เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สิงคโปร์แอร์ไลน์

ดัชนี สิงคโปร์แอร์ไลน์

อาคารสิงคโปร์แอร์ไลน์ สิงคโปร์แอร์ไลน์ (abbreviated 新航) เป็นบริษัทสายการบินในสิงคโปร์ มีท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีเป็นท่าอากาศยานหลัก จัดว่ามีความแข็งแกร่งในตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออก เอเชียใต้ และ"เส้นทางจิงโจ้" (เส้นทางบินระหว่างประเทศในทวีปออสเตรเลียกับสหราชอาณาจักรโดยผ่านซีกโลกตะวันออก) นอกจากนี้ยังมีเที่ยวบินข้ามมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งรวมถึงเที่ยวบินตรงเชิงพาณิชย์ที่ใช้เวลาบินนานที่สุดในโลกสองเส้นทาง คือ จากสิงคโปร์ไปนูอาร์ก และลอสแอนเจลิส ด้วยเครื่องบินแอร์บัส เอ 340-500 สิงคโปร์แอร์ไลน์เป็นสายบินแรกที่สั่งซื้อเครื่องบินแอร์บัส เอ 380 และนอกจากกิจการสายการบินแล้ว ยังขยายกิจการไปยังธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับสายการบิน เช่น การจัดการและวิศวกรรมอากาศยาน มีสายการบินซิลค์แอร์เป็นบริษัทสาขาที่สิงคโปร์แอร์ไลน์เป็นเจ้าของทั้งหมด ให้บริการเที่ยวบินภายในภูมิภาคไปยังเมืองที่มีความสำคัญระดับรองและมีผู้โดยสารน้อยกว่า และยังมีสิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โกเป็นบริษัทสาขาที่ดำเนินการบินฝูงบินขนส่งสินค้าและจัดการขนส่งและจัดเก็บสัมภาระบนเครื่องบินโดยสาร สิงคโปร์แอร์ไลน์ถือหุ้นในสายการบินเวอร์จินแอตแลนติกอยู่ 49% และลงทุนในสายการบินไทเกอร์แอร์ไลน์เป็นส่วนปันผล 49% เพื่อรับมือการแข่งขันจากสายการบินต้นทุนต่ำ สิงคโปร์แอร์ไลน์จัดว่าเป็นสายการบินที่มีจำนวนผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 11 ในเอเชีย และมีผู้โดยสารระหว่างประเทศมากเป็นอันดับ 6 ของโลก สิงคโปร์แอร์ไลน์ได้รับการจัดอันดับจากนิตยสารฟอร์จูนให้อยู่ในอันดับที่ 27 ในหมวดหมู่บริษัทที่เป็นที่ยกย่องชมเชยมากที่สุดในโลกประจำ พ.ศ.

สารบัญ

  1. 65 ความสัมพันธ์: บริติชแอร์เวย์พันธมิตรสายการบินกล้องโทรทรรศน์หักเหแสงการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009มาเลเซียแอร์ไลน์สายการบินสายการบินสกู๊ตสายการบินประจำชาติสิงคโปร์แอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 006สิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โกสตาร์อัลไลแอนซ์สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็มหม่อมเจ้าภูริพันธ์ ยุคลอากาศยานลำตัวกว้างจุดหมายปลายทางของสิงคโปร์แอร์ไลน์ท่าอากาศยานฟุกุโอะกะท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิท่าอากาศยานซือริชท่าอากาศยานนานาชาติบรูไนท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ท่าอากาศยานนานาชาติกูชิงท่าอากาศยานนานาชาติมิวนิกท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้งท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิสท่าอากาศยานนานาชาติอาบูดาบีท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อนท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดีท่าอากาศยานนานาชาติดูไบท่าอากาศยานนานาชาติคันไซท่าอากาศยานนานาชาติคิงส์ฟอร์ดสมิธท่าอากาศยานนานาชาติงูระห์ไรท่าอากาศยานนานาชาติซานฟรานซิสโกท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตงท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่งท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลท่าอากาศยานนานาชาติปีนังท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะท่าอากาศยานนานาชาติแวนคูเวอร์ท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่ายท่าอากาศยานนานาชาติโออาร์ แทมโบท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียวท่าอากาศยานนานาชาติไครสต์เชิร์ชท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียนท่าอากาศยานนานาชาติเคปทาวน์ท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ต... ขยายดัชนี (15 มากกว่า) »

บริติชแอร์เวย์

Waterside บริติช แอร์เวย์ (อังกฤษ: British Airways) เป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุดของสหราชอาณาจักร และเป็นลำดับที่สามของทวีปยุโรป (ตามหลัง แอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม และ ลุฟต์ฮันซา) และมีเที่ยวบินจากยุโรปข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกมากกว่าสายการบินอื่นๆ ท่าอากาศยานหลักของบริติชแอร์เวย์ คือ ลอนดอนฮีทโธรว์ และ ลอนดอนแกตว.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และบริติชแอร์เวย์

พันธมิตรสายการบิน

ันธมิตรสายการบิน คือ การรวมกลุ่มกันระหว่างสายการบินสองสายหรือมากกว่าขึ้นไป โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ความร่วมมือกันในด้านต่างๆ เช่น ข้อตกลงการบินโดยใช้รหัสเที่ยวบินร่วมกัน (หรือบางครั้งอาจไม่ได้ใช้รหัสเที่ยวบินร่วมกัน แต่สามารถเชื่อมต่อเที่ยวบินกันระหว่างเที่ยวบินในพันธมิตรฯ สองเที่ยวบินหรือมากกว่า), จัดตั้งรายการสะสมแต้มการบินร่วมกัน, การประชาสัมพันธ์ร่วมกันในนามพันธมิตรสายการบิน เป็นต้น พันธมิตรสายการบินที่สำคัญๆ มีอยู่สามกลุ่มได้แก่ สตาร์อัลไลแอนซ์, วันเวิลด์และสกายทีม นอกจากนี้ยังมีพันธมิตรสายการบินกลุ่มอื่นอีก เช่น วานิลลาอัลไลแอนซ์ ที่เป็นการรวมกลุ่มกันของสายการบินในประเทศหมู่เกาะในมหาสมุทรอินเดีย, ยู-ฟลายอัลไลแอนซ์ และ แวลูอัลไลแอนซ์ ที่เป็นการรวมกลุ่มกันของสายการบินต้นทุนต่ำ รวมถึงพันธมิตรสายการบินขนส่งสินค้า ได้แก่ สกายทีมคาร์โก (SkyTeam Cargo) และวาวคาร์โกอัลไลแอนซ์ (WOW Cargo Alliance) สำหรับกลุ่มของสายการบินที่เป็นเครือเดียวกันทั้งหมดหรือใช้ชื่อยี่ห้อเดียวกันอยู่แล้วทั้งหมดตั้งแต่ต้น เช่น กลุ่มแอร์เอเชีย หรือกลุ่มไลอ้อนแอร์ นั้นไม่ถือว่าเป็นพันธมิตรสายการบิน.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และพันธมิตรสายการบิน

กล้องโทรทรรศน์หักเหแสง

กล้องโทรทรรศน์หักเหแสง กล้องโทรทรรศน์หักเหแสง (refracting telescope)เป็นกล้องโทรทรรศน์ประเภทแรกที่ได้รับการคิดค้นขึ้นในปี..

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และกล้องโทรทรรศน์หักเหแสง

การระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009

การระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 เป็นการระบาดทั่วโลกของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ชนิดเอ เอช 1 เอ็น 1 สายพันธุ์ใหม่ หรือโดยทั่วไปมักเรียกว่า "ไข้หวัดหมู" เริ่มพบการระบาดตั้งแต่เดือนเมษายน..

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009

มาเลเซียแอร์ไลน์

Malaysia Airlines head office มาเลเซียแอร์ไลน์ เป็นสายการบินประจำชาติของมาเลเซีย ให้บริการเดินทางทั้งในและนอกทวีป เคยเป็น 1 ใน 5 สายการบินที่ได้รับการจัดอันดับโดยสกายแทรกซ์ให้อยู่ในอันดับ 5 ดาว มาเลเซียแอร์ไลน์เคยเป็นหนึ่งในสายการบินที่มีผู้คนยอมรับมากที่สุดในโลกตะวันออก จนกระทั่งเกิดเหตุการณ์เครื่องบินของเที่ยวบินที่ 370 สูญหายระหว่างทำการบินในเดือนมีนาคม..

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และมาเลเซียแอร์ไลน์

สายการบิน

FedEx Express ถือเป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุดในแง่ของจำนวนเครื่องบินและน้ำหนักขนส่งhttp://www.iata.org/ps/publications/wats-freight-km.htm Scheduled Freight Tonne - Kilometres สายการบิน คือที่ให้บริการขนส่งทางอากาศสำหรับผู้โดยสารที่เดินทางและการขนส่งสินค้า สายการบินเช่าหรือเจ้าของเครื่องบินของพวกเขาด้วยซึ่งในการจัดหาบริการเหล่านี้และอาจเป็นหุ้นส่วนหรือเป็นพันธมิตรกับสายการบินอื่นเพื่อประโยชน์ร่วมกัน โดยทั่วไป บริษัท สายการบินได้รับการยอมรับที่มีใบรับรองการดำเนินงานอากาศหรือใบอนุญาตที่ออกโดยร่างกายการบินของรัฐ สายการบินที่แตกต่างจากผู้ที่มีจดหมายเดียวแบกอากาศยานหรือเรือบรรทุกสินค้าผ่านทางหลายร้อยปฏิบัติการบริการเต็มรูปแบบระหว่างประเทศสายการบินของเครื่องบิน บริการสายการบินสามารถแบ่งเป็นทวีปภายในทวีปประเทศภูมิภาคหรือต่างประเทศและอาจจะมีการดำเนินการให้บริการที่กำหนดหรือการเช่าเหมาลำ สายการบินมีความหลากหลาย ตั้งแต่เป็นเครื่องบินเดี่ยวที่ขนส่งจดหมายหรือสินค้า ไปจนถึงการบริการเต็มรูปแบบในระดับนานาชาติ ที่มีเครื่องบินนับร้อย การบริการของสายการบินอาจบินระหว่างทวีป ภายในทวีป หรือภายในประเทศเอง ซึ่งประเภทของสายการบินใหญ่ๆ มี 2 ประเภท คือ สายการบินโดยสาร(PassengerAirlines) และ สายการบินขนส่งสินค้า (Cargo Airlines).

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และสายการบิน

สายการบินสกู๊ต

การบินสกู๊ต เป็นสายการบินต้นทุนต่ำ ในเครือสิงคโปร์แอร์ไลน์ส โดยวางตัวเป็นสายการบินต้นทุนต่ำระยะไกล และมีเส้นทางบินระยะกลางถึงระยะไกลจาก ท่าอากาศยานนานาชาติชางงี สาธารณรัฐสิงคโปร์ โดยมีแผนการบินที่จะเปิดเส้นทางบินไปยัง ประเทศออสเตรเลีย และ ประเทศจีน ใดยใช้เครื่องบินแบบโบอิ้ง 777 สายการบินสกู๊ตเป็นอีกหนึ่งความพยายามของบริษัทแม่อย่างสิงคโปร์แอร์ไลน์ส ที่จะจับกลุ่มลูกค้าซึ่งต้องการบินในราคาประหยัด โดยสามารถบรรเทาปัญหาค่าเชื้อเพลิงที่พุ่งสูงลิบไปพร้อมๆ กัน โดยเริ่มให้บริการเที่ยวบินแรกจากสิงคโปร์ไปยังนครซิดนีย์ เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2555.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และสายการบินสกู๊ต

สายการบินประจำชาติ

การบินแห่งชาติ เป็นสายการบินรูปแบบหนึ่ง ซึ่งเป็นสายการบินตัวแทนของประเทศหรือดินแดนนั้น ๆ สายการบินแห่งชาติส่วนใหญ่จะมีรูปธงชาติประดับไว้บนตัวหรือหางของเครื่องบิน เกือบทุกประเทศมีสายการบินประจำชาติ ยกเว้นสหรัฐอเมริก.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และสายการบินประจำชาติ

สิงคโปร์แอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 006

งคโปร์แอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 006 เป็นอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับเครื่องบินโบอิง 747-412 ของสิงคโปร์แอร์ไลน์ เดินทางจากท่าอากาศยานนานาชาติเจียงไคเช็ก ไปยังท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และสิงคโปร์แอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 006

สิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก

งคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก (Singapore Airlines Cargo หรือ SIA Cargo) เป็นสายการบินในเครือของสิงคโปร์แอร์ไลน์ ก่อตั้งเมื่อปี..

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และสิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก

สตาร์อัลไลแอนซ์

350px สตาร์อัลไลแอนซ์ (Star Alliance) เป็น เครือข่ายพันธมิตรสายการบินขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ก่อตั้งเมื่อ14 พฤษภาคม ค.ศ. 1997 โดยมีสายการบินก่อตั้ง 5 สายการบินคือ แอร์แคนาดา ลุฟต์ฮันซา ยูไนเต็ดแอร์ไลน์ สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม และการบินไทย ปัจจุบันมีสายการบินเข้าร่วมจำนวน 28 สายการบิน มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองฟรังค์ฟูร์ทอัมไมน์ ประเทศเยอรมนี โดยสายการบินทั้งหมดที่ร่วมด้วยจะมีความร่วมมือกันดังนี้.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และสตาร์อัลไลแอนซ์

สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม

SAS Frösundavik Office Building) สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม (Scandinavian Airlines System) เป็นสายการบินร่วมของประเทศในกลุ่มสแกนดิเนเวีย คือ สวีเดน นอร์เวย์ และเดนมาร์ก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และสแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม

หม่อมเจ้าภูริพันธ์ ยุคล

รืออากาศโท หม่อมเจ้าภูริพันธ์ ยุคล หรือท่านเป๋อ (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2477 - 20 เมษายน พ.ศ. 2557) เป็นพระโอรสใน พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล กับ หม่อมบุญล้อม ยุคล ณ อยุธยา ทรงมีหม่อมเจ้าพี่น้องร่วมพระบิดาเดียวกันกั.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และหม่อมเจ้าภูริพันธ์ ยุคล

อากาศยานลำตัวกว้าง

รื่องบินแอร์บัส เอ 380 เป็นเครื่องบินพาณิชย์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในปัจจุบัน โบอิง 777-300ER ของแอร์แคนาดา (ลำตัวกว้าง) อากาศยานลำตัวกว้าง (Wide-body aircraft) คือ อากาศยานที่มีขนาดลำตัว (fuselage) กว้างเพียงพอสำหรับบรรทุกผู้โดยสารได้ถึงสองช่องทางเดิน (aisles) โดยถูกเรียกว่าเป็น อากาศยานที่มีสองช่องทางเดิน ซึ่งประกอบไปด้วยที่นั่งอย่างน้อยเจ็ดที่นั่งต่อหนึ่งแถว ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางโดยทั่วไปของลำตัวเครื่องบินนั้นมีขนาดประมาณ 5 ถึง 6 เมตร (16 ถึง 20 ฟุต) ซึ่งทำให้จุผู้โดยสารได้ตั้งแต่ 200 จนถึง 850 คนในหนึ่งเที่ยวบิน อากาศยานที่มีขนาดลำตัวกว้างที่สุดนั้นมีขนาดความกว้างกว่า 6 เมตร (20 ฟุต) และสามารถจุผู้โดยสารได้ถึง 11 ที่นั่งต่อหนึ่งแถวในการจัดผังที่นั่งที่แบบใช้พื้นที่สูงสุด เมื่อเปรียบเทียบกันกับอากาศยานลำตัวแคบ (Narrow-body aircraft) ซึ่งจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 3 ถึง 4 เมตร (10 ถึง 13 ฟุต) และมีช่องทางเดินเดียว และจำนวนที่นั่งตั้งแต่ 2 จนถึง 6 ที่นั่งต่อหนึ่งแถว แต่แรกนั้น อากาศยานลำตัวกว้างนั้นถูกออกแบบเพื่อจุดประสงค์ในด้านประสิทธิภาพ และความสะดวกสบายของผู้โดยสาร รวมทั้งการเพิ่มขนาดของห้องสัมภาระ อย่างไรก็ตาม สายการบินต่างๆ หันมาให้ความสนใจในด้านความสามารถในการประหยัดค่าใช้จ่าย และลดพื้นที่สำหรับผู้โดยสารเพื่อแลกกับความสามารถในการทำรายได้และกำไรสูงสุด อากาศยานลำตัวกว้างที่มีขนาดกว้างที่สุดมักจะถูกเรียกว่า จัมโบ้เจ็ต ซึ่งได้แก่ โบอิง 747 ("จัมโบ้เจ็ต") แอร์บัส เอ 380 ("ซุปเปอร์จัมโบ้เจ็ต") และรุ่นที่กำลังจะตามมา คือ โบอิง 777 เอ็กซ์ ("มินิจัมโบ้เจ็ต") คำว่า "จัมโบ้เจ็ต" นั้นมาจากชื่อ "จัมโบ้" ของช้างที่โด่งดังจากละครสัตว์ในช่วงศตวรรษที่ 19.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และอากาศยานลำตัวกว้าง

จุดหมายปลายทางของสิงคโปร์แอร์ไลน์

หน้านี้คือรายชื่อจุดหมายปลายทางของเที่ยวบินต่าง ๆ ของสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์ ทั้งนี้ไม่รวมถึงสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก ซึ่งเป็นสายการบินขนส่งสินค้.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และจุดหมายปลายทางของสิงคโปร์แอร์ไลน์

ท่าอากาศยานฟุกุโอะกะ

อะแกรมของท่าอากาศยานฟุกุโอะกะ ท่าอากาศยานฟุกุโอะกะ ชื่อเดิมคือ ฐานทัพอากาศอิตะซุเกะ เป็นท่าอากาศยานในเมืองฟุกุโอะกะ ประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ห่างจากสถานีรถไฟฮะกะตะ 3 กิโลเมตรทางทิศตะวันออก จัดเป็นท่าอากาศยานระดับสองในญี่ปุ่น ปัจจุบันรองรับเที่ยวบินภายในประเทศและระหว่างประเทศ มีการใช้งานเต็มอัตราการรองรับของท่าอากาศยานและไม่สามารถขยายได้แล้ว ปิดการขึ้นลงของเที่ยวบินเวลา 22.00 น.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานฟุกุโอะกะ

ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์

ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ (London Heathrow Airport) หรือมักเรียกโดยย่อว่า ฮีทโธรว์ เป็นท่าอากาศยานที่มีการจราจรทางอากาศหนาแน่นที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยเป็นท่าอากาศยานที่หนาแน่นที่สุดของประเทศสหราชอาณาจักร และทวีปยุโรป ในกรณีของจำนวนผู้โดยสาร และเป็นท่าอากาศยานที่หนาแน่นที่สุดของโลก ในกรณีของจำนวนผู้โดยสารระหว่างประเทศ ดำเนินการโดย บริษัท ท่าอากาศยานอังกฤษ จำกัด (เดิมคือ องค์การท่าอากาศยานแห่งประเทศอังกฤษ) ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเมืองฮิลลิงดอน ห่างจากตัวเมืองของกรุงลอนดอนประมาณ 24 กิโลเมตร (15 ไมล์) เป็นหนึ่งในสามของท่าอากาศยานที่อยู่ในเขตของกรุงลอนดอนและปริมณฑล อีกสองแห่งก็คือ ท่าอากาศยานลอนดอนซิตี และท่าอากาศยานลอนดอนบิกกิงฮิล ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์มีทางวิ่งขนานกัน 2 ทางวิ่ง ตามแนวทิศตัวออกและทิศตะวันตก และ มีอาคารผู้โดยสาร 4 อาคาร โดยอาคารที่ 5 กำลังก่อสร้าง และยังมีแผนปรับปรุงอาคารผู้โดยสารฝั่งตะวันออกใหม่ รวมทั้งเพิ่มทางวิ่งอีกหนึ่งเส้นทางด้ว.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์

ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี

ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี หรือเรียกโดยทั่วไปว่าสนามบินชางงี ตั้งอยู่ในเขตชางงี เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์, สิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก, ซิลค์แอร์, ไทเกอร์แอร์เวย์, เจ็ตสตาร์เอเชียแอร์เวย์ และแวลูแอร์ ในปี พ.ศ.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็น สนามบิน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทพรัตน และ ทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตร เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานซือริช

ท่าอากาศยานซือริช (Zurich Airport) หรือที่รู้จักในอีกชื่อหนึ่งว่า ท่าอากาศยานโคลเทิน (Kloten Airport) ตั้งอยู่ในเมืองโคลเทิน, รัฐซือริช ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ บริหารโดย Unique Airport เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ใหญ่ที่สุดในสวิตเซอร์แลนด์ และเป็นศูนย์กลางของสายการบินสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ มี Skyguide รับผิดชอบการควบคุมการจราจรทางอากาศทั้งหมดในท่าอากาศยาน ใน พ.ศ.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานซือริช

ท่าอากาศยานนานาชาติบรูไน

ท่าอากาศยานนานาชาติบรูไน (Lapangan Terbang Antarabangsa Brunei, لاڤڠن تربڠ انتارابڠسا بروني) เป็นท่าอากาศยานหลักของประเทศบรูไน เป็นฐานที่ตั้งของสายการบินรอยัลบรูไนแอร์ไลน์ กองทัพอากาศบรูไนยังใช้เป็นที่ตั้งของฐานทัพอากาศริมบาซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ของท่าอากาศยาน ท่าอากาศยานให้บริการปลายทางทั่วภูมิภาคเอเชียและโอเชียเนี.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติบรูไน

ท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์

ท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์ ตั้งอยู่ในพื้นที่ถมทะเล ชานเมืองนาโงยะ ประเทศญี่ปุ่น เป็นท่าอากาศยานแห่งใหม่ (แทนท่าอากาศยานนานาชาติชูบุ - Chubu International Airport) ที่สร้างขึ้นเพื่อรองรับงาน เอกซ์โป 2005 ที่จังหวัดไอชิ เนื่องจากสภาพที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่อยู่กึ่งกลางประเทศญี่ปุ่น จึงสามารถเป็นศูนย์กลางการเดินทางทางอากาศของประเทศที่สำคัญ มีลักษณะพิเศษคือมีพื้นที่พาณิชยกรรมแยกอยู่บนชั้นหนึ่งของอาคารผู้โดยสาร เรียกว่า แอร์ซิตี (Aircity) ประกอบด้วยพื้นที่ขายของแบบตะวันตก แบบญี่ปุ่น และพื้นที่พักผ่อน เช่น โรงอาบน้ำแร่ ทำให้นอกจากเป็นท่าอากาศยานแล้ว ยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวของประชาชนในจังหวัดไอชิและพื้นที่ใกล้เคียง สามารถเดินทางระหว่างตัวเมืองนาโงยะได้รถไฟฟ้าความเร็วสูง ภายในเวลา 20 นาที.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน (Guangzhou Baiyun International Airport) เป็นท่าอากาศยานหลักของนครกว่างโจว เมืองเอกของมณฑลกวางตุ้งในประเทศจีน จากสถิติในปี 2014 สนามบินแห่งนี้มีปริมาณผู้โดยสารมากสุดเป็นอันดับสองของจีนรองจากท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง และเป็นอันดับ 16 ของโลก สนามบินแห่งนี้ตั้งอยู่ในอำเภอไป๋-ยฺหวินและอำเภอฮฺวาตูของนครกว่างโจว เปิดทำการเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2004 เพื่อทดแทนสนามบินแห่งเก่าที่มีอายุกว่า 72 ปี ซึ่งในปัจจุบันได้ปิดใช้งานแล้ว สนามบินแห่งใหม่นี้สร้างขึ้นด้วยงบประมาณกว่า 1.98 หมื่นล้านหยวน มีที่ตั้งห่างจากตัวเมืองกว่างโจวไปทางเหนือราว 27 กิโลเมตร และมีขนาดใหญ่กว่าสนามบินเดิมถึงเกือบห้าเท่า คำว่า "ไป๋-ยฺหวิน" (白云) นั้นเป็นชื่อของภูเขาที่อยู่ใกล้เคียงสนามบินแห่งเก่า (ไป๋-ยฺหวินชาน) มีความหมายว่า "เมฆขาว" นอกจากนี้ สนามบินแห่งใหม่ยังอยู่ใกล้ตัวเมืองมากกว่าสนามบินแห่งเก่า สนามบินแห่งนี้มีศักยภาพในการรองรับผู้โดยสารได้ 45 ล้านคนต่อปี แต่ในปัจจุบันจำนวนผู้โดยสารก็มากเกินศักยภาพ ขณะนี้มีโครงการขยายสนามบินซึ่งรวมถึงอาคารผู้โดยสารหลังใหม่ขนาด 531,000 ตารางเมตรที่มีขนาดเท่ากับอาคารผู้โดยสารในปัจจุบันกำลังดำเนินการอยู่ คาดว่าจะก่อสร้างเสร็จภายในปี 2018 ซึ่งจะทำให้สนามบินมีศักยภาพในการรองรับผู้โดยสารได้ 80 ล้านคน และปริมาณสินค้า 25 ล้านตันต่อปี.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ (Lapangan Terbang Antarabangsa Kuala Lumpur) ตั้งอยู่ที่เขตเซปัง รัฐเซอลาโงร์ ประเทศมาเลเซีย ห่างจากตัวเมืองกัวลาลัมเปอร์ประมาณ 50 กิโลเมตร เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์

ท่าอากาศยานนานาชาติกูชิง

ท่าอากาศยานนานาชาติกูชิง (KIA) เป็นสนามบินตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐซาราวะก์ ประเทศมาเลเซีย อยู่ห่างจากใจกลางเมืองกูชิง ไปทางทิศใต้ นอกจากนี้ยังเป็นฐานทัพของทหาร No.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติกูชิง

ท่าอากาศยานนานาชาติมิวนิก

Lufthansa Regional Embraer E195 ท่าอากาศยานมิวนิก (Munich International Airport) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ท่าอากาศยานมิวนิก ฟรันซ์ โยเซฟ ชเตราสส์ (Flughafen München Franz Josef Strauß) เพื่อเป็นเกียรติต่อฟรันซ์ โยเซฟ ชเตราสส์ อดีตผู้ว่าการรัฐบาวาเรีย ท่าอากาศยานแห่งนี้ตั้งอยู่ที่มิวนิก เยอรมนี ห่างจากตัวเมืองไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ 28 กิโลเมตร (17.5 ไมล์) มิวนิกเป็นท่าอากาศที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของเยอรมนี รองจากท่าอากาศยานนานาชาติแฟรงค์เฟิร์ต และเป็นท่าอากาศยานหลักของลุฟต์ฮันซ.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติมิวนิก

ท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง

ท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง (พม่า: ရန်ကုန်အပြည်ပြည်ဆိုင်ရာလေဆိပ်) เป็นท่าอากาศยานที่ตั้งอยู่ในตำบลมีนกะลาโดน ทางเหนือ 15 กิโลเมตรจากตัวเมืองย่างกุ้ง ดำเนินงานโดยรัฐบาล เป็นท่าอากาศยานนานาชาติแห่งหลักของพม่า และเป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองจากท่าอากาศยานนานาชาติมัณฑะเลย์ และท่าอากาศยานนานาชาติเนปยีดอ อาคารผู้โดยสารหลังเก่าปัจจุบันถูกใช้งานสำหรับเที่ยวบินภายในประเทศ ในขณะที่อาคารผู้โดยสารหลังใหม่ที่เริ่มเปิดใช้งานเมื่อ พฤษภาคม..

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง

ท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส

ท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส (Los Angeles International Airport) เป็นท่าอากาศยานหลักของลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ชาวแคลิฟอร์เนียจะเรียกท่าอากาศยานแห่งนี้อย่างย่อว่า แอลเอเอกซ์ ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของลอสแอนเจลิส ห่างจากตัวเมืองไปประมาณ 24 กิโลเมตร แอลเอเอกซ์เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ และเป็นท่าอากาศยานรองของสายการบินอเมริกันแอร์ไลน์ และอลาสกาแอร์ไลน์ เนื่องจากท่าอากาศยานแห่งนี้ตั้งอยู่ริมชายฝั่งทะเล ทำให้ต้องเจอกับปัญหาเรื่องหมอก จนบางครั้งจะต้องให้เครื่องบินเปลี่ยนไปลงที่ท่าอากาศยานนานาชาติแอลเอ/ออนแทริโอ ซึ่งอยู่ห่างออกไปทางตะวันออก 76 กิโลเมตร.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส

ท่าอากาศยานนานาชาติอาบูดาบี

Terminal thumb ท่าอากาศยานนานาชาติอาบูดาบี (مطار أبو ظبي الدولي.) ตั้งอยู่กรุงอาบูดาบี, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเอติฮัดแอร์เว.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติอาบูดาบี

ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน

ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน (ฮังกึล: 인천국제공항, ฮันจา: 仁川國際空港) ตั้งอยู่ที่เกาะยางจอง เมืองอินช็อน ประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งอยู่ทางตะวันตกของโซล โดยรองรับการเป็นท่าอากาศยานหลักของเกาหลีใต้ และสายการบินแห่งชาติอย่างโคเรียนแอร์ รวมทั้งเอเชียน่าแอร์ไลน์ และคาร์โก360 แทนที่ท่าอากาศยานกิมโป (เดิมคือท่าอากาศยานนานาชาติกิโป) นับตั้งแต่ปี..

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน

ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง

ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง (จีน: 香港國際機場, จีนกลาง: Xiānggǎng Guójì Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: hoeng1 gong2 gwok3 zai3 gei1 coeng4) หรือเรียกโดยทั่วไปว่าสนามบินเช็กล้าบก็อก (จีน: 赤鱲角機場, จีนกลาง: Chìlièjiǎo Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: cek3 laap6 gok3 gei1 coeng4) เป็นท่าอากาศยานหลักของเขตบริหารพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน เปิดใช้เมื่อปีพ.ศ.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง

ท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดี

ท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดี

ท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ

ท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ (อาหรับ: مطار دبي الدولي) ตั้งอยู่ที่ดูไบ, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเอมิเรตส์แอร์ไลน.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ

ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ

ทางอากาศ หอควบคุมการบิน ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ตั้งอยู่เกาะที่มนุษย์สร้างขึ้นในอ่าวโอซะกะ นอกชายฝั่งเมืองเซ็นนังและเมืองอิซุมิซะโนะ จังหวัดโอซะกะ ญี่ปุ่น ออกแบบโดยสถาปนิก Renzo Piano เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2537 โดย ในระหว่างปีงบประมาณ 2015 (พ.ศ.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ

ท่าอากาศยานนานาชาติคิงส์ฟอร์ดสมิธ

ท่าอากาศยานนานาชาติซิดนีย์ คิงส์ฟอร์ด สมิธ (Sydney Kingsford Smith International Airport) หรือท่าอากาศยานซิดนีย์ ตั้งอยู่ที่เมืองซิดนีย์ ในรัฐนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย ติดกับอ่าวโบตานี รองรับการเป็นท่าอากาศยานหลักของออสเตรเลีย และสายการบินควอนตัส ท่าอากาศยานซิดนีย์นับเป็นท่าอากาศยานที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลกที่ยังเปิดให้บริการมาอย่างอย่างต่อเนื่อง และได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่อปัจจุบันเมื่อปี..

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติคิงส์ฟอร์ดสมิธ

ท่าอากาศยานนานาชาติงูระห์ไร

ท่าอากาศยานนานาชาติงูระห์ไร (Ngurah Rai International Airport) หรือที่รู้จักในอีกชื่อหนึ่งว่า ท่าอากาศยานนานาชาติเดนปาซาร์ (Denpasar International Airport) ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเกาะบาหลี ห่างจากเดนปาซาร์ไปทางใต้ 13 กิโลเมตร ตั้งชื่อตาม I Gusti Ngurah Rai วีรบุรุษประจำชาติอินโดนีเซียที่เสียชีวิตใน Battle of Marga ระหว่างการปฏิวัติอินโดนีเซีย ท่าอากาศยานนานาชาติงูระห์ไรเป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่มีผู้โดยสารคับคั่งมากเป็นอันดับ 3 ของอินโดนีเซีย รองจากท่าอากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตาที่กรุงจาการ์ตา และท่าอากาศยานนานาชาติจวนดาที่สุราบายา ห่างออกไปทางเหนือ 2.5 กิโลเมตรคือเมืองกูตา ซึ่งเป็นสถานที่พักตากอากาศที่พัฒนาขึ้นเพื่อการท่องเที่ยว เมื่อ..

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติงูระห์ไร

ท่าอากาศยานนานาชาติซานฟรานซิสโก

ท่าอากาศยานนานาชาติซานฟรานซิสโก (San Francisco International Airport) ตั้งอยู่ริมอ่าวซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ห่างจากตัวเมืองออกไปทางตอนใต้ประมาณ 21 กิโลเมตร (13 ไมล์) มีผู้ใช้บริการมากเป็นอันดับ 2 ของแคลิฟอร์เนีย เป็นรองจากลอสแอนเจลิส ซานฟรานซิสโกยังเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ และหากเป็นไปตามแผนที่จัดเตรียมไว้ ก็จะเป็นท่าอากาศยานหลักของเวอร์จิ้น อเมริกา ด้ว.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติซานฟรานซิสโก

ท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง

ท่าอากาศยานนานาชาติเซี่ยงไฮ้ผู่ตง (จีนตัวย่อ: 上海浦东国际机场, จีน: 上海浦東國際機場, พินอิน: Shànghǎi Pǔdōng Guójì Jīchǎng) ตั้งอยู่ทางตะวันออกของผู่ตง ในเขตเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นประตูหลักสู่ประเทศจีน รองรับผู้โดยสารระหว่างประเทศกว่า 17 ล้านคน ในปี..

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง

ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง

อาคารเทียบเครื่องบิน 3 ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เป็นสนามบินระหว่างประเทศสนามบินหลักของกรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือห่างจากใจกลางเมืองประมาณ ในเขตฉาวหยาง และบางส่วนของ เขตซุ่นอี้ บริหารงานโดย บริษัทท่าอากาศยานปักกิ่งแคปิตอล ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ รหัสสนามบิน IATA ของปักกิ่งคือ PEK มาจากการถอดความชื่อของปักกิ่งเป็นอักษรโรมันแบบเดิม (Peking) ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอร์ไชน่า สายการบินแห่งชาติของประเทศจีน ซึ่งมีเที่ยวบินจากที่นี่มากกว่า 120 เส้นทาง (ไม่รวมเที่ยวบินส่งสินค้า) ทั้งนี้ยังมี ไห่หนานแอร์ไลน์ และ ไชน่าเซาเทิร์นแอร์ไลน์ ที่ยึดสนามบินนี้เป็นสนามบินหลักอีกด้วย ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เพิ่มอาคารผู้โดยสารหลังที่ 3 ในปี..

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง

ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกล

ท่าอากาศยานปารีส-ชาร์ล เดอ โกล (Paris-Charles de Gaulle Airport; Aéroport Paris-Charles-de-Gaulle) หรือเรียกโดยทั่วไปว่า ท่าอากาศยานรัวซี (Roissy) ตั้งอยู่ที่รัวซี กรุงปารีส ฝรั่งเศส อยู่ห่างจากตัวเมืองปารีสไปทางตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 25 กิโลเมตร นับเป็นประตูสำคัญในการเดินทางเข้าออกประเทศฝรั่งเศส นอกจากนี้ยังเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอร์ฟรานซ์ด้วย ท่าอากาศยานแห่งนี้ ตั้งชื่อตามชาร์ล เดอ โกล วีรบุรุษ และผู้นำขบวนการปลดปล่อยฝรั่ง.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกล

ท่าอากาศยานนานาชาติปีนัง

ท่าอากาศยานนานาชาติปีนัง (Lapangan Terbang Antarabangsa Pulau Pinang) เดิมคือ ท่าอากาศยานนานาชาติบายันเลอปัซ ตั้งอยู่ที่เมืองบายันเลอปัซ รัฐปีนัง ประเทศมาเลเซีย อยู่ห่างจากตัวเมืองจอร์จทาวน์ (เมืองหลวงของรัฐ) ไปทางใต้ประมาณ 16 กิโลเมตร (10 ไมล์) รองรับการจราจรทางอากาศของปีนังเพื่อเชื่อมต่อกับเมืองสำคัญต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และยังเป็นท่าอากาศยานหลักของไฟร์ฟลาย ซึ่งเป็นสายการบินลูกของ Malaysia Airlines ทางวิ่งของท่าอากาศยานนานาชาติปีนังอยู่ในทิศทาง 04/22 ผิวราดด้วยแอสฟัลต์ มีความยาว 3,352 เมตร กว้าง 45.5 เมตร ภายในอาคารมีช่องตรวจบัตรโดยสาร 64 ช่อง ประตูขึ้นเครื่อง 11 ประตู เป็นแบบประชิดอาคารมีสะพานเทียบ 8 ประตู มีสายพานรับกระเป๋า 3 สายพาน และลานจอดรองรับรถยนต์ได้ 808 คัน ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังเป็นท่าอากศยานขนาดกลาง บริหารงานโดย Malaysia Airports Holdings Berhad (MAHB) ซึ่งเป็นบริษัทของกระทรวงคมนาคม มีเที่ยวบินเชื่อมโยงไปยังสนามบินหลักๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เนื่องด้วยขนาดที่กระทัดรัดของสนามบิน ทำให้ผู้โดยสารได้รับการบริการที่รวดเร็ว และมีสิ่งอำนวยความสะดวกขั้นพื้นฐานอย่างครบครัน โดยมีเวลาขั้นต่ำในการต่อเครื่องบิน (minimum connection times) จากในประเทศไปต่างประเทศ (และในทางกลับกัน) 40 นาที และจากในประเทศไปในประเทศ 30 นาที ในปี 2007 ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังมีผู้โดยสารมาใช้บริการทั้งสิ้นกว่า 3.1 ล้านคน จำนวนเครื่องบินขึ้นลงทั้งหมด 39,265 ลำ รองรับสินค้าทางอากาศทั้งสิ้น 208,582 ตัน.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติปีนัง

ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ

ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ เป็นสนามบินนานาชาติ ตั้งอยู่ที่เมืองนาริตะ จังหวัดชิบะ ประเทศญี่ปุ่น ดำเนินการโดย บริษัทท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ ซึ่งแปรสภาพมาจาก องค์การบริหารงานท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียวแห่งใหม่ ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะเป็นสนามบินหลักที่ให้บริการผู้โดยสารระหว่างประเทศที่เดินทางเข้าและออกจากประเทศญี่ปุ่น และเป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางระหว่างทวีปเอเชียและอเมริกา เป็นสนามบินที่รองรับเที่ยวบินสำหรับผู้โดยสารมากอันดับ 2 ของญี่ปุ่น (รองจากสนามบินฮะเนะดะ) เป็นสนามบินที่รองรับการขนส่งทางอากาศเป็นอันดับ 1 ของญี่ปุ่นและอันดับ 3 ของโลก ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเจแปนแอร์ไลน์ สายการบินออล นิปปอน แอร์เวย์ และสายการบินนอร์ธเวสต์แอร์ไลน์ และยังเป็นท่าอากาศยานรองของสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ อีกด้วย ท่าอากาศยานานาชาตินาริตะ เคยใช้ชื่อว่า New Tokyo International Airport (新東京国際空港 Shin-Tōkyō Kokusai Kūkō) จนกระทั่งปี..

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ

ท่าอากาศยานนานาชาติแวนคูเวอร์

ท่าอากาศยานนานาชาติแวนคูเวอร์ (Vancouver International Airport) ตั้งอยู่ที่ริชมอนด์, บริติชโคลัมเบีย ประเทศแคนาดา ห่างจากตัวเมืองแวนคูเวอร์ประมาณ 15 กิโลเมตร เป็นท่าอากาศยานหลักของแอร์แคนาดา และเป็นท่าอากาศยานรองของเวสต์เจ็ต แวนคูเวอร์ ยังเป็น 1 ใน 8 ของท่าอากาศยานในแคนาดา ที่เป็นที่ตั้งของด่านตรวจลงตราล่วงหน้าของสหรัฐอเมริก.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติแวนคูเวอร์

ท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่าย

ท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่าย (Sân bay Quốc tế Nội Bài) เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดในเวียดนามตอนเหนือ ให้บริการสำหรับบริเวณเมืองหลวงฮานอย ตั้งอยู่ห่างจากใจกลางเมือง 45 กิโลเมตร การเดินทางจากเมืองโดยรถแท็กซี่ใช้เวลา 30-45 นาที.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่าย

ท่าอากาศยานนานาชาติโออาร์ แทมโบ

ท่าอากาศยานนานาชาติโออาร์ แทมโบ (OR Tambo International Airport) ตั้งอยู่ที่เมืองโจฮันเนสเบิร์ก ประเทศแอฟริกาใต้ เป็นท่าอากาศยานที่มีผู้ใช้บริการมากที่สุดในแอฟริกาใต้ และทวีปแอฟริกา รวมถึงเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเซาแอฟริกันแอร์เวย์ เดิมท่าอากาศยานแห่งนี้ชื่อว่า ท่าอากาศยานนานาชาติแจน สมัตส์ ตั้งชื่อตามรัฐบุรุษของแอฟริกาใต้ จนกระทั่งได้เปลี่ยนมาใช้ชื่อท่าอากาศยานนานาชาติโจฮันเนสเบิร์ก ในปี..

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติโออาร์ แทมโบ

ท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว

อาคาร 1 อาคาร 2 อาคารระหว่างประเทศ ท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว หรือรู้จักกันโดยทั่วไปว่า ท่าอากาศยานฮะเนะดะ ตั้งอยู่ที่เมืองโอตะ กรุงโตเกียว ญี่ปุ่น รองรับการบริการกรุงโตเกียว ในปี..

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว

ท่าอากาศยานนานาชาติไครสต์เชิร์ช

ท่าอากาศยานนานาชาติไครสต์เชิร์ช (Christchurch International Airport) เป็นท่าอากาศยานหลักที่ให้บริการในเมืองไครสต์เชิร์ช ประเทศนิวซีแลนด์ ตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 12 กิโลเมตร เปิดให้บริการในปี..1953.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติไครสต์เชิร์ช

ท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียน

ท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียน (จีนตัวเต็ม: 台灣桃園國際機場 หรือ 臺灣桃園國際機場, ไต้หวันพินอิน: Táiwan Táoyuán Gúojì Jicháng, พินอิน: Táiwān Táoyuán Gúojì Jīcháng) เดิมคือท่าอากาศยานนานาชาติเจียงไคเช็ก (จีนตัวเต็ม: 中正國際機場, ไต้หวันพินอิน: Jhongjhèng Gúojì Jicháng, พินอิน: Zhōngzhèng Gúojì Jīcháng) ตั้งอยู่ที่เมืองเถา-ยฺเหวียน ในเขตไต้หวัน ประเทศสาธารณรัฐจีน เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดของสาธารณรัฐจีน และเป็นท่าอากาศยานหลักของไชน่าแอร์ไลน์ และอีวีเอแอร์ โดยอาคาร 1 รองรับผู้โดยสารได้ 15ล้านคน อาคาร 2 รองรับผู้โดยสารได้ 17ล้านคน รวมกันได้ 32ล้านคนต่อปี.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียน

ท่าอากาศยานนานาชาติเคปทาวน์

ท่าอากาศยานนานาชาติเคปทาวน์ (Cape Town International Airport) ตั้งอยู่ที่เมืองเคปทาวน์ ประเทศแอฟริกาใต้ เป็นท่าอากาศยานที่มีผู้ใช้บริการมากเป็นอันดับ 2 ของแอฟริกาใต้ เป็นรองจากท่าอากาศยานนานาชาติโจฮันเนสเบิร์ก และยังเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเซาต์แอฟริกันแอร์เว.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติเคปทาวน์

ท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ต

ท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ต (Cảng hàng không quốc tế Tân Sơn Nhất) เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ใหญ่ที่สุดในเวียดนาม ตั้งอยู่ในโฮจิมินห์ซิตี.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ต

ท่าอากาศยานแมนเชสเตอร์

ท่าอากาศยานแมนเชสเตอร์ (Manchester Airport) เป็นท่าอากาศยานหลักของ แมนเชสเตอร์ อังกฤษ เปิดให้บริการเมื่อเดือนมิถุนายน..

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานแมนเชสเตอร์

ท่าอากาศยานเมลเบิร์น

ท่าอากาศยานเมลเบิร์น หรือ ท่าอากาศยานทัลลามารีน ตั้งอยู่ที่เมืองทัลลามารีน ในรัฐวิกตอเรีย ประเทศออสเตรเลีย เป็นท่าอากาศยานหลักอันดับสองของออสเตรเลีย เป็นรองจากท่าอากาศยานนานาชาติคิงส์ฟอร์ดสมิธ และยังเป็นฐานบริการของควอนตัส และสายการบินลูกอย่างเจ็ตสตาร์แอร์เวย์ รวมถึงไทเกอร์แอร์เวย์ออสเตรเลียซึ่งจะเริ่มเปิดฐานบริการที่เมลเบิร์นในช่วงปลายปี..

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานเมลเบิร์น

ท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโน

ท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโน (Aeroporto Leonardo da Vinci di Fiumicino) หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ ท่าอากาศยานฟีอูมีชีโน เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดในอิตาลี ด้วยจำนวนผู้โดยสาร 35,226,351 คนใน พ.ศ.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโน

ตัวเลขในวัฒนธรรมจีน

ตัวเลขในวัฒนธรรมจีน ในวัฒนธรรมจีน มีความเชื่อว่าตัวเลขบางตัวเป็นตัวเลขแห่งความโชคดีหรือเป็นเลขมงคล (auspicious; 吉利) และมีบางตัวเลขเป็นเลขแห่งความโชคร้ายหรือเป็นเลขอวมงคล (inauspicious; 不利) ตามคำในภาษาจีนที่ตัวเลขนั้นมีการออกเสียงคล้ายคลึง โดยเชื่อว่าเลข 0, 6, 8 และ 9 ล้วนเป็นเลขมงคลเนื่องจากเป็นคำพ้องเสียงกับคำที่มีความหมายในเชิงบวก.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และตัวเลขในวัฒนธรรมจีน

ซิลค์แอร์

ซิลค์แอร์ (SilkAir) เป็นสายการบินภายในภูมิภาคอันเป็นบริษัทลูกของสิงคโปร์แอร์ไลน์ มีเส้นทางบินจากสิงคโปร์ไปยัง 44 เมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, อินเดีย, จีน และ ออสเตรเลีย สายการบินนี้ก่อตั้งเมื่อปี..

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และซิลค์แอร์

ประเทศสิงคโปร์

ประเทศสิงคโปร์ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และประเทศเกาะที่มีขนาดเล็กที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายูและอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 137 กิโลเมตร ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกฤษ และเกาะอูจง (Pulau Ujong) ในภาษามลายู และเกาะที่เล็กกว่ามากอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยกจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเซียโดยช่องแคบสิงคโปร์ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายอย่างต่อเนื่องโดยการแปรสภาพที่ดิน หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน..

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และประเทศสิงคโปร์

แอร์บัส เอ350

แอร์บัส เอ350 เป็นอากาศยานขนาดกลางลำตัวกว้าง แบบใช้เครื่องยนต์ 2 ตัว มีพิสัยบินระยะไกล พัฒนาโดยแอร์บัส เอส.อาร์.เอส.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และแอร์บัส เอ350

แอร์บัส เอ380

รื่องบิน แอร์บัส A380 เป็นเครื่องบินห้องโดยสารสองชั้นขนาดใหญ่ ผลิตโดยแอร์บัสแอสอาแอส เครื่องบินสี่เครื่องยนต์ลำนี้สามารถบรรทุกผู้โดยสารได้สูงสุดถึง 800 คน หรือ 500 คนถ้าวางที่นั่งแบบ 3 ชั้นผู้โดยสารตามเครื่องบินพาณิชย์ปกติ เครื่องบินรุ่นนี้ได้ผ่านกำหนดการทดสอบการบินเที่ยวแรกในวันที่ 27 เมษายน พ.ศ.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และแอร์บัส เอ380

โบอิง 747-400

รื่องบินโบอิง 747-400 ของบริติช แอร์เวย์ซึ่งเป็นเจ้าของฝูงบิน 747-400 ที่ใหญ่ที่สุด เดลต้า แอร์ไลน์ 747-400 โบอิง 747-400 เป็นเครื่องบินรุ่นล่าสุดของ โบอิง 747 ผลิตโดยฝ่ายผลิตเครื่องบินพาณิชย์โบอิง และเคยเป็นเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดจนกระทั่งการให้บริการของแอร์บัส เอ 380 ทั้งนี้โบอิงกำลังทดแทนเครื่องบินรุ่นนี้ด้วย โบอิง 747-8 ซึ่งคาดว่าจะเริ่มให้บริการได้ในปี..

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และโบอิง 747-400

โบอิง 777

อิง 777 เป็นอากาศยานแบบลำตัวกว้าง ใช้เครื่องยนต์ 2 ตัว มีพิสัยบินระยะไกล ผลิตโดยฝ่ายผลิตเครื่องบินพาณิชย์โบอิง ซึ่งถือได้ว่าเป็นเครื่องบินเชิงพาณิชย์ลำแรกที่มีการออกแบบและพัฒนาบนคอมพิวเตอร์ทุกขั้นตอน โดยโปรแกรมเขียนภาพสามมิติ CATIA และมีสายการบินขนาดใหญ่อย่างยูไนเต็ดแอร์ไลน์, อเมริกันแอร์ไลน์, เดลต้า แอร์ไลน์, ออลนิปปอนแอร์เวย์, บริติช แอร์เวย์, เจแปนแอร์ไลน์, แควนตัส และคาเธย์แปซิฟิก มีส่วนร่วมในการพัฒนาเครื่องบินรุ่นนี้ ทำให้ 777 เป็นเครื่องบินที่ตรงตามความต้องการของลูกค้ามากที่สุด ทั้งนี้นับจนถึงพฤษภาคม..

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และโบอิง 777

โบอิง 787 ดรีมไลเนอร์

ออลนิปปอนแอร์เวย์ โบอิ้ง 787-8 โบอิง 787 ดรีมไลเนอร์ เป็นเครื่องบินโดยสารเจ็ตขนาดกลางลำตัวกว้างพิสัยไกล แบบใช้เครื่องยนต์คู่ ออกแบบโดยฝ่ายผลิตเครื่องบินพาณิชย์โบอิง รองรับผู้โดยสารได้ลำละ 210 ถึง 290 คน ขึ้นอยู่กับรุ่น โบอิ้งแถลงว่า เครื่องบินดังกล่าวเป็นเครื่องบินโดยสารที่ประหยัดเชื้อเพลิงที่สุดของบริษัท และเป็นเครื่องบินโดยสารสำคัญแบบแรกของโลกที่ใช้วัสดุผสมในการก่อสร้างเป็นส่วนใหญ่ โบอิง 787 บริโภคเชื้อเพลิงน้อยกว่าโบอิง 767 ที่มีขนาดเท่ากันถึง 20% ลักษณะที่แตกต่างที่สุดมีทั้งที่กันลมสี่แผง เชฟรอนลดเสียงบนส่วนแยกเครื่องยนต์ (engine nacelle) และเส้นระดับเสียง (nose contour) ที่เรียบขึ้น ชื่อเดิมของเครื่องบินที่กำหนดคือ 7E7 ก่อนเปลี่ยนชื่อเป็นอย่างในปัจจุบันในเดือนมกราคม..

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และโบอิง 787 ดรีมไลเนอร์

โบอิ้ง 777X

Boeing 777X เป็นเครื่องบินรุ่นใหม่เพื่อทดแทน Boeing 777 ภายใต้การพัฒนาของ โบอิ้ง  777X จะมีสองรุ่น คือ 777-8X และ 777-9X น 777X จะประกอบคุณสมบัติสามอย่าง คือ 1.เครื่องยนต์ใหม่ 2. วัสดุผสม 3 ปีกแบบใหม่ 4. wingtips และ 5.เทคโนโลยีจาก Boeing 787 โบอิ้งต้องการให้เครื่องรุ่นนี้แข่งกับ Airbus A350 จาก แอร์บัส การส่งมอบจะเริ่มต้นขึ้นในธันวาคม 2019 น.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และโบอิ้ง 777X

โทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์

ซอร์ โทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์ (Sir Thomas Stamford Bingley Raffles); (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2324 – 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2369) ผู้บริหารอาณานิคม ผู้ก่อตั้งเมืองสิงคโปร์ เกิดบนเรือที่ลอยทะเลนอกฝั่งพอร์ตมอแรนต์ จาเมกา แรฟเฟิลส์ได้รับการศึกษาอย่างเป็นทางการน้อยมากแต่ก็ได้เข้าทำงานเป็นสมียนของบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ หลังจากการศึกษาด้วยตนเอง แรฟเฟิลส์ ก็ได้รับตำแหน่งก้าวหน้าเป็นผู้ช่วยเลขานุการเมืองปีนังได้เลื่อนตำแหน่งอย่างรวดเร็วจนถึงตำแหน่งรองผู้ว่าราชการเขตอาณานิคมชวา (พ.ศ.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และโทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์

เจ. วาย. ปิลไล

ซฟ ยุวาราช ปิลไล (Joseph Yuvaraj Pillay, เกิด 30 มีนาคม พ.ศ. 2477) หรือที่รู้จักกันในชื่อ.

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และเจ. วาย. ปิลไล

เซินเจิ้นแอร์ไลน์

ำนักงานสายการบินที่ท่าอากาศยานนานาชาติเซินเจิ้นเป้าอั่น เซินเจิ้นแอร์ไลน์ เป็นสายการบินสัญชาติจีน มีฐานการบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติเซินเจิ้นเป้าอั่น เขตเป้าอั่น เซินเจิ้น มณฑลกวางตุ้ง ประเทศจีน และเป็นสมาชิกของสตาร์อัลไลแอนซ์ตั้งแต่ปี..

ดู สิงคโปร์แอร์ไลน์และเซินเจิ้นแอร์ไลน์

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Singapore Airlines

ท่าอากาศยานแมนเชสเตอร์ท่าอากาศยานเมลเบิร์นท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโนตัวเลขในวัฒนธรรมจีนซิลค์แอร์ประเทศสิงคโปร์แอร์บัส เอ350แอร์บัส เอ380โบอิง 747-400โบอิง 777โบอิง 787 ดรีมไลเนอร์โบอิ้ง 777Xโทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์เจ. วาย. ปิลไลเซินเจิ้นแอร์ไลน์