โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง

ดัชนี สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง

ทธิพลเมือง (Civil Rights) หมายถึง การที่พลเมืองของรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรัฐสมัยใหม่สามารถกระทำได้ภายใต้กรอบของกฎหมายบ้านเมืองของสังคมนั้นๆ ด้วยเหตุนี้ สิทธิพลเมืองจึงซ้อนทับอยู่กับสิทธิทางการเมือง (political rights) เนื่องจากในสังคม และการเมืองการปกครองสมัยใหม่นั้น เสรีภาพจัดได้ว่าเป็นคุณธรรมรากฐานประการหนึ่งที่ระบบการเมือง และระบบกฎหมายจะต้องธำรงรักษาไว้ ทว่าหากพลเมืองทุกคนมีเสรีภาพอย่างไม่จำกัดแล้วไซร้ การใช้เสรีภาพของพลเมืองคนหนึ่งๆ ก็อาจนำมาซึ่งการละเมิดการมีเสรีภาพของพลเมืองคนอื่นๆ ในรัฐได้เช่นกัน ดังนั้น เสรีภาพของพลเมืองจึงต้องอยู่ภายใต้กรอบของกฎหมายที่รัฐกำหนดว่า สิ่งใดที่พลเมืองไม่อาจกระทำเพราะจะเป็นการละเมิดเสรีภาพของผู้อื่น หรือ สิ่งใดที่พลเมืองสามารถกระทำได้อย่างอิสระโดยปราศจากการควบคุมของรัฐ เป็นที่มาของการเกิดสิ่งซึ่งเรียกว่า สิทธิทางการเมือง หรือ สิทธิพลเมือง (Kurian, 2011: 235) ซึ่งในแง่นี้สิทธิพลเมืองจะมีความหมายและขอบเขตแคบกว่าสิทธิมนุษยชน (Human Rights) เพราะสิทธิพลเมืองจะเป็นสิทธิที่พลเมืองทุกๆ คนมีในฐานะพลเมืองของรัฐ ซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามความคุ้มครองโดยกฎหมายของรัฐที่ตนเป็นพลเมืองอยู่ แต่สิทธิมนุษยชนนั้นเป็นสิทธิสากลที่มนุษย์ทุกผู้คนบนโลกนี้ พึงมีเหมือนๆ กันไม่ว่าเขาจะอยู่ที่ใด หรือ เป็นพลเมืองของรัฐใดก็ตาม สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง หรือ สิทธิทางแพ่งและสิทธิทางการเมือง คือความคุ้มครองและสิทธิประโยชน์ที่มอบให้พลเมืองทุกคนตามกฎหมาย สิทธิพลเมืองนั้นเป็นสิทธิที่แยกออกจาก "สิทธิมนุษยชน" และ "สิทธิธรรมชาติ" กล่าวคือสิทธิพลเมืองเป็นสิทธิที่มอบให้โดยชาติและมีอยู่ภายในเขตแดนนั้น ในขณะที่สิทธิธรรมชาติหรือสิทธิมนุษยชนนั้น เป็นสิทธิที่นักวิชาการจำนวนมากอ้างว่าปัจเจกบุคคลมีอยู่แต่กำเนิดโดยธรรมชาต.

23 ความสัมพันธ์: ชนชั้นกระฎุมพีพระราชกฤษฎีกานองซ์พีต ซีเกอร์กฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรชส์ทาคการสอดแนมมวลชนการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์การนับรวมทุกกลุ่มคนกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองมุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกีรายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเรียงตามประเทศหรือดินแดนดิซซี กิลเลสพีความยุติธรรมความตกลงป้องกันและปราบปรามการค้าสิ่งปลอมคาร์ล มากซ์ประชาธิปไตยที่ไม่เสรีประชาธิปไตยเชิงเนื้อหาประชาธิปไตยเสรีนิยมประเทศเบอร์นี แซนเดอร์สเคที เพร์รี

ชนชั้นกระฎุมพี

กระฎุมพี (/กฺระดุมพี/) เป็นชนชั้นทางสังคมกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอยู่ในกลุ่มชนชั้นกลางหรือชนชั้นพ่อค้าวาณิช ซึ่งได้สถานะทางสังคมหรืออำนาจมาจากหน้าที่การงาน การศึกษา หรือความมั่งมี (ซึ่งตรงกันข้ามกับพวกอภิชน) เป็นชนชั้นที่มีฐานะจากการค้าขายหรืองานช่างฝีมือ ไม่มีที่ดินเป็นของตนเอง ซึ่งอาจหมายรวมถึง นายทุน นายทุนน้อย คนชั้นกลาง ส่วน "ไพร่กระฎุมพี" นั้น หมายถึงชนชั้นที่อยู่ต่ำกว่ากระฎุมพีแต่สูงกว่าชนชั้นที่ต่ำที่สุดในสังคม เป็น "พลเมืองที่มีเงินพอใช้เลี้ยงชีวิตไม่เป็นทาสบุคคลผู้ใด"ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ,, มติชน, 1 กันยายน..

ใหม่!!: สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและชนชั้นกระฎุมพี · ดูเพิ่มเติม »

พระราชกฤษฎีกานองซ์

ระราชกฤษฎีกานองซ์เมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 1598 พระราชกฤษฎีกานองซ์ (Édit de Nantes; Edict of Nantes) เป็นพระราชกฤษฎีกาที่พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส ทรงตราขึ้นเมื่อวันที่ 13 เมษายน..

ใหม่!!: สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและพระราชกฤษฎีกานองซ์ · ดูเพิ่มเติม »

พีต ซีเกอร์

ปีเตอร์ "พีท" ซีเกอร์ (Pete Seeger; 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2462 — 27 มกราคม พ.ศ. 2557) นักร้องแนวเพลงอเมริกันพื้นบ้าน หรือ อเมริกันโฟล์กซอง เขามีผลงานเพลงทางวิทยุตั้งแต่ในช่วงทศวรรษ..

ใหม่!!: สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและพีต ซีเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรชส์ทาค

ประกาศของตำรวจอันเป็นผลมาจากกฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรชส์ทาค คำสั่งประธานาธิบดีไรช์ว่าด้วยการป้องกันประชาชนและรัฐ หรือรู้จักกันในชื่อ กฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรชส์ทาค (Reichstagsbrandverordnung) เป็นคำสั่งของฝ่ายบริหารที่เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก ประธานาธิบดีเยอรมนี ออกเพื่อตอบโต้เหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค เมื่อวันที่ 27 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและกฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรชส์ทาค · ดูเพิ่มเติม »

การสอดแนมมวลชน

กล้องวงจรปิด การสอดแนมมวลชน คือการสอดแนมชนิดที่แพร่หลายครอบคลุมประชากรทั้งหมดหรือครอบคลุมประชากรจำนวนมาก รัฐบาลมักเป็นผู้สอดแนม โดยมากลอบทำ แต่ก็อาจทำโดยบริษัท ตามคำสั่งของรัฐบาลหรือทำด้วยตัวเอง การสอดแนมนั้นอาจชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ก็ได้ และอาจจำเป็นต้องอาศัยการให้อำนาจจากศาลหรือหน่วยงานอิสระอื่นหรือไม่ก็ได้ การสอดแนมมวลชนมักอ้างความชอบธรรมว่าจำเป็นต้องทำเพื่อต่อต้านการก่อการร้าย ป้องกันไม่ให้เกิดความไม่สงบในสังคม รักษาความมั่นคงของชาติ ปราบปรามภาพโป๊เด็ก และปกป้องเด็ก การสอดแนมมวลชนถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางว่าละเมิดความเป็นส่วนตัว จำกัดสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง และผิดกฎหมายในบางระบบกฎหมายหรือระบบรัฐธรรมนูญ มีความกลัวกันว่าการสอดแนมมวลชนที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จะนำไปสู่รัฐเผด็จการ ที่ซึ่งผู้คิดต่างทางการเมืองจะถูกทำลายโดยปฏิบัติการต่อต้าข่าวกรอง รัฐดังกล่าวอาจเรียกว่า "รัฐสอดแนม" หรือ "รัฐตำรวจอิเล็กทรอนิกส์" ใน..

ใหม่!!: สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและการสอดแนมมวลชน · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์

การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ (Glorious Revolution) ยังรู้จักกันในชื่อ การปฏิวัติปี..

ใหม่!!: สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

การนับรวมทุกกลุ่มคน

การนับรวมทุกกลุ่มคน (Inclusiveness or Inclusion) หมายถึง การเปิดช่องทางให้ปัจเจกบุคคลและกลุ่มทุกกลุ่มเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของสังคมของพลเมือง มีความเท่าเทียมกันทางสังคมในด้านสิทธิเสรีภาพ มีโอกาสและความเสมอภาคในกระบวนการอภิปรายถกเถียงและการตัดสินใจในทางการเมือง โดยการนับประชาชนทุกคนในสังคมให้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของความเป็นพลเมืองที่มีสิทธิเสรีภาพอย่างเสมอหน้ากัน ทุกคนสามารถเข้าถึงอำนาจตามกฎหมายในการมีส่วนร่วมทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง อย่างไม่ถูกเลือกปฏิบัติ ความเป็นส่วนหนึ่งของสังคมของพลเมืองจึงเป็นการรวมประชาชนทุกฝั่งฝ่ายเข้าเป็นสังคมเดียว ความหมายดังกล่าวจึงตรงข้ามกับความเหนือกว่าเฉพาะกลุ่มหรือเฉพาะบุคคล (exclusiveness) ซึ่งหมายถึงการให้สิทธิพิเศษแก่คนบางกลุ่ม จนกลายเป็นอภิสิทธิชนในสังคม.

ใหม่!!: สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและการนับรวมทุกกลุ่มคน · ดูเพิ่มเติม »

กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง

ม่ได้ลงนามและไม่ได้ให้สัตยาบัน กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights) หรือ ICCPR เป็นสนธิสัญญาพหุภาคี ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติรับรองเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม..

ใหม่!!: สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง · ดูเพิ่มเติม »

มุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี

นม ชอมสกี เป็นผู้มีชื่อเสียงในฐานะปัญญาชน นักปฏิบัติการ (หรือนักกิจกรรม) ทางการเมือง และนักวิจารณ์ เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาและรัฐบาลอื่น ๆ เขาเรียกตัวเองว่า นักสังคมนิยมแบบอิสรนิยม ผู้สนับสนุนสหการนิยมแบบอนาธิปไตย (anarcho-syndicalism) และมองว่า เป็นผู้รอบรู้สำคัญคนหนึ่งในการเมืองฝ่ายซ้ายของสหรัฐ โนม ชอมสกี ในการประท้วงต่อต้านสงครามในเมืองแวนคูเวอร์ พ.ศ. 2547.

ใหม่!!: สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและมุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี · ดูเพิ่มเติม »

รายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้

การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้เป็นระบบการจำแนกห้องสมุดประกอบด้วย 10 หมวดใหญ่ (class) แต่ละหมวดใหญ่แบ่งเป็นสิบหมวดย่อย (division) แต่ละหมวดย่อยมีสิบหมู่ย่อย (section) ตัวอย่างเช่น หมวดใหญ่ 600 ("เทคโนโลยี") มีหมวดย่อย 630 ("เกษตรกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง") ซึ่งมีหมู่ย่อย 636 ("การเลี้ยงสัตว์") ในทางปฏิบัติ มีทั้งหมด 99 จาก 100 หมวดย่อยและ 908 จาก 1000 หมู่ย่อย เนื่องจากบางส่วนเลิกใช้แล้วหรือยังไม่กำหน.

ใหม่!!: สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและรายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัค

นากอร์โน-คาราบัค (Nagorno-Karabakh) หรือ อาร์ทซัค (Արցախ) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัค (Nagorno-Karabakh Republic) หรือ สาธารณรัฐอาร์ทซัค (Արցախի Հանրապետություն) เป็นสาธารณรัฐแห่งหนึ่งที่ไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติ ตั้งอยู่ในแถบเทือกเขาคอเคซัส สหประชาชาติถือว่าภูมิภาคนากอร์โน-คาราบัคเป็นส่วนหนึ่งของอาเซอร์ไบจาน แต่ในทางปฏิบัติ ภูมิภาคดังกล่าวอยู่ภายใต้การควบคุมของกลุ่มแบ่งแยกดินแดนเชื้อสายอาร์มีเนีย สาธารณรัฐอาร์ทซัคปกครองดินแดนส่วนใหญ่ของอดีตแคว้นปกครองตนเองนากอร์โน-คาราบัครวมกับพื้นที่ข้างเคียงทางทิศตะวันตก จึงมีพรมแดนจรดอาร์มีเนียทางทิศตะวันตก จรดอิหร่านทางทิศใต้ และจรดดินแดนที่ไม่มีข้อพิพาทของอาเซอร์ไบจานทางทิศเหนือและทิศตะวันออก ภูมิภาคนากอร์โน-คาราบัค (ซึ่งมีชาวอาร์มีเนียอาศัยอยู่เป็นส่วนใหญ่) ถูกอ้างกรรมสิทธิ์จากทั้งสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาเซอร์ไบจานและสาธารณรัฐอาร์มีเนียที่ 1 เมื่อทั้งสองประกาศเอกราชจากจักรวรรดิรัสเซียในปี..

ใหม่!!: สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและสาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัค · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง

ทธิพลเมือง (Civil Rights) หมายถึง การที่พลเมืองของรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรัฐสมัยใหม่สามารถกระทำได้ภายใต้กรอบของกฎหมายบ้านเมืองของสังคมนั้นๆ ด้วยเหตุนี้ สิทธิพลเมืองจึงซ้อนทับอยู่กับสิทธิทางการเมือง (political rights) เนื่องจากในสังคม และการเมืองการปกครองสมัยใหม่นั้น เสรีภาพจัดได้ว่าเป็นคุณธรรมรากฐานประการหนึ่งที่ระบบการเมือง และระบบกฎหมายจะต้องธำรงรักษาไว้ ทว่าหากพลเมืองทุกคนมีเสรีภาพอย่างไม่จำกัดแล้วไซร้ การใช้เสรีภาพของพลเมืองคนหนึ่งๆ ก็อาจนำมาซึ่งการละเมิดการมีเสรีภาพของพลเมืองคนอื่นๆ ในรัฐได้เช่นกัน ดังนั้น เสรีภาพของพลเมืองจึงต้องอยู่ภายใต้กรอบของกฎหมายที่รัฐกำหนดว่า สิ่งใดที่พลเมืองไม่อาจกระทำเพราะจะเป็นการละเมิดเสรีภาพของผู้อื่น หรือ สิ่งใดที่พลเมืองสามารถกระทำได้อย่างอิสระโดยปราศจากการควบคุมของรัฐ เป็นที่มาของการเกิดสิ่งซึ่งเรียกว่า สิทธิทางการเมือง หรือ สิทธิพลเมือง (Kurian, 2011: 235) ซึ่งในแง่นี้สิทธิพลเมืองจะมีความหมายและขอบเขตแคบกว่าสิทธิมนุษยชน (Human Rights) เพราะสิทธิพลเมืองจะเป็นสิทธิที่พลเมืองทุกๆ คนมีในฐานะพลเมืองของรัฐ ซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามความคุ้มครองโดยกฎหมายของรัฐที่ตนเป็นพลเมืองอยู่ แต่สิทธิมนุษยชนนั้นเป็นสิทธิสากลที่มนุษย์ทุกผู้คนบนโลกนี้ พึงมีเหมือนๆ กันไม่ว่าเขาจะอยู่ที่ใด หรือ เป็นพลเมืองของรัฐใดก็ตาม สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง หรือ สิทธิทางแพ่งและสิทธิทางการเมือง คือความคุ้มครองและสิทธิประโยชน์ที่มอบให้พลเมืองทุกคนตามกฎหมาย สิทธิพลเมืองนั้นเป็นสิทธิที่แยกออกจาก "สิทธิมนุษยชน" และ "สิทธิธรรมชาติ" กล่าวคือสิทธิพลเมืองเป็นสิทธิที่มอบให้โดยชาติและมีอยู่ภายในเขตแดนนั้น ในขณะที่สิทธิธรรมชาติหรือสิทธิมนุษยชนนั้น เป็นสิทธิที่นักวิชาการจำนวนมากอ้างว่าปัจเจกบุคคลมีอยู่แต่กำเนิดโดยธรรมชาต.

ใหม่!!: สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเรียงตามประเทศหรือดินแดน

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBT) แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศหรือดินแดน ตั้งแต่การรับรองการสมรสเพศเดียวกันตามกฎหมายหรือคู่ชีวิตในรูปแบบอื่น จนถึงโทษประหารชีวิตสำหรับกิจกรรมทางเพศหรือการแสดงออกของบุคคลเพศเดียวกัน สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศถูกจัดว่าเป็นสิทธิมนุษยชนและสิทธิพลเมือง ซึ่งประกอบไปด้วย แต่ไม่จำกัดเพียง.

ใหม่!!: สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเรียงตามประเทศหรือดินแดน · ดูเพิ่มเติม »

ดิซซี กิลเลสพี

อห์น เบิร์คส "ดิซซี" กิลเลสพี (21 ตุลาคม ค.ศ. 1917 - 6 มกราคม ค.ศ. 1993) นักทรัมเป็ต หัวหน้าวง นักร้อง นักแต่งเพลงชาวอเมริกัน กิลเลซพี เป็นนักดนตรีคนสำคัญ ผู้นำดนตรีแจ๊ซอเมริกันเข้าสู่ยุคบีบ็อพ และโมเดิร์นแจ๊ซ ในช่วงทศวรรษ 1940 ควบคู่กับชาร์ลี พาร์กเกอร์ นอกการเล่นทรัมเป็ตแล้ว ดิซซี กิลเลสพี ยังมีความสามารถในการร้องเพลง เขาสามารถสแคต สลับกับการเล่นอิมโพรไวซ์ ทรัมเป็ตส่วนตัวของกิลเลสพี มีลักษณะพิเศษต่างจากทรัมเป็ตธรรมดาคือ ส่วนของปากแตรจะทำมุมทแยง 45 องศา ซึ่งเกิดจากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 6 มกราคม ค.ศ. 1953 เสียงของทรัมเป็ตจะเพี้ยนไปเล็กน้อย แต่กิลเลสพีชอบเสียงที่เพี้ยนไปนี้ และใช้ทรัมเป็ตอันนี้ตลอดมา ผู้ชมการแสดงจะเห็นภาพกิลเลสพีเล่นทรัมเป็ตรูปร่างแปลกๆ กักลมไว้ในแก้มจนป่องสุด จนเป็นภาพที่คุ้นตา ดิซซี กิลเลสพี ถ่ายเมื่อปี 1988 ในปี ค.ศ. 1964 กิลเลสพีสมัครลงเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาแข่งกับลินดอน บี จอห์นสัน และแบร์รี โกลด์วอเทอร์ โดยมีนโยบายด้านcivil rights และถอนทหารออกจากสงครามเวียดนาม เขาประกาศจะเปลี่ยนชื่อทำเนียบขาว เป็น "ทำเนียบน้ำเงิน" (The Blues House) แต่งตั้งไมล์ส เดวิสให้เป็นผู้อำนวยการซีไอเอ รวมถึงคนอื่นๆ เช่น เรย์ ชาร์ลส และมัลคอล์ม เอ็กซ์ ให้มีตำแหน่งบริหาร กิลเลสพี เสียชีวิตเมื่อวันที่ 6 มกราคม ค.ศ. 1993 ด้วยโรคมะเร็งตับอ่อน ด้วยวัย 75 ปี วงดนตรี ดิซซี กิลเลสพี ออลสตาร์ บิ๊กแบนด์ ซึ่งประกอบด้วยนักดนตรีที่เคยร่วมงานกับกิลเลสพี ยังรวมวงและเล่นอยู่จนถึงปัจจุบัน และเข้ามาแสดงในประเทศไทย ในมหกรรมดนตรีแจ๊สเทิดพระเกียรติ 2549 Jazz Royale Festival จัดแสดงที่กรุงเทพ พัทยา เชียงใหม่ และภูเก็ต ระหว่างวันที่ 9 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและดิซซี กิลเลสพี · ดูเพิ่มเติม »

ความยุติธรรม

ทพียุติธรรม (Lady Justice) เป็นเครื่องแทนความยุติธรรม ทรงไว้ซึ่งสัญลักษณ์สามประการ คือ พระขรรค์ หมายถึง อำนาจบังคับบัญชาของศาล ดุลพ่าห์ หมายถึง การชั่งหนักเบาซึ่งข้อหาที่รับมาอยู่ในมือ และผ้าผูกตา หมายถึง ความไม่เลือกที่รักมักที่ชังLuban, ''Law's Blindfold'', 23 ความยุติธรรม เป็นแนวคิดเกี่ยวกับความถูกต้องตามศีลธรรมบนพื้นฐานของจริยธรรม ความสมเหตุสมผล กฎหมาย กฎหมายธรรมชาติ ศาสนา ความเที่ยงธรรม (equity) และความเป็นธรรม (fairness) ตลอดจนการบังคับใช้กฎหมายโดยคำนึงถึงสิทธิที่ไม่สามารถโอนให้แก่กันได้และสิทธิโดยกำเนิดของมนุษยชาติและพลเมืองทั้งหลาย กับสิทธิของปวงชนและเอกชนที่จะได้รับความคุ้มครองอย่างเท่าเทียมกันตามกฎหมายซึ่งว่าด้วยสิทธิพลเมืองของพวกเขาเหล่านั้น โดยปราศจากการเลือกปฏิบัติเพราะเหตุแห่งเชื้อชาติ เพศ รสนิยมทางเพศ อัตลักษณ์ทางเพศ เหล่ากำเนิด สีผิว ชาติพันธุ์ ศาสนา ความพิการ อายุ ความยากดีมีจน และลักษณะประการอื่น ทั้งยังถือด้วยว่า รวมถึงความยุติธรรมทางสังคม.

ใหม่!!: สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและความยุติธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ความตกลงป้องกันและปราบปรามการค้าสิ่งปลอม

วามตกลงป้องกันและปราบปรามการค้าสิ่งปลอม (Anti-Counterfeiting Trade Agreement) หรือเรียกโดยย่อว่า แอกตา (ACTA) เป็นความตกลงพหุภาคีอันมีวัตถุประสงค์เพื่อสถาปนามาตรฐานสากลสำหรับบังคับใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา และมุ่งหวังจะสร้างกรอบกฎหมายระหว่างประเทศสำหรับขจัดสินค้าปลอม ยาเทียม และการละเมิดลิขสิทธิ์บนโลกออนไลน์ กับทั้งจะมีผลเป็นการสร้างองค์กรควบคุมองค์กรใหม่นอกเหนือไปจากที่มีอยู่แล้วคือองค์การค้าโลก องค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก และสหประชาชาติ วันที่ 1 ตุลาคม 2554 ประเทศออสเตรเลีย ประเทศแคนาดา ประเทศญี่ปุ่น ประเทศโมร็อกโก ประเทศนิวซีแลนด์ ประเทศสิงคโปร์ ประเทศเกาหลีใต้ และสหรัฐอเมริกาลงนามในความตกลงนี้ ครั้นเดือนมกราคม 2555 สหภาพยุโรปและรัฐสมาชิกอีกยี่สิบสองรายพร้อมใจกันลงนามตามลำดับ ยังให้มีผู้ลงนามแล้วสามสิบเอ็ดราย สนธิสัญญานี้จะมีผลใช้บังคับเมื่อมีผู้ลงนามให้สัตยาบันแล้วเป็นจำนวนหกราย ประเทศทั้งหลายทั้งที่สนับสนุนความตกลงนี้ก็ดี และที่กำลังเจรจาอยู่ก็ดี เชิดชูความตกลงว่าเป็น การตอบโต้ "การค้าสิ่งปลอมและการละเมิดงานที่ได้รับความคุ้มครองลิขสิทธิ์อันทวีอัตราขึ้นทั่วทุกหัวระแหง" ขณะที่เหล่าผู้ต่อต้านว่า สนธิสัญญาดังกล่าวเป็นปฏิปักษ์อย่างร้ายแรงต่อสิทธิพลเมืองและสิทธิทางดิจิทัลขั้นพื้นฐาน อันรวมถึงสิทธิในการแสดงออกและความเป็นส่วนตัวในการคมนาคม.

ใหม่!!: สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและความตกลงป้องกันและปราบปรามการค้าสิ่งปลอม · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล มากซ์

ร์ล ไฮน์ริช มากซ์ (Karl Heinrich Marx, 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2361 — 14 มีนาคม พ.ศ. 2426) เป็นนักปรัชญา นักเศรษฐศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ นักทฤษฎีการเมือง นักสังคมวิทยา นักหนังสือพิมพ์และนักสังคมนิยมปฏิวัติชาวเยอรมัน มากซ์เกิดในครอบครัวชนชั้นกลางในเทรียร์ เขาศึกษากฎหมายและปรัชญาแบบเฮเกิล เนื่องจากงานพิมพ์การเมืองของเขาทำให้เขาไร้สัญชาติและอาศัยลี้ภัยในกรุงลอนดอน ซึ่งเขายังพัฒนาความคิดของเขาต่อโดยร่วมมือกับนักคิดชาวเยอรมัน ฟรีดริช เองเงิลส์ และจัดพิมพ์งานเขียนของเขา เรื่องที่ขึ้นชื่อของเขา ได้แก่ จุลสารปี 2391, แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์ และทุน จำนวนสามเล่ม ความคิดทางการเมืองและปรัชญาของเขามีอิทธิพลใหญ่หลวงต่อปัญญาชนรุ่นหลัง วิชาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและประวัติศาสตร์การเมือง ชื่อของเขาเป็นคำคุณศัพท์ นามและสำนักทฤษฎีสังคม ทฤษฎีของมากซ์เกี่ยวกับสังคม เศรษฐศาสตร์และการเมือง ที่เรียกรวมว่า ลัทธิมากซ์ ถือว่าสังคมมนุษย์พัฒนาผ่านการต่อสู้ระหว่างชนชั้น ในทุนนิยม การต่อสู้ระหว่างชนชั้นแสดงออกมาในรูปการต่อสู้ระหว่างชนชั้นปกครอง (เรียก ชนชั้นกระฎุมพี) ซึ่งควบคุมปัจจัยการผลิตและชนชั้นแรงงาน (เรียก ชนกรรมาชีพ) นำปัจจัยการผลิตดังกล่าวไปใช้โดยขายากำลังแรงงานของพวกตนเพื่อแลกกับค่าจ้าง มากซ์ใช้แนวเข้าสู่การศึกษาวิพากษ์ที่เรียก วัสดุนิยมทางประวัติศาสตร์ ทำนายว่าทุนนิยมจะก่อเกิดความตึงเครียดภายในซึงจะนำไปสู่การทำลายตนเองเช่นเดียวกับระบบสังคมและเศรษฐกิจก่อนหน้านี้ และแทนท่ด้วยระบบใหม่ คือ สังคมนิยม; สำหรับมากซ์ การต่อต้านชนชั้นภายใต้ทุนนิยมซึ่งบางส่วนมีสาเหตุจากความไม่มั่นคงและสภาพที่มีแนวโน้มเกิดวิกฤติ จะลงเอยด้วยการพัฒนาความสำนึกเรื่องชั้นชนของชนชั้นแรงงาน และนำไปสู่การพิชิตอำนาจทางการเมืองและสุดท้ายการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ปราศจากชนชั้นอันประกอบด้วยการรวมกันเป็นสมาคมอิสระของผู้ผลิต มากซ์เรียกร้องให้นำความคิดดังกล่าวไปปฏิบัติอย่างแข็งขัน โดยแย้งว่าชนชั้นแรงงานควรเป็นผู้ลงมือปฏิวัติแบบจัดระเบียบเพื่อโค่นทุนนิยมและนำมาซึ่งการปลดปล่อยให้เป็นอิสระทางสังคมและเศรษฐกิจ มีผู้อธิบายว่ามากซ์เป็นบุคคลทรงอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์มนุษย์ และงานของเขาได้รับการสรรเสริญและวิพากษ์ งานของเขาในวิชาเศรษฐศาสตร์วางรากฐานสำหรับความเข้าใจในปัจจุบันของแรงงานและความสัมพันธ์กับทุน และความคิดทางเศษฐศาสตร์สมัยหลัง ปัญญาชน สหภาพแรงงาน ศิลปินและพรรคการเมืองจำนวนมากทั่วโลกได้รับอิทธิพลจากงานของมากซ์ มีหลายคนดัดแปลงหรือรับความคิดของเขามาใช้ มักออกชื่อมากซ์ว่าเป็นผู้สร้างสังคมศาสตร์สมัยใหม่คนสำคัญคนหนึ่ง.

ใหม่!!: สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและคาร์ล มากซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยที่ไม่เสรี

ประชาธิปไตยที่ไม่เสรี (Illiberal Democracy) หมายถึงรูปแบบประชาธิปไตยที่แม้จะมีรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง แต่สิทธิพลเมือง (civil liberties) ของประชาชนมักถูกจำกัด ละเมิด หรือไม่ได้รับความคุ้มครอง มีการปิดกั้นการเข้าถึงข้อมูล สื่อถูกควบคุม และการแสดงความคิดเห็นของประชาชนอยู่ภายใต้การควบคุมอย่างเข้มงวดจากรัฐ นอกจากนี้ในระบอบประชาธิปไตยที่ไม่เสรี กระบวนการเลือกตั้งมักไม่เป็นไปตามหลักการเลือกตั้งในระบอบเสรีประชาธิปไตย ที่เน้นความโปร่งใส (transparency) เป็นอิสระ (free) จากการครอบงำโดยผู้กุมอำนาจรัฐหรืออำนาจอื่นใด การแข่งขันเลือกตั้งให้ความเป็นธรรม (fair) กับผู้แข่งขันและผู้สนับสนุนทุกฝ่าย และประกันความลับของผู้ลงคะแนนเลือกตั้ง (secret ballot) ระบอบประชาธิปไตยที่ไม่เสรีมักเกิดขึ้นในสังคมที่อยู่ระหว่างการเปลี่ยนผ่านจากระบอบที่ไม่เป็นประชาธิปไตยไปสู่การเป็นประชาธิปไตย ซึ่งมักจะเกิดขึ้นในประเทศกำลังพัฒนา (developing country) หรือประเทศประชาธิปไตยใหม่ (new democracies) แต่บางครั้งประเทศที่พัฒนาแล้วบางประเทศก็อาจมีมิติของประชาธิปไตยที่ไม่เสรีปรากฏให้เห็นได้ด้วยเช่นกัน อาทิ ในสิงคโปร์ที่มีการเลือกตั้งที่สร้างกติกาปิดกั้นการแข่งขัน กีดกันผู้สมัครฝ่ายค้าน ไม่ประกันความลับของผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง และการจำกัดสิทธิเสรีภาพของสื่อมวลชนและประชาชนในการแสดงความคิดเห็น (Zakaria, 1997: 22-43).

ใหม่!!: สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและประชาธิปไตยที่ไม่เสรี · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยเชิงเนื้อหา

ประชาธิปไตยเชิงเนื้อหา (Substantive Democracy) เป็นรูปแบบหนึ่งของประชาธิปไตยที่เน้นเรื่องของผลลัพธ์ (outcome) ของกระบวนการและกลไกต่างๆ ในระบอบประชาธิปไตย โดยเกณฑ์หรือมาตรวัดความเป็นประชาธิปไตยเชิงเนื้อหามักประกอบด้ว.

ใหม่!!: สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและประชาธิปไตยเชิงเนื้อหา · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยเสรีนิยม

รัฐสภาของประเทศฟินแลนด์ (Eduskunta) - มีประเทศและอาณาเขตหลายแห่งที่เรียกได้ว่า มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปเป็นแห่งแรก รัฐ Grand Duchy of Finland (ก่อนจะเป็นประเทศฟินแลนด์) ได้มีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2449 ประชาธิปไตยเสรีนิยม หรือ ประชาธิปไตยแบบเสรีนิยม (Liberal democracy) หรือบางครั้งเรียกว่า ประชาธิปไตยแบบตะวันตก เป็นทั้งคตินิยมทางการเมืองและระบอบการปกครองรูปแบบหนึ่ง ที่การปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนจะดำเนินการใต้หลักเสรีนิยม คือ การพิทักษ์สิทธิของปัจเจกบุคคล ซึ่งโดยทั่วไปจะระบุไว้ในกฎหมาย ระบอบมีลักษณะเฉพาะ คือ.

ใหม่!!: สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและประชาธิปไตยเสรีนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศ

แผนที่แสดงประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ประเทศ เป็นบริเวณที่ระบุเป็นเอนทิตีต่างหากในภูมิศาสตร์การเมือง ประเทศอาจเป็นรัฐเอกราชหรือรัฐที่ถูกรัฐอื่นยึดครอง เป็นรัฐซึ่งไร้เอกราชหรืออดีตเขตปกครองทางการเมืองเอกราช หรือพื้นที่ภูมิศาสตร์ซึ่งเป็นที่ตั้งของประชาชนที่เดิมไม่ขึ้นต่อกันหรือมีความสัมพันธ์ต่างกันซึ่งมีลักษณะทางการเมืองเป็นเอกลักษณ.

ใหม่!!: สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์นี แซนเดอร์ส

อร์นาร์ด "เบอร์นี" แซนเดอร์ส (เกิด 8 ธันวาคม 1941) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกันผู้ได้เป็นสมาชิกวุฒิสภาสหรัฐด้อยอาวุโสจากรัฐเวอร์มอนต์ตั้งแต่ปี 2007 แซนเดอรส์เป็นสมาชิกสภาอิสระที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์รัฐสภาสหรัฐ นับแต่เขาได้รับเลือกตั้งเป็นผู้แทนราษฎรในปี 1991 เขาเข้าร่วมประชุมลับกับพรรคเดโมแครต ซึ่งได้มอบหมายภาระงานคณะกรรมาธิการของรัฐสภาแก่เขา และบางครั้งให้พรรคเดโมแครตได้รับฝ่ายข้างมาก แซนเดอร์สเป็นสมาชิกคนสำคัญของพรรคข้างน้อยในคณะกรรมาธิการงบประมาณของวุฒิสภาในเดือนมกราคม 2015 เขาเคยเป็นประธานคณะกรรมาธิการกิจการทหารผ่านศึกของวุฒิสภาเป็นเวลาสองปี การรณรงค์ของแซนเดอร์สสำหรับการเสนอชื่อชิงประธานาธิบดีสหรัฐในปี 2016 ของพรรคแข่งกับฮิลลารี คลินตันได้ระดมเงินจากผู้สมทบปัจเจกรายย่อยมากกว่าผู้อื่นในประวัติศาสตร์อเมริกา และทำให้เขาเป็นที่รู้จักในระดับนานาชาติ เขาอธิบายตนว่าเป็นนักสังคมนิยมประชาธิปไตย แซนเดอร์สนิยมแรงงานและเน้นการย้อนความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจ นักวิชาการจำนวนมากถือมุมมองของเขาว่าเข้าได้กับแนวประชาธิปไตยสังคมและลัทธิก้าวหน้าอเมริกันสมัยข้อตกลงใหม่มากกว่าสังคมนิยมประชาธิปไตย แซนเดอร์สเกิดและเติบโตในย่านบรุกลินของนครนิวยอร์ก และสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยชิคาโกในปี 1964 ระหว่างเป็นนักศึกษาเขาเป็นผู้จัดระเบียบการประท้วงขบวนการสิทธิพลเมืองแอฟริกัน-อเมริกันผู้แข็งขันให้สภาความเสมอภาคทางเชื้อชาติ (Congress of Racial Equality) และคณะกรรมการประสานงานอหิงสาของนักศึกษา (Student Nonviolent Coordinating Committee) หลังตั้งถิ่นฐานในรัฐเวอร์มอนต์ในปี 1968 แซนเดอร์สรณรงค์เป็นผู้ว่าการและสมาชิกวุฒิสภาสหรัฐพรรคที่สามในต้นถึงกลางคริสต์ทศวรรรษ 1970 แต่ไม่สำเร็จ เขาได้รับเลือกตั้งเป็นนายกเทศมนตรีเบอร์ลิงตัน นครที่มีประชากรมากที่สุดของรัฐเวอร์มอนต์ ในปี 1981 โดยสมัครเป็นนักการเมืองอิสระ ด้วยคะแนนเสียงเฉียดฉิว 10 เสียง ต่อมาเขาได้รับเลือกตั้งใหม่เป็นนายกเทศมนตรีอีกสามสมัย ในปี 1990 เขาได้รับเลือกตั้งให้เป็นผู้แทนของเขตรัฐสภาทั้งหมดของรัฐเวอร์มอนต์ในสภาผู้แทนราษฎร ที่ซึ่งเขาร่วมก่อตั้งการประชุมลับลัทธิก้าวหน้ารัฐสภา (Congressional Progressive Caucus) ในปี 1991 เขารับราชการเป็นสมาชิกวุฒิสภา 16 ปีก่อนได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาสหรัฐในปี 2006 ในปี 2012 เขาได้รับเลือกตั้งอีกด้วยคะแนนเสียงของประชาชน 71% ผลสำรวจความเห็นบ่งว่าเขาเป็นสมาชิกวุฒิสภาลำดับต้น ๆ ที่ได้รับความนิยมสูงสุดกับเขตเลือกตั้งของเขา โดยอยู่อันดับสามในปี 2014 และอันดับหนึ่งทั้งในปี 2015 และ 2016 ในการเลือกตั้งเป็นการทั่วไปปี 2016 แซนเดอร์สได้รับคะแนนเสียงของประชาชนรัฐเวอร์มอนต์เกือบ 6% เป็นผู้สมัครแบบหย่อนชื่อ (write-in candidate) แม้ว่าถอนตัวจากการแข่งและสนับสนุนคลินตันไปแล้วเมื่อหลายเดือนก่อน แซนเดอร์สมีชื่อเสียงระดับชาติหลังอภิปรายประวิงเวลาในปี 2010 ต่อรัฐบัญญัติการลดภาษีชนชั้นกลางปี 2010 ซึ่งขยายการลดภาษีบุชซึ่งเอื้อชาวอเมริกันผู้ร่ำรวย เขาสร้างชื่อเสียงเป็นเสียงนักลัทธิก้าวหน้าในประเด็นอย่างการปฏิรูปการจัดหาเงินทุนการรณรงค์ สวัสดิการบริษัท ภาวะโลกร้อน ความไม่เสมอภาคด้านรายได้ สิทธิแอลจีบีที การลาเลี้ยงบุตร (parental leave) และการประกันสุขภาพถ้วนหน้า แซนเดอร์สวิจารณ์นโยบายต่างประเทศสหรัฐมาอย่างยาวนานและเป็นผู้คัดค้านคนแรก ๆ และเปิดเผยซึ่งสงครามอิรัก สงครามอ่าวเปอร์เซีย และการสนับสนุนคอนทราสในประเทศนิคารากัว เขายังเปิดเผยเรื่องเสรีภาพและสิทธิพลเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเลือกปฏิบัติต่อเชื้อชาติในระบบยุติธรรมอาญา ตลอดจนสนับสนุนสิทธิภาวะเฉพาะส่วนตัวต่อนโยบายสอดส่องดูแลสาธารณะอย่างรัฐบัญญัติความรักปิตุภูมิสหรัฐและโครงการสอดส่องดูแลของเอ็นเอสเอ แซนเดอร์สประกาศการรณรงค์เพื่อเสนอชื่อให้เลือกประธานาธิบดีพรรคเดโมแครตเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2016 แซนเดอร์สชนะการเลือกตั้งไพรมารีและการประชุมลับ 23 ครั้งและผู้แทนให้คำมั่นประมาณ 43% เทียบกับ 55% ของคลินตัน การรณรงค์ของเขาขึ้นชื่อเรื่องความกระตือรือร้นของผู้สนับสนุนเขา ตลอดจนการปฏิเสธการบริจาคครั้งใหญ่จากบริษัท อุตสาหกรรมการเงินและคณะกรรมการทำงานการเมืองที่เกี่ยงข้องใด ๆ วันที่ 12 กรกฎาคม 2016 แซนเดอร์สสนับสนุนคลินตันต่อคู่แข่งการเลือกตั้งเป็นการทั่วไปจากพรรครีพับลิกัน ดอนัลด์ ทรัมป์ ขณะที่กระตุ้นให้ผู้สนับสนุนเขาสานต่อการรณรงค์ "การปฏิวัติการเมือง" ของเขาที่เริ่มต้นแล้ว เขาตั้งองค์การ 501(c) ชื่อ การปฏิวัติของเรา เพื่อระดมและสนับสนุนผู้สมัครสำหรับตำแหน่งระดับท้องถิ่น รัฐและชาต.

ใหม่!!: สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและเบอร์นี แซนเดอร์ส · ดูเพิ่มเติม »

เคที เพร์รี

แคเทอรีน เอลิซาเบธ ฮัดสัน (Katheryn Elizabeth Hudson; เกิด 25 ตุลาคม ค.ศ. 1984) หรือชื่อในวงการคือ เคที เพร์รี (Katy Perry) เป็นนักร้อง และนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน หลังจากเธอร้องเพลงในโบสถ์ในวัยเด็ก เธอได้ทำงานดนตรีแนวเพลงกอสเปลขณะเป็นวัยรุ่น เพร์รีเซ็นสัญญากับสังกัดเรดฮิลล์เรเคิดส์ และออกสตูดิโออัลบั้มแรกในชื่อ เคที ฮัดสัน โดยใช้ชื่อเกิดของเธอ เมื่อ..

ใหม่!!: สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและเคที เพร์รี · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Civil rightsสิทธิพลเมืองสิทธิทางการเมืองสิทธิทางแพ่งสิทธิทางแพ่งและสิทธิทางการเมือง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »