้าว หรือปลาน้ำหมึก ปลาสะนาก (Burmese trout, Giant barilius) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Raiamas guttatus อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae).

ใหม่!!: สีส้มและปลาสะนาก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสะนากยักษ์

ปลาสะนากยักษ์ (Giant salmon carp, Mekong giant salmon carp) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Aaptosyax grypus อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) วงศ์ย่อย Danioninae.

ใหม่!!: สีส้มและปลาสะนากยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสิงโตธรรมดา

ปลาสิงโตธรรมดา (Common lionfish, Miles' firefish, Devil firefish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสิงโต (Scorpaenidae) มีลักษณะเด่น คือ มีครีบอกยาวเป็นเส้นแลดูสวยงาม ครีบหลังมีก้านครีบแข็งยาวมาก ในปลาขนาดเล็กตาจะมีติ่งแหลม ซึ่งเมื่อโตขึ้นจะค่อย ๆ หดสั้นลงจนหายไปในที่สุด ลำตัวมีสีสันหลากหลาย ตั้งแต่ สีแดง, สีส้ม, สีน้ำตาลเข้ม เป็นลายบั้งเล็ก ๆ สลับกับบั้งสีจาง ๆ หรือสีชมพู ครีบหลังตอนท้ายหรือครีบก้นจะเป็นครีบใสโปร่งแสง มีจุดประสีดำ มีพฤติกรรมล่าปลาขนาดเล็กเป็นอาหาร โดยใช้ครีบอกที่แผ่ยาวเป็นเส้นไล่ต้อนให้จนมุม แล้วใช้ปากฮุบกินไปทั้งตัว มีขนาดใหญ่ประมาณ 15 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุด 35 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแนวปะการังและกองหินใต้น้ำ ตั้งแต่ชายฝั่งแอฟริกาใต้, ทะเลแดง, ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก, อินโดนีเซีย ในน่านน้ำไทยพบได้เฉพาะฝั่งทะเลอันดามัน จัดเป็นปลาที่พบได้บ่อยในบางพื้นที่ เป็นปลาที่มีพิษ ไม่มีการรับประทานกันเป็นอาหาร นิยมเลี้ยงกันตามพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำและตู้ปลาตามบ้านในฐานะปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สีส้มและปลาสิงโตธรรมดา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสินสมุทรบั้งเหลือง

ปลาสินสมุทรบั้งเหลือง หรือ ปลาสินสมุทรบั้ง หรือ ปลาพีค็อก (Royal angelfish, Regal angelfish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสินสมุทร (Pomacanthidae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Pygoplites ตอนบนของหัวจะมีสีฟ้าอมเทา จมูก คางและอกเป็นสีเหลืองอ่อน ลำตัวมีสีส้มสดเป็นสีพื้นและมีแนวสีฟ้าอ่อน ขอบเข้มอีก 5-9 เส้นแนวพาดตรงจากหลังจรดบริเวณท้อง ครีบหางสีเหลืองสด ขณะที่ยังเป็นลูกปลาอยู่จะมีแถบสีอ่อนซึ่งมีขอบสีเข้ม 4 แถบพาดผ่านสีข้างช่วงตอนท้ายของครีบหลังจะมีปื้นสีเข้มขนาดใหญ่ ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 25 เซนติเมตร มักพบเป็นคู่หรืออยู่ลำพังเพียงตัวเดียว กินฟองน้ำและเพรียงหัวหอมเป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ในเขตร้อน แถบอินโด-แปซิฟิก ในน่านน้ำไทย พบได้ในฝั่งทะเลอันดามัน จัดเป็นปลาชนิดหนึ่งที่มีความสวยงามมาก นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และแสดงตามพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ.

ใหม่!!: สีส้มและปลาสินสมุทรบั้งเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสุดสาครจิ๋วลายเข้ม

ปลาสุดสาครจิ๋วลายเข้ม (Blacktail angelfish) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสินสมุทร (Pomacanthidae) มีรูปทรงลำตัวเป็นรูปไข่ ลำตัวมีสีเทา มีลายบั้งเป็นสีส้มพาดขวางทั้งลำตัว ปาก, ท้อง และครีบท้องสีเหลืองอมส้ม ด้านท้ายครีบหลังและครีบหางเป็นสีดำ ปลายครีบหางมีขลิบสีฟ้า มีความยาวโดยเฉลี่ย 10 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุด 15 เซนติเมตร เป็นปลาที่อาศัยอยู่ตามลำพังหรือเป็นฝูงขนาดเล็ก กินอาหารจำพวก ฟองน้ำและสัตว์น้ำขนาดเล็ก พบอาศัยอยู่ในตอนลึกในแนวปะการัง ตั้งแต่มหาสมุทรอินเดียตะวันออก, อินโดนีเซีย จนถึงตะวันออกเฉียงเหนือของออสเตรเลีย ในน่านน้ำไทยเป็นปลาที่พบได้เฉพาะทะเลอันดามัน จัดเป็นปลาที่พบได้น้อย นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยมีชื่อในวงการปลาสวยงามว่า "ปลาหมอส้ม".

ใหม่!!: สีส้มและปลาสุดสาครจิ๋วลายเข้ม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอฟลามิงโก้

ปลาหมอฟลามิงโก้ หรือ ปลาหมอไมดาส (Red devil cichild, Midas cichlid) เป็นปลาชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) พบกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาใต้ จัดเป็นปลาหมอสีที่มีรูปร่างใหญ่ เมื่อโตเต็มที่จะยาวได้ 25-30 เซนติเมตร มีลักษณะลำตัวค่อนข้างแบนกว้าง ส่วนหัวจะมีโหนกนูนอย่างเห็นได้ชัดเจนเมื่อโตเต็มที่ ริมฝีปากหนา ตาสีดำ ครีบอกแผ่กว้างปลายมนเล็กน้อย ครีบกระโดงหลังจะเรียวยาวแผ่กว้างไปทางด้านหลัง ครีบท้อง 2 อันเท่ากัน ขณะที่ครีบทวารจะแผ่กว้างคล้ายครีบกระโดงแต่ไม่ยาวมาก ครีบหางแผ่กว้างปลายมนเล็กน้อย ลำตัวมีสีหลากหลายทั้งสีส้ม, เหลือง, ขาว ปนอยู่ โดยมีแถบสีดำแซม ขึ้นอยู่กับที่การเปลี่ยนสี หรือ "การลอก" ในภาษาเฉพาะของวงการปลาสวยงามว่าจะออกมาเป็นอย่างไร ซึ่งปลาที่มีสีส้มหรือแดง นิยมเรียกว่า ปลาหมอเรดเดวิล หรือ ปลาหมอเรดอเมริกา ปลาหมอฟลามิงโก้เป็นปลาที่มีนิสัยก้าวร้าว หวงอาณาเขตเป็นปลาที่อยู่ตามลำพังเพียงตัวเดียว ชอบขุดคุ้ยซอกหิน ซอกไม้ ในการหลบซ่อนตัว โดยเฉพาะปลาตัวผู้ที่มีโหนกใหญ่บนหัวจะก้าวร้าวมาก ปลาหมอฟลามิงโก้ นั้นสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ในตู้เลี้ยงตั้งแต่ขนาด 24 นิ้วขึ้นไป โดยวางไข่ติดไว้กับพื้นหรือหิน ตัวเมียเมื่อมีความสมบูรณ์เต็มที่จะออกไข่ได้ครั้งละ 400-800 ฟอง ลักษณะไข่มีสีเหลืองนวล ไข่ใช้เวลา 3 วัน ในการฟักเป็นตัว แยกเพศโดยการสังเกตที่ส่วนท้อง ช่องเพศของตัวเมียจะมีลักษณะกลมใหญ่กว่า ขณะที่ตัวผู้จะยาวแหลมยื่นออกมา และมีลำตัวและส่วนหัวใหญ่กว่าตัวเมียอย่างเห็นได้ชัด ปลาหมอฟลามิงโก้ ถือเป็นปลาชนิดที่เป็นต้นแบบของปลาหมอลูกผสม หรือที่เรียกกันว่า ครอสบรีด เช่น ปลาหมอฟลาวเวอร์ฮอร์น เป็นต้น.

ใหม่!!: สีส้มและปลาหมอฟลามิงโก้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอออสเซลาริส

ปลาหมอออสเซลาริส (Peacock cichlid, Butterfly peacock bass) ปลาน้ำจืดขนาดกลางค่อนไปทางใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีรูปร่างยาวปานกลาง ลำตัวแบนข้างเหมือนปลากะพง ริมฝีปากหนา มีกรามแข็งแรง ดวงตากลมโต เมื่อขนาดโตเต็มที่แล้วจะมีโหนกขึ้นบริเวณส่วนหัวด้านบน พื้นลำตัวมีสีเหลืองเขียวอมส้ม มีลักษณะเด่น คือ มีแถบสีดำที่ลำตัวและโคนหาง และมีจุดสีดำเหนือแผ่นปิดเหงือก และที่บริเวณครีบอก มีขนาดโตเต็มที่ยาวได้ถึง 75 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ในหลายประเทศในทวีปอเมริกาใต้ เป็นปลาที่กินปลาขนาดเล็ก และสัตว์น้ำต่าง ๆ เป็นอาหาร รวมถึงแมลงด้วย เป็นปลาที่นิยมตกกันเป็นเกมกีฬา ใช้บริโภคเป็นปลาเศรษฐกิจในท้องถิ่น และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งปัจจุบันได้เพาะขยายพันธุ์ได้เป็นที่สำเร็จแล้ว จนกลายเป็นปัญหาทางสิ่งแวดล้อมในเรื่องชนิดพันธุ์ต่างถิ่นเช่น สหรัฐอเมริกา, ญี่ปุ่น, สิงคโปร์, มาเลเซีย และประเทศไทย ซึ่งปลาสามารถที่จะปรับตัวและแพร่ขยายพันธุ์ได้เองในธรรมชาติ โดยตัวเมียสามารถวางไข่ได้ครั้งละ 5,000 ถึง 15,000 ฟอง.

ใหม่!!: สีส้มและปลาหมอออสเซลาริส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอคอนวิค

ปลาหมอคอนวิค หรือ ปลาหมอม้าลาย (Convict cichlid, Zebra cichlid) เป็นปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Amatitlania nigrofasciata มีถิ่นกำเนิดในอเมริกากลาง จัดเป็นปลาหมอสีขนาดเล็ก มีขนาดความยาวเต็มที่ไม่เกิน 6 นิ้ว ตัวผู้และตัวเมียสามารถแยกได้อย่างชัดเจน โดยตัวผู้จะมีลายสลับขาวดำ 8-9 ปล้อง หัวโหนก ครีบแหลมยาว และมีลำตัวใหญ่กว่าตัวเมีย ในขณะที่ตัวเมียครีบก้นมีสีเหลือบเขียว ส่วนท้องมีสีส้ม และขนาดเล็กกว่าตัวผู้ นอกจากนี้ยังมีปลาที่มนุษย์คัดสายพันธุ์จนเป็นสีขาวจากการขาดเมลานิน ซึ่งพบเห็นเป็นปลาสวยงามได้ทั่วไปเช่นเดียวกับปลาสีดั้งเดิม ปลาหมอคอนวิค เป็นปลาหมอสีชนิดหนึ่งที่ได้รับความนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ถึงแม้จะเป็นปลาหวงถิ่นที่ก้าวร้าว แต่ก็มีขนาดเล็กและเลี้ยงง่ายมีความทนทาน สามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้ โดยปลาจะสามารถแพร่พันธุ์ได้ตั้งแต่มีความยาว 1.5 นิ้ว ปลาในที่เลี้ยงที่จับคู่กันแล้ว มักวางไข่ในภาชนะดินเผา โดยปลาทั้งตัวผู้และตัวเมียจะช่วยกันดูแลไข่และลูกอ่อน.

ใหม่!!: สีส้มและปลาหมอคอนวิค · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอแคระคาเคทอยเดส

ปลาหมอแคระคาเคทอยเดส หรือ ปลาหมอแคระคาเคทอย (Cockatoo cichlid, Cockatoo dwarf cichlid) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) จัดเป็นปลาหมอแคระชนิดหนึ่ง ในสกุลอพิสโตแกรมมา มีลักษณะเหมือนกับปลาชนิดอื่นในสกุลเดียวกันนี้ทั่วไป แต่มีลักษณะเด่น คือ มีครีบกระโดงหลังที่ตั้งชูงอนเหมือนนกกระตั้ว อันเป็นที่มาของชื่อสามัญในภาษาอังกฤษ และมีสีลำตัวและครีบต่าง ๆ เป็นโทนเข้ม เช่น สีส้มหรือสีแดง โดยมีลวดลายบนครีบต่าง ๆ สดเข้มตลอดเวลาไม่ว่าปลาจะอยู่ในอารมณ์หรือสภาพแวดล้อมใด มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 5 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาใต้ ในสาขาของแม่น้ำอเมซอน ที่มีกระแสน้ำไหลเอื่อย ๆ มีใบไม้หล่นร่วงมาพื้นท้องน้ำ โดยปลาจะใช้เป็นที่หลบซ่อน โดยน้ำจะมีค่าความเป็นกรดเป็นด่างต่ำ (ต่ำกว่า 6.5 pH) กินอาหารจำพวก สัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ เป็นปลาที่นิยมอย่างมากในการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ โดยถือเป็นชนิดที่นิยมเป็นอันดับต้น ๆ ของสกุลนี้ เนื่องจากคุณสมบัติที่ว่า จะมีสีสันสดสวยตลอดรวมทั้งครีบหลังที่ตั้งสูง และนิยมที่จะเพาะขยายพันธุ์กันในตู้เลี้ยง โดยปลาตัวเมียจะวางไข่ไว้กับซอกหลีบหรือเพดานของวัสดุต่าง ๆ ใต้น้ำ และเป็นฝ่ายดูแลลูก.

ใหม่!!: สีส้มและปลาหมอแคระคาเคทอยเดส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอเซวารุ่ม

ปลาหมอเซวารุ่ม หรือ ปลาหมอเซวาลุ่ม (Severum, Banded cichlid) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Heros severus อยู่ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีรูปร่างป้อมแบนข้างข้างปานกลาง หน้าผากมีความลาดชั้นมาก ปากอยู่ด้านล่าง มีริมฝีปากที่หนา ปลายครีบหลังและครีบก้นยาวแหลม ลำตัวมีสีน้ำตาลอ่อนอมเขียวมีสีส้มปน บริเวณใบหน้ามีลายประสีแดงกระจายอยู่ทั่ว ลำตัวมีสีดำพาดตามขวางประมาณ 6-8 แถบ ซึ่งลายนี้จะจางลงเมื่อปลาโตขึ้น มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 20 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในแม่น้ำโอริโนโคและแม่น้ำอเมซอน ในประเทศโคลัมเบียและเวเนซุเอลา โดยจะพบได้ในแหล่งน้ำที่มีความหลากหลายของสภาพ ทั้งน้ำใส น้ำขุ่น หรือน้ำที่มีสีเหมือนสีกาแฟ โดยทั่วไปปลาที่มีขนาดเล็กจะพบมากในบริเวณแหล่งน้ำที่ไหลช้า และมีพื้นเป็นกรวดทราย หรือทรายปนโคลน ส่วนปลาที่โตเต็มวัยจะพบในบริเวณที่น้ำไหลแรงและมีพรรณไม้น้ำขึ้นหนาแน่น อุณหภูมิของน้ำประมาณ 23-29 องศาเซลเซียส ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของน้ำ (pH) 5.0-6.5 เป็นปลาที่กินอาหารได้หลากหลายทั้งพืชและสัตว์ ทั้งสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ รวมทั้งแมลง ปลาหมอเซลารุ่ม เป็นปลาที่นิยมเพาะเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามมาอย่างยาวนานแล้ว เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันอย่างแพร่หลาย เพราะเป็นปลาที่มีนิสัยเรียบร้อย ไม่ดุร้ายก้าวร้าวเหมือนปลาในวงศ์ปลาหมอสีชนิดอื่น ๆ อีกทั้งสามารถที่จะเพาะขยายพันธุ์ได้ในตู้ปลาด้วย ซึ่งปัจจุบันได้มีการเพาะขยายพันธุ์ได้มีสีสันที่หลากหลายไปจากปลาสายพันธุ์เดิมในธรรมชาติมาก เช่น สีทองหรือสีแดง เป็นต้น นอกจากนี้แล้ว ยังเป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่นของทวีปอเมริกาใต้ โดยมีชื่อเรียกในภาษาถิ่นว่า Acará-peba.

ใหม่!!: สีส้มและปลาหมอเซวารุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมูโยโย่

ปลาหมูโยโย่ หรือ ปลาหมูปากีสถาน (Pakistani loach, Reticulate loach) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมู (Botiidae) มีรูปร่างเพรียวยาว ลำตัวแบนข้าง หัวรูปทรงกรวย จะงอยปากแหลม ครีบหลังอยู่กึ่งกลางลำตัว ครีบหางเป็นแฉกลึก ลำตัวสีเหลืองอมส้มมีลายดำ ครีบหลังและครีบหางมีลายดำพาดขวาง ครีบอื่น ๆ ไม่มีสี มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 18 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อยู่ในประเทศปากีสถาน, อินเดีย และเนปาล กินสัตว์น้ำขนาดเล็กและแมลงน้ำต่าง ๆ บริเวณพื้นน้ำเป็นอาหาร เป็นปลาหมูอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สีส้มและปลาหมูโยโย่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหางไหม้

ปลาหางไหม้ หรือที่นิยมเรียกกันว่า ปลาฉลามหางไหม้ (Bala shark, Burn tail shark, Silver shark, Black tailed shark) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Balantiocheilos (/บา-แลน-ทิ-โอ-ไคล-ออส/) มีรูปร่างคล้ายปลาตามิน (Amblyrhynchichthys truncatus) มีรูปร่างและทรวดทรงที่เพรียวยาว ตาโต ปากเล็ก ขยับปากอยู่ตลอดเวลา ใต้คางมีแผ่นหนังเป็นถุงเปิดออกด้านท้าย ก้านครีบแข็งก้านสุดท้ายของครีบหลังมีขนาดใหญ่ และมีขอบจักเป็นฟันเลื่อย จะงอยปากแหลม มีเยื่อไขมันเป็นวุ้นรอบนัยน์ตา ครีบท้องมีก้านครีบแขนงทั้งหมด 9 ก้าน ไม่มีหนวด มีลำตัวแบนข้างเล็กน้อย เกล็ดมีขนาดเล็กสัดส่วนของครีบทุกครีบเหมาะสมกับลำตัว โดยเฉพาะครีบหางซึ่งเว้าเป็นแฉกลึก สีของลำตัวเป็นสีเงินแวววาว ด้านหลังสีเขียวปนเทา ครีบหลัง ครีบท้อง ครีบก้นและครีบหางสีส้มแดงหรือสีเหลืองอมขาว และมีขอบเป็นแถบดำ อันเป็นที่มาของชื่อ ว่ายน้ำได้ปราดเปรียวมาก และกระโดดขึ้นได้สูงจากน้ำมาก มีขนาดโตเต็มราว 20–30 เซนติเมตร.

ใหม่!!: สีส้มและปลาหางไหม้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหนามหลังสาละวิน

ปลาหนามหลังสาละวิน ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mystacoleucus argenteus อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างแบนข้างเป็นรูปสี่เหลี่ยม หัวและปากมีขนาดเล็ก มีหนวด 2 คู่ ที่มุมปากและจะงอยปาก เกล็ดมีขนาดเล็กมีแถวประมาณ 31-33 แถว ตามแนวเส้นข้างลำตัว ครีบหลังมีสีส้มขอบมีสีคล้ำ ครีบหางมีสีเหลืองสดมีขอบสีคล้ำ ครีบอื่น ๆ มีสีเหลืองใส ตามีแต้มสีแดงที่ด้านบน ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 15 เซนติเมตร พบชุกชุม มีถิ่นกระจายพันธุ์เฉพาะลุ่มแม่น้ำสาละวินที่พรมแดนไทย-พม่า เท่านั้น นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยมีชื่อเรียกเฉพาะในวงการปลาสวยงามว่า "ปลาตะเพียนพม่า" นอกจากนี้แล้วยังมีชื่อเรียกอื่นอีกว่า "ปลาหางเหลือง" เป็นต้น.

ใหม่!!: สีส้มและปลาหนามหลังสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาออสการ์

ปลาออสการ์ (Oscar fish, Red belvet, Velvet cichlid, Marbled cichlid, Peacock-eyed cichilld, Tiger oscar, Peacock cichilld) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) เป็นปลาพันธุ์พื้นเมืองของลุ่มแม่น้ำโอริโนโก, แม่น้ำอะเมซอน และแม่น้ำลา พลาตา ในทวีปอเมริกาใต้อย่างกว้างขวาง เช่น ประเทศบราซิล, โคลอมเบีย, เปรู, เฟรนช์เกียนา, อุรุกวัย, เวเนซุเอลา และอาร์เจนตินา เป็นปลาที่หากินในบริเวณแหล่งน้ำที่เป็นน้ำตื้นทีมีพื้นท้องน้ำเป็นโคลนปนทรายหรือกรวดทราย ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 45.7 เซนติเมตร คุณภาพของน้ำในแหล่งที่พบอาศัยมีอุณหภูมิระหว่าง 22-25 องศาเซลเซียส ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ประมาณ 6.0-8.0 มีรูปร่างแบนข้างและลำตัวป้อม ส่วนหัวค่อนข้างใหญ่ ตาโต ปากกว้าง ริมฝีปากหนา ลำตัวมีสีน้ำตาลอมเขียว ที่ขอบของแผ่นกระดูกปิดเหงือกและด้านล่างของลำตัวมีสีส้มอมแดงหรือส้มจาง ๆ ที่ด้านบนของคอดหางมีจุดกลมสีดำคล้ายลูกตาดำและมีวงสีส้มอมแดงล้อมรอบ เป็นปลาที่ว่ายน้ำช้า กินสัตว์อื่นเป็นอาหารได้หลากหลาย ทั้งสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ และแมลงด้วย ปลาออสการ์ เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในพื้นถิ่น โดยจะพบวางขายกันในตลาดสด มีชื่อเรียกในภาษาถิ่นว่า Acará-acu และเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะการเป็นปลาสวยงาม ซึ่งนิยมเลี้ยงกันมาอย่างยาวนาน จัดเป็นปลาที่มีนิสัยดุร้ายก้าวร้าวชนิดหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่เลี้ยงดูลูกอ่อน ทั้งเพศผู้และเพศเมีย ในราวต้นพุทธทศวรรษ 2500 ถือเป็นปลาหมอสีชนิดแรก ๆ ที่นำเข้ามาสู่ประเทศไทย ในฐานะปลาสวยงาม ซึ่งมีราคาซื้อขายแพงมาก โดยตกคู่ละ 500 บาท (ราคาทองคำแท่งในขณะนั้นบาทละ 400 บาท) ปัจจุบัน มีการเพาะเลี้ยงกันจนมีสีสันที่สวยงามกว่าสายพันธุ์ดั้งเดิมมาก เช่น ปลาเผือก, สีเหลืองสดหรือสีทองหรือสีแดงสดทั้งตัว รวมทั้งมีแบบที่มีครีบยาวกว่าปกติด้วย โดยชื่อ "ออสการ์" นั้นมาจากชื่อกลางของนักมีนวิทยาชาวสวีเดน สเวน ออสการ์ คูลเลนเดอร์ ที่ศึกษาโดยเฉพาะกับปลาในวงศ์ปลาหมอสี.

ใหม่!!: สีส้มและปลาออสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอะราไพม่า

ปลาอะราไพม่า หรือที่นิยมเรียกกันในภาษาไทยว่า ปลาช่อนยักษ์อเมซอน (Arapaima) ปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาอะราไพม่า (Arapaimidae) ในอันดับปลาลิ้นกระดูก (Osteoglossiformes) (ในข้อมูลเก่าจะระบุให้อยู่ในวงศ์ปลาตะพัด (Osteoglossidae)).

ใหม่!!: สีส้มและปลาอะราไพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอะโรวานาออสเตรเลียจุด

ปลาอะโรวาน่าออสเตรเลียจุด หรือ ปลาตะพัดออสเตรเลียจุด (Spotted arowana, Dawson river salmon) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะพัด (Osteoglossidae) มีรูปร่างใกล้เคียงปลาตะพัด (S. formosus) ที่พบในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มากที่สุด แต่มีเกล็ดขนาดเล็กกว่า ลักษณะลำตัวยาวเรียวกว่าปลาตะพัดชนิดอื่น ๆ อย่างเห็นได้ชัด บริเวณสันหลังตรง ลำตัวบริเวณด้านหลังและด้านข้างลำตัวเป็นสีน้ำตาล หรือน้ำตาลอมเขียว หรือเหลืองอมเขียว บริเวณส่วนท้องสีจางกว่าลำตัว มีเกล็ดตามเส้นข้างตัว 35 เกล็ด มีจุดสีส้มอมแดงหรือชมพู สะท้อนแสงบนเกล็ดแต่ละเกล็ดจำนวน 1-2 จุด ยิ่งโดยเฉพาะในปลาที่โตเต็มที่จะเห็นได้ชัดเจน อันเป็นที่มาของชื่อ ครีบมีขนาดเล็กกว่าปลาตะพัด ครีบหลังและครีบก้นสีส้ม ขอบครีบทั้งสองมีแถบสีน้ำตาลดำ ครีบก้นยาวกว่าครีบหลังเล็กน้อยมีก้านครีบ 31 ก้าน ครีบหลังมีก้านครีบ 20 ก้าน หัวมีลักษณะกลมป้านและสั้นกว่าปลาตะพัด หนวดทั้งคู่ม้วนงอเข้าหาหัว ปลาในวัยเล็กไม่มีจุดสีแดงดังกล่าวและมีสีลำตัวออกเงินแวววาว โตเต็มที่ประมาณ 90 เซนติเมตร พบในภาคตะวันออกและเหนือของประเทศออสเตรเลีย บริเวณรัฐควีนส์แลนด์และนอร์เทิร์นเทร์ริทอรี นอกจากนี้ยังพบในประเทศอินโดนีเซียบริเวณอิเรียนจายาและเกาะนิวกินี ด้วย โดยชื่อวิทยาศาสตร์ leichardti ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่ ลูดวิก ลิชฮาร์ท นักสำรวจธรรมชาติชาวปรัสเซีย ที่ค้นพบปลาชนิดนี้ โดยสถานที่ค้นพบครั้งแรก คือ แม่น้ำเบอดีกิน ปัจจุบันมีสถานภาพเป็นปลาที่ขึ้นบัญชีหมายเลข 1 (Appendix I) ตามอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าใกล้สูญพันธุ์ (CITES) เป็นปลาที่พบได้ยากในธรรมชาติ แต่สามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้แล้ว นิยมเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงาม แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยมนัก จึงจัดเป็นปลาหายากในแวดวงปลาตู้ ทำให้มีราคาซื้อขายค่อนข้างสูง ซึ่งปลาตะพัดชนิดนี้มีนิสัยขี้ตกใจมากที่สุดในบรรดาปลาตะพัดทั้งหมด มีชื่อเรียกในภาษาพื้นถิ่นว่า บารามุนดี (Barramundi) หรือ ซาราโตก้า (Saratoga).

ใหม่!!: สีส้มและปลาอะโรวานาออสเตรเลียจุด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอะโรวาน่าเอเชีย

ปลาอะโรวาน่าเอเชีย หรือ ปลาตะพัดเอเชีย (Asian arowana) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่งในสกุล Scleropages (/สะ-เคอ-โอ-พา-กิส/) ในวงศ์ Osteoglossidae ถือเป็นปลาโบราณที่สืบเผ่าพันธุ์มาจากปลาในยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยมีลักษณะรูปร่างไม่ต่างจากบรรพบุรุษในยุคก่อนประวัติศาสตร์มากนัก เป็นปลาที่มีวิวัฒนาการแยกออกจากปลาสกุลอื่นในวงศ์เดียวกัน เมื่อกว่า 140 ล้านปีก่อน ในยุคครีเตเชียสตอนต้น.

ใหม่!!: สีส้มและปลาอะโรวาน่าเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอามาทัส

ปลาอามาทัส (ชื่อวิทยาศาสตร์: Hydrolycus armatus) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาฟันสุนัข (Cynodontidae) ในอันดับปลาคาราซิน รูปร่างคล้ายกับ ปลาสคอมบิรอยด์ (H. scomberoides) มาก ซึ่งเป็นปลาที่อยู่ในสกุลเดียวกันมาก ต่างกันที่ปลาอามาทัสมีครีบทุกครีบเล็กกว่า และมีสีแดง ครีบไขมันสีส้มเข้ม หัวมีขนาดใหญ่กว่าและหักลง ไม่ชี้ขึ้นเหมือนปลาสคอมบีรอยด์ และลำตัวเป็นสีเหลืองทองในปลาขนาดเล็ก แต่จะเปลี่ยนเป็นสีเงินวาวเมื่อปลามีขนาดใหญ่ขึ้น นอกจากนี้แล้ว จุดเด่นที่สำคัญคืออีกประการหนึ่งคือ เมื่อปลาโตเต็มที่ เขี้ยวคู่ล่างที่กรามล่างจะยาวแหลมออกมาจากปากอย่างเห็นได้ชัดนับว่าเป็นปลาที่มีฟันเขี้ยวใหญ่และแหลมคมที่สุดสำหรับปลาในวงศ์นี้ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 60-80 เซนติเมตร ซึ่งก็นับได้อีกว่าเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมเป็นฝูงในระดับกลางน้ำในปลาวัยเล็ก หากินโดยล่าปลาและกุ้งต่าง ๆ เป็นอาหาร และถึงแม้ว่าจะเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่กว่าก็ตาม ก็สามารถใช้ปากและเขี้ยวที่แหลมคมนี้จับและกลืนกินได้ รวมถึงมีพฤติกรรมกินพวกเดียวกันเองด้วย พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำอเมซอนและสาขา, ลุ่มแม่น้ำโอริโนโค รวมถึงแม่น้ำกายอานา นิยมตกเป็นเกมกีฬา และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามที่ต้องนำเข้าจากอเมริกาใต้ จัดเป็นปลาที่มีราคาสูงชนิดหนึ่ง ในประเทศไทยมีชื่อเรียกปลาอามาทัสในแวดวงปลาสวยงามว่า "อามาทัสหางดำ" ทั้งนี้เพื่อมิให้สับสนกับปลาทาทูเอีย (H. tatauaia) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกันอีกชนิดหนึ่ง ที่มีความใกล้เคียงกันมาก ยิ่งโดยเฉพาะในปลาขนาดเล็ก ซึ่งปลาทาทูเอียจะถูกเรียกว่า "อามาทัสหางแดง" ทั้งนี้ เมื่อปลาทั้ง 2 ชนิดนี้เมื่อโตขึ้นจึงจะเห็นความแตกต่างได้ชัดเจน กล่าวคือ ปลาอามาทัสจะมีครีบหางเป็นสีดำ ขณะที่ปลาทาทูเอียจะเป็นสีแดง อีกทั้ง การนำเข้าปลาในวงศ์นี้ในระยะแรกเริ่มจะสับสนจะปะปนกันมา ปลาอามาทัสจะถูกปะปนเข้ามาพร้อมกับปลาสคอมบิรอยด์และปลาทาทูเอีย แม้แต่ในต่างประเทศก็พบกรณีเช่นนี้ แต่เมื่อเลี้ยงในที่เลี้ยงแล้ว พบว่า ปลาอามาทัสมีนิสัยไม่ขี้ตกใจเหมือนปลาในวงศ์เดียวกันนี้ชนิดอื่น ๆ มีนิสัยที่ดุกว่า และเติบโตได้เร็วกว่า และมีราคาที่แพงกว.

ใหม่!!: สีส้มและปลาอามาทัส · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอีกอง

ปลาอีกอง หรือ ปลาที-บาร์บ หรือ ปลาโสร่ง (T-barb, Spanner barb) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างคล้ายปลาเสือข้างลาย (Puntigrus partipentazona) และปลาเสือสุมาตรา (P. tetrazona) ซึ่งเป็นปลาในวงศ์เดียวกัน แต่ปลาอีกองมีรูปร่างป้อมสั้นกว่า มีสีลำตัวขาวอมเหลืองหรือชมพู มีแถบสีดำในแนวตั้ง 2 แถบดูแลคล้ายตัวที (T) ในภาษาอังกฤษ แถบแรกอยู่ใกล้ช่องเปิดเหงือกและอีกแถบอยู่บริเวณฐานครีบหลัง ลำตัวตอนท้ายจะมีแถบสีดำในแนวนอนยาวไปถึงโคนครีบหาง มีจุดสีดำเป็นวงกลมขนาด 2 จุดอยู่บริเวณเหนือฐานครีบก้น ครีบทุกครีบมีสีส้มปนแดง ยกเว้นครีบอกมีสีเหลือง ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 10 เซนติเมตร แต่พบใหญ่ที่สุดถึง 20 เซนติเมตร แต่ที่พบโดยเฉลี่ยยาวประมาณ 5 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในเขตต้นน้ำลำธารหรือน้ำตกบนภูเขา ในประเทศไทยพบได้ในภาคใต้ตั้งแต่ จังหวัดตรัง เป็นต้นไป และพบเรื่อยไปจนถึงมาเลเซีย, สิงคโปร์และอินโดนีเซีย นิยมเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงาม ร่วมกับปลาชนิดอื่นที่มีความใกล้เคียงกัน เช่น ปลาเสือข้างลาย และปลาเสือสุมาตรา หรือปลามะไฟ (Pethia stoliczkana) เป็นต้น.

ใหม่!!: สีส้มและปลาอีกอง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอเล็กซานดรี่

ปลาอเล็กซานดรี่ (パカモン) เป็นปลากระดูกแข็งในอันดับปลาหนังชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Pseudopimelodidae จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Lophiosilurus มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับปลาในวงศ์ Chacidae โดยเฉพาะในปลาวัยอ่อน กล่าวคือ มีส่วนหัวที่แบนราบมาก ตาเล็ก ปากกว้างมาก มีหนวด 2 เส้นตรงมุมปากคนละข้าง และอีก 2 เส้นตรงใต้คาง ลำตัวเป็นสีเขียวอมส้ม มีจุดกระน้ำตาล ครีบทุกครีบมีขนาดเล็ก กระจายพันธุ์ในแม่น้ำเซาฟรังซีสกูในบราซิล โดยมีชื่อเรียกในภาษาถิ่นว่า "ปาคาม่า" (Pacamã) มีพฤติกรรมมักจะอยู่นิ่ง ๆ กับพื้นน้ำหรือฝังตัวใต้ทรายเพื่อรออาหารได้แก่ ปลาขนาดเล็กและสัตว์น้ำทั่วไป ขนาดความยาวโดยเฉลี่ยเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 60 เซนติเมตร น้ำหนักราว 5,000 กรัม ด้วยมีหน้าตาประหลาด จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม ซึ่งจัดว่าเป็นปลาที่มีราคาแพงชนิดหนึ่ง โดยมีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษว่า "ปลากดหน้ากบ" (Frog-faced catfish) หรือ "ปลากดแพ็ค-แมน" (Pac-man catfish).

ใหม่!!: สีส้มและปลาอเล็กซานดรี่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาผีเสื้อนกกระจิบ

ปลาผีเสื้อนกกระจิบ (Copperband butterflyfish, Beak coralfish) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chelmon rostratus ในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) มีลำตัวแบนข้าง ลบลำตัวมีสีขาวคาดด้วยแถบสีส้มจำนวน 4 แถบ โดย 2 แถบแรกมีขอบสีดำตัดบาง ๆ ทั้งด้านหน้าและหลัง ปลายครีบบนและครีบล่างเจือด้วยปื้นสีส้ม โคนหางมีจุดสีดำเล็ก ๆ และมีจุดสีดำขนาดใหญ่บริเวณโคนครีบบนหนึ่งจุด คล้ายตา เพื่อใช้หลอกล่อศัตรูให้เข้าใจผิดคิดว่าเป็นดวงตาจริง ๆ ในขณะที่ดวงตาแท้ ๆ มีแถบสีส้มคาดเพื่ออำพรางไม่ให้ดูเด่นกว่าจุดวงกลมสีดำนั้น ปากยื่นยาวและมีขนาดเล็กคล้ายหลอด ใช้สำหรับดูดกินหรือแทะกินสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก หรือ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังต่าง ๆ ที่อาศัยตามแนวปะการังที่หลบตามซอกหลีบได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้แล้วยังสามารถกินดอกไม้ทะเลแก้ว (Aiptasia spp.) ซึ่งเป็นดอกไม้ทะเลขนาดเล็กที่หนวดพิษสามารถทำร้ายปะการังได้ด้วย นับเป็นปลาที่มีความสำคัญต่อระบบนิเวศในทะเลชนิดหนึ่ง ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 20 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในแนวปะการังของมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก เช่น ทะเลอันดามัน, อ่าวไทย, หมู่เกาะริวกิว จนถึงออสเตรเลีย เป็นปลาที่ได้รับความนิยมในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม จัดเป็นปลาที่ราคาไม่แพง เลี้ยงง่าย แต่ไม่อาจจะฝึกให้กินอาหารสำเร็จรูปได้เหมือนปลาผีเสื้อชนิดอื่น ๆ ซึ่งผู้เลี้ยงต้องให้กินอาหารสด เช่น ไรทะเลหรือเนื้อหอยชนิดต่าง ๆ อีกทั้งยังเป็นปลาที่ต้องรวบรวมมาจากแหล่งน้ำรรมชาติ ซึ่งในปลาขนาดกลางที่ไม่เล็กไปหรือใหญ่ไป ราว ๆ 2.5-3.5 นิ้ว เป็นขนาดที่กำลังพอดีที่จะนำมาเลี้ยง เพราะปลาจะปรับตัวให้เข้ากับตู้เลี้ยงได้ไม่ยากนัก ไม่ตื่นกลัวเหมือนปลาใหญ่หรืออ่อนแอเกินไปเหมือนปลาขนาดเล็ก อนึ่ง ปลาผีเสื้อนกกระจิบนั้น ในแวดวงของการดำน้ำยังมีการเรียกปนกับปลาผีเสื้อจมูกยาวในสกุลปลาผีเสื้อจมูกยาว ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คือ ปลาผีเสื้อจมูกยาวใหญ่ (Forcipiger longirostris) และปลาผีเสื้อจมูกยาวเหลือง (F. flavissimus) ซึ่งปลาทั้ง 2 ชนิดนั้นมีสีสันที่แตกต่างออกจากปลาผีเสื้อนกกระจิบพอสมควร โดยมีสีเหลืองสดเป็นสีพื้นเป็นหลัก.

ใหม่!!: สีส้มและปลาผีเสื้อนกกระจิบ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาจาดแถบดำ

ปลาจาดแถบดำ หรือ ปลาตะเพียนสมพงษ์ เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Poropuntius melanogrammus อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะลำตัวแบนข้างเล็กน้อย หัวสั้น ปากเรียวเล็ก ริมฝีปากล่างเป็นขอบแข็งและคม ลำตัวสีเงินแวววาว ด้านบนสีคล้ำหรืออมม่วง ครีบมีสีแดงเรื่อ ๆ ครีบหางเว้าลึกมีขอบด้านบนสีคล้ำหรือสีแดงส้ม ครีบหลังสูง มีขนาดความยาวประมาณ 20 เซนติเมตร เป็นปลาที่เพิ่งถูกอนุกรมวิธานในปี พ.ศ. 2541 พบอาศัยอยู่เป็นฝูงเล็ก ๆ ราว 5-10 ตัว ในบริเวณที่มีน้ำไหลแรง ในลุ่มแม่น้ำแม่กลองและสาขาในบริเวณที่มีป่าไม้ปกคลุม จัดเป็นปลาที่พบเฉพาะถิ่นที่พบได้น้อย กินอาหารจำพวก พืชน้ำและตะไคร่น้ำตามโขดหินหรือไม้ใต้น้ำ นิสัยรักสงบ ปลาจาดแถบดำ ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "จาด" หรือ "หางแดง".

ใหม่!!: สีส้มและปลาจาดแถบดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาทาทูเอีย

ปลาทาทูเอีย หรือชื่อที่นิยมเรียกกันในวงการปลาสวยงามว่า ปลาอามาทัสหางแดง (Tatauaia, Red-tailed payara) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hydrolycus tatauaia จัดอยู่ในวงศ์ปลาฟันสุนัข (Cynodontidae) มีรูปร่างและลักษณะคล้ายกับปลาในสกุลเดียวกันคือ Hydrolycus ชนิดอื่น ๆ มาก เช่น ปลาสคอมบิรอยด์ (H. scomberoides) หรือ ปลาอามาทัส (H. armatus) แต่ทว่า ปลาทาทูเอียจะมีส่วนหัวหรือปากที่เชิดขึ้นน้อยกว่าปลาสคอมบิรอยด์ แต่มากกว่าปลาอามาทัส ลำตัวเพรียวยาวกว่าปลาสคอมบีรอยด์ แต่ก็ไม่เท่าปลาอามาทัส ส่วนท้องโย้ลงมาด้านล่างเป็นสันน้อยกว่าปลาสคอมบีรอยด์ แต่ก็มากกว่าปลาอามาทัส การทรงตัวในน้ำส่วนหัวจะทิ่มลงน้อยกว่าปลาสคอมบีรอยด์ แต่ก็มากกว่าปลาอมาทัสซึ่งมักจะทรงตัวเป็นแนวราบมากกว่า อีกทั้งมีดวงตาที่กลมโตกว่า อีกทั้งปลาในสกุลนี้ เมื่อยังเล็ก จะมีสีสันและลักษณะคล้ายคลึงกันมาก ยากแก่การแยกแยะ โดยที่ปลาทาทูเอียจะคงสีครีบและหางเป็นสีส้มแดงจนถึงวัยเติบโตเต็มที่ ขณะที่ยังเป็นปลาวัยรุ่นครีบต่าง ๆ จะเป็นสีทอง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 45.5 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในลุ่มน้ำอเมซอน ตอนบนของแม่น้ำโอรีโนโกแถบประเทศบราซิล, โคลอมเบีย และกายอานา นิยมตกกันเป็นเกมกีฬาและเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งในบางครั้งอาจพบปะปนกันมาพร้อมกันทั้ง 3 ชนิด และขายในชื่อและราคาเดียวกัน.

ใหม่!!: สีส้มและปลาทาทูเอีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาคิลลี่ฟิชราโชวี่อาย

ปลาคิลลี่ฟิชราโชวี่อาย (Bluefin notho, Rainbow killifish) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาคิลลี่ฟิช ในวงศ์ปลาหัวตะกั่ว (Aplocheilidae) จัดเป็นปลาขนาดเล็ก ตัวผู้ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 5 เซนติเมตร ตัวเมียขนาด 4 เซนติเมตร เป็นปลาที่มีสีสันสวยงามมาก โดยมีลำตัวสีส้มแดง เกล็ดมีสีฟ้าสะท้อนแสง ครีบหางเป็นสีส้ม ขอบหางสีดำ กระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกาตะวันออกจนถึงแอฟริกาใต้ เช่น อุทยานแห่งชาติครูเกอร์ในแอฟริกาใต้ โดยมักพบในแหล่งน้ำตื้น ๆ ที่จะแห้งเหือดลงในฤดูร้อน แพร่กระจายพันธุ์โดยการวางไข่ฝังไว้ในพื้นดิน ในขณะที่ปลาตัวพ่อและแม่จะตายไป จึงเป็นปลาที่มีวงจรชีวิตสั้น ซึ่งไข่สามารถที่จะผ่านพ้นช่วงน้ำแห้งไปได้จนกระทั่งฝนตกลงมาใหม่ ทำให้แหล่งน้ำเต็มอีกครั้ง ลูกปลาจึงฟักเป็นตัว โดยไข่สามารถเก็บไว้ได้นานถึง 1-8 เดือน เป็นปลาที่มีความสวยงามมากชนิดหนึ่ง จึงนิยมที่จะเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ ซึ่งสามารถเก็บไข่ปลาในลักษณะแห้งซื้อขายส่งต่อเพื่อที่จะนำมาฟักต่อกันเองได้.

ใหม่!!: สีส้มและปลาคิลลี่ฟิชราโชวี่อาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะพัด

ปลาตะพัด หรือที่นิยมเรียกว่า ปลาอาโรวาน่า (Malayan bonytongue fish, Arowana, Asian arowana, Arawana) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะพัด (Osteoglossidae) ซึ่งถือได้ว่าเป็นปลาที่สืบเผ่าพันธุ์มาตั้งแต่ปลาในยุคก่อนประวัติศาสตร์ จัดได้ว่าเป็นซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตชนิดหนึ่ง นับว่าเป็นปลาที่ใกล้สูญพันธุ์ในธรรมชาติ เนื่องจากเป็นปลาที่สืบพันธุ์ยาก ประกอบกับแหล่งที่อยู่ถูกทำลายไป ได้รับความนิยมอย่างสูงของนักเลี้ยงปลาสวยงาม ในฐานะของปลาสวยงาม ราคาแพง และถือเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สีส้มและปลาตะพัด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะพากส้ม

ปลาตะพากส้ม, ปลาจาด หรือ ปลาจาดแมลคัม (Goldfin tinfoil barb) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hypsibarbus malcolmi ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) จัดเป็นปลาที่มีรูปร่างและขนาดใกล้เคียงปลาตะพากเหลือง (H. wetmorei) ซึ่งเป็นปลาที่อยู่ในสกุลเดียวกัน แต่ต่างกันตรงที่ครีบก้นมีลักษณะโค้งเหมือนเคียว ครีบและหางเป็นสีแดงหรือสีส้ม รูปร่างอ้วนป้อมกว่า แต่ขนาดและรูปร่างใกล้เคียงกัน มีลำตัวกว้างและแบนข้าง เกล็ดค่อนข้างใหญ่ จำนวนแถวของเกล็ดตามแนวเส้นข้างลำตัวมี 26 แถว ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยว 3 ก้าน ก้านครีบเดี่ยวก้านสุดท้ายเป็นหนามแข็งขอบจักเป็นฟันเลื่อย มีก้านครีบแขนง 8 ก้าน ครีบหางเป็นแฉกลึกและยาวมากกว่าความยาวหัว ครีบก้นมีก้านครีบเดี่ยว 3 ก้าน และมีก้านครีบแขนง 5 ก้าน ลำตัวมีสีขาวเงินสะท้อนแสง และมีลายดำเชื่อมต่อกันระหว่างเกล็ดดูคล้ายตาข่าย ปลาตะพากส้มแพร่ขยายพันธุ์โดยมนุษย์ เป็นครั้งแรกจากการผสมเทียมจากสถานีประมงน้ำจืด จังหวัดเพชรบุรี พบว่าวางไข่ระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงธันวาคม ไข่เป็นประเภทไข่ติด มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 50 เซนติเมตร พบได้ที่แม่น้ำเพชร ที่จังหวัดเพชรบุรี และแม่น้ำปิง ที่จังหวัดตาก และแม่น้ำสายใหญ่ ๆ ทั่วประเทศไทย ที่พบบ่อยคือ แม่น้ำแม่กลองและแม่น้ำโขง ยกเว้นแม่น้ำสาละวิน ปลาตะพากส้มได้รับการอนุกรมวิธานจาก ฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ นักวิชาการประมงชาวอเมริกัน ได้เก็บตัวอย่างต้นแบบจากแม่น้ำปิง เมืองระแหง ซึ่งปัจจุบันคือ จังหวัดตาก เมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1924 เมื่อตรวจสอบแล้วพบว่าเป็นปลาชนิดใหม่ จึงส่งตัวอย่างไปยังพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ แห่งกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร และตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ แมลคัม อาเธอร์ สมิธ นักมีนวิทยาและวิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกชาวอังกฤษที่เข้ามาศึกษาสัตว์ทั้งสองประเภทนี้ในประเทศไทย มีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ปลาปีกแดง" นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: สีส้มและปลาตะพากส้ม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะโกกหน้าสั้น

ปลาตะโกกหน้าสั้น เป็นปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Albulichthys มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาตะโกก (Cyclocheilichthys spp.) แต่มีส่วนหน้าที่สั้น หัวเล็ก ตาโต ปากเล็กสั้นมน ลำตัวสีเงินวาวอมเหลือง ครีบสีเหลือง ครีบหลังสั้น ครีบอก ครีบท้อง และครีบก้นเล็ก ครีบหางเว้าลึกสีส้มหรือสีแดง และมีขอบสีคล้ำ กินอาหารได้แก่ อินทรียสารหรือสัตว์หน้าดินขนาดเล็ก มีขนาดความยาวลำตัวประมาณ 15-35 เซนติเมตร ปัจจุบันเป็นปลาที่มีสถานะภาพใกล้สูญพันธุ์แล้ว เนื่องจากเป็นปลาที่พบได้เฉพาะลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาเท่านั้น.

ใหม่!!: สีส้มและปลาตะโกกหน้าสั้น · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะเพียนสาละวิน

ปลาตะเพียนสาละวิน หรือ ปลาตะพากสาละวิน ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hypsibarbus salweenensis ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เป็นปลาตะพากชนิดหนึ่ง มีขนาดความยาวประมาณ 20–40 เซนติเมตรเท่านั้น จัดเป็นปลาที่เล็กกว่าปลาตะพากชนิดอื่น มีลักษณะคือ ครีบหลังยกสูงตอนปลายมีสีดำ มีก้านครีบแข็งที่อันที่ 2 หยักที่ขอบด้านท้าย ครีบก้นสูงและมีฐานครีบสั้น เกล็ดไม่มีสีเหลืองหรือสีส้มหรือสีแดงเช่นปลาตะพากชนิดอื่น ๆ และมีรูปร่างที่ยาวกว่าปลาตะพากชนิดอื่น ๆ อย่างเห็นได้ชัด มีพฤติกรรมที่ไม่ทราบแน่นอนและพบเฉพาะลุ่มน้ำสาละวินในภาคตะวันตกของไทยที่ติดกับชายแดนพม่าเท่านั้น.

ใหม่!!: สีส้มและปลาตะเพียนสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะเพียนหยดน้ำ

ปลาตะเพียนหยดน้ำ (Snakeskin barb) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างคล้ายกับปลาเสือสุมาตรา (Puntigrus tetrazona) หรือปลาเสือข้างลาย (P. partipentazona) ซึ่งเดิมเคยอยู่ร่วมสกุลเดียวกัน แต่ปลาตะเพียนหยดน้ำมีรูปร่างที่ยาวกว่าอย่างเห็นได้ชัดเจน มีสีลำตัวน้ำตาลออกส้ม มีสีดำเป็นรูปหยดน้ำ 4-5 แถบ เป็นลักษณะเด่น มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 5 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอยู่รวมตัวกันเป็นฝูงเหมือนปลาชนิดอื่นในสกุลเดียวกัน โดยแพร่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ติดกับใบของไม้น้ำ ไข่ฟักเป็นตัวภายใน 24-36 ชั่วโมง พบเฉพาะในแหล่งน้ำที่มีสีชา ด้วยมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (Ph) ของน้ำต่ำกว่า 7 เช่น น้ำในป่าพรุ บนเกาะบอร์เนียว เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะการเลี้ยงในตู้ไม้น้ำ รวมกับปลาชนิดอื่น ๆ จัดเป็นปลาที่เลี้ยงได้ง่ายมาก สามารถกินได้ทั้งอาหารสดและอาหารสำเร็จรูป.

ใหม่!!: สีส้มและปลาตะเพียนหยดน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตั๊กแตนหินสองสี

ปลาตั๊กแตนหินสองสี หรือ ปลาตุ๊ดตู่สองสี (Bicolor blenny) ปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตั๊กแตนหิน (Blenniidae) มีรูปร่างคล้ายกับปลาบู่ แต่ตัวป้อมสั้นกว่าและแบนข้าง ริมฝีปากหนา เหนือตามีติ่งสั้น ๆ เป็นเส้น ครีบหลังเว้าเป็นสองตอน ครีบอกใหญ่ ครีบท้องเป็นเส้นเล็ก ลำตัวแบ่งเป็นสีสองสีชัดเจน คือ ลำตัวช่วงแรกเป็นสีเทา ขณะที่ด้านหลังเป็นสีส้ม มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ย 10-12 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในโพรงหินหรือซอกหินในแนวปะการัง ในความลึกระดับ 1-21 เมตร กินอาหารจำพวก แพลงก์ตอนสัตว์และสัตว์น้ำหน้าดินขนาดเล็ก พบกระจายพันธุ์ในทะเลแถบฟิจิ, อินโดนีเซีย และศรีลังกา ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน จัดเป็นปลาที่พบได้บ่อย นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: สีส้มและปลาตั๊กแตนหินสองสี · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามหางไหม้ (ไทย)

ปลาหางไหม้ หรือที่นิยมเรียกกันว่า ปลาฉลามหางไหม้ (Burnt-tailed barb, Siamese bala-shark) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ปลาหางไหม้ มีรูปร่างและทรวดทรงที่เพรียวยาว ตาโต ปากเล็ก ขยับปากอยู่ตลอดเวลา ใต้คางมีแผ่นหนังเป็นถุงเปิดออกด้านท้าย ลำตัวแบนข้างเล็กน้อย เกล็ดมีขนาดเล็กสัดส่วนของครีบทุกครีบเหมาะสมกับลำตัว โดยเฉพาะครีบหางซึ่งเว้าเป็นแฉกลึก สีของลำตัวเป็นสีเงินแวววาว ด้านหลังสีเขียวปนเทา ครีบหลัง ครีบท้อง ครีบก้นและครีบหาง สีส้มแดงและขอบเป็นแถบดำ อันเป็นที่มาของชื่อ ว่ายน้ำได้ปราดเปรียวมาก และกระโดดขึ้นได้สูงจากน้ำมาก มีขนาดโตเต็มราว 20–30 เซนติเมตร นิยมอยู่เป็นฝูง หากินตามใต้พื้นน้ำ ในอดีตพบชุกชุมในเขตที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ในประเทศไทย แต่ปัจจุบันไม่พบแล้ว เชื่อว่าได้สูญพันธุ์ไปจนหมดแล้ว สันนิษฐานว่าเป็นผลมาจากการจับจากธรรมชาติเพื่อจำหน่ายเป็นปลาสวยงาม แต่ก็เพียงข้อสันนิษฐาน โดยถือว่าเป็นสิ่งมีชีวิตถิ่นเดียว แม้จะมีรายงานพบในลุ่มแม่น้ำโขง ในเวียดนาม, กัมพูชา และลาว แต่ทว่าก็ยังไม่มีหลักฐานยืนยัน และไม่เป็นที่ยอมรับจาก IUCN ซึ่งในอดีตปลาหางไหม้ได้ถูกใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ร่วมกับปลาฉลามหางไหม้ชนิดที่พบในประเทศอินโดนีเซีย (B. melanopterus) และถูกใช้ชื่อวิทยาศาสตร์และข้อมูลนี้มาโดยตลอด จนกระทั่งในปี ค.ศ. 2007 มีการจัดอนุกรมวิธานกันขึ้นมาใหม่ Ng, Heok Hee; Kottelat, Maurice (2007).

ใหม่!!: สีส้มและปลาฉลามหางไหม้ (ไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวกาแล็กซี

ปลาซิวกาแล็กซี (celestial pearl danio, halaxy rasbora) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง เป็นปลาจำพวกปลาซิว ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ปลาซิวกาแล็กซีเป็นปลาที่มีลวดลายและสีสันสวยงามมาก โดยเฉพาะในตัวผู้ โดยจะมีลำตัวสีน้ำตาลเข้มถึงดำ และมีลายจุดสีทองกระจายอยู่ทั่วตัว อีกทั้งยังมีสีส้มแดงสลับดำตามครีบหลัง ครีบหางและครีบท้อง ทำให้แลดูคล้ายท้องฟ้าและหมู่ดาวในดาราจักร (กาแล็กซี) ในเวลาค่ำคืน อันเป็นที่มาของชื่อเรียก มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 1.5-2 เซนติเมตร ปลาซิวกาแล็กซีได้รับการค้นพบครั้งแรกในเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: สีส้มและปลาซิวกาแล็กซี · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวหัวตะกั่วอินเดีย

ปลาซิวหัวตะกั่วอินเดีย (Indian glass barb, Indian hatchetfish) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิวและปลาท้องพลุ ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลำตัวรูปร่างกว้าง แบนข้างจนริมท้องเป็นสัน ช่วงท้องลึก มีครีบอกแหลมยาว ก้านครีบของครีบท้องยื่นยาวเป็นเส้นเดี่ยว เส้นข้างลำตัวสมบูรณ์ ลำตัวมีลักษณะโปร่งแสงเป็นสีเงินแกมเขียวแววาวสะท้อนแสง มีจุดเด่นคือมีลายเส้นจุดสีน้ำเงินเข้มยาวตั้งแต่ฐานครีบอกไปจนถึงฐานของครีบหาง ด้านหลังของลำตัวจะมีสีเข้ม ครีบต่าง ๆ มีสีเหลืองอ่อนหรือสีส้มปนน้ำตาล มีความยาวประมาณ 4 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในอนุทวีปอินเดียจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่เป็นแผ่นดินใหญ่และหมู่เกาะต่าง ๆ สำหรับในประเทศไทยจะพบได้ที่ แหล่งน้ำทางภาคตะวันออกและภาคใต้ตอนบน มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงเล็ก ๆ ในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ ที่มีพันธุ์ไม้ต่าง ๆ ขึ้นครึ้ม กินแมลงที่ตกลงน้ำเป็นอาหารหลัก เมื่อตกใจสามารถที่จะกระโดดเหินขนานไปกับผิวน้ำได้เป็นระยะทางสั้น ๆ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ปลาแปบ" หรือ "ปลาท้องพลุ".

ใหม่!!: สีส้มและปลาซิวหัวตะกั่วอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวหนู

ปลาซิวหนู (Least rasbora, Exclamation-point rasbora) เป็นปลาซิวชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะคล้ายปลาซิวชนิดอื่น แต่มีขนาดเล็กกว่ามาก หัวและตามีขนาดโต ปากมีขนาดเล็ก ครีบและเกล็ดมีขนาดใหญ่ หัวและลำตัวมีสีส้มหรือแดงอมส้ม มีแถบสีดำพาดตามแนวยาวกลางลำตัว โคนหางมีจุดสีคล้ำ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 1.5-2 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอยู่รวมตัวกันเป็นฝูงขนาดใหญ่และว่ายขึ้นมาใกล้ผิวน้ำ ในแหล่งน้ำที่นิ่งมีหญ้าและพืชน้ำขึ้นหนาแน่น และน้ำมีสภาพเป็นกรดเล็กน้อย (pH ต่ำกว่า 7 เล็กน้อย) เช่น น้ำในป่าพรุ เป็นต้น จัดเป็นปลาที่พบได้น้อยในแหล่งที่อยู่ในธรรมชาติ โดยพบกระจายทั่วไปในภูมิภาคอินโดจีน สำหรับในประเทศไทยพบเพียงไม่กี่แห่ง อาทิ พื้นที่ชุ่มน้ำชายฝั่งทะเลใกล้ปากแม่น้ำเจ้าพระยา ในที่ราบลุ่มภาคกลางของประเทศ เป็นต้น นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม ซึ่งสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในที่เลี้ยง.

ใหม่!!: สีส้มและปลาซิวหนู · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวใบไผ่แม่แตง

ปลาซิวใบไผ่แม่แตง (Fire bar danio) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิว อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะลำตัวแบนข้าง ส่วนหางเรียวยาว มีหนวดสั้น ๆ ที่มุมปาก ตัวผู้ในฤดูผสมพันธุ์มีสีสันสดใส โดยท้องและครีบก้นมีสีแดงอมส้ม แต้มบนลำตัวจะเห็นเด่นชัดขึ้น มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 4-5 เซนติเมตร โดยเป็นปลาที่ถูกค้นพบและอนุกรมวิธานไปเมื่อปี พ.ศ. 2540 จะพบแพร่กระจายพันธุ์เฉพาะในลำธารที่มีป่าปกคลุมเฉพาะลุ่มแม่น้ำแม่แตง และพื้นที่ ๆ รอบ ๆ ดอยหลวงเชียงดาว ในจังหวัดเชียงใหม่เท่านั้น จัดเป็นปลาที่พบเฉพาะถิ่นเท่านั้น โดยมีพฤติกรรมรวมกันอยู่เป็นฝูงเล็ก ๆ ใกล้กับพื้นท้องน้ำ และแพร่กระจายพันธุ์ด้วยการวางไข่ติดกับเศษใบไม้ที่ร่วงลงพื้นน้ำ นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยมีราคาซื้อขายที่ค่อนข้างสูง ปัจจุบันกรมประมงสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว.

ใหม่!!: สีส้มและปลาซิวใบไผ่แม่แตง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวใบไผ่เขียว

ปลาซิวใบไผ่เขียว หรือ ปลาไส้ขม (Blue danio, Kerr's danio, Long-barbel danio) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิว อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะรูปร่างเรียวยาว ส่วนหัวเล็ก ปากกว้าง มีหนวดยาว 2 คู่ที่ขากรรไกรบน สีลำตัวสีเขียวเข้มถึงสีน้ำเงิน ด้านข้างลำตัวมีแถบสีเหลืองสดหรือสีส้มสลับดำ มีขนาดความยาวประมาณ 3-5 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ตั้งแต่พื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทย พบได้ที่อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา จนถึงแหลมมลายู และเกาะลังกาวี ในประเทศมาเลเซีย มีพฤติกรรมอยู่รวมตัวกันเป็นฝูง ในระดับใกล้พื้นท้องน้ำ มักซ่อนตัวอยู่ใต้เศษใบไม้ โดยพบในแหล่งน้ำประเภทน้ำตกหรือลำธารบนที่สูงหรือเป็นเนินเขา เป็นปลาประเภทที่พบไม่ชุกชุม นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ มีการเพาะขยายพันธุ์และรวบรวมจากแหล่งน้ำธรรมชาติเพื่อส่งออกไปขายยังต่างประเท.

ใหม่!!: สีส้มและปลาซิวใบไผ่เขียว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปล้องอ้อยคูลี่

ปลาปล้องอ้อยคูลี่ หรือ ปลางูคูลี่ (Kuhli loach) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมูแท้ (Cobitidae) มีลำตัวเรียวยาวคล้ายงู หัวเล็ก ตาเล็ก รูจมูกมีติ่งสั้น หัวและลำตัวมีลายปล้องสีดำบนพื้นเหลืองส้ม 11-12 บั้ง ลงมาถึงด้านท้องหรือรอบตัว ครีบใส โคนครีบหลังและครีบก้นมีสีดำ มีขนาดความยาวเต็มที่ไม่เกิน 12 เซนติเมตร มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ชอบมุดใต้กองใบไม้หรือกรวดหิน พบอาศัยอยู่ในลำธารที่มีกรวดและใบไม้ร่วงหนาแน่น เคลื่อนไหวได้คล่องแคล่วว่องไวมาก ตั้งแต่บริเวณน้ำตกจนถึงที่ราบต่ำและป่าพรุ กินสัตว์หน้าดินขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร พบชุกชุมในบางแหล่งน้ำ เช่น น้ำตกภาคตะวันออกของไทยแถบจังหวัดจันทบุรี และพบไปจนถึงมาเลเซียและอินโดนีเซีย นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามและจับส่งออกไปขายยังต่างประเท.

ใหม่!!: สีส้มและปลาปล้องอ้อยคูลี่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าจุดส้ม

ปลาปักเป้าจุดส้ม หรือ ปลาปักเป้าจุดแดง ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในอันดับปลาปักเป้า มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pao abei ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) มีลักษณะทั่วไปคล้ายปลาปักเป้าดำ (P. cochinchinensis) และปลาปักเป้าปากขวด (P. cambodgiensis) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกัน แต่ปลาปักเป้าจุดส้มนั้นมีลักษณะเด่น คือ มีจุดสีแดงหรือสีส้มกระจายอยู่ทั่วตัว อันเป็นที่มาของชื่อ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 10 เซนติเมตร พบกระจายอยู่ในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในภาคกลางและลุ่มแม่น้ำโขงในภาคอีสานของประเทศไทย จัดเป็นปลาปักเป้าอีกชนิดหนึ่งที่มีนิสัยดุร้าย ก้าวร้าว ชอบกัดกินเกล็ดหรือครีบของปลาชนิดอื่นที่ติดเบ็ดหรืออวนของชาวประมง.

ใหม่!!: สีส้มและปลาปักเป้าจุดส้ม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าควาย

ปลาปักเป้าควาย หรือ ปลาปักเป้าสุวัตถิ (Arrowhead puffer; Kottelat, M. (2013): The Raffles Bulletin of Zoology, 2013, Supplement No. 27: 1–663.) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในอันดับปลาปักเป้า ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) โดยได้รับการตั้งชื่อสายพันธุ์เพื่อเป็นเกียรติแด่ ศาสตราจารย์โชติ สุวัตถิ อดีตคณบดีคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.สืบสิน สนธิรัตน และ ทรงพรรณ สุนทรสถิตย์ โดยเก็บตัวอย่างต้นแบบแรกได้จากลุ่มแม่น้ำโขงที่จังหวัดหนองคาย มีจุดเด่นคือ มีปากที่เรียวยาวปากงอนขึ้นด้านบน และยังมีลายลักษณะคล้ายหัวลูกศรที่บริเวณด้านบนระหว่างตาทั้งสองข้าง ลำตัวมีสีส้มแดงและมีจุดดำกระจายอยู่ทั่ว จัดเป็นปลาปักเป้าที่พบในน้ำจืดชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่พบในประเทศไทย ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 11 เซนติเมตร พบได้ในภาคอีสาน ในลุ่มแม่น้ำโขงและแควสาขา มีพฤติกรรมชอบฝังตัวใต้ทรายใต้พื้นน้ำเพื่อซุ่มล่าเหยื่อ ปลาปักเป้าควายจัดเป็นปลาปักเป้าชนิดหนึ่งที่มีอุปนิสัยไม่ดุร้ายมากนัก จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาตู้สวยงาม.

ใหม่!!: สีส้มและปลาปักเป้าควาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าคองโก

ปลาปักเป้าคองโก หรือ ปลาปักเป้าแดง (Congo puffer, Pooey pooer.) ปลาปักเป้าชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tetraodon miurus ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) มีรูปร่างอ้วนป้อม มีส่วนจะงอยปากที่ยาวยื่นออกมา คล้ายปลาปักเป้าควาย (Pao suvatti) ซึ่งเป็นปลาปักเป้าน้ำจืดเหมือนกัน แต่พบในทวีปเอเชีย ปลาปักเป้าคองโก มีจุดเด่น คือ สีลำตัวที่เป็นสีเดียวตลอดโดยไม่มีลวดลาย โดยมากจะเป็นสีแดงสด หรืออาจจะเปลี่ยนเป็น สีส้ม, น้ำตาล หรือแม้กระทั่งดำได้ตามอารมณ์ของปลา และสภาพแวดล้อม ขนดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 15 เซนติเมตร แพร่กระจายพันธุ์อยู่ในลุ่มแม่น้ำคองโก ในทวีปแอฟริกาตอนกลาง เป็นปลาปักเป้าที่มีนิสัยดุร้ายมากอีกชนิดหนึ่ง มีการล่าเหยื่อโดยการซุ่มซ่อนตัวในพื้นทรายใต้น้ำ โดยโผล่มาเพียงแต่จะงอยปากกับดวงตาเท่านั้น คล้ายกับปลาปักเป้าควายที่พบในลุ่มแม่น้ำโขง ในเอเชียอาคเนย์ นอกจากจะกินสัตว์น้ำมีเปลือกเช่น กุ้งหรือหอยแล้ว ปลาปักเป้าคองโกยังเป็นปลาปักเป้าอีกชนิดหนึ่ง ที่มีความว่องไวจนสามารถฉกกัดปลาชนิดอื่น กินเป็นอาหารได้อีกด้ว.

ใหม่!!: สีส้มและปลาปักเป้าคองโก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปากหนวด

ำหรับปลาปากหนวดชนิดอื่นดูที่: Hypsibarbus pierrei ปลาปากหนวด หรือ ปลาปีกแดง ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hypsibarbus vernayi ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างและขนาดใกล้เคียงปลาตะพากเหลือง (H. wetmorei) แต่ต่างกันตรงที่ครีบก้นไม่ยาวถึงโคนหางเหมือนปลาตะพากเหลือง ครีบและหางเป็นสีแดงเข้มหรือสีส้ม และถิ่นที่อยู่พบในภาคอีสาน, ภาคเหนือ และภาคกลางแถบ จังหวัดเพชรบุรี, ราชบุรี พบน้อยกว่าปลาตะพากเหลือง คือพบเป็นบางฤดูกาลเท่านั้น ความเป็นมาของปลาปากหนวด เริ่มจาก อาเธอร์ เอส. เวอร์เนย์ นักมีนวิทยาชาวอังกฤษได้เก็บตัวอย่างปลาปากหนวดได้ 2 ตัว จากอำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก จึงได้ส่งตัวอย่างให้ จอห์น ร็อกโบโรห์ นอร์แมน เพื่อตรวจสอบว่าเป็นปลาชนิดใหม่หรือไม่ ปรากฏว่าเป็นปลาชนิดใหม่ นอร์แมนจึงตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติให้แก่เวอร์เนย์ ปลาปากหนวดมีลำตัวที่แบนข้าง หัวค่อนข้างเล็ก มีหนวดยาว 2 คู่ มีเกล็ดตามลำตัวประมาณ 26-28 แถว เกล็ดรอบคอดหาง 12 แถว ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยวก้านสุดท้ายเป็นซี่แข็งและขอบจักเป็นฟันเลื่อย ตัวมีสีขาวเงินเจือเหลือง ขอบเกล็ดบนหลังแต่ละเกล็ดมีลายสีดำติดต่อกันเป็นร่างแห ปลาปากหนวด หรือ ปลาปีกแดง ในช่วงวันขึ้น 14 ค่ำ หรือ 15 ค่ำ ในเดือนมีนาคม ของทุกปี ในแม่น้ำมาง ซึ่งเป็นสาขาของแม่น้ำน่าน ในตำบลภูฟ้า อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน จะมีปรากฏการณ์ที่ปลาปากหนวดนับหมื่นหรือแสนตัวว่ายทวนน้ำขึ้นไปผสมพันธุ์และวางไข่ตามลำน้ำและโขดหิน ซึ่งปลาจะมากองรวมกัน ชาวบ้านเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า "ปลากอง" ซึ่งจะเกิดขึ้นเพียง 2 วันนี้เท่านั้น และก่อนที่จะเกิดปรากฏการณ์นี้ จะมีสิ่งบอกเหตุ คือ ท้องฟ้ามืดครึ้ม อากาศเย็นกว่าปกติ และนกเค้าแมวส่งเสียงร้อง เมื่อผสมพันธุ์และวางไข่เสร็จแล้ว จะกลับไปอาศัยอยู่ยังที่เดิม หรือบางตัวก็ตายลงตามอายุขั.

ใหม่!!: สีส้มและปลาปากหนวด · ดูเพิ่มเติม »

ปลานวลจันทร์เทศ

ปลานวลจันทร์เทศ ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cirrhinus cirrhosus อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างเรียวยาว ลำตัวกลม หัวสั้น ปากเล็ก ริมฝีปากบางมีชายครุยเล็กน้อย ครีบหลังและครีบก้นสั้น ครีบหางเว้าลึก เกล็ดมีขนาดใหญ่ หัวและลำตัวด้านบนมีสีเงินหรือสีเงิมอมน้ำตาลอ่อน ด้านท้องสีจาง ครีบมีสีส้มหรือชมพู ขอบครีบมีสีคล้ำเล็กน้อย ตามีสีทอง มีขนาดเต็มที่โดยเฉลี่ย 50-60 เซนติเมตร ขนาดใหญ่สุดที่พบ คือ 1 เมตร มีพฤติกรรมชอบหากินในระดับพื้นท้องน้ำ โดยสามารถปรับตัวได้ดีในแหล่งน้ำนิ่ง และกินอาหารด้วยวิธีการแทะเล็มพืชน้ำขนาดเล็กและอินทรีย์สาร รูปร่างโดยทั่วไปคล้ายปลานวลจันทร์ (C. microlepis) ที่พบได้ในประเทศไทย ซึ่งเป็นปลาที่อยู่ในสกุลเดียวกัน แต่ปลานวลจันทร์เทศเป็นปลาพื้นเมืองของทางเหนือของภูมิภาคเอเชียใต้ พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำคงคา, แม่น้ำสินธุจรดถึงแม่น้ำอิรวดีของพม่า นำเข้ามาสู่ประเทศไทยครั้งใน 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523 จำนวน 100 ตัว โดยอธิบดีกรมประมงในขณะนั้น เพื่อทำการขยายพันธุ์เพาะเลี้ยงเป็นปลาเศรษฐกิจ โดยทำการเลี้ยงอยู่ที่สถานีประมงน้ำจืดจังหวัดเชียงใหม่ และอีกครั้งเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2533 โดยผ่านมาจากประเทศลาว ซึ่งประสบความสำเร็จในการเพาะเลี้ยงจนขยายไปสู่ฟาร์มของเอกชนต่าง ๆ ในภาคอีสานจนกระจายมาสู่ภาคกลาง เช่นเดียวกับปลายี่สกเทศ (Labeo rohita) หรือปลากระโห้เทศ (Catla catla) ปลานวลจันทร์เทศที่อาศัยในแม่น้ำโขงสามารถปรับตัวได้เป็นอย่างดีจนสามารถแพร่ขยายพันธุ์เองได้.

ใหม่!!: สีส้มและปลานวลจันทร์เทศ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแฟนซีคาร์ป

ปลาแฟนซีคาร์ป (Fancy carp, Mirror carp; 鯉, 錦鯉; โรมะจิ: Koi, Nishikigoi-ปลาไน, ปลาไนหลากสี) เป็นปลาคาร์ปหรือปลาไน ชนิดย่อย Cyprinus carpio haematopterus.

ใหม่!!: สีส้มและปลาแฟนซีคาร์ป · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแพะเหลือง

ปลาแพะเหลือง (Sunrise goatfish, Sulphur goatfish) ปลาทะเลและปลาน้ำกร่อยชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแพะ (Mullidae) มีลำตัวยาวเล็กน้อย คางมีหนวดเรียวยาว 2 เส้น ปากบนและปากล่างมีแถบของฟันซี่เล็ก บนเพดานปากด้านข้างแต่ละข้างมีฟันหนึ่งแถบ และแนวกลางเพดานปากส่วนหน้ามีฟัน 2 หย่อมเล็ก ๆ ช่องระหว่างครีบหลังทั้ง 2 อันมีเกล็ดคั่นกลาง 5 1/2 เกล็ด แนวของคอดหางมีเกล็ด 12-13 เกล็ด ด้านหลังมีสีเขียวออกเงินหรือชมพู และกลายเป็นสีเงินบริเวณด้านข้างและท้อง ด้านข้างลำตัวมีแถบสีเหลืองทองหรือส้ม 2 แถบ พาดตามแนวยาวลำตัว เป็นลักษณะเด่น ขอบปลายสุดของครีบหลังอันแรกเป็นสีดำ ส่วนที่เหลือเป็นสีเหลืองคล้ำ 2 แถบ ขอบท้ายของครีบหางเป็นสีคล้ำ หนวดสีขาว มีความยาวโดยเฉลี่ย 20 เซนติเมตร ยาวที่สุด 23 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ตามแถบชายฝั่งที่เป็นพื้นโคลน และอาจพบได้ในแหล่งน้ำกร่อย ในภูมิภาคมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิคฝั่งตะวันตก มีการประมงบ้าง.

ใหม่!!: สีส้มและปลาแพะเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแก้มช้ำ

ปลาแก้มช้ำ (Red cheek barb, Javaen barb) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายปลาชนิดอื่นในวงศ์นี้ แต่มีรูปร่างป้อมกลมกว่า ด้านข้างแบน หัวเล็ก ปากค่อนข้างเล็กและอยู่ปลายสุด มีหนวดสั้น ๆ และเล็กจำนวน 4 เส้น มีเกล็ดค่อนข้างใหญ่ สีตามบริเวณลำตัวและหัวจะเป็นสีขาวเงิน หลังสีน้ำตาลอ่อน ฝาปิดเหงือกมีสีแดงหรือสีส้มเหมือนรอยช้ำ อันเป็นที่มาของชื่อ บริเวณหลังช่องเปิดเหงือกมีสีแถบดำ ครีบทั้งหมดมีสีแดง ครีบหางจะมีสีแถบดำ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 25 เซนติเมตร พบกระจายอยู่ทั่วไปทุกภูมิภาคของไทย โดยอาศัยอยู่รวมเป็นฝูงใหญ่ และบางครั้งอาจปะปนกับปลาตะเพียนชนิดอื่น ๆ เช่น ปลาตะเพียนเงิน (Barbonymus gonionotus), ปลาตะเพียนทอง (B. altus) หรือ ปลากระแห (B. schwanenfeldii) เป็นต้น มีชื่อเรียกต่าง ๆ มากมายตามแต่ละภูมิภาค เช่น ภาษาใต้เรียก "ปลาลาบก", ภาษาเหนือเรียก "ปลาปกส้ม", ภาษาอีสานเรียก "ปลาสมอมุก" หรือ "ปลาขาวสมอมุก" เป็นต้น เป็นปลาที่นิยมใช้บริโภคเหมือนปลาตะเพียนทั่วไป และนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยปลาที่ถูกเลี้ยงในตู้กระจกสีสันจะสวยกว่าปลาที่อยู่ในธรรมชาต.

ใหม่!!: สีส้มและปลาแก้มช้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแมนดาริน

ปลาแมนดาริน (Mandarinfish, Mandarin dragonet, Common mandarin, Striped mandarin, Striped dragonet, Mandarin goby) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่งมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Synchiropus splendidus อยู่ในวงศ์ปลามังกรน้อย (Callionymidae) ซึ่งเป็นปลาทะเลขนาดเล็กที่มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) แต่มิได้อยู่ในวงศ์ปลาบู่ ปลาแมนดาริน เหตุที่ได้ชื่อนี้ก็เพราะด้วยลำตัวของที่แลดูเรียบลื่น เต็มไปด้วยเส้นสายสีเขียวทาบทับกันไปมาบนพื้นลำตัวสีส้มเป็นมัน เหมือนกับลายผ้าไหมหรือแพรชั้นดี จนดูละม้ายคล้ายคลึงกับชุดขุนนางจีนโบราณ ขณะที่ชื่อวิทยาศาสตร์นั้นก็สอดคล้องเช่นกัน โดยคำว่า "Syn" มาจากภาษากรีกโบราณหมายถึง มี และ "chiropus" มีความหมายถึง มีมือเป็นเท้า เพราะปลาชนิดนี้จะใช้ครีบท้องที่มีขนาดใหญ่คืบคลานไปมาตามท้องทะเลเพื่อหาอาหารได้แก่ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กต่าง ๆ ตามพื้นทราย มากกว่าจะว่ายน้ำ และใช้ครีบหูที่ใสกระพือไปมาอยู่ตลอดเวลา ขณะที่ครีบหางใช้เสมือนหางเสือบังคับทิศทาง และ "spendidus" ที่เป็นชื่อชนิดนั้น มีความหมายว่า สีสันสดใสสวยงาม ตลอดทั้งลำตัวนั้น จะมีสีต่าง ๆ ทั้งหลายหลากสีมาก เช่น สีฟ้า, สีเขียว, สีส้ม และสีเหลือง ซึ่งเป็นสีสะท้อนแสงคล้ายกับแสงหลอดนีออน สีเหล่านี้จะปรากฏให้เห็นชัดเป็นจุดและลวดลายต่าง ๆ โค้งไปมา เป็นปลาที่พบกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้าง โดยพบได้ตั้งแต่ตอนใต้ของหมู่เกาะริวกิว ในประเทศญี่ปุ่น จนถึงทะเลฟิลิปปิน, ประเทศอินโดนีเซีย, หมู่เกาะไมโครนีเซีย, นิวแคลิโดเนีย จนถึงออสเตรเลีย แต่ไม่พบในน่านน้ำไทย พบอาศัยในกระแสน้ำไม่แรงนักตามกองหินและแนวปะการัง ออกหากินในเวลากลางคืน เริ่มตั้งแต่พลบค่ำ ขณะที่กลางวันจะนอนพักผ่อน มีขนาดความยาวเต็มที่ไม่เกิน 8 เซนติเมตร แต่โดยเฉลี่ยแล้วมีขนาดเล็กกว่านี้ถึงครึ่งหนึ่ง โดยสีต่าง ๆ เหล่านี้สามารถปรับให้เข้มหรืออ่อนได้ตามสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ ในปลาตัวผู้สีจะเข้มขึ้นเมื่อต่อสู้กันหรืออยู่ในช่วงผสมพันธุ์ ปลาตัวผู้และตัวเมียมีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด โดย ตัวผู้จะมีครีบหลังเป็นกระโดงยาวยืดออกมา ขณะที่ตัวเมียไม่มี และตัวผู้มีส่วนหัวที่ใหญ่กว่า ปลาแมนดารินมีอุปนิสัยก้าวร้าวพอสมควร โดยเฉพาะกับปลาชนิดเดียวกัน โดยเฉพาะตัวผู้จะมีอาณาเขตที่ชัดเจน หากพบผู้บุกรุกจะกางครีบต่าง ๆ และเบ่งสีเพื่อข่มขู่ อีกทั้งยังถือเป็นปลาที่มีพิษชนิดหนึ่ง เพราะเมือกที่ปกคลุมลำตัวนั้นมีพิษ ใช้กันสำหรับเมื่อตกเป็นอาหารของสัตว์น้ำหรือปลาที่มีขนาดใหญ่กว่า พฤติกรรมเมื่อผสมพันธุ์ จะสวยงามมาก เมื่อตัวผู้เป็นฝ่ายว่ายไปรอบ ๆ ตัวเมียเพื่อเกี้ยวพาจนแลดูเหมือนกับการเต้นรำ ซึ่งถือว่าเป็นปลาที่ปล่อยไข่ให้ลอยไปตามกระแสน้ำ ก่อนที่ตัวผู้จะปล่อยน้ำเชื้อเข้าไปผสม ความที่เป็นปลาที่มีความสวยงามมาก จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามที่ได้รับความนิยมกันมาอย่างยาวนาน แต่ปลาที่มีการซื้อขายกันนั้นเป็นปลาที่ถูกจับมาจากแหล่งธรรมชาติ คือ ทะเลเท่านั้น โดยชาวประมงในบางพื้นที่เช่น ฟิลิปปินส์ จะใช้เครื่องมือจับที่ทำจากวัสดุง่าย ๆ เช่น ไม้หรือไผ่ ตัดให้คล้ายกับปืน ซึ่งตอนปลายพันด้วยเหล็กแหลมคล้ายฉมวกหรือหอก ใช้สำหรับเล็งปลาเป็นตัว ๆ ไปตามแนวปะการัง ซึ่งปลาตัวที่ถูกแทงจะได้รับบาดแผลหรือหางเป็นรู แต่สำหรับปลาแมนดารินแล้วเมื่อได้รับการพักฟื้นในสถานที่เลี้ยงไม่นาน แผลดังกล่าวก็จะหายเป็นปกติภายในเวลาไม่กี่วัน ปัจจุบัน ถือเป็นปลาที่สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในที่เลี้ยง สำหรับในประเทศไทยเพิ่งเพาะได้สำเร็จเป็นครั้งแรกเมื่อกลางปี พ.ศ. 2552 โดย สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี โดยตัวผู้หนึ่งตัวสามารถผสมกับตัวเมียได้ 2-3 ตัว ปลาจะทำการจับคู่กันในเวลาพลบค่ำ และวางไข่ ถือเป็นระยะเวลาที่สั้นมาก เมื่อไข่ถูกปล่อยออกมาแล้วจะลอยขึ้นสู่ผิวน้ำ ก่อนจะนำไปอนุบาลต่อไป ซึ่งลูกปลาใช้เวลาในการฟักเป็นตัวเร็วมาก คือ ใช้เวลาไม่เกิน 14 ชั่วโมง ในอุณหภูมิน้ำราว 28 เซลเซียส เมื่อฟักออกเป็นตัวนั้น ลูกปลาจะใช้ส่วนหัวดันออกมาก่อนก่อนใช้หางดันกับผนังเปลือกไข่ จนกว่าจะหลุดออกมาได้สำเร็จ โดยแรกเกิดมีขนาดความยาวประมาณ 1.5 มิลลิเมตรเท่านั้น และมีขนาดของถุงไข่แดงเป็นครึ่งหนึ่งของขนาดลำตัว ขณะที่อวัยวะภายในและครีบต่าง ๆ ยังพัฒนาการไม่สมบูรณ.

ใหม่!!: สีส้มและปลาแมนดาริน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแมนดารินจุด

ปลาแมนดารินจุด (Spotted mandarin, Spotted mandarin goby, Target dragonfish, Green mandarin) ปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Synchiropus picturatus อยู่ในวงศ์ปลามังกรน้อย (Callionymidae) มีรูปร่างและลักษณะคล้ายกับปลาแมนดาริน (S. splendidus) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกันมาก หากแต่ปลาแมนดารินจุดนั้นมีลวดลายและลายจุดที่มีขนาดใหญ่กว่า ล้อมรอบด้วยเส้นตัดขอบจุดซ้อนกันเป็นวงเป็นเส้นสีส้มและสีเขียวเป็นชั้นซ้อนกันกระจายอยู่บนหัวและตลอดลำตัว มีความยาวเต็มที่ประมาณ 10 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในเขตอินโด-แปซิฟิก โดยหากินและอาศัยอยู่ในแนวปะการังและกองหินใต้น้ำ หาจำพวกสัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กกินเป็นอาหาร จากพื้นทราย จัดเป็นปลาที่มีความสวยงามอีกชนิดหนึ่ง จึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามเช่นเดียวกับปลาแมนดาริน ซึ่งก็สามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้แล้วเช่นกัน.

ใหม่!!: สีส้มและปลาแมนดารินจุด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแซลมอนทองคำ

ปลาแซลมอนทองคำ หรือที่เรียกอีกชื่อนึงว่า ปลาโดราโด (Dorado, โดราโด ในภาษาสเปน หมายถึง "ทองคำ") ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Salminus brasiliensis ในวงศ์ปลาคาราซิน (Characidae) ในอันดับปลาคาราซิน (Characiformes) ลักษณะภายนอก มีส่วนหัวขนาดใหญ่ ปากกว้างมีลักษณะเฉียงลง ภายในปากเต็มไปด้วยฟันซี่เล็ก ๆ ที่แหลมคม ขากรรไกรแข็งแรง ครีบหลังอยู่ถัดออกไปกว่าความยาวของครึ่งลำตัว มีครีบไขมันก่อนถึงครีบหาง ขนาดโตเต็มที่ยาวได้ประมาณ 3 ฟุต หนักถึง 68 ปอนด์ เมื่อโตเต็มที่แล้วจะมีสีของลำตัวเป็นสีเหลืองทองอร่าม เมื่อยังเล็กลำตัวจะเป็นสีเงินอมเทา ครีบหางเป็นสีส้มปนแดงและมีแถบสีดำพาดตั้งแต่โคนหางไปจรดสุดปลายครีบ ครีบอกเป็นสีเหลืองปนส้ม เมื่อโตขึ้นจะสีลำตัวจะค่อย ๆ กลายเป็นสีส้ม และเริ่มเข้มขึ้นเรื่อย ๆ ตามวัย จนกระทั่งกลายเป็นสีทองไปในที่สุด มีอายุยืนได้สูงสุด 9 ปี กระจายพันธุ์อยู่ในทวีปอเมริกาใต้ในแม่น้ำอเมซอนและสาขา บริเวณรอยต่อระหว่างบราซิล, อาร์เจนตินา, เปรู, ปารากวัย และโบลิเวีย เป็นปลาที่กินเนื้อเป็นอาหาร ล่าเหยื่อด้วยความเร็วสูงโดยใช้ขากรรไกรที่แข็งแรงและฟันอันคมกริบงับเหยื่อ ซึ่งได้แก่ ปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ รวมทั้งสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำและสัตว์เลือดอุ่นขนาดเล็ก เช่น นก หรือ หนู ด้วย โดยมีพฤติกรรมอาศัยอยู่เป็นฝูงขนาดเล็ก บางครั้งจะล่าเหยื่อโดยการเข้าไปปะปนในฝูงปลาที่กำลังกินเมล็ดพืชที่ตกลงน้ำเพิ่อหาจังหวะโฉบงับกิน จนได้รับฉายาจากชาวพื้นเมืองว่า "Tigre del rio" (เสือแม่น้ำ) และถึงแม้นว่าจะได้ชื่อเป็นปลาแซลมอน ด้วยเหตุที่มีรูปร่างคล้ายกัน จึงถูกเรียกว่า "ปลาแซลมอนทองคำ" แต่แท้ที่จริงแล้ว ปลาชนิดนี้มิได้จัดว่าเป็นปลาจำพวกแซลมอน แต่ประการใด ปลาแซลมอนทองคำนั้นนิยมตกเป็นปลาเกม ในกีฬาตกปลาด้วยความที่เป็นปลาขนาดใหญ่ และต่อสู้กับเบ็ดได้อย่างสนุกรวมถึงมีสีสันที่สวยงามอีกด้วย และนอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามสำหรับผู้ที่นิยมเลี้ยงปลาขนาดใหญ่ ซึ่งพฤติกรรมของปลาแซลมอนทองคำในที่เลี้ยงนั้นดุร้ายมาก จนไม่สามารถเลี้ยงรวมกับปลาชนิดอื่นได้เลย นอกจากพวกเดียวกันเอง.

ใหม่!!: สีส้มและปลาแซลมอนทองคำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแป้นแก้ว

ปลาแป้นแก้ว (Siamese glassfish) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแป้นแก้ว (Ambassidae) มีลำตัวตัวใสหรือสีขาวคล้ายสีข้าวเม่า มีครีบหลัง 2 อัน ครีบหลังอันแรกมีก้านครีบแข็งเป็นหนานแหลมอยู่ 7 ก้าน ครีบหลังอันที่สองมีเฉพาะก้านครีบฝอย ครีบก้นมีก้านครีบที่เป็นหนานแหลมอยู่ 3 ก้าน มีเกล็ดกลมบางใสและหลุดง่าย ลักษณะเนื้อโปร่งใสจนมองเห็นอวัยวะภายใน ตามลำตัวมีจุดสีดำอยู่ทั่วไป มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 6 เซนติเมตร นิยมอยู่รวมกันเป็นฝูงในแหล่งน้ำทั่วไป พบกระจายพันธุ์ในหลายพื้นที่ของประเทศไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย กินอาหารจำพวกสัตว์น้ำและแมลงขนาดเล็ก เป็นปลาที่หากินในเวลากลางคืน มักจับได้ในปริมาณทีละมาก ๆ โดยใช้แสงไฟล่อเพื่อให้ปลามากินแมลงบนผิวน้ำ นิยมใช้บริโภคกันในท้องถิ่น อีกทั้งยังนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามอีกด้วย โดยการฉีดสีเข้าไปในตัวปลาเป็นสีสันต่าง ๆ เช่น สีน้ำเงิน, สีเหลือง, สีส้ม หรือสีแดง เพื่อประโยชน์ทางการค้า โดยมีชื่อเรียกเฉพาะว่า "ปลาเรนโบว์" รือ "ปลาสายรุ้ง" ซึ่งสีเหล่านี้ก็จะจางและซีดลงไปเองตามเวลา ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ เช่น "ปลาข้าวเม่า" หรือ "คับของ" หรือ "แว่น" ในภาษาเหนือ เป็นต้น.

ใหม่!!: สีส้มและปลาแป้นแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแป้นแก้วรังกา

ปลาแป้นแก้วรังกา (Ranga glassfish, Indian glassfish, Indian glassy fish) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแป้นแก้ว (Ambassidae) ในอันดับปลากะพง (Perciformes) จัดเป็นปลาขนาดเล็ก มีลำตัวโปร่งแสงเหมือนปลาชนิดอื่น ๆ ในสกุลเดียวกัน จัดเป็นปลาล่าเหยื่อขนาดเล็ก ขนาดโดยเฉลี่ย 3-4 เซนติเมตร พบใหญ่เต็มที่ 8 เซนติเมตร กินอาหารจำพวก สัตว์น้ำและแมลงขนาดเล็ก อาศัยหากินเป็นฝูงในบริเวณกลางน้ำ พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่อนุทวีปอินเดีย, เอเชียอาคเนย์ จนถึงประเทศญี่ปุ่น ในประเทศไทยพบได้เฉพาะแม่น้ำสาละวิน อันเป็นพรมแดนติดกับประเทศพม่า นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยอาจมีการฉีดสีเข้าไปในตัวปลาทำให้เกิดเป็นสีสันต่าง ๆ เช่น เหลือง, แดง, น้ำเงิน, ส้ม เป็นต้น.

ใหม่!!: สีส้มและปลาแป้นแก้วรังกา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาใบโพ

ปลาใบโพ (หรือสะกดว่า ปลาใบโพธิ์) หรือ ปลาใบปอ หรือ ปลาแมลงปอ (Banded sicklefish, Concertina fish) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาใบโพ (Drepaneidae) มีลำตัวป้อมสั้นเกือบกลม ด้านข้างแบน ดูคล้ายใบโพ อันเป็นที่มาของชื่อเรียก สันหลังโค้งนูน หัวค่อนข้างใหญ่ จะงอยปากสั้น นัยน์ตาโต บริเวณระหว่างตาโค้งนูนออกมา ปากเล็กและยืดหดได้ มีฟันเล็กและแหลมคมบนขากรรไกรบนและล่าง ลำตัวด้านบนสีขาวปนเทาและมีจุดเล็ก ๆ สีส้มเรียงเป็นแถวขวางลำตัวจำนวน 4-11 แถว ซึ่งแตกต่างจากปลาใบโพจุด (D. punctata) ที่มีแถบสีเทาเรียงในลักษณะเดียวกัน ปลาวัยอ่อนจะมีแถบสีดำในบริเวณที่เป็นจุดสีส้ม มีความยาวประมาณ 20-25 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุดได้ถึง 40 เซนติเมตร พบอาศัยอยู่บริเวณพื้นท้องน้ำที่เป็นกรวดทรายใกล้แนวปะการังและแหล่งน้ำกร่อย กินสัตว์น้ำที่ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กเป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดียจนถึงออสเตรเลียตอนเหนือ ในประเทศไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน จัดเป็นปลาเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: สีส้มและปลาใบโพ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาใบโพจุด

ปลาใบโพจุด (หรือสะกด ปลาใบโพธิ์จุด) (Spotted sicklefish) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาใบโพ (Drepaneidae) มีลำตัวป้อมสั้นเกือบกลม ด้านข้างแบน ดูคล้ายใบโพ อันเป็นที่มาของชื่อเรียก สันหลังโค้งนูน หัวค่อนข้างใหญ่ จะงอยปากสั้น นัยน์ตาโต บริเวณระหว่างตาโค้งนูนออกมา ปากเล็กและยืดหดได้ มีฟันเล็กและแหลมคมบนขากรรไกรบนและล่าง ลำตัวด้านบนสีขาวปนเทาและมีจุดเล็ก ๆ สีส้มเรียงเป็นแถวขวางลำตัวจำนวน 4-11 แถว ปลาวัยอ่อนจะมีแถบสีดำในบริเวณที่เป็นจุดสีส้ม มีความยาวประมาณ 20-25 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุดได้ถึง 40 เซนติเมตร พบอาศัยอยู่บริเวณพื้นท้องน้ำที่เป็นกรวดทรายใกล้แนวปะการังและแหล่งน้ำกร่อย กินสัตว์น้ำที่ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กเป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดียจนถึงออสเตรเลียตอนเหนือ ในประเทศไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน จัดเป็นปลาเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: สีส้มและปลาใบโพจุด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโรซี่บาร์บ

ปลาโรซี่บาร์บ (Rosy barb) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดในภูมิภาคเอเชียใต้ มีลำตัวเพรียวยาวและแบนข้าง พื้นลำตัวมีสีแดงอมส้ม แผ่นหลังสีเขียวมะกอก เกล็ดมีขนาดเล็กเป็นมันแวววาวระยิบระยับ ลำตัวบริเวณใกล้โคนหางมีจุดสีดำอยู่ ข้างละ 1 จุด เพศผู้จะมีสีแดงเข้มและหางยื่นยาวกว่าเพศเมีย จัดเป็นปลาขนาดเล็ก ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 14 เซนติเมตร แต่ขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 3-4 เซนติเมตร นิยมอยู่รวมกันเป็นฝูง กระจายพันธุ์ในประเทศอินเดีย บริเวณรัฐอัสสัมและรัฐเบงกอล นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เช่นเดียวกับปลาในวงศ์นี้ชนิดอื่น ๆ เช่น ปลาเสือสุมาตรา (Puntigrus tetrazona), ปลาเสือข้างลาย (P. partipentazona) เป็นต้น สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ในตู้เลี้ยงเช่นเดียวกับปลาวงศ์เดียวกันชนิดอื่น ๆ โดยปลาจะมีพฤติกรรมผสมพันธุ์เป็นหมู่ ไข่จะฟักเป็นตัวในเวลาประมาณ 24 ชั่วโมง โดยจะวางไข่ติดกับพืชไม้น้ำหรือสาหร่าย ซึ่งปัจจุบันได้มีการเพาะขยายพันธุ์จนมีสีสันสวยงามกว่าปลาที่พบในธรรมชาติ และมีครีบต่าง ๆ ที่ยาวกว่าเพื่อเพิ่มความสวยงามอีกด้ว.

ใหม่!!: สีส้มและปลาโรซี่บาร์บ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเรดฮุก

ปลาเรดฮุก (Redhook silverdollar, Redhook myleus) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิลเวอร์ดอลลาร์ ในวงศ์ปลาปิรันยา (Serrasalmidae) จัดเป็นปลาซิลเวอร์ดอลลาร์ชนิดหนึ่ง มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับปลาปิรันยาหรือปลาเปคู ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า แต่มีลำตัวสีเงินแวววาว ในขณะที่ยังเป็นปลาวัยอ่อนจะมีจุดสีแดงกระจายไปทั่วตัว ครีบต่าง ๆ มีสีเหลืองอมส้มหรือสีเหลืองและมีความยาวกว่า โดยเฉพาะครีบก้นที่มีปลายครีบงอนงอเหมือนตะขอและมีสีแดงสดขลิบดำ อันเป็นที่มาของชื่อเรียก ตัวผู้มีครีบยาวกว่าตัวเมีย ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 25 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุด 39 เซนติเมตร อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์น้ำขนาดเล็ก กระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางในแม่น้ำสายหลัก ๆ ในทวีปอเมริกาใต้ เช่น แม่น้ำแอมะซอน, แม่น้ำโอรีโนโก ในเอกวาดอร์, เปรู, เวเนซุเอลา, โคลอมเบีย, กายอานา, ซูรินาม, เฟรนช์เกียนา และบราซิล เป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยมีการรวบรวมจากแหล่งน้ำธรรมชาติส่งออกไปขายทั่วโลก.

ใหม่!!: สีส้มและปลาเรดฮุก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเทวดาจมูกยาว

ปลาเทวดาจมูกยาว หรือ ปลาเทวดาหน้ายาว (Longnose angelfish, Leopold's angelfish) ปลาน้ำจืดจำพวกปลาเทวดาชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) ปลาเทวดาจมูกยาว มีลักษณะแตกต่างไปจากปลาเทวดาชนิดอื่น ๆ คือ มีส่วนลาดของหน้าผากยื่นยาวมากกว่าปลาเทวดาทั่วไปโดยเฉลี่ย นอกจากนี้ยังมีจุดใหญ่สีเข้มบนเส้นที่สี่ที่คาดลำตัวโดยบางตัวก็จะอยู่บริเวณติดกับครีบบน และลายเส้นเล็กที่อยู่ระหว่างเส้นใหญ่คาดตา และเส้นใหญ่คาดอกนั้น จะเป็นเส้นเล็กจาง ๆ 2 เส้น แทนที่จะเป็นเส้นจางเส้นเดียวเหมือนปลาเทวดาชนิดอื่น ตามลำตัวมีเหลือบเลื่อมสีฟ้าเปล่งประกายทั่วทั้งตัว พื้นลำตัวมีจุดประสีส้มกระจายไปทั่วทั้งบริเวณช่วงเอวไปถึงหาง และส่วนหน้าคือจากหัวจนถึงหน้าอกจะเป็นสีเขียวเหลือบน้ำเงิน บริเวณเส้นย่อยระหว่างเส้นคาดอก และเส้นคาดเอว จะมีจุดเล็ก ๆ หงิกงอ บริเวณแถบครีบบนต่อลำตัว ครีบต่าง ๆ ทั้งครีบบน และครีบล่างสั้นกว่าปลาเทวดาชนิดอื่น ทำให้แลดูตัวสั้นม่อต้อ บอบบางกว่าปลาเทวดาชนิดอื่น มีความยาวเต็มที่ประมาณ 10 เซนติเมตร (4 นิ้ว) พบกระจา่ยพันธุ์ในลุ่มแม่น้ำอเมซอนและสาขา ในทวีปอเมริกาใต้ มักอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่สภาพน้ำมีความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ประมาณ 5-5.5 เป็นปลาเทวดาที่ไม่ค่อยได้ัรับความนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอย่างกว้างขวางเหมือนปลาเทวดาชนิดอื่น จึงมีราคาขายที่แพงกว่าปลาเทวดาทั่วไป.

ใหม่!!: สีส้มและปลาเทวดาจมูกยาว · ดูเพิ่มเติม »

ปัญญริสา เธียรประสิทธิ์

ปัญญริสา เธียรประสิทธิ์ (หรือชื่อเดิมว่า ปัญญริสา ชุมรุม) เป็นนักร้องชาวไทย อดีตสังกัดค่าย Yes Music (ค่ายเก่ากามิกาเซ่) ในเครือของอาร์เอ.

ใหม่!!: สีส้มและปัญญริสา เธียรประสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปูม้า

ปูม้า (Flower crab, Blue crab, Blue swimmer crab, Blue manna crab, Sand crab) จัดเป็นปูที่อาศัยอยู่ในทะเลชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในสกุล Portunus ซึ่งพบทั้งหมด 90 ชนิดทั่วโลก และพบในน่านน้ำไทยราว 19 ชน.

ใหม่!!: สีส้มและปูม้า · ดูเพิ่มเติม »

ปูทะเล

ปูทะเล (ชื่อวิทยาศาสตร์: Scylla serrata) เป็นปูชนิดหนึ่งที่อาศัยอยู่ในทะเล มีกระดองกลมรีเป็นรูปไข่ สีดำปนแดงหรือสีน้ำตาลเข้ม เป็นสัตว์เศรษฐกิจที่นิยมนำมาปรุงสดเป็นอาหาร.

ใหม่!!: สีส้มและปูทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ปูไก่

ำหรับปูขนอย่างอื่นที่นิยมรับประทานกันเป็นอาหารจีน ดูที่: ปูก้ามขน ปูไก่ (Hairy leg mountain crab) เป็นปูชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปูบก (Gecarcinidae) มีกระดองเป็นรูปไข่ ด้านหน้าโค้งมนกลม เหนือเบ้าตามีปุ่มเล็ก ๆ ข้างละปุ่ม กระดองตอนหน้าระหว่างขอบตาแคบ ตัวผู้มีก้ามใหญ่และแข็งแรง ก้ามซ้ายมีขนาดใหญ่ ปลายก้ามหนีบอันบนยาวกว่าอันล่างขาเดินมี 4 คู่ ข้อสุดท้ายมีปลายแหลม ขอบหยักเป็นฟันเลื่อย ขาเดินทุกคู่ มีขนสีดำกระดองสีน้ำตาลปนเหลือง ก้ามสีน้ำตาลปนส้ม โคนขาเดินสีส้ม มีความยาวประมาณ 8-20 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในป่าใกล้ลำธารหรือน้ำตก หรือตามป่าชายหาด กินเศษซากต่าง ๆ เป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก จนถึงอินโด-แปซิฟิก, หมู่เกาะโคโคส, ตูอาโมตัสทางตอนเหนือของออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบได้ตามเกาะต่าง ๆ ทางภาคใต้ เช่น หมู่เกาะสิมิลันและเกาะภูเก็ต แต่ปัจจุบันพบได้ยาก สามารถใช้เนื้อในการรับประทานได้ แต่ไม่เป็นที่นิยมนักเนื่องจากในเนื้อมีกลิ่นกรดยูริกและแอมโมเนียจากของเสียจากระบบขับถ่ายของปู นอกจากนี้แล้วปูไก่ยังมีชื่อเรียกอื่นอีก เช่น "ปูขน" หรือ "ปูภูเขา" และเหตุที่ได้ชื่อว่าปูไก่ เนื่องจากมีเสียงจากการกระทบกันของกล้ามปูเสียงดังคล้ายเสียงร้องของไก.

ใหม่!!: สีส้มและปูไก่ · ดูเพิ่มเติม »

ปูเสฉวนบกก้ามแถวฟัน

ปูเสฉวนบกก้ามแถวฟัน (tawny hermit crab) เป็นปูเสฉวนชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปูเสฉวนบก (Coenobitidae) มีขาเดิน 4 ขา มีก้านปากขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ก้านตามีขนาดใหญ่และยาวมีแถบสีน้ำตาลหรือส้ม ก้ามมีขนาดใหญ่ มีขนที่ขาเดินคู่ที่อยู่ถัดจากก้าม และสามารถส่งเสียงได้เมื่อถูกรบกวนเพื่อข่มขู่ผู้รุกรานด้วยการใช้ก้านปากขนาดใหญ่ขูดกับเปลือกหอยที่อาศัยอยู่ ทำให้เกิดเสียง มีสีสันที่แตกต่างหลากหลายออกไปตามแต่สภาพแวดล้อมที่อยู่และอาหารที่กิน เช่น สีเขียว, สีน้ำตาลและสีเทา, สีดำ, สีขาว, สีชมพู, สีฟ้า เป็นต้น มีความยาวเต็มที่ได้ 15 มิลลิเมตร (0.59 นิ้ว) กระจายอยู่ทั่วไปตามหาดทรายของชายฝั่งทะเลอินโด-แปซิฟิก กินอาหารจำพวกอินทรียสาร, ซากปลา และผลไม้ทั่วไป ในประเทศไทยพบชุกชุมที่อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ หากินในเวลากลางคืน โดยที่กลางวันและซ่อนตัวอยู่ใต้ใบไม้.

ใหม่!!: สีส้มและปูเสฉวนบกก้ามแถวฟัน · ดูเพิ่มเติม »

ปีศาจโดเวอร์

ปีศาจโดเวอร์ (Dover Demon) เป็นสิ่งมีชีวิตลึกลับที่ปรากฏตัวที่เมืองโดเวอร์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา เมื่อคืนวันที่ 21 เมษายนต่อกับวันที่ 22 เมษายน ค.ศ. 1977 ตามคำกล่าวอ้างของวัยรุ่นชาวอเมริกัน 4 คน ใน 3 เหตุการณ์ 3 สถานที่ แต่ทั้ง 3 สถานที่นั้นเชื่อมต่อถึงกัน โดยทั้งหมดอยู่ในรัศมีราว 2.5 ไมล.

ใหม่!!: สีส้มและปีศาจโดเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

นกขุนแผน

ำหรับนกขุนแผนจำพวกอื่น ดูที่: วงศ์นกขุนแผน นกขุนแผน หรือ นกสาลิกาดง (อังกฤษ: Red-billed blue magpie; ชื่อวิทยาศาสตร์: Urocissa erythrorhyncha) จัดเป็นนกขนาดเล็กชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ Corvidae อันเป็นวงศ์เดียวกับกา นกขุนแผนเป็นนกที่มีสีสันสวยงามมาก กล่าวคือ โดยมีบริเวณหัวถึงลำคอสีดำ ขนบริเวณลำตัวมีสีฟ้าแกมม่วง ส่วนโคนปีกมีสีฟ้าแกมม่วง ด้านปลายปีกสีขาว มีหางสวยงามและยาวมาก มีสีฟ้าแกมม่วงส่วนบริเวณปลายหางมีสีขาว มีขนหางคู่บนยาวกว่าคู่อื่น ๆ ปากสีแดง ขาสีแดงส้มและตาสีดำ ทั้งตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะที่คล้ายคลึงกันมาก จนยากที่จะแยกได้ออกจากการมองแค่ภายนอก ความยาวจากปลายปากถึงปลายหางประมาณ 65-68 เซนติเมตร และมีขนหางยาวมากราว 37-42 เซนติเมตร หรือ 2 ใน 3 ของความยาวจากปากถึงปลายหาง ขนหางค่อนข้างแข็ง มี 12 เส้น ซึ่งแต่ละคู่ยาวลดหลั่นกันลงไป โดยมีขนหางคู่บนสุดยาวที่สุด ซึ่งยาวกว่าขนหางคู่ที่ 5 อย่างเห็นได้ชัด ปลายขนหางแต่ละเส้นมีลักษณะมน ขนหางทุกเส้นมีสีฟ้าอมม่วง แต่ปลายขนหางแต่ละเส้นเป็นแถบสีขาว และเฉพาะปลายขนหางคู่ที่ 1 ถึงคู่ที่ 5 มีแถบสีดำถัดจากแถบสีขาวด้วย ปลายขนหางคู่ที่ 6 ซึ่งเป็นคู่บนสุดโค้งลงมาเล็กน้อย พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่เชิงเขาหิมาลัยจนถึงจีน, พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยพบเกือบทุกภาคยกเว้นภาคใต้ มีพฤติกรรมชอบอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงเล็กๆ ตามป่าละเมาะ, ป่าโปร่ง มักส่งเสียงร้องขณะที่มันเริ่มออกหากิน บางเวลาอาจลงมาหากินตามพื้นดินหรือซอกก้อนหิน ซอกไม้ผุ ๆ อาหารได้แก่ แมลงชนิดต่าง ๆ เช่น ด้วง, ปลวก, หนอน, หอยทาก, กิ้งก่า, จิ้งจก, จิ้งเหลน, งู รวมทั้งปาด, ตะขาบ และหนู แม้แต่ไข่นกและลูกนกชนิดอื่นในรัง รวมทั้งซากสัตว์ด้วย ฤดูผสมพันธุ์อยู่ในช่วงประมาณเดือนมีนาคม-พฤษภาคม จะทำรังโดยนำกิ่งไม้เล็กมาขัดสานกันเป็นแอ่งตรงกลาง และรองพื้นด้วยรากไม้หรือใบไม้ที่พอจะหาได้ในบริเวณนั้น ตัวเมียจะวางไข่ครั้งละ 3-6 ฟอง อยู่สูงจากพื้น 6-8 เมตร มีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 แต่ก็นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงเพราะสีสันและหางที่สวยงาม.

ใหม่!!: สีส้มและนกขุนแผน · ดูเพิ่มเติม »

นกเอี้ยงคำ

นกเอี้ยงคำ หรือ นกขุนทอง (Hill mynas) เป็นสกุลของนกเกาะคอนร้องเพลงสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Gracula ในวงศ์นกเอี้ยงและนกกิ้งโครง (Sturnidae) มีรูปร่างคล้ายกับนกในสกุล Acridotheres หรือนกเอี้ยง แต่ลำตัวมีขนาดใหญ่กว่า ขนาดลำตัวโดยเฉลี่ย 20-30 เซนติเมตร ขนเป็นสีดำเป็นเงามัน มีลักษณะเด่น คือ มีเหนียง คือ แผ่นหนังสีเหลืองอมส้มคลุมท้ายทอยและอีกส่วนที่ใต้ตา ซึ่งจะแตกต่างไปกันตามแต่ละชนิด จะงอยปากสีแดงส้มและหน้าแข้งเป็นสีเหลืองสด เป็นนกที่แพร่กระจายพันธุ์ในป่าดิบหรือบนภูเขาตั้งแต่อนุทวีปอินเดีย จนถึงเอเชียอาคเนย์ทั้งส่วนที่เป็นแผ่นดินใหญ่และหมู่เกาะต่าง ๆ เป็นนกที่รู้จักกันเป็นอย่างดีว่ามีเสียงร้องที่ไพเราะ และสามารถหัดให้เลียนเสียงต่าง ๆ เช่น เสียงพูดของมนุษย์ได้ จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง และมีการนำไปสู่สหรัฐอเมริกาด้วยในฐานะสัตว์เลี้ยง ในราคาที่สูง แต่ผู้คนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดียนิยมนำมาทำเป็นแกงเผ็ด ถือเป็นอาหารจานโปรดของท้องถิ่น จำแนกออกเป็นชนิดต่าง ๆ ได้ 4 หรือ 5 ชนิด ตามลักษณะของเหนียงและขนาดลำตัว ซึ่งแตกต่างกันไปตามถิ่นที่อยู่อาศัย ซึ่งเดิมเคยจัดให้เป็นชนิดย่อยของกันและกัน แต่ปัจจุบันได้รับการยอมรับให้แยกเป็นชนิดต่างหาก ได้แก.

ใหม่!!: สีส้มและนกเอี้ยงคำ · ดูเพิ่มเติม »

นิวต์ท้องแดงจีน

นิวต์ท้องแดงจีน หรือ นิวต์ท้องแดง (Chinese fire belly newt, Oriental fire-bellied newt, Dwarf fire-bellied newt; 東方蠑螈) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำชนิดหนึ่ง จำพวกนิวต์ (Salamandridae) เป็นนิวต์ขนาดเล็กมีลำตัวสีดำ ส่วนหางแบนเหมือนใบพาย มีช่วงท้องเป็นสีเหลืองมีแต้มสีส้มหรือแดง ตัวผู้มีขนาดเล็กกว่าตัวเมีย โดยตัวผู้จะมีปุ่มบริเวณโคนหาง จัดเป็นนิวต์ขนาดเล็กมีความยาวลำตัวจรดหางประมาณ 12-15 เซนติเมตร แพร่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ในน้ำ ตัวอ่อนมีพู่เหงือก แพร่กระจายพันธุ์ในพื้นที่ชุ่มน้ำที่น้ำสะอาดและบริสุทธิ์และมีพืชน้ำขึ้นหนาแน่นในตอนใต้ของประเทศจีน อุณหภูมิประมาณ 18-24 เซนติเมตร ออกหากินในเวลากลางคืน โดยกินสัตว์น้ำและแมลงขนาดเล็ก เช่น หนอน, กุ้งฝอย, หนอนแดง, ไส้เดือนน้ำ, ลูกอ๊อด เป็นต้น นิวต์ท้องแดงจีน มีพิษบริเวณผิวหนังที่มีพิษประเภทเตโตรโดท็อกซิน (Tetrodotoxin) อันเป็นพิษแบบเดียวกับที่มีในปลาปักเป้า แต่เป็นพิษแบบอ่อน อันเป็นลักษณะสำคัญของนิวต์ในสกุล Cynops ซึ่งไม่ก่อให้เกิดอันตรายมากนักสำหรับมนุษย์หากใช้มือเปล่าไปแตะต้องถูกเข้า แต่จะเป็นอันตรายต่อเมื่อกลืนกินเข้าไป เป็นนิวต์หรือซาลาแมนเดอร์อีกชนิดหนึ่ง ที่นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง.

ใหม่!!: สีส้มและนิวต์ท้องแดงจีน · ดูเพิ่มเติม »

แก๊งฉึกฉักไดโนเสาร์

แก๊งฉึกฉักไดโนเสาร์ (Dinosaur train) เป็นการ์ตูนสำหรับเด็กจากประเทศสหรัฐอเมริกา จัดทำโดย เคร็ก บาร์ทเล็ตต์ คนเดียวกันที่ผลิตเรื่อง เฮ้ อาร์โนล! ในเรื่องนี้ได้มีการเล่าเรื่องถึงที-เร็กซ์ที่ชื่อว่า บัดดี้ ที่เลี้ยงโดยครอบครัวเทอราโนดอน แล้วผจญภัยทุกยุคที่เขาอยากจะไป และเรียนรู้เกี่ยวกับไดโนเสาร์ และสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เรื่องนี้จัดจำหน่ายโดย The Jim Henson Company ร่วมกับ Media Development Authority, Sparky Animation, FableVision และ Snee-Oosh, Inc.

ใหม่!!: สีส้มและแก๊งฉึกฉักไดโนเสาร์ · ดูเพิ่มเติม »

แมลงสาบมาดากัสการ์

แมลงสาบมาดากัสการ์ (Giant hissing cockroach, Madagascan giant hissing cockroach, เรียกสั้น ๆ ว่า Hissing cockroach หรือ Hisser) เป็นแมลงชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gromphadorhina portentosa อยู่ในวงศ์แมลงสาบยักษ์ (Blaberidae) อันดับแมลงสาบ (Blattodea) แมลงสาบมาดากัสการ์เป็นแมลงสาบที่ไม่มีปีก ไม่มีแม้แต่แผ่นปีกเล็กปรากฏให้เห็นในระยะใดระยะหนึ่งของชีวิตหลังจากฟักจากไข่ ตัวเต็มวัยมีลำตัวสีน้ำตาลเข้ม และมีสีส้มอมเหลืองพาดอยู่ด้านบนของส่วนท้อง ตัวเต็มวัยมีขนาดลำตัวยาวได้ถึง 7-10 เซนติเมตร และมีน้ำหนักตัว 20-25 กรัมโดยประมาณ เป็นแมลงสาบที่เคลื่อนไหวได้ช้า มีกลิ่นฉุนเล็กน้อย และไม่ทำร้ายมนุษย์ จึงมีผู้นิยมนำมาเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง เพราะความแปลก โดยปกติอาศัยอยู่ใต้ซากใบไม้ที่หล่นปกคลุมผิวดินในป่า อันเป็นแหล่งอาศัยธรรมชาตินอกบ้านที่อยู่อาศัยของมนุษย์ กินซากลูกไม้ ใบไม้ หรือผลไม้ที่หล่นอยู่ในบริเวณป่า อย่างไรก็ตามแมลงสาบชนิดนี้ก็เหมือนแมลงสาบทั่วไป คือ กินอาหารได้เกือบทุกชนิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมรอบข้าง กิจกรรมส่วนใหญ่รวมทั้งกิจกรรมออกหาอาหารเกิดขึ้นในเวลากลางคืน ส่วนในเวลากลางวันจะหลบซ่อนตัวตามขอนไม้หรือกองใบไม้ในป่า มีการกระจายพันธุ์บนเกาะมาดากัสการ์ และตามหมู่เกาะใกล้เคียงกัน คือ แถบชายฝั่งทางทวีปแอฟริกาตะวันออก มีวงชีวิตแบบไม่สมบูรณ์คือ มีระยะไข่, ระยะตัวอ่อน และระยะตัวเต็มวัย ตัวเมียวางไข่หลายใบในถุงไข่ ถุงไข่จะถูกเก็บไว้ภายในลำตัวนานประมาณ 60 วัน จนกระทั่งไข่ฟักออกมาเป็นตัวภายในลำตัวแม่ จากนั้นตัวอ่อนระยะแรกจะออกมาจากลำตัวแม่ ทำให้ดูคล้ายว่าออกลูกเป็นตัว สามารถให้ลูกได้ครั้งละ 30-60 ตัว มีระยะตั้งท้องประมาณ 60 วัน ตัวอ่อนมีรูปร่างคล้ายตัวเต็มวัย ต่างกันที่ขนาดเล็กกว่าลำตัวของตัวอ่อนจะมีรูปร่างเป็นรูปไข่ยาวรีมากกว่า แมลงสาบที่เพิ่งลอกคราบใหม่ ๆ ลำตัวจะมีสีขาว จากนั้นภายใน 2-3 ชั่วโมง สีลำตัวจะค่อย ๆ เข้มขึ้นจนกลายเป็นสีน้ำตาลเข้มในที่สุด เป็นผลจากการสร้างเม็ดสีเมลานินมาสะสมบนผิว ตัวอ่อนตามปกติลอกคราบ 6 ครั้ง จากนั้นเข้าสู่ตัวเต็มวัย เข้าสู่ตัวเต็มวัยเมื่ออายุได้ 6-7 เดือน สามารถออกลูกได้ 3-4 ครั้งต่อปี มีอายุยืนถึง 2-5 ปี มีลักษณะพิเศษ คือ ตัวเต็มวัยของและตัวอ่อนในระยะหลังสามารถทำเสียงได้ เสียงนั้นคล้ายเสียงขู่ของงู อันเป็นที่ชื่อเรียกในภาษาอังกฤษ อวัยวะที่ให้กำเนิดเสียงของแมลงสาบชนิดนี้อยู่ที่รูหายใจ ที่อยู่บริเวณด้านข้างของท้องปล้องที่ 4 ทั้งสองข้าง การทำเสียงเพื่อใช้ในการเกี้ยวพาราสีก่อนผสมพันธุ์ ตัวผู้จะส่งเสียงขู่เพื่อไล่ตัวผู้อื่น ๆ เพื่อแย่งตัวเมีย นอกจากนี้เสียงขู่ยังใช้สำหรับป้องกันตัวเองจากศัตรูด้วย แมลงสาบมาดากัสการ์เคยตกเป็นข่าวตามหน้าสื่อครั้งหนึ่ง เมื่อปรากฏว่าอาจเป็นพาหะนำโรคจากต่างแดนมาสู่ในประเทศไทยได้ จากการมีพบว่าได้กลายเป็นสัตว์เลี้ยงของผู้ที่มีรสนิยมเลี้ยงสัตว์แปลก ๆ เพราะจากผลรายงานของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่ามีเชื้อแบคทีเรียถึง 45 ชนิด และยังตรวจพบหนอนพยาธิตัวจี๊ดอีก 22 ชนิด จึงมีการสั่งห้าม และนำตัวที่ยังมีชีวิตอยู่กว่า 500 ตัวไปทำลายโดยการเผา แมลงสาบมาดากัสการ์มีรายชื่ออยู่ในบัญชีหมายเลข 2 (Appendix II) ตามบัญชีของไซเตส และมีรายชื่อเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: สีส้มและแมลงสาบมาดากัสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

แมงกะพรุน

แมงกะพรุน หรือ กะพรุน จัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ไฟลัมไนดาเรีย ไฟลัมย่อยเมดูโซซัว แบ่งออกเป็นอันดับได้ 5 อันดับ (ดูในตาราง) ลักษณะลำตัวใสและนิ่มมีโพรงทำหน้าที่เป็นทางเดินอาหารมีเข็มพิษที่บริเวณหนวดที่อยู่ด้านล่าง ไว้ป้องกันตัวและจับเหยื่อ เมื่อโตเต็มวัย ส่วนประกอบหลักในลำตัวเป็นน้ำร้อยละ 94-98 ด้านบนเป็นวงโค้งคล้ายร่ม ด้านล่างตอนกลางเป็นอวัยวะทำหน้าที่กินและย่อยอาหาร พบได้ในทะเลทุกแห่งทั่วโลก แมงกะพรุนส่วนใหญ่จัดอยู่ในอันดับไซโฟซัว แต่ก็บางประเภทที่อยู่ในอันดับไฮโดรซัว อาทิ แมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกส (Physalia physalis) ซึ่งเป็นแมงกะพรุนที่มีพิษร้ายแรงที่สุดในโลก และแมงกะพรุนอิรุคันจิ (Malo kingi) ที่อยู่ในอันดับคูโบซัว ก็ถูกเรียกว่าแมงกะพรุนเช่นกัน.

ใหม่!!: สีส้มและแมงกะพรุน · ดูเพิ่มเติม »

แม่มดน้อยโดเรมี

ูแม่มดน้อยโดเรมี (Magical Doremi) เป็น การ์ตูนญี่ปุ่น แนวสาวน้อยเวทมนตร์ แบบออริจินอล (แต่งเรื่องขึ้นมาเอง ไม่ได้สร้างจากหนังสือการ์ตูน) ที่ทาง โตเอแอนิเมชัน ไม่ได้สร้างมานานถึง 15 ปี แต่งโดย อิซึมิ โทโด ต่อมาได้ถูกนำไปสร้างเป็นอะนิเมะ มังงะ (วาดโดย ชิซึเอะ ทาคานาชิ) และเกม หลายภาคด้วยกัน.

ใหม่!!: สีส้มและแม่มดน้อยโดเรมี · ดูเพิ่มเติม »

แย้

แย้ (Butterfly lizards, Small-scaled lizards, Ground lizards, Butterfly agamas) เป็นสัตว์เลื้อยคลานจำพวกกิ้งก่าประเภทหนึ่ง จัดเป็นสัตว์ที่อยู่ในสกุล Leiolepis ในวงศ์ Agamidae วงศ์ย่อย Leiolepidinae พบกระจายทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะภูมิภาคอินโดจีน พบทั้งหมด 8 ชนิด สำหรับในประเทศไทยพบทั้งหมด 4 ชนิด มีลักษณะเด่นคือ มีสีสวยสด และลำตัวไม่มีปุ่มหนาม.

ใหม่!!: สีส้มและแย้ · ดูเพิ่มเติม »

แรดขาว

แรดขาว (White rhinoceros, White rhino, Square-lipped rhinoceros) เป็นแรดชนิดที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ceratotherium simum จัดว่าเป็นสัตว์บกที่ใหญ่ที่สุดในโลกรองลงมาจากช้าง เพราะแรดขาวสามารถที่จะมีความยาวลำตัวได้ถึง 3.6-5 เมตร ความสูงของไหล่ 1.6-2 เมตร น้ำหนัก 2.3-3.6 ตัน มีผิวสีน้ำตาลอมเทาหรือเหลือง จนได้ชื่อว่า "แรดขาว" มีนอ 2 นอ ความยาวของนอที่ใหญ่ที่สุดอาจยาวได้ถึง 1.5 เมตร ริมฝีปากบนของแรดขาวจะเป็นรูปสี่เหลี่ยมไม่มีติ่งยื่นแหลมออกมาเหมือนแรดชนิดอื่น ๆ ทั้งนี้เพราะแรดขาวชอบที่จะกินหญ้าหรือพืชที่อยู่ตามพื้นดินหรือพุ่มไม้เตี้ย ๆ มากกว่าใบไม้ มีหูที่ยาวและปลายแหลม หน้าผากลาดและมน หัวไหล่นูนเป็นก้อน ผิวหนังเป็นตุ่มนูนเล็กน้อย ตามลำตัวไม่มีขน ยกเว้นที่ปลายหูและหาง กีบเท้ามีทั้งหมด 3 กีบ แรดขาวมีการกระจายพันธุ์บริเวณทวีปแอฟริกาตอนใต้ พบตั้งแต่ซูลูแลนด์ ถึงอุทยานแห่งชาติครูเกอร์ในแอฟริกาใต้ และยังพบได้ใน ซูดานตอนใต้, ยูกันดา และบริเวณใกล้ ๆ คองโก มีทั้งหมด 2 ชนิดย่อย คือ แรดขาวเหนือ (C. s. simum) และแรดขาวใต้ (C. s. cottoni) แรดขาวมักอยู่เป็นครอบครัวเล็ก ๆ ประกอบด้วยสมาชิกประมาณ 3-4 ในพื้นที่มีมีอาหารอุดมสมบูรณ์อาจพบอยู่หลายครอบครัวหากินอยู่ด้วยกัน บางครั้งอาจพบมากถึง 18 ตัว โดยมีตัวผู้คุมฝูงตัวเดียว นอกนั้นเป็นตัวเมียและลูก แรดขาวมีการกระจายถิ่นหากินกว้าง โดยใช้กองอุจจาระและปัสสาวะเป็นการบอกอาณาเขตของมัน ตัวเมียที่มีลูกจะยอมให้ตัวผู้เข้าใกล้เฉพาะตอนที่เป็นสัดเท่านั้น หลังจากผสมพันธุ์แล้ว ตัวเมียจะต่อสู้ไล่ตัวผู้ไปทันที ในฤดูร้อนชอบหลบร้อนตามร่มไม้หรือแช่ปลัก บางครั้งอาจแช่ปลักทั้งคืนเพื่อบรรเทาความร้อนและกำจัดแมลง ในฤดูหนาวจะนอนอาบทรายแทนการแช่ปลัก แรดขาวโตเต็มที่พร้อมจะผสมพันธุ์ได้เมื่ออายุ 7-10 ปี ฤดูผสมพันธุ์ ในช่วงเดือนกรกฎาคม-กันยายน ระยะการตั้งท้องนานประมาณ 18 เดือน มีอายุประมาณ 40-50 ปี ลูกแรดขาวจะอยู่ร่วมกับแม่จนอายุประมาณ 3-5 ปี โดยแรดตัวเมียจะออกลูกเพียงครั้งละตัว ในอดีตแรดขาวจะถูกล่าอย่าหนักเพื่อเอานอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคล่าอาณานิคม จนทำให้ประชากรของแรดขาวเกือบสูญพันธุ์ แต่ปัจจุบันได้มีกฎหมายคุ้มครองแรดขาวและห้ามการล่าและค้าขายนอแรดอย่างเด็ดขาด รวมถึงแรดชนิดอื่น ๆ ด้วย ทำให้ประชากรของแรดขาวมีเพิ่มมากขึ้นจากการอนุรักษ์ แต่กระนั้นก็คงมีการลักลอบอยู่เป็นร.

ใหม่!!: สีส้มและแรดขาว · ดูเพิ่มเติม »

แจ็กโอแลนเทิร์น

ตะเกียงฟักทอง ตะเกียงฟักทอง หรือ แจ็ก-โอ-แลนเทิร์น (Jack-o'-lantern) เป็นอุปกรณ์ประดับตกแต่งสถานที่ซึ่งนิยมใช้ในเทศกาลฮาโลวีน มีลักษณะเป็นผลฟักทองสีส้ม (ไม่นิยมใช้ฟักทองเอเซีย) แกะสลักเป็นรูปหน้าคนในกริยาต่างๆ โดยมากมักเป็นกริยาแสดงอาการข่มขวัญ หรือโอดครวญ ทั้งนี้ การใช้ตะเกียงฟักทอง เป็นการระลึกถึงแจ็ก ชายชาวนาในตำนานที่หาญกล้าต่อกรกับซาตาน.

ใหม่!!: สีส้มและแจ็กโอแลนเทิร์น · ดูเพิ่มเติม »

แคร์รอต

''Daucus carota subsp. maximus'' แคร์รอต (carrot) เป็นพืชกินหัวชนิดหนึ่ง มีลักษณะยาว หัวแคร์รอตมีหลายสี เช่น เหลือง ม่วง ส้ม แต่ที่นิยมรับประทานในปัจจุบันคือสีส้ม แคร์รอตเป็นพืชแถบเอเชียตะวันออกและเอเชียกลาง มีหลายขนาด ตั้งแต่ขนาดเล็กเท่าแท่งดินสอ หรือที่เรียกว่าเบบีแคร์รอต (baby carrot) ไปจนถึงขนาดใหญ.

ใหม่!!: สีส้มและแคร์รอต · ดูเพิ่มเติม »

โยชิ

(Yoshi; บางครั้งก็ระบุว่าโยชิสีเขียว) เป็น 1 ในฮีโร่ของเกมมาริโอและเป็นพันธมิตรกับมาริโอกับลุยจิ เขาเป็น 1 ใน กลุ่มโยชิ ตอนมาริโอและลุยจิยังเป็นทารกเขาช่วยปกป้องทั้งสองจาก คาเมคคุบปะนักเวทย์ ให้ปลอดภั.

ใหม่!!: สีส้มและโยชิ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนชลราษฎรอำรุง

รงเรียนชลราษฎรอำรุง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี โดยมีผู้อำนวยการชื่อ นายอุทัย สิงห์โตทอง โดยมีชื่อที่เรียกกันติดปากของชาวชลบุรีว่า “ชลชาย” โรงเรียนชลราษฎรอำรุง ตั้งอยู่เลขที่ 215 หมู่ที่ 3 ถนนพระยาสัจจา ตำบลบ้านสวน อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี โทรศัพท์ 0 3828 2078, โทรสาร 0 3828 6079 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีเนื้อที่ 67 ไร่ 2 งาน 69.7 ตารางวา เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น(มัธยมศึกษาปีที่1-มัธยมศึกษาปีที่3)เฉพาะนักเรียนชาย และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (มัธยมศึกษาปีที่ 4 – มัธยมศึกษาปีที่ 6) เปิดสอนแบบสหศึกษ.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนชลราษฎรอำรุง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบางมดวิทยา

ลหลวงปู่ชิต อนุสาวรีย์มด บริเวณหน้าโรงเรียน บริเวณหน้าเสาธง โรงเรียนบางมดวิทยา "สีสุกหวาดจวนอุปถัมภ์" (อังกฤษ: Bangmod Wittaya School) (อักษรย่อ: บ.ม.ว., B.M.W.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เดิมชื่อ โรงเรียนสีสุกหวาดจวนวิทยา ปัจจุบันมีนักเรียนทั้งสิ้น 2127 คน ครู 114 ท่าน จัดการเรียนการสอน 51 ห้องเรียน.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนบางมดวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบางปะกงบริหารธุรกิจ

รงเรียนบางปะกงบริหารธุรกิจ เป็นสถานศึกษาขนาดกลาง ตั้งอยู่ที่ 1/425 หมู่ 14 ซอย 7/3 ถนนจรัญญานนท์ ตำบลบางวัว อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา 24180 โทรศัพท์ 0-3853-8809.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนบางปะกงบริหารธุรกิจ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบางแก้วประชาสรรค์

รงเรียนบางแก้วประชาสรรค์ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำตำบลบางแก้ว สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มีพื้นที่ 24 ไร่ 1 งาน 38 ตารางวา เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ประเภทสหศึกษา แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ระดับ คือ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และ มัธยมศึกษาตอนปล.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนบางแก้วประชาสรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบุญวัฒนา

รงเรียนบุญวัฒนา (Boonwattana School) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา และเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดนครราชสีมา แห่งที่ 3 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม 2516.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนบุญวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนช่องพรานวิทยา

รงเรียนช่องพรานวิทยา (Chongphranwittaya School) อักษรย่อ: ช.พ /.C.P. เป็น โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง ในจังหวัดราชบุรี ก่อตั้งมาแล้ว 39 ปี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขต 8 กระทรวงศึกษาธิการ เป็นต้นแบบโรงเรียนในฝันตำบลเตาปูน โรงเรียนวิถีพุทธ เป็นโรงเรียนประเภทสหศึกษาเฉพาะนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปล.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนช่องพรานวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบ้านสันโค้ง (เชียงรายจรูญราษฎร์)

รงเรียนบ้านสันโค้ง (เชียงรายจรูญราษฎร์) (Bansankhong (Chiangraijaroonrat) เป็นโรงเรียนที่อยู่ในสังกัดของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 1036 ถนนสนามบิน ตำบลรอบเวียง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงร.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนบ้านสันโค้ง (เชียงรายจรูญราษฎร์) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบ้านหาดเสือเต้น

รงเรียนบ้านหาดเสือเต้น เป็นโรงเรียนประจำหมู่บ้านหาดเสือเต้น ตั้งอยู่ที่ บ้านหาดเสือเต้น ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนบ้านหาดเสือเต้น เป็นสถานศึกษารางวัลโรงเรียนพระราชทานในระดับประถมศึกษา ปัจจุบันโรงเรียนแบ่งการเปิดการสอนเป็น ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับประถมศึกษา และระดับก่อนประถมศึกษา โรงเรียนบ้านหาดเสือเต้น เดิมชื่อว่า "โรงเรียนบ้านงิ้วงาม 2" เปิดทำการเรียนการสอนครั้งแรกในปี พ.ศ. 2496 โดยอาศัยศาลาการเปรียญวัดหาดเสือเต้นเป็นสถานที่เรียน (ได้อาศัยเรียนอยู่ที่วัดหาดเสือเต้นจนถึง พ.ศ. 2512 จึงย้ายมายังที่ตั้งปัจจุบัน) ปัจจุบันโรงเรียนบ้านหาดเสือเต้นเปิดทำการเรียนการสอนเป็น 3 ระดับชั้น คือระดับก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีนายอุดม รัตนสังข์ ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหาดเสือเต้นคนปัจจุบัน.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนบ้านหาดเสือเต้น · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบ้านดอน (ศรีเสริมกสิกร)

รงเรียนบ้านดอน (ศรีเสริมกสิกร) เดิมตั้งอยู่ในเขตหัวเวียงใต้ ตำบลในเวียง อำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน และได้ตั้งชื่อ "โรงเรียนศรีเสริมกสิกร" โดยมีนายเสถียร บูรณกิจ เป็นครูใหญ่คนแรก ต่อมาในปี..

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนบ้านดอน (ศรีเสริมกสิกร) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา)

รงเรียนบ้านดู่(สหราษฎร์วิทยา) เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3 ตั้งอยู่ที่ หมู่ 6 ตำบลเมืองปัก อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบันมีอายุ 74 ปี ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2482.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพรหมคีรีพิทยาคม

รงเรียนพรหมคีรีพิทยาคม (อักษรย่อ: พ.ร.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง ประเภทสหวิทยาสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการเลขที่ 4 หมู่ 4 ตำบลทอนหงส์ อำเภอพรหมคีรี.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนพรหมคีรีพิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนกันตังพิทยากร

รงเรียนกันตังพิทยากร เป็นโรงเรียนมัธยมขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13 สถานศึกษาจัดการศึกษาช่วงชั้นที่ 3 และ ช่วงชั้นที่ 4.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนกันตังพิทยากร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนกาวิละวิทยาลัย

รงเรียนกาวิละวิทยาลัย (kawilawittayalai school)ตั้งขึ้นตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ  ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๒๑ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำจังหวัดแห่งที่  3 ของจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 (เชียงใหม่-แม่ฮ่องสอน) โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) โรงเรียนในฝัน46ICT Leadership Centre and Network Schools อาคารเรียน3.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนกาวิละวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนกิ่งแก้ว (เทวะพัฒนาคาร)

รงเรียนวัดกิ่งแก้ว เป็นโรงเรียนขยายโอกาสในจังหวัดสมุทรปราการ ประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนกิ่งแก้ว (เทวะพัฒนาคาร) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนกู่ทองพิทยาคม

รงเรียนกู่ทองพิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งที่สองของอำเภอเชียงยืน เดิมเป็นโรงเรียนสาขาของโรงเรียนเชียงยืนพิทยาคม รูปแบบสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 26 กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ คม ตั้งอยู่ที่ตำบลกู่ทอง อำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม ปัจจุบันเปิดสอนในช่วงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปล.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนกู่ทองพิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนกงไกรลาศวิทยา

รงเรียนกงไกรลาศวิทยา เป็นโรงเรียนสหศึกษา เปิดสอนระดับมัธยมศึกษา ตั้งอยู่ในอำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย เป็นหนึ่งในโรงเรียนของจังหวัดสุโขทัยที่มีการส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่นของจังหวัด เช่นมีการแสดงดนตรีมังคละ และได้รับเชิญจัดแสดงในระดับประเทศอยู่บ่อยครั้ง.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนกงไกรลาศวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมัธยมวัดบึงทองหลาง

รงเรียนมัธยมวัดบึงทองหลางตั้งอยู่ที่ ซอยลาดพร้าว101 แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร ก่อตั้งเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2522 เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร ประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนมัธยมวัดบึงทองหลาง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมัธยมวัดเขาสุกิม

รงเรียนมัธยมวัดเขาสุกิม เป็นโรงเรียนในจังหวัดจันทบุรี.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนมัธยมวัดเขาสุกิม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร

รงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา อยู่ในการกำกับดูแลของมหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2548 โดยมติของสภามหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อให้เป็นสถานที่ฝึกสอนของนิสิตคณะศึกษาศาสตร์ของมหาวิทยาลัย และจัดการเรียนการสอนตามแนวศิลปศาสตร์ (Liberal Arts Education) มี ผ.ดร.คงศักดิ์ พร้อมเทพ เป็นผู้อำนวยการท่านแรก โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งอยู่ที่เลขที่ 1 ถนนสนามบิน ตำบลในเมือง อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งเดิมเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยนเรศวร (ส่วนสนามบิน) มีพื้นที่ 66 ไร.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย

กด้านบนบริเวณ โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย 15 มีนาคม 2489 ภาพถ่ายจากด้านบนบริเวณโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย ในสมัยก่อน ซึ่งน่าจะถ่ายก่อน ปี 2515 บริเวณโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย พ.ศ. 2552 (มุมสูง) บริเวณด้านหน้าตึก 1 และเป็นบริเวณเข้าแถว เสาธงต้นใหม ป็นเสาธงของสถานศึกษาระดับต่ำกว่าอุดมศึกษาที่มีขนาดใหญ่ที่สุด โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย(อักษรย่อ: ร.ส., R.S.)เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทโรงเรียนชายล้วน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งอยู่เลขที่ 1753 ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองจังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย

รงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย เป็นสถานศึกษาแห่งแรกของจังหวัดร้อยเอ็ดซึ่งแต่เดิมเป็นโรงเรียนชายล้วน ปัจจุบันจัดอยู่ในประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ รูปแบบสหศึกษาในมัธยมปลาย และ ชายล้วนในมัธยมต้น ทำการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับช่วงชั้นที่ 3 และช่วงชั้นที่ 4 โดยมีเนื้อที่ 27 ไร่ 3 งาน 52 ตารางวา โดยในช่วงเวลา 100 ปีที่ผ่านมา ร้อยเอ็ดวิทยาลัยได้ทำหน้าที่ผลิตทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าออกมาทำหน้าที่รับใช้สังคมและชุมชนอย่างมาก มาย ในฐานะสถานศึกษาที่เป็นผู้นำทางด้านวิชาการ กีฬา และคุณธรรมจริยธรรมทั้งระดับจังหวัดและระดับประเทศ ดังที่เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ได้กล่าวไว้ว.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา

รงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดสงขลา ประเภทสหศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 16 จังหวัดสงขลาและสตูล โรงเรียนมีประวัติความเป็นมาอย่างยาวนานถึง 100 กว่าปี (112 ปีในปี 2560) ปัจจุบันเปิดสอนในระดับชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 1-6 ตั้งอยู่ เลขที่ 1 ถนนปละท่า ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา มีเนื้อที่ 26 ไร่ 3 งาน 77 ตารางวา พื้นที่แบ่งออกเป็น 2 เขต(ฝั่ง) ซึ่งอยู่ห่าง กันประมาณ 450 เมตร (โดยสถานที่ทำการเรียนการสอน คือ โรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา ส่วนเขต(ฝั่ง)ที่ 2 เป็นสถานที่เรียนภาควิชางานอาชีพทุกแขนง) ทางโรงเรียนได้รับการขนานนามว่า เป็นโรงเรียนที่สุดยอดของภาษาต่างประเทศ จึงมีห้องเรียนทางภาษาจำนวนมาก และหลายภาษา และในปีการแข่งขันกีฬาประจำจังหวัดทางโรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลามีการจัดการแปรอักษรอย่างงดงาม.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดบวรนิเวศ

รงเรียนวัดบวรนิเวศ เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทชายล้วน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาทั้งตอนต้นและตอนปลายเป็นโรงเรียนชายล้วน มีที่ตั้งอยู่ในบริเวณวัดบวรนิเวศวิหาร เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โรงเรียนนี้ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2436 ตามพระดำริของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เพื่อจัดการศึกษาเล่าเรียนแก่พระภิกษุสามเณรในคณะธรรมยุติกนิกาย ต่อมาในปี พ.ศ. 2442 การจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนวัดบวรนิเวศได้ก็กลายเป็นต้นแบบของการจัดการศึกษาในโรงเรียนต่างๆ ทั่วประเทศ ตามพระราชประสงค์ที่จะขยายโอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โรงเรียนแห่งนี้ในปัจจุบันมีองค์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกเป็นองค์อุปถัม.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนวัดบวรนิเวศ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดจันทราวาส(ศุขประสารราษฎร์)

รงเรียนวัดจันทราวาส (ศุขประสารราษฎร์) (อังกฤษ:Watjuntrawart School) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบสหศึกษาและเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีเนื้อที่ 6 ไร่ 32 ตารางวา ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 10 ถนนบริพัตร ตำบลท่าราบ อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนวัดจันทราวาส(ศุขประสารราษฎร์) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดคลองตันราษฎร์บำรุง

รงเรียนวัดคลองตันราษฎร์บำรุง เป็นโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร สำนักงานการประถมศึกษาอำเภอบ้านแพ้ว สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ 7 หมู่ที่ 3 ตำบลเกษรพัฒนา อำเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร 74120ประวัติการจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนวัดคลองตันราษฎร์บำรุง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดใหญ่ชัยมงคล(ภาวนารังสี)

รงเรียนนี้เปิดสอนครั้งแรก เมื่อวันที่ ๑พฤษภาคม ๒๕๑๗เปิดสอนชั้นประถมศึกษา ปีที่ ๑ ถึง ประถมศึกษาปีที่ ๔ โดยใช้อาคารเรียนของวัดใหญ่ชัยมงคล  เป็นสถานที่เรียน     ปีแรกที่เปิดทำการสอน มีนักเรียน  ๗๖ คน ครู ๕  คน นายสมพงษ์  ตะวันเที่ยง เป็นครูใหญ่  ต่อมานายวีระ  แก้วแหวน   ได้ดำรงตำแหน่งครูใหญ่  เมื่อวันที่  ๑ กรกฎาคม  ๒๕๒๕และนายบัว  สุขนิคม มาดำรงตำแหน่ง  อาจารย์ใหญ่  เมื่อวันที่  ๑ กันยายน  ๒๕๓๔ นายปรีชา  มีวุฒิสม  ดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่  เมื่อวันที่  ๑  ตุลาคม  ๒๕๓๕  ใน ปี  ๒๕๓๗ได้รับการอนุมัติแต่งตั้งให้เป็นโรงเรียนปฏิรูปการศึกษา     ในปีการศึกษา ๒๕๔๐ ได้เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นตามโครงการขยายโอกาสทางการศึกษา  เริ่มแรกมีนักเรียนมาเรียน  ๑๗ คน วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ นายนิพนธ์  กฤชสินชัย ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน วันที่ ๕  พฤศจิกายน ๒๕๕๑ นางจุฑามาศ  รอดภัย ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนคนปัจจุบัน.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนวัดใหญ่ชัยมงคล(ภาวนารังสี) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวังยาวศึกษาวิทย์

รงเรียนวังยาวศึกษาวิทย์ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางประจำตำบลวังยาว อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 26 กระทรวงศึกษาธิการ สหวิทยาเขต 6 สะดืออิสาน ตั้งอยู่ที่ ถนนหนองแหน-หนองเขื่อน ตำบลวังยาว อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม เดิมเป็นโรงเรียนสาขาของโรงเรียนเขวาไร่ศึกษา ปัจจุบันเปิดสอนในช่วงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย รูปแบบสหศึกษ.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนวังยาวศึกษาวิทย์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวังสมบูรณ์วิทยาคม

รงเรียนวังสมบูรณ์วิทยาคม (Wangsomboonwittayakom School)เป็นโรงเรียนสหศึกษา ระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนวังสมบูรณ์วิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวิชูทิศ

รงเรียนวิชูทิศ เป็นโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย โรงเรียนวิชูทิศ สำนักงานเขตดินแดง กรุงเทพมหานคร เริ่มทำการก่อสร้างเมื่อวันที่ 13 เมษายน 2503 ภายในบริเวณที่ดินเทศบาลของกรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ประมาณ 9 ไร่เศษ สร้างด้วยเงินงบประมาณประจำปีของเทศบาลกรุงเทพมหานครประกอบด้วยอาคารบ้านไม้ 2 ชั้น ขนาด 8 ห้องเรียน หอประชุม 1 หลัง บ้านพักครูเป็นเรื่อง 1 แถว ขนาด 6 ห้อง บ้านพักนักการภารโรง 1 หลัง โรงเรียนวิชูทิศได้เปิดทำการสอนเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2504 และทำพิธีเปิดป้ายชื่อโรงเรียน วิชูทิศ ในวันที่ 27 พฤษภาคม 2504 ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันสถาปนาเทศบาลกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนวิชูทิศ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสามโคก องค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี

ท่านพระครูถาวรกิจโกศล เจ้าอาวาสวัดป่างิ้ว ตำบลป่างิ้ว อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี เป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งโรงเรียนสามโคก โดยได้เชิญผู้ปกครองนักเรียนในอำเภอสามโคก และอำเภอใกล้เคียง มาประชุมที่วัดป่างิ้ว เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2503 เพื่อปรึกษาหารือกันจัดตั้งโรงเรียนมัธยมวิสามัญรุ่น 4 ภายในบริเวณวัดป่างิ้ว ซึ่งทางวัดยินดีให้ใช้ที่ดิน 12 ไร่ และให้สมทบก่อสร้างเป็นเงินจำนวน14,620 บาท จังหวัดปทุมธานีได้มีคำสั่งให้เริ่มทำการสอนได้ ในวันที่ 26 พฤษภาคม 2503 โดยอาศัยชั้นบนอาคารเรียนประถมศึกษาของโรงเรียนวัดป่างิ้ว ในวันเปิดเรียนมีนักเรียนชายและหญิงรวม 9 คน นายสมทรง แรงกล้า ครูใหญ่โรงเรียนวัดป่างิ้วรักษาการแทนครูใหญ่ นายศักดา พวงดี ครูโรงเรียนนันทมุนีบำรุง มาช่วยสอนเป็นการภายในต่อมาจังหวัดปทุมธานีได้มีคำสั่งแต่งตั้งนายสังเวียน จิตระยนต์ ครูโรงเรียนสตรีปทุมธานี “คณะราษฎร์บำรุง 3” มาดำรงตำแหน่งครูใหญ่ ตั้งแต่วันที่ 5 มิถุนายน 2503 และได้มีประกาศกระทรวงศึกษาธิการให้เปิดชั้นเรียนขึ้น   ณ วันที่ 4 พฤษภาคม 2503 ตามหนังสืออำเภอสามโคกที่ 1444/2503 ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2503 เดิมนั้นเป็นโรงเรียนมัธยมวิสามัญตอนปลาย (ม.4-ม.6) สังกัดแผนกโรงเรียนส่วนภูมิภาคของโรงเรียนรัฐบาลกรมวิสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ใช้อักษรย่อ ปท.21 จัดการสอนแบบสหศึกษา ต่อมาในปี 2507 คณะครูอาจารย์ ผู้ปกครองนักเรียน และท่านพระครูถาวรกิจโกศล เจ้าอาวาสวัดป่างิ้ว จัดหาเงินสมทบ จำนวน 100,000 บาท เพื่อจัดสร้างอาคารเรียนแบบ 216 โดยได้วางศิลาฤกษ์อาคารเรียนวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2507 โดยผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี นายพูนสวัสดิ์ กำลังงาน เป็นประธานพิธีต่อมาในปีงบประมาณ 2508 ได้รับเงินงบประมาณค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง เป็นเงิน 200,000 บาท เพื่อต่อเติมก่อสร้างอาคารเรียน และได้สร้างเสร็จเรียบร้อยเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2508 และในวันที่ 8 มกราคม 2509 ได้จัดทำบุญอาคารเรียนใหม่และใช้เรียนตั้งแต่วันนั้นเป็นต้นมา โรงเรียนสามโคกได้โอนไปสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2552 พร้อมกับได้รับงบประมาณปี..

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนสามโคก องค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี

รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี เป็นโรงเรียนประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เปิดทำการเรียนการสอน 2 ช่วงชั้นคือช่วงชั้นที่ 3 และ 4 ตั้งอยู่ในมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ใช้อาคาร 7 อาคาร 15 และอาคาร 18 ของมหาวิทยาลัยฯ เลขที่ 321 ถนนนารายณ์มหาราช ตำบลทะเลชุบศร อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ห่างจากวงเวียนศรีสุริโยทัยไปทางทิศตะวันตกประมาณ 2 กิโลเมตร บนพื้นที่ 1 ไร.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น

รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นหน่วยงานเทียบเท่าภาควิชา สังกัดคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยจัดการเรียนการสอนในระดับก่อนประถมศึกษาไปจนถึงมัธยมศึกษาตอนปล.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสาธิตเตรียมวิศวกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

รงเรียนสาธิตเตรียมวิศวกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (Preparatory Engineering and Technology Demonstration School, Rajamangala University of Technology Isan.) สังกัด คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร ก่อตั้งโดยขอใช้หลักสูตรจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านน.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนสาธิตเตรียมวิศวกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสำโรงทาบวิทยาคม

รงเรียนสำโรงทาบวิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ประจำอำเภอ ตั้งอยู่ที่ถนนสุรินทร์ – ศรีสะเกษ หมู่ที่ 11 ตำบลสำโรงทาบ อำเภอสำโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์ รหัสไปรษณีย์ 32170 โทรศัพท์ 0-4456-9163 โทรสาร 0-4456-9300 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 จังหวัดสุรินทร์ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีพื้นที่ 63 ไร่ 2 งาน 62 ตารางวา เป็นที่ลุ่มมีน้ำท่วมขังในฤดูฝน.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนสำโรงทาบวิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสุรวิวัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

รงเรียนสุรวิวัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (อังกฤษ; Surawiwat School, Suranaree University of Technology) เป็นโรงเรียนในสังกัดสถานศึกษาค้นคว้าการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและภาษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จัดตั้งขึ้นเมื่อ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 ในคราวประชุมสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ครั้งที่ 6/2557สำนักงานสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี,, สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม..

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนสุรวิวัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสุรนารีวิทยา

รงเรียนสุรนารีวิทยา (อักษรย่อ: ส.ร.น., S.R.N) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประจำจังหวัดนครราชสีมาประเภทโรงเรียนหญิงล้วน เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสุรนารีวิทยา ได้จัดการศึกษาจนเป็นที่ยอมรับของสังคมในการเป็นสถานศึกษาชั้นนำของโรงเรียนมัธยมศึกษาของไทย เป็นสถานศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทานระดับมัธยมศึกษาประจำปีการศึกษา 2523 และได้รับรางวัลพระราชทานระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประจำปีการศึกษา 2535 โรงเรียนสุรนารีวิทยาเป็นโรงเรียนที่มีต้นกำเนิดของโรงเรียนมัธยมแบบประสม (Comprehensive School) แห่งแรกของประเทศไทย ซึ่งได้รับการพัฒนาด้วยความเอาใส่ ทุ่มเท เสียสละอย่างต่อเนื่องจากผู้บริหาร บุคลากรของโรงเรียนตลอดจนนักเรียนและสังคมตลอดม.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนสุรนารีวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสตรีราชินูทิศ

รงเรียนสตรีราชินูทิศ เป็นโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดอุดรธานี ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เดิมชื่อ "'โรงเรียนอุปถัมภ์นารี'" ก่อตั้งขึ้นเพื่อเป็นการสนองพระราชดำริของ สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี โดยมีคุณหญิงศรีสุริยราชวรานุวัตรเป็นผู้นำการบริจาคทรัพย์และก่อตั้งโรงเรียนขึ้น เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 2468 ปัจจุบัน ตั้งอยู่ ณ ตำบลหมากแข้ง อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นหนึ่งในโรงเรียนมัธยมศึกษาของประเทศไทยที่ยังคงเปิดทำการสอนในประเภทของโรงเรียนหญิงล้วน.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนสตรีราชินูทิศ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

รงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เป็นโรงเรียนรัฐบาล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 1 ซอยเจริญกรุง 57 ถนนเจริญกรุง แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 1 สิงหาคม..

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนหัวเรือพิทยาคม

รงเรียนหัวเรือพิทยาคม (อักษรย่อ: ห.พ., H.P.) เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2539 ได้รับการประกาศจัดตั้งโดย ฯพณฯ สุขวิช รังสิตพล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้น ให้เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำตำบลหัวเรือ อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกระทรวงมหาดไทย เดิมเป็นสาขาของโรงเรียนวาปีปทุม ปัจจุบันเปิดทำการสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และ มัธยมศึกษาตอนปล.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนหัวเรือพิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนหนองเรือวิทยา

รงเรียนหนองเรือวิทยา (Nongruae Witthaya School.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษที่โดดเด่นทางด้านการผลิตนักกีฬาวอลเลย์บอลหญิง โดยนักเรียนทั้งศิษย์เก่าและศิษย์ปัจุบันที่อยู่ใน วอลเลย์บอลไทยแลนด์ลีก ไปจนถึง วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย อยู่หลายคน.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนหนองเรือวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอุดมวิทยา (อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี)

รงเรียนอุดมวิทยา เป็นโรงเรียนเอกชนในสังกัดสำนักงานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 ซึ่งเปิดสอนในระดับชั้นเตรียมอนุบาลถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย ตั้งอยู่เลขที่ 104 ซอย รังสิต-นครนายก 31 ถนนรังสิต-นครนายก ตำบลประชาธิปัตย์ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนอุดมวิทยา (อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอุดรพัฒนาการ

รงเรียนอุดรพัฒนาการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 177 บ้านหนองตูม ตำบลบ้านจั่น อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี 41000 ตั้งขึ้นตามนโยบายกรมสามัญศึกษาตามโครงการจัดตั้งโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นปลายประจำจังหวัด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้โอกาสทางการศึกษาแก่นักเรียนที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีลักษณะเป็นโรงเรียนต้นแบบเปิดสอนเฉพาะระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปัจจุบันนางธิดาวรรรณ นาคเสนเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนตั้งแต่ พ.ศ. 2559.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนอุดรพัฒนาการ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอนุบาลองครักษ์ (ผดุงองครักษ์ประชา)

รงเรียนอนุบาลองครักษ์ (ผดุงองครักษ์ประชา) เป็นโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก ตั้งอยู่ในตำบลองครักษ์ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก อยู่ในกลุ่มองครักษ์พัฒนา เป็นโรงเรียน 1 ใน 10 แห่งของกลุ่มฯ เป็นโรงเรียนอนุบาลประจำอำเภอองครักษ์ และเป็นโรงเรียนอนุบาลประจำสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครนายก เปิดสอนชั้นอนุบาล-ประถมศึกษ.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนอนุบาลองครักษ์ (ผดุงองครักษ์ประชา) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์

รงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์ (อังกฤษ: Omnoisophonchanooprathum School) (อักษรย่อ: อ.ส.ช. / O.S.C.) ก่อตั้งโดย พระครูโสภณธรรมสาคร เจ้าอาวาสวัดอ้อมน้อย จังหวัดสมุทรสาคร โดยจัดตั้งเป็นทางการในวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2525 โดยมีนายสมปอง สุวรรณโฉม เป็นอาจารย์ใหญ่คนแรก เนื่องจากโรงเรียนอยู่ในความอุปถัมภ์ของพระครูโสภณธรรมสาครและประชาชนชาวตำบลอ้อมน้อยให้การอุปถัมภ์เป็นมงคลนามแก่โรงเรียนจึงขอใช้ชื่อโรงเรียนว่า "โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์" และในปี พ.ศ. 2557 มีนักเรียน 1,600 คน.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี

รงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี (อังกฤษ: Princess Chulabhorn's College Chonburi, Princess Chulabhorn Science High School Chonburi) เป็นโรงเรียนสหศึกษาให้การศึกษาในระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 3 รอบ ในวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2536.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย บุรีรัมย์

รงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย บุรีรัมย์ (โรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาค) (อังกฤษ:Princess Chulabhorn's College Buriram) เป็นโรงเรียนสหศึกษา รับนักเรียนประเภทประจำ สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ในขณะนั้น) ปัจจุบันสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมายุครบ 3 รอบ วันที่ 4 กรฎาคม..

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย บุรีรัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง

รงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง (อังกฤษ:Princess Chulabhorn's College, Trang) เป็นโรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาค ให้การศึกษาในระดับมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 3 รอบ ในวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2536.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช

รงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช (อังกฤษ: Princess Chulabhorn's College Nakhon Si Thammarat, Princess Chulabhorn Science High School Nakhon Si Thammarat) เป็นโรงเรียนสหศึกษาให้การศึกษาในระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 3 รอบ ในวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2536.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย

รงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย (อักษรย่อ: จภ.ลย.; อังกฤษ: Princess Chulabhorn's College Loei: PCCLOEI) หรือเรียกย่อๆ ว่า จุฬาเลย เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางในจังหวัดเลย ประเภทโรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาคของรัฐ เปิดการเรียนการสอนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19 นอกจากนี้โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย ยังเป็นโรงเรียนที่ได้รับการจัดอันดับโดยอยู่ในอันดับที่ 96 จาก 2,800 โรงเรียนทั่วประเทศจากผลการทดสอบ O-net ประจำปี 2559 ที่ผ่านมาและเป็นอันดับที่ 1 ของจังหวัดเลยด้ว.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนทองผาภูมิวิทยา

รงเรียนทองผาภูมิวิทยา (ท.ว.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำอำเภอทองผาภูมิขนาดกลาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรีเขต 3 ก่อตั้งเมื่อวันที่ 17 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนทองผาภูมิวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนคำแสนวิทยาสรรค์

รงเรียนคำแสนวิทยาสรรค์ (Khamsaen Wittayasan School, อักษรย่อ: ค.ว.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ และโรงเรียนมาตรฐานสากล (World Class Standard School) ขนาดใหญ่ในจังหวัดหนองบัวลำภู เปิดการเรียนการสอนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายแบบสหศึกษาประจำอำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู อยู่ในสหวิทยาเขตวังแสนสุวรรณ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนคำแสนวิทยาสรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนประสาทวิทยาคาร

รงเรียนประสาทวิทยาคาร จังหวัดสุรินทร์ (โรงเรียนศูนย์กลางการศึกษาอาเซียน EDUCATION HUB) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษในอำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ประเภทสหวิทยา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนประสาทวิทยาคาร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนประจักษ์ศิลปาคาร

รงเรียนประจักษ์ศิลปาคาร (อักษรย่อ: ป.ศ.; อังกฤษ: Prachak Silapakarn School) ตั้งอยู่เลขที่ 99 หมู่ที่ 4 ถนนรอบเมือง ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รับอนุมัติให้จัดตั้งขั้นในปี..

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนประจักษ์ศิลปาคาร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนประทาย

รงเรียนประทาย (Prathai School) (บ้างเรียก โรงเรียนดงเค็ง) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ เป็นโรงเรียนรัฐบาลประจำอำเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา กระทรวงมหาดไทย โรงเรียนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน โดย ฝั่งทิศตะวันตก มีเนื้อที่ 44 ไร่ 1 งาน 18 ตารางวา และฝั่งทิศตะวันออก มีเนื้อที่ 20 ไร่ 1 งาน.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนประทาย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนปางศิลาทองศึกษา

รงเรียนปางศิลาทองศึกษา เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ประจำอำเภอปางศิลาทอง จังหวัดกำแพงเพชร สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้รับอนุมัติจัดตั้งประกาศเป็นโรงเรียนของรัฐบาล เมื่อวันที่ 18 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนปางศิลาทองศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย

รงเรียนแก่นนครวิทยาลัย (Kaennakhon Wittayalai School.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในจังหวัดขอนแก่น เริ่มก่อตั้งเมื่อปีพ.ศ. 2510 และถูกสถาปนาเมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2511.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย ๒

รงเรียนแก่นนครวิทยาลัย ๒ (Kaennakhon Wittayalai 2 School.) เดิมคือป่าช้าบ้านกอก ประกาศจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2540 โดย ฯ พณ ฯ สุขวิช รังสิตพล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้น.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย ๒ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนโชคเพชรพิทยา

ในปี..

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนโชคเพชรพิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนโพธิสัมพันธ์พิทยาคาร

รงเรียนโพธิสัมพันธ์พิทยาคาร เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ตั้งอยู่ในเขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 (ชลบุรี-ระยอง) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีนักเรียนศึกษาอยู่ประมาณ 2,500 คน มีครูปฏิบัติการสอนอยู่ 112 คน เปิดทำการเรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 แบบสหศึกษ.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนโพธิสัมพันธ์พิทยาคาร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนไชยาวิทยา

รงเรียนไชยาวิทยา (อังกฤษ:Chaiyawitthaya School) (อักษรย่อ: ช.ว., C.Y.) เป็นโรงเรียนประจำเภอไชยา จังหวัดจังหวัดสุราษฎร์ธานี ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสหวิทยาเขตสุราษฎร์ธานีเขต2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 (ชุมพร สุราษฎร์ธานี) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนที่มีอัตราแข่งขันสูงในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ตั้งอยู่ที่ ถนนสันติมิตร บ้านเวียง ตำบลตลาดไชยา อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนไชยาวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี

รงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี (Benjamarachutit Ratchaburi School) (อักษรย่อ: บ.ช., B.J.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประจำจังหวัดราชบุรี ปัจจุบันมีอายุ 131 ปี (6 มกราคม 2562 ครบ 132 ปี)สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ที่ผ่านมาโรงเรียนเปิดรับสหศึกษาเฉพาะนักเรียน มัธยมศึกษาตอนปลาย ในปีการศึกษา 2544 เริ่มเปิดรับสหศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นเป็นปีแรก.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเกษมพิทยา

รงเรียนเกษมพิทยา (อังกฤษ: Kasem Phithaya School) (อักษรย่อ: กพ,KPS) สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดย นายเกษม สุวรรณดี เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2504 พร้อมทั้งดำเนินการก่อสร้างอาคารเรียนหลังแรก จำนวน 5 ห้องแรกและเปิดทำการสอนเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม ในปีเดียวกัน.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนเกษมพิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเมืองถลาง

รงเรียนเมืองถลางเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ประจำอำเภอถลาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 14 จัดการศึกษาแบบสหศึกษา เริ่มเปิดการสอนเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2514 โรงเรียนเมืองถลางตั้งอยู่ในดินแดนแห่งประวัติศาสตร์ มีวีรกรรมอันหาญกล้าของท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทรที่ได้รวบรวมชาวถลางต่อสู้กับข้าศึกอย่างกล้าหาญ ข้อความด้านล่างเป็นคติพจน์ประจำโรงเรียน.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนเมืองถลาง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเลยอนุกูลวิทยา

รงเรียนเลยอนุกูลวิทยา (Loei Anukul Wittaya School), (อักษรย่อ: ล.อ.ว)เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 251 ถนนมลิวรรณ ตำบลนาอาน อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย โรงเรียนเลยอนุกูลวิทยาเป็น 1 ใน 3 โรงเรียนของจังหวัดเลยที่เข้าร่วมในโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ของ สสวท.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนเลยอนุกูลวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเผยอิง

รงเรียนเผยอิง (จีน: 培英学校; อังกฤษ: Pei-ing School) เป็นโรงเรียนเอกชนสอนภาษาจีน ที่ดำเนินงานโดย สมาคมแต้จิ๋วแห่งประเทศไทย มีปรัชญาว่า "รักชาติ เพียรศึกษา ซื่อสัตย์ มีคุณธรรม", คติพจน์คือ "ความเพียรพยายาม นำไปสู่ความสำเร็จ" และคำขวัญว่า "เรียนดี กีฬาเด่น เน้นคุณธรรม" จากเว็บไซต์โรงเรียนฯ ปัจจุบัน (พ.ศ. 2553) มีคณะผู้บริหารประกอบด้วย ดร.ไกรสร จันศิริ นายกสมาคมแต้จิ๋วแห่งประเทศไทย ประธานกรรมการโรงเรียน, นางสาวนงลักษณ์ เดชดำเกิงชัย ผู้อำนวยการโรงเรียน และ นางจินตนา โรจน์ขจรนภาลัย นายกสมาคมศิษย์เก่าเผยอิง.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนเผยอิง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเทศบาล 2 หนองบัว (อุบลราชธานี)

รงเรียนเทศบาล 2 หนองบัว (อักษรย่อ:ท.นบ.) สังกัดสำนักการศึกษาเทศบาลนครอุบลราชธานี เป็นโรงเรียนที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในระดับปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักการศึกษาเทศบาลนครอุบลราชธานี กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย เปิดทำการเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2530.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนเทศบาล 2 หนองบัว (อุบลราชธานี) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเทศบาลบ้านหนองใหญ่

รงเรียนเทศบาลบ้านหนองใหญ่ (อังกฤษ: Nongyai Municipal School) เดิมชื่อโรงเรียนเทศบาลบ้านหนองใหญ่(คุรุสามัคคี4) ก่อนนี้นักเรียนโรงเรียนไปเรียนที่โรงเรียน ประชาบาล ตำบลพระลับ 1 เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ทางราชการได้ตั้งเป็นโรงเรียนสาขาของโรงเรียนพระคือวิทยาคาร ทำการสอนอยู่ศาลาการเปรียญ วัดบ้านหนองใหญ่ ศาลาวัดเดิม วัดอยู่ทางทิศเหนือของหมู่บ้าน หมู่ที่ 6 ต.พระลับ อ.เมือง.ขอนแก่น ขณะนี้เป็น ธรณีสง.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนเทศบาลบ้านหนองใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเขื่อนพิทยาสรรค์

รงเรียนเขื่อนพิทยาสรรค์ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางรูปแบบสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 26 กระทรวงศึกษาธิการ สหวิทยาเขต 6 สะดืออิสาน ตั้งอยู่ที่ ถนนบ้านเขื่อน-บ้านกู่ทอง ตำบลยางท่าแจ้ง อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม ปัจจุบันเปิดสอนในช่วงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปล.

ใหม่!!: สีส้มและโรงเรียนเขื่อนพิทยาสรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

โจ ฮิกาชิ

กาชิ (ジョー・ヒガシ; Joe Higashi) เป็นตัวละครเอกในเกมส์และการ์ตูน เรื่องตำนานกาโร่เด็นเซ็ทสึ รวมทั้ง เดอะคิงออฟไฟท์เตอร์ส ซึ่งเป็นนักสู้ชาวญี่ปุ่นผู้ใช้วิชามวยไทยในการต่อสู้ และได้รับการจัดให้เป็นตัวละครหลักของเกมมานานกว่าหนึ่งทศวรรษ เขาเป็นนักมวยไทยชาวญี่ปุ่นผู้มีแถบผ้าคาดหัวเป็นรูปธงชาติญี่ปุ่นและไว้ผมตั้งเป็นสัญลักษณ์ประจำตัว อีกทั้ง มีผ้าพันมือ สวมถุงเท้าแบบชุดของนักมวยไทย ทั้งนี้ โจมักสวมกางเกงมวยไทยสีเหลือง, แดง, ส้มเป็นประจำแทบทุกภาค นอกจากนี้ เขายังเคยสวมกางเกงมวยไทยเป็นสีน้ำเงิน และรัดด้วยประเจียดที่ต้นแขนในบาง..

ใหม่!!: สีส้มและโจ ฮิกาชิ · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียวเมโทรสายกินซะ

ตเกียวเมโทรสายกินซะ หรือ สาย 3 กินซะ เป็นเส้นทางรถไฟใต้ดินสายหนึ่งของบริษัทโตเกียวเมโทร ในเมืองโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น มีความยาวทั้งสิ้น 14.3 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่เขตชิบุยะ มินะโตะ ชิโยะดะ และไทโต สัญลักษณ์ของโตเกียวเมโทรสายกินซะที่ปรากฏบนแผนที่หรือป้ายบอกทางจะใช้สีส้ม และตัวอักษรภาษาอังกฤษ "G".

ใหม่!!: สีส้มและโตเกียวเมโทรสายกินซะ · ดูเพิ่มเติม »

โนโซมิ สึจิ

นโซมิ สึจิ (辻希美; Tsuji Nozomi) หรือ โนโซมิ ซุงิอุระ (เกิดวันพุธที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2530) คือนักร้องหญิงชาวญี่ปุ่น อดีตสมาชิกของกลุ่มนักร้อง "มอร์นิงมุซุเมะ" "เกียรุรุ" และ "ดับเบิลยู" และอดีตสมาชิกของกลุ่มนักร้องย่อย "มินิโมนิ" (รุ่นก่อตั้ง) และ "มอร์นิงมุซุเมะ โอโตเมะกูมิ" เธอเคยได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกในกลุ่มนักร้องผสมของเฮลโล! โปรเจกต์ ต้นสังกัดของเธอ อีก 3 กลุ่มด้วยกัน ได้แก่ 10นิง-มะสึริ โอะโดะรุ 11 และ 11วอเตอร์ อีกด้วย ปัจจุบันกำลังพักฟื้นจากการคลอดบุตรีที่ชื่อ โนะอะ ซุงิอุร.

ใหม่!!: สีส้มและโนโซมิ สึจิ · ดูเพิ่มเติม »

ไรทะเล

รทะเล หรือ อาร์ทีเมีย หรือ ไรน้ำเค็ม หรือ ไรน้ำสีน้ำตาล (Brine shrimp, Sea-monkey) เป็นสัตว์น้ำจำพวกครัสเตเชียนสกุลหนึ่ง ที่นิยมใช้ในอุตสาหกรรมการประมงและเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ไรทะเล เป็นครัสเตเชียน ในสกุล Artemia ถือกำเนิดในบริเวณเมดิเตอร์เรเนียนมานานกว่า 5.5 ล้านปีมาแล้ว ลักษณะเป็นสัตว์สีน้ำตาลแดงหรือสีน้ำตาลส้ม ไม่มีเปลือกแข็งหุ้มตัว มีเพียงเนื้อเยื่อบาง ๆ เท่านั้นที่หุ้มตัว ว่ายน้ำเคลื่อนที่ในลักษณะหงายท้อง ลำตัวเรียวยาวคล้ายใบไม้แบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน คือ ส่วนหัว แบ่งออกได้เป็น 6 ปล้อง ปล้องแรกเป็นที่ตั้งของตาเดียวและตารวม มีก้านตา 1 คู่ ปล้องที่ 2 เป็นที่ตั้งของหนวดคู่แรก ปล้องที่ 3 เป็นที่ตั้งของหนวดคู่ที่ 2 ปล้องที่ 4 เป็นกราม ปล้องที่ 5 เป็นฟันคู่แรก ปล้องที่ 6 เป็นฟันคู่ที่ 2 ส่วนอกแบ่งออกเป็น 11 ปล้อง แต่ละปล้องประกอบด้วยระยางค์ เป็นอวัยวะทำหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ การหายใจและการกรองรวบรวมอาหาร ส่วนท้องแบ่งออกได้ 8 ปล้อง ปล้องแรกเป็นที่ตั้งของอวัยวะเพศ ปล้องที่ 2-7 ไม่มีระยางค์ ปล้องที่ 8 มีแพนหาง 1 คู่ โดยปกติเมื่อโตเต็มวัย เพศผู้จะมีขนาดเล็กกว่าเพศเมีย และจะมีหนวดคู่ที่ 2 ขนาดใหญ่กว่ารูปร่างคล้ายตะขอใช้เกาะจับเพศเมีย บริเวณปล้องแรกของส่วนท้องของเพศผู้จะมีอวัยวะเพศผู้อยู่ 1 คู่ ในเพศเมียตัวเต็มวัย หนวดคู่ที่ 2 จะมีขนาดเล็กลง และเปลี่ยนมาทำหน้าที่รับความรู้สึก บริเวณปล้องแรกของส่วนท้องจะมีอวัยวะเพศเมียทำหน้าที่เก็บตัวอ่อนหรือเก็บไข่ ไรทะเลสืบพันธุ์ได้ทั้งอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ ให้ลูกทั้งแบบเป็นตัว โดยจะมีไข่ฟักเป็นตัวภายในมดลูก ไข่ไม่มีเปลือกหนาแข็งหุ้ม สามารถวางไข่ได้ครั้งละ 300-500 ฟอง ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์, ความสมบูรณ์ของไรทะเล หรืออุณหภูมิของสภาพแวดล้อมที่อาศัย ใช้เวลาประมาณ 48 ชั่วโมง ในการฟักเป็นตัว ไรทะเล มีถิ่นกำเนิดในทะเลสาบน้ำเค็ม ในสหรัฐอเมริกา, ยุโรป และจีน ไม่พบในประเทศไทย แบ่งออกได้เป็น 10 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สีส้มและไรทะเล · ดูเพิ่มเติม »

เกล็ดแก้ว

กล็ดแก้วหัววุ้น เกล็ดแก้ว (Pearlscale; チンシュリン; โรมะจิ: chinshurin) เป็นปลาทองสายพันธุ์หนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันในปัจจุบัน มีรูปร่างลักษณะ ตัวอ้วนกลมคล้ายลูกกอล์ฟ มีลักษณะเด่นคือ เกล็ดทุกเกล็ดจะปูดนูนออกมา จึงเป็นที่มาของชื่อเกล็ดแก้ว หัวมีขนาดเล็กมาก จนอาจนับได้ว่าเป็นปลาทองสายพันธุ์ที่มีหัวเล็กที่สุด ครีบหางแผ่กางออกแลดูสวยงาม สีสันของลำตัวมีมากมายหลากหลาย ทั้ง ขาว, น้ำตาล, เหลืองและส้ม และหลากหลายสีในตัวเดียวกัน แต่ไม่พบปลาที่มีสีดำทั้งตัว และมีทั้งหัววุ้นและหัวมงกุฎ เกล็ดแก้วเป็นปลาทองที่ชาวไทยเป็นผู้เพาะพันธุ์ขึ้นมาเป็นครั้งแรก แต่ทว่าไม่ปรากฏหลักฐานว่าผู้ใดเป็นผู้คิดค้นและทำไว้ตั้งแต่เมื่อไหร.

ใหม่!!: สีส้มและเกล็ดแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

เสือโคร่ง

ือโคร่ง หรือ เสือลายพาดกลอน เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม อันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera tigris ในวงศ์ Felidae จัดเป็นสัตว์ที่มีขนาดที่สุดในวงศ์นี้ และเป็นเสือชนิดที่ใหญ่ที่สุดด้ว.

ใหม่!!: สีส้มและเสือโคร่ง · ดูเพิ่มเติม »

เสือไฟ

ือไฟ (หรือ Catopuma temminckii) เป็นแมวป่าขนาดกลาง มีขนาดเล็กกว่าเสือลายเมฆ แต่ใหญ่กว่าแมวลายหินอ่อน โดยชื่อวิทยาศาสตร์ temminckii ถูกตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่กุนราด ยาโกบ แต็มมิงก์ นักสัตววิทยาชาวดัตช์ซึ่งเป็นผู้บรรยายลักษณะทางวิทยาศาสตร์ของเสือไฟแอฟริกาเมื่อปี..

ใหม่!!: สีส้มและเสือไฟ · ดูเพิ่มเติม »

เหยี่ยวดำ

หยี่ยวดำ (Black kite, Pariah kite) เป็นเหยี่ยวชนิดหนึ่ง จัดเป็นนกขนาดกลาง ขนาดลำตัวประมาณ 60-66 เซนติเมตร ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะเหมือนกันคือ ลำตัวสีน้ำตาลเข้มอมเหลืองทั้งด้านบนและด้านล่าง ปีกสีน้ำตาลเข้ม หางเป็นแฉกตื้น ๆ มองดูคล้ายง่าม ปากสั้นสีดำแหลมคม ปลายปากเป็นขอ หัวค่อนข้างใหญ่ คอสั้น ปีกยาว ส่วนนกที่ยังไม่โตเต็มที่ ลำตัวจะเป็นสีน้ำตาลอ่อน พร้อมกับมีขีดสีเหลืองอ่อนทั่วทั้งตัว พบกระจายพันธุ์อยู่กว้างขวางในหลายพื้นที่ ตั้งแต่ยูเรเชีย, ออสตราเลเชีย และโอเชียเนีย จึงทำให้มีชนิดย่อยหลากหลายถึง 5 ชนิด (ดูในตาราง) และเป็นนกอพยพในหลายพื้นที่ในช่วงฤดูหนาว ในประเทศไทยพบได้ในป่าทางภาคเหนือ, ภาคกลางและภาคใต้ มีพฤติกรรมหากินในเวลากลางวัน ชอบบินอยู่ตามที่โล่งชายป่า ตามริมฝั่งทะเล หรือตามแม่น้ำลำคลองต่าง ๆ เพื่อหาอาหาร เมื่อจับเหยื่อได้ก็มักกินบนพื้นดิน หรืออาจนำไปกินบนต้นไม้ พบอยู่โดดเดี่ยว เป็นคู่หรือเป็นฝูง เมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ เหยี่ยวดำจะทำรังรวมกันเป็นกลุ่มบนต้นไม้สูง ทั้งตัวผู้และตัวเมียจะช่วยกันสร้างรังด้วยกิ่งไม้เล็ก ๆ นำมาขัดสานกัน จากนั้นทั้งคู่จะช่วยกันกกไข่และเลี้ยงลูกอ่อน นกจะใช้เวลากกไข่นานประมาณ 29-32 วัน ออกไข่ครั้งละ 2-4 ฟอง ปกติ 3 ฟอง ไข่ของเหยี่ยวดำ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 ในการสำรวจในปี..

ใหม่!!: สีส้มและเหยี่ยวดำ · ดูเพิ่มเติม »

เขตสะพานสูง

ตสะพานสูง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อ.

ใหม่!!: สีส้มและเขตสะพานสูง · ดูเพิ่มเติม »

เครย์ฟิช

ำหรับเครย์ฟิชที่พบในทะเล ดูที่: ล็อบสเตอร์ และกุ้งมังกร เครย์ฟิช หรือ หรือ ล็อบสเตอร์น้ำจืด (10088/1372 Crawdad, Mudbug, Freshwater yabby) เป็นกุ้งน้ำจืดจำพวกหนึ่ง มีรูปร่างโดยรวมลำตัวใหญ่ เปลือกหนา ก้ามใหญ่แลดูแข็งแรง มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาเหนือ, ทวีปยุโรป, โอเชียเนียและบริเวณใกล้เคียง เช่น อีเรียนจายา และเอเชียตะวันออก ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานเครย์ฟิชไปแล้วกว่า 500 ชนิด ซึ่งกว่าครึ่งนั้นเป็นเครย์ฟิชที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาเหนือ แต่ก็ยังมีอีกหลายร้อยชนิดที่ยังไม่ได้รับการอนุกรมวิธาน อีกทั้งหลายชนิดยังมีความหลากหลายทางสีสันมากอีกด้วย สำหรับในประเทศไทยไม่มีกุ้งในลักษณะเครย์ฟิช ซึ่งกุ้งน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่สุดที่พบในประเทศไทย คือ กุ้งก้ามกราม (Macrobrachium rosenbergii) ซึ่งในลักษณะกุ้งก้ามกรามนี้ ไม่จัดว่าเป็นเครย์ฟ.

ใหม่!!: สีส้มและเครย์ฟิช · ดูเพิ่มเติม »

เป็ดพม่า

ป็ดพม่า หรือ เป็ดรัดดี (Ruddy shelduck; ชื่อวิทยาศาสตร์: Tadorna ferruginea) เป็นนกอพยพชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Anatidae พบตามแม่น้ำสายใหญ่ เช่น แม่น้ำโขง นาเกลือ ตามชายทะเล และบึง แพร่กระจายพันธุ์ในทวีปยุโรป, แอฟริกา และเอเชีย ลำตัวมีขนาดใหญ่ ยาว 61-67 เซนติเมตร คล้ายห่าน ขนมีสีน้ำตาลแกมแดงหรือส้มเป็นหลัก ตัวผู้มีสร้อยรอบคอสีดำ ตัวเมียมีใบหน้านวลมากกว่า แต่ตัวเล็กกว่าตัวผู้ มีพฤติกรรมอยู่รวมตัวกันเป็นฝูงใหญ่ บางครั้งอาจถึงพันตัว ในพื้นที่ชุ่มน้ำต่าง ๆ สามารถกินได้ทั้งพืชและสัตว์ขนาดเล็กทั่วไป.

ใหม่!!: สีส้มและเป็ดพม่า · ดูเพิ่มเติม »

เป็ดก่า

ป็ดก่า (White-winged duck, White-winged wood duck) เป็นสัตว์ปีกชนิดหนึ่ง จำพวกเป็ด อยู่ในวงศ์นกเป็ดน้ำ (Anatidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Asarcornis จัดเป็นเป็ดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีลักษณะเด่นคือ หัวและลำคอตอนบนสีขาว มีจุดกระดำกระด่างสีดำ โดยทั่วไปสีของลำตัวจะเป็นสีน้ำตาลเหลือบเขียว มีขนเป็นปื้นขาวตรงหัวไหล่เป็นลักษณะเด่น มีรูปร่างเทอะทะ ปีกกว้าง ขาสั้น เพศผู้มีม่านตาสีสดใสเป็นสีเหลืองส้ม ในขณะที่เพศเมียมีม่านตาสีน้ำตาลเข้ม จะงอยปากสีเหลืองเข้มหรือสีส้ม มีประดำเป็นหย่อม ๆ เพศผู้ในฤดูผสมพันธุ์โคนปากจะพองโต เพศผู้มีขนาดใหญ่กว่าเพศเมีย น้ำหนักโดยเฉลี่ยเพศผู้ประมาณ 2,945-3,855 กรัม ขณะที่เพศเมีย 1,925-3,050 กรัม พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ประเทศอินเดีย, บังกลาเทศ, เนปาล, พม่า, ไทย จนถึงหลาย ๆ ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำหรับในประเทศไทยถือเป็นนกในวงศ์ Anatidae ชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด เป็ดก่า มีอุปนิสัยแปลกไปจากนกชนิดอื่นในวงศ์เดียวกัน โดยมักจะอาศัยอยู่ในป่าดิบทึบ และพบได้จนถึงในพื้นที่ ๆ มีความสูงถึง 5,000 ฟุตจากระดับน้ำทะเล ออกหากินในเวลากลางคืนและกลับสู่ถิ่นที่อยู่ในเวลารุ่งเช้า โดยมักจะจับกิ่งไม้สูง ๆ ใช้เป็นที่หลับนอน มักจับคู่เป็นกลุ่มเล็ก ๆ 5-6 ตัวในแหล่งน้ำที่สงบ ปราศจากการรบกวน แม้จะมีรูปร่างเทอะทะแต่ก็สามารถบินได้ดี และบินหลบหลีกต้นไม้ต่าง ๆ ในป่าดิบได้เป็นอย่างดี ในฤดูผสมพันธุ์ เป็ดก่าจะส่งเสียงร้องขณะบิน การจับคู่ผสมพันธุ์อาจเป็นในรูปแบบผัวเดียวเมียเดียว แต่ยังไม่เป็นที่ยืนยัน วางไข่ครั้งละ 6-13 ฟอง สีของไข่เป็นสีเหลืองอมเขียว มักทำรังตามโพรง เพศเมียเท่านั้นที่กกฟักไข่ ระยะเวลาฟักประมาณ 33-35 วัน ขณะฟักไข่หรือเลี้ยงลูกอ่อนเพศผู้จะอยู่พัวพันเพียงห่าง ๆ เท่านั้น เป็ดก่า ถือเป็นเป็ดป่าที่หายากและเพาะขยายพันธุ์ได้ยากชนิดหนึ่ง มีการขยายพันธุ์ได้ด้วยฝีมือมนุษย์เพื่อการอนุรักษ์ ได้แค่ไม่กี่ครั้ง และถือเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สีส้มและเป็ดก่า · ดูเพิ่มเติม »

เป็ดแมลลาร์ด

ป็ดแมลลาร์ด หรือ เป็ดหัวเขียว (mallard, wild duck) เป็นสัตว์ปีกจำพวกเป็ดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์นกเป็ดน้ำ (Anatidae) เป็ดแมลลาร์ดมีลักษณะเหมือนเป็ดทั่วไป แต่มีลักษณะเด่น คือ ตัวผู้บริเวณหัวและคอสีเขียวเข้ม มีแถบสีขาวรอบคอ อกสีน้ำตาลแกมน้ำตาลแดงเข้ม ลำตัวด้านบนสีเทาแกมน้ำตาลอ่อน ตะโพกและขนคลุมโคนขนหางด้านบนเป็นสีดำ ขนหางสีออกขาว ท้องมีสีจางกว่าลำตัวด้านบน ปากสีเหลืองแกมเขียว ขาสีส้ม ขาของตัวเมียเป็นลายสีน้ำตาล มีแถบคาดตาสีดำ ปีกมีแววขนปีกสีน้ำเงิน ปากสีออกน้ำตาลมักมีขอบสีเหลืองหรือสีส้ม ขนหางสีจางกว่าขนคลุมโคนขนหางด้านบน กินทั้งได้พืชและสัตว์ มีความยาวเมื่อโตเต็มที่จากปลายปากถึงปลายหางประมาณ 50-60 เซนติเมตร มีการกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้าง ตั้งแต่ทวีปอเมริกาเหนือ, ยุโรป, ตอนเหนือของทวีปแอฟริกา และทวีปเอเชีย ส่วนในนิวซีแลนด์และออสเตรเลีย มีผู้นำเข้าไปเผยแพร่จากประเทศอังกฤษ ส่วนในประเทศไทยถือเป็นนกอพยพ แต่ไม่พบรายงานการวางไข่ของเป็ดชนิดนี้ มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง มีจำนวนสมาชิกประมาณ 50-60 ตัว ตามแหล่งน้ำทั่วไป และอาจจะรวมฝูงเข้ากับนกชนิดอื่นในวงศ์เดียวกัน หากินในเวลากลางคืน ส่วนในเวลากลางวันจะว่ายน้ำพักผ่อนในแหล่งน้ำตื้น อาจกินสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ เข้าไปด้วย มีนิสัยตื่นตกใจง่าย มีความตื่นตัวระแวดระวังภัยสูง สามารถบินขึ้นจากน้ำได้อย่างรวดเร็ว เป็ดแมลลาร์ด ถือเป็นต้นสายพันธุ์ของเป็ดที่เลี้ยงกันในเชิงพาณิชย์อย่างในปัจจุบันนี้ และมีบางส่วนเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม และถือเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองในประเทศไทย ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: สีส้มและเป็ดแมลลาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สีแสดสีเพลิงแสด

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »