เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์

ดัชนี สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์

ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ (Crown Property Bureau; อักษรย่อ: CPB) เป็นนิติบุคคล มีหน้าที่จัดการ ดูแลรักษา จัดหาผลประโยชน์ และดำเนินการอื่นใดอันเกี่ยวกับทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ (ซึ่งประกอบด้วย ทรัพย์สินส่วนพระองค์ และทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์) ตามที่พระมหากษัตริย์ทรงมอบหมาย ยกสถานะขึ้นเป็นนิติบุคคลเมื่อปีวันที่ 18 กุมภาพัน..

สารบัญ

  1. 94 ความสัมพันธ์: ชาติชาย ชุณหะวัณชินมิษ บุนนาคบ้านมะลิวัลย์บ้านสาทรฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ค.พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระมหากษัตริย์ไทยพระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุณากรรณอนันตนรไชยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวีพูนเพิ่ม ไกรฤกษ์พนัส สิมะเสถียรกรมราชเลขานุการในพระองค์กรุงเทพมหานครกฤษณ์ กาญจนกุญชรกลุ่มเดอะมอลล์การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษามหาวิทยาลัยสวนดุสิตมาลินีมงคล อมาตยกุลราชกรีฑาสโมสรราชตฤณมัยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ราชนาวิกสภารายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทยรายชื่อสวนสาธารณะในกรุงเทพมหานครรายพระนามพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลกลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557วังบางพลูวังลดาวัลย์วังวาริชเวสม์วังศุโขทัยวัน แบงค็อกศรีรัศมิ์ สุวะดีศุภรัตน์ นาคบุญนำศุลี มหาสันทนะสมหมาย ฮุนตระกูลสยามพิวรรธน์สวนนาคราภิรมย์สหโรงแรมไทยและการท่องเที่ยวสำนักพระราชวังสุพรรณ บูรณะพิมพ์สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์สุธี สิงห์เสน่ห์สถาบันเทคโนโลยีปทุมวันสถิตย์พงษ์ สุขวิมลสนามมวยราชดำเนินสนามมวยเวทีลุมพินีหม่อมราชวงศ์ยงสวาสดิ์ กฤดากรหม่อมราชวงศ์อคิน รพีพัฒน์... ขยายดัชนี (44 มากกว่า) »

ชาติชาย ชุณหะวัณ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ (5 เมษายน พ.ศ. 2463 — 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 17 และเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีในหลายกระทรวงคือ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม และ กระทรวงกลาโหม พลเอกชาติชาย เป็นผู้ก่อตั้งพรรคการเมือง 2 พรรค และได้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค คือ พรรคชาติไทย และ พรรคชาติพัฒน.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และชาติชาย ชุณหะวัณ

ชินมิษ บุนนาค

นมิษ บุนนาค (ชื่อเล่น: มิษ) นักแสดงชาวไทย สังกัดช่อง7 และข้าราชการพลเรือนประจำสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และชินมิษ บุนนาค

บ้านมะลิวัลย์

้านมะลิวัลย์ วังมะลิวัลย์ หรือ บ้านมะลิวัลย์ ตั้งอยู่เลขที่ 39 ถนนพระอาทิตย์ แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันเป็นที่ทำการของสำนักงานองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations - FAO).

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และบ้านมะลิวัลย์

บ้านสาทร

้านสาทร หรือ บ้านหลวงสาทรราชายุกต์ (ยม พิศลยบุตร) เป็นอาคารอนุรักษ์แห่งหนึ่งของไทย เดิมเป็นบ้านพักของหลวงสาทรราชายุกต์ ต่อมาใช้เป็นที่ทำการสถานเอกอัครราชทูต และเป็นส่วนหนึ่งของโรงแรมในปัจจุบัน.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และบ้านสาทร

ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ค.

ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท. (Khor Royal Cup) ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานระดับชั้นที่ 3 ของประเทศไทยจัดการแข่งขันครั้งแรกในปี 2505 พร้อมกับ ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ง.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ค.

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

พระมหากษัตริย์ไทย

ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และพระมหากษัตริย์ไทย

พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์) (12 สิงหาคม พ.ศ. 2423 - 7 มิถุนายน พ.ศ. 2507) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ อดีตอธิบดีกรมต่างๆ อาทิ เช่น อธิบดีกรมที่ดินและโลหะกิจ เป็นต้น อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และพระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย พระนามเดิม หม่อมเจ้าวิวัฒนไชย ไชยันต์ (29 เมษายนพ.ศ. 2442 - 22 สิงหาคม พ.ศ. 2503) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยันตมงคล กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย กับหม่อมส้วน ไชยันต์ ณ อยุธยา เป็นผู้ว่าการคนแรกของธนาคารแห่งประเทศไทยและเป็นประธานกรรมการคณะกรรมการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์คนแรกของประเทศไท.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุณากรรณอนันตนรไชย

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุณากรรณอนันตนรไชย (22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2399 - 29 มีนาคม พ.ศ. 2416) พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) ประสูติปี พ.ศ.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุณากรรณอนันตนรไชย

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าวรรณวิมล วรวรรณ; ประสูติ: 28 ตุลาคม พ.ศ. 2435 — สิ้นพระชนม์: 7 เมษายน พ.ศ.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี

พูนเพิ่ม ไกรฤกษ์

นายพูนเพิ่ม ไกรฤกษ์ (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2465 - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2546) อดีตเลขาธิการพระราชวัง และอดีตผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตร.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และพูนเพิ่ม ไกรฤกษ์

พนัส สิมะเสถียร

ตราจารย์ พนัส สิมะเสถียร เกิดเมื่อวันที่ 29 กันยายน..

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และพนัส สิมะเสถียร

กรมราชเลขานุการในพระองค์

กรมราชเลขานุการในพระองค์ (เดิมคือ สำนักราชเลขาธิการ) เป็นหน่วยงานราชการในสังกัด สำนักพระราชวัง ซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวกับการเลขานุการในองค์ พระมหากษัตริย์ เกี่ยวกับงานหนังสือที่หน่วยราชการ เอกชนและบุคคลทั่วไปส่งเข้ามา เพื่อขอให้นำความขึ้นกราบบังคมทูลพระกรุณา ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต พระบรมราชวินิจฉัยและพระมหากรุณา แล้วแต่กรณี รวมทั้งทำหน้าที่รับพระราชทานพระราชดำริและพระราชดำรัส เพื่อเชิญไปยังหน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง มีบทบาทเป็นผู้ประสานงานระหว่างพระมหากษัตริย์กับรัฐบาล และหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐหรือเอกชนและบุคคลทั่วไป ทั้งที่เป็นราชการแผ่นดินและการส่วนพระองค์ ก่อตั้งขึ้นในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในตอนนั้นเรียกว่าออฟฟิศไปรเวตสิเกรตารีหลวง หรือกรมราชเลขาธิการ.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และกรมราชเลขานุการในพระองค์

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และกรุงเทพมหานคร

กฤษณ์ กาญจนกุญชร

กฤษณ์ กาญจนกุญชร (เกิด 14 ตุลาคม พ.ศ. 2491) กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช อธิบดีกรมราชเลขานุการในพระองค์ อดีตราชเลขาธิการในพระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว กรรมการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และกฤษณ์ กาญจนกุญชร

กลุ่มเดอะมอลล์

ริษัท เดอะมอลล์ กรุ๊ป จำกัด (The Mall Group Company Limited) หรือ กลุ่มเดอะมอลล์ เป็นกลุ่มบริษัทธุรกิจค้าปลีกในประเทศไทย ผู้ดำเนินกิจการห้างสรรพสินค้าเดอะมอลล์, ย่านการค้าดิ เอ็ม ดิสทริค, ศูนย์การค้าสยามพารากอน.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และกลุ่มเดอะมอลล์

การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

มเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สิ้นพระชนม์เมื่อวันพุธที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เวลา 16:37 นาฬิกา ณ ตึก 84 ปี ชั้น 5 ด้านตะวันออก โรงพยาบาลศิริราช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุมัติหมายกำหนดการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายพระศพระหว่างวันที่ 28 กรกฎาคม - 4 พฤศจิกายน..

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา

นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี ซุ้มประดับไฟและน้ำพุ บนถนนราชดำเนิน กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2550 นั้นประกอบด้วยกิจกรรมหลักๆที่จัดโดยภาครัฐ และเอกชน หลากหลายกิจกรรม เช่น.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (Suan Dusit University) จาก โรงเรียนการเรือนแห่งแรกของประเทศไทย สู่การเป็น มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ เป็นสถาบันที่มีชื่อเสียงทางด้าน การศึกษาปฐมวัย คหกรรมศาสตร์ ธุรกิจบริการ ธุรกิจการโรงแรม ธุรกิจการบิน และ " โรงเรียนกฎหมายและการเมือง ".

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และมหาวิทยาลัยสวนดุสิต

มาลินีมงคล อมาตยกุล

มาลินีมงคล อมาตยกุล นามเดิม หม่อมเจ้าหญิงมาลินีมงคล ยุคล หรือ “ท่านหยอย” (24 มิถุนายน พ.ศ. 2483) เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ประสูติแต่หม่อมอุบล ยุคล ณ อ.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และมาลินีมงคล อมาตยกุล

ราชกรีฑาสโมสร

ราชกรีฑาสโมสร ราชกรีฑาสโมสร (The Royal Bangkok Sports Club) เป็นสโมสรกีฬาในประเทศไทย หรือที่เรียกกันว่า สนามฝรั่ง ตั้งอยู่เลขที่ 1 ถนนอังรีดูนังต์ แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นที่ดินของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และราชกรีฑาสโมสร

ราชตฤณมัยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

ตราสัญลักษณ์ราชตฤณมัยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมถ์ ราชตฤณมัยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (Royal Turf Club of Thailand under the Royal Patronage) หรือที่นิยมเรียกกันว่าสนามม้านางเลิ้ง เป็นสถานที่จัดแข่งขันม้าในพระบรมราชูปถัมภ์ ตั้งอยู่เลขที่ 183 ถนนพิษณุโลก แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เปิดสนามอย่างเป็นทางการในวันที่ 18 ธันวาคม..

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และราชตฤณมัยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

ราชนาวิกสภา

รื่องหมายราชการของราชนาวิกสภา ราชนาวิกสภาเป็นหน่วยขึ้นตรงกองบัญชาการกรมยุทธศึกษาทหารเรือ มีหน้าที่อยู่ 2 ประการ คือ กิจการ และ สำหรับการบริหารงานของราชนาวิกสภานั้น กองทัพเรือได้แต่งตั้ง โดยคณะกรรมการนี้ประกอบด้วยนายกกรรมการ 1 ท่าน รองกรรมการ 1 ท่าน และกรรมการอีก 7 ท่าน.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และราชนาวิกสภา

รายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทย

ระราชวังและวัง คือ ที่ประทับของพระมหากษัตริย์ พระมหาอุปราช พระบรมวงศานุวงศ์ตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไป ส่วนที่อยู่ของหม่อมราชวงศ์และหม่อมหลวงนั้นไม่เรียกว่า "วัง" โดยวังใดจะเรียกว่าพระราชวังได้นั้นจะต้องมีพระบรมราชโองการสถาปนาขึ้นเป็น "พระราชวัง" เท่านั้น โดยในประเทศไทยมีพระราชวังและวัง ดังนี้.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และรายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทย

รายชื่อสวนสาธารณะในกรุงเทพมหานคร

วนสาธารณะหลักในกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 34 สวน จากข้อมูลของสำนักสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อม กทม.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และรายชื่อสวนสาธารณะในกรุงเทพมหานคร

รายพระนามพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลก

รายพระนามพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดทั่วโลก โดยไม่นับรวมทรัพย์สินอันเป็นของรัฐหรือรัฐบาล เรียงตามลำดับจำนวนพระราชทรั.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และรายพระนามพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลก

ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

ต่อไปนี้ คือลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไท..

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

วังบางพลู

วังบางพลู วังบางพลู วังเก่าเป็นวังของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพร้อมพงศ์อธิราช ตั้งอยู่เชิงสะพานกรุงธนบุรี ฝั่งธนบุรีติดกับ โรงแรม ริเวอร์ไซด์ ในปัจจุบัน วังนี้ สร้างในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยยังคงความงามของสถาปัตยกรรมใน 3 ยุคสมัย คือ ตำหนักทรงไทยครั้งรัชกาลที 4 ตำหนักไม้ฉลุแบบวิคตอเรียนในสมัยรัชกาลที่ 5 และ เรือนขนมปังขิง(Ginger Bread) ในสมัยรัชกาลที่ 6 ปัจจุบัน ยังเป็นที่อยู่ของทายาทในราชสกุลสนิทวงศ์ และ เป็นอาคารอนุรักษ์ของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ วังบางพลู.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และวังบางพลู

วังลดาวัลย์

วังลดาวัลย์ ตั้งอยู่ติดถนน 3 ด้าน คือ ถนนประชาธิปไตย ถนนลูกหลวงและถนนราชสีมา ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ได้รับรางวัลอาคารอนุรักษ์ดีเด่น ปี..

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และวังลดาวัลย์

วังวาริชเวสม์

วังวาริชเวสม์ วังวาริชเวสม์ ตั้งอยู่ที่ซอยสุโขทัย 6 ถนนสุโขทัย เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2476 (1 ปี ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง) เพื่อเป็นที่ประทับของพระองค์เจ้าวาปีบุษบากร พระธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโดยมีพระสาโรชรัตนนิมมานก์ สถาปนิกไทยรุ่นบุกเบิกที่สำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศเป็นผู้ออกแบบและควบคุมการก่อสร้าง ปัจจุบัน วังวาริชเวสม์ เป็นอาคารอนุรักษ์ของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และครอบครองการใช้ประโยชน์โดยบริษัทแม็ทชิ่ง สตูดิโอ จำกัด (มหาชน).

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และวังวาริชเวสม์

วังศุโขทัย

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี วังศุโขทัย ตั้งอยู่มุมถนนขาวและถนนสามเสน เป็นวังที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนสุโขทัยธรรมราชา ในครั้งนั้นสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง ในรัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างวังศุโขทัยพระราชทานเป็นของขวัญในการอภิเษกสมรสของกรมขุนสุโขทัยธรรมราชากับหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี สวัสดิวัตน์ เมื่อปี..

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และวังศุโขทัย

วัน แบงค็อก

วัน แบงค็อก (One Bangkok) เป็นโครงการพัฒนาพื้นที่เชิงพาณิชยกรรมแบบประสม บนพื้นที่ 104 ไร่ หัวมุมถนนพระรามที่ 4 และถนนวิทยุ ซึ่งเดิมเป็นที่ตั้งของโรงเรียนเตรียมทหาร และสวนลุมไนท์บาร์ซาร์ ซึ่งเป็นพื้นที่ของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ บริหารงานโดยบริษัท เกษมทรัพย์วัฒน จำกัด ในกลุ่มทีซีซี ออกแบบแผนแม่บทโครงการโดยสคิดมอร์, โอวิงส์ แอนด์ เมอร์ริลล์ ร่วมกับ บริษัท สถาปนิก 49 จำกัด และบริษัท แปลน แอสโซซิเอทส์ จำกัด โดยใช้เงินลงทุน 120,000 ล้านบาท สูงที่สุดในวงการอสังหาริมทรัพย์ไทย กำหนดเปิดให้บริการระยะแรกภายในปี..

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และวัน แบงค็อก

ศรีรัศมิ์ สุวะดี

ลตรีหญิง ท่านผู้หญิงศรีรัศมิ์ สุวะดี (9 ธันวาคม พ.ศ. 2514) หรือเดิม พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และศรีรัศมิ์ สุวะดี

ศุภรัตน์ นาคบุญนำ

รัตน์ นาคบุญนำ ศุภรัตน์ นาคบุญนำ ผู้ประกาศข่าวและพิธีกรข่าวอิสระ อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี มีชื่อเสียงจากการเป็นผู้ประกาศข่าว สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และศุภรัตน์ นาคบุญนำ

ศุลี มหาสันทนะ

รืออากาศโท ศุลี มหาสันทนะ (19 มีนาคม พ.ศ. 2462 - 22 สิงหาคม พ.ศ. 2551) อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นผู้กำกับนโยบายด้านพลังงานและน้ำมันเชื้อเพลิง ตลอดอายุรัฐบาลพลเอกเปรม ระหว่าง..

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และศุลี มหาสันทนะ

สมหมาย ฮุนตระกูล

มหมาย ฮุนตระกูล (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2461 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2536) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตกรรมการผู้จัดการบริษัท ปูนซีเมนต์ไทย อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารไทยพาณิชย์ และอดีตผู้ว่าการการไฟฟ้ายันฮี และอดีตกรรมการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ตั้งแต..

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และสมหมาย ฮุนตระกูล

สยามพิวรรธน์

ริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด เป็นบริษัทธุรกิจค้าปลีกและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทย ปัจจุบันเป็นเจ้าของและบริหารกิจการศูนย์การค้าชั้นนำหลายแห่งใจกลางกรุงเทพมหานคร ได้แก่ สยามเซ็นเตอร์ สยามดิสคัฟเวอรี่ สยามพารากอน และไอคอนสยาม.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และสยามพิวรรธน์

สวนนาคราภิรมย์

วนนาคราภิรมย์ เป็นสวนสาธารณะในการกำกับดูแลของกรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2553 เป็นสวนสาธารณะขนาดเล็ก มีพื้นที่รวม 3 ไร่ 3 งาน 65.90 ตารางวา ตั้งอยู่บริเวณ ทิศเหนือติดกับสโมสรข้าราชบริพาร ทิศใต้ติดกับถนนท้ายวัง ทิศตะวันออกติดถนนมหาราช ทิศตะวันตกติดแม่น้ำเจ้าพระยา แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โดยสร้างบนที่ดินของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และกรมธนารักษ์ โดยแบ่งเป็นของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 2 ไร่ 0 งาน 25.90 ตารางวา และของกรมธนารักษ์ 1 ไร่ 3 งาน 44 ตารางวา โดยได้พัฒนาพื้นที่ตรงนี้เป็นสวนสาธารณะในแนวราบพร้อมห้องน้ำสาธารณะ ไม่มีสิ่งปลูกสร้างขนาดใหญ่เพราะเป็นสถานที่ ๆ ที่มีทำเลสวยงาม อยู่ในเกาะรัตนโกสินทร์ซึ่งแวดล้อมไปด้วยศิลปวัฒนธรรมแห่งยุครัตนโกสินทร์เช่นเดียวกับ สวนสันติชัยปราการ โดยสามารถมองเห็นสถาปัตยกรรมที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์หลายแห่งของทั้งพื้นที่ฝั่งธนบุรีและฝั่งพระนครได้ชัดเจน อาทิ พระปรางค์วัดอรุณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เป็นต้น การออกแบบสวนแห่งนี้ มีพื้นที่กลางสวนปูด้วยสนามหญ้าสีเขียวผืนใหญ่ มีทางเดินเล่นระดับแบ่งสัดส่วน พื้นที่ โดยเฉพาะลานขนาดใหญ่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาที่ตลอดความยาวของพื้นที่ติดกับผืนน้ำเพื่อเปิดรับลมเย็นพัดเข้าสู่ฝั่ง ประดับด้วยแนวกั้นด้วยเสาต้นเตี้ยผูกโยงด้วยโซ่เส้นเดียวจากเสาสู่เสาเป็นจังหวะที่สวยงาม พร้อมม้านั่งสำหรับชมวิวที่จัดวางอยู่เป็นระยะ ๆ จากริมน้ำขึ้นทางเดินเล่นระดับขึ้นเป็นลานกว้าง มีบ่อสระบัวรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ายาวขนานทั้งสองด้าน ส่วนไม้ประดับเน้นกลุ่มของไม้พุ่มเตี้ยที่ออกแบบจัดวางได้อย่างลงตัว ส่วนที่สูงโปร่งมีเพียงต้นลีลาวดีเพียงไม่กี่ต้นเท่านั้น เพื่อไม่ให้บดบังความงามของสถาปัตยกรรมที่อยู่เบื้องหลัง และเป็นพื้นที่ที่มิให้มีการค้าขายหาบเร่แผงลอย โดยได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า "สวนนาคราภิรมย์" มีความหมายถึง " สวนเป็นที่น่ารื่นรมย์ยิ่งของชาวพระนคร" สวนนาคราภิรมย์ มีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการในวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และสวนนาคราภิรมย์

สหโรงแรมไทยและการท่องเที่ยว

ริษัท สหโรงแรมไทยและการท่องเที่ยว จำกัด The Syndicate of Thai Hotels and Tourists Enterprises Limited เป็นรัฐวิสาหกิจ กลุ่มพาณิชย์และบริการ สังกัดกระทรวงการคลัง จัดตั้งเป็นบริษัทเมื่อปี พ.ศ.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และสหโรงแรมไทยและการท่องเที่ยว

สำนักพระราชวัง

ำนักพระราชวัง (Bureau of the Royal Household; BRH) เป็นหน่วยงานของทางราชการมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลและรับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้องกับพระราชวัง ตลอดจนดูแลรักษาทรัพย์สินและผลประโยชน์ในองค์ พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นผู้บังคับบัญชาสำนักพระราชวัง และเลขาธิการพระราชวังเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารราชกิจราชการ.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และสำนักพระราชวัง

สุพรรณ บูรณะพิมพ์

รรณ บูรณะพิมพ์ (17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2469 - 16 ตุลาคม พ.ศ. 2528) นักแสดง และผู้กำกับอาวุโส ผู้มีผลงานทั้งแสดง และกำกับละครเวที ละครโทรทัศน์ และภาพยนตร์ เคยได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง ผู้แสดงประกอบฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม 2 ปีติดต่อกัน ในปี พ.ศ.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และสุพรรณ บูรณะพิมพ์

สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์

รสิทธิ์ สัตยวงศ์ (พ.ศ. 2466 - พ.ศ. 2526) อดีตนักร้อง นักแสดงชาวไท.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และสุรสิทธิ์ สัตยวงษ์

สุธี สิงห์เสน่ห์

ตราจารย์ ดร.สุธี สิงห์เสน่ห์ (22 กรกฎาคม 2471 - 3 สิงหาคม 2556) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง อดีตผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ อดีตสมาชิกวุฒิสภา อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี อดีตคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และอดีตกรรมการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตร.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และสุธี สิงห์เสน่ห์

สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน

ันเทคโนโลยีปทุมวัน (Pathumwan Institute of Technology; ชื่อย่อ: สปท. - PIT) เป็นสถาบันการศึกษาในประเทศไทย ยกฐานะขึ้นมาจาก "วิทยาลัยช่างกลปทุมวัน" เป็นสถาบันการศึกษาที่เน้นด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นหลัก โดยมุ่งเน้นให้ผู้สำเร็จการศึกษาด้านอาชีวศึกษาเข้ามาศึกษาต่อเฉพาะทางในระดับปริญญ.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน

สถิตย์พงษ์ สุขวิมล

ลอากาศเอก สถิตย์พงษ์ สุขวิมล เลขาธิการพระราชวัง เล่ม ๑๓๕ ตอน ๕๕ ง พิเศษ หน้า ๒ ๑๒ มีนาคม..

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และสถิตย์พงษ์ สุขวิมล

สนามมวยราชดำเนิน

้านหน้าเวที ในเวลากลางคืน สนามมวยราชดำเนิน หรือ เวทีมวยราชดำเนิน (Rajadamnern Stadium) เวทีมวยระดับมาตรฐานหนึ่งในสองแห่งของประเทศไทย ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 1 ถนนราชดำเนินนอก แขวงวัดโสมนัส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร สนามมวยราชดำเนินก่อตั้งขึ้นโดยดำริของจอมพล ป.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และสนามมวยราชดำเนิน

สนามมวยเวทีลุมพินี

นามมวยเวทีลุมพินี สนามมวยเวทีลุมพินี (Lumpinee Boxing Stadium) เป็นสนามมวยมาตรฐานของประเทศไทย เทียบเท่ากับสนามมวยราชดำเนิน เดิมนั้นตั้งอยู่ ณ ถนนพระรามที่ 4 แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ติดกับโรงเรียนเตรียมทหาร (เดิม) ปัจจุบันตั้งอยู่ในพื้นที่ของศูนย์พัฒนากีฬากองทัพบก ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และสนามมวยเวทีลุมพินี

หม่อมราชวงศ์ยงสวาสดิ์ กฤดากร

หม่อมราชวงศ์ยงสวาสดิ์ กฤดากร อดีตรองผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เป็นโอรสของ หม่อมเจ้าเสริมสวาสดิ์ กฤดากร กับ หม่อมหลวงแส กฤดากร (สกุลเดิม สนิทวงศ์ โดยมีศักดิ์เป็นพี่ของ หม่อมหลวงบัว กิติยากร พระราชชนนีในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ) โดยหม่อมเจ้าเสริมสวาสดิ์ กฤดากร เป็นพระโอรสใน พระบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศวรฤทธิ์ ต้นราชสกุลกฤดากร ผู้เป็น พระราชโอรสใน พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับเจ้าจอมมารดาซ่อนกลิ่น.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และหม่อมราชวงศ์ยงสวาสดิ์ กฤดากร

หม่อมราชวงศ์อคิน รพีพัฒน์

ร้อยตำรวจเอก รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์อคิน รพีพัฒน์ (22 มกราคม พ.ศ. 2476) เป็นโอรสใน หม่อมเจ้าเพลิงนภดล รพีพัฒน์ (พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์และหม่อมอ่อน) กับ หม่อมเจ้าหญิงทรงอัปสร รพีพัฒน์ (กิติยากร)(พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถกับหม่อมเจ้าหญิงอัปสรสมาน เทวกุล หม่อมราชวงศ์อคิน รพีพัฒน์ หรือ ร้อยตำรวจเอก รองศาสตราจารย์ ดร.หม่อมราชวงศ์อคิน รพีพัฒน์ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขากฎหมายจากมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด และปริญญาโทและปริญญาเอกสาขามานุษยวิทยา จากมหาวิทยาลัยคอร์เนล เคยเป็นอาจารย์สอนหนังสือที่คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเคยดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นเวลา 7 ปี เคยดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการสร้างสรรค์และพัฒนาชุมชน สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ประธานมูลนิธิชุมชนไท หม่อมราชวงศ์อคิน ได้รับพระราชทานปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการจัดการพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อปี 2535 และได้รับพระราชทานปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการบริหารจัดการสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2557 มีผลงานได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติ ผลงานวิชาการดีเด่น "TTF Award" ประจำปี 2551 จากมูลนิธิโตโยต้าแห่งประเทศไทย ด้วยหนังสือชื่อ "วัฒนธรรมคือความหมาย: ทฤษฎีและวิธีการของคลิฟฟอร์ด เกียร์ซ" หม่อมราชวงศ์อคิน มีบุตรสองคน คือ หม่อมหลวงหญิงกฤติกา รพีพัฒน์ และหม่อมหลวงหญิงณพอร รพีพัฒน์ สมรสสองครั้งกับจันทรา ปิตะชาติ และ บังเอิญ เกิดอารี.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และหม่อมราชวงศ์อคิน รพีพัฒน์

หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร

หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร บุตรชายของหม่อมราชวงศ์ยงสวาสดิ์ กฤดากร อดีตรองผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ โอรสของ หม่อมเจ้าเสริมสวาสดิ์ กฤดากร กับ หม่อมหลวงแส กฤดากร (สกุลเดิม สนิทวงศ์ โดยมีศักดิ์เป็นพี่ชายของ หม่อมหลวงบัว กิติยากร พระราชชนนีในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ) กับ ท่านผู้หญิงวิยะฎา กฤดากร ณ อยุธยา ซึ่งเป็น นางสนองพระโอษฐ์ ในสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ที่เสียชีวิตจากอุบัติเหตุ เฮลิคอปเตอร์ผู้ตามเสด็จตก ที่จังหวัดนราธิวาส มีพี่สาว 1 คน คือ.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และหม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร

หม่อมหลวงปิยาภัสร์ ภิรมย์ภักดี

หม่อมหลวงปิยาภัสร์ ภิรมย์ภักดี (ราชสกุลเดิม: กฤดากร; พ.ศ. 2505) นางสนองพระโอษฐ์และนักธุรกิจชาวไทย ที่เป็นผู้รับบทเป็นสมเด็จพระสุริโยไทย ในภาพยนตร์เรื่อง สุริโยไท ซึ่งกำกับโดยหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และหม่อมหลวงปิยาภัสร์ ภิรมย์ภักดี

หม่อมทวีวงศ์ถวัลยศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์เฉลิมลาภ ทวีวงศ์)

ลตรี หม่อมทวีวงศ์ถวัลยศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์เฉลิมลาภ ทวีวงศ์) (7 สิงหาคม พ.ศ. 2444 - 27 ตุลาคม พ.ศ. 2513) เป็นบุตรของหม่อมเจ้าอุดมดิเรกลาภ ทวีวงศ์ เป็นนัดดาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทวีถวัลยลาภ กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์ และเป็นปนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมราชวงศ์เฉลิมลาภ ทวีวงศ์ เกิดเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และหม่อมทวีวงศ์ถวัลยศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์เฉลิมลาภ ทวีวงศ์)

อภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์

อภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ประธานกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐรองประธานกรรมการในคณะกรรมการนโยบายการเงินการคลังของรัฐ กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง ในรัฐบาลของ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตกรรมการธนาคารไทยพาณิชย์กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยพะเยาประธานกรรมการคณะกรรมการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ตามมาตรา4 ตรี พระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ (ฉบับที่ 3)..

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์

อรนุช อิศรางกูร ณ อยุธยา

ท่านผู้หญิงอรนุช อิศรางกูร ณ อยุธยา (สกุลเดิม ทองเนื้อดี) นางสนองพระโอษฐ์และผู้อำนวยการฝ่ายจัดจำหน่าย มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นภริยานายจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา องคมนตรี ท่านผู้หญิงอรนุช อิศรางกูร ณ อยุธยา จบการศึกษามัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนราชินี และ FRANCES KING SECRETARIAL COLLEGE ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ต่อมาสมรสกับจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เลขาธิการพระราชวัง สำนักพระราชวัง และ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี สมัยรัฐบาลของพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ มีบุตร 2 คน คือ จิรุตม์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ชื่อเล่น เอ้ และจิรัตถ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ชื่อเล่น โอ๊ต ท่านผู้หญิงอรนุช ได้ทำงานในคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, เลขาของผู้เชี่ยวชาญด้านคมนาคม สภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ,แผนกโฆษณา หนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์,เลขาของกรรมการผู้จัดการ,ผู้ช่วยหัวหน้า เอ.อี.ทำโฆษณาให้ลูกค้า บริษัทกล๊าสแอ๊ดเวอร์ไทซิ่ง,เลขาฯ ทำงานทางศูนย์วิจัยทางทหาร ซึ่งมีผู้เชี่ยวชาญ อเมริกันมาสำรวจข้อมูลลุ่มแม่น้ำโขง,บริษัทอุตสาหกรรมพรมไทย และ เลขาฯ องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศขององค์การสหประชาชาติ ต่อมาท่านผู้หญิงอรนุชได้ถวายงานเป็นนางสนองพระโอษฐ์ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นผู้อำนวยการฝ่ายจัดจำหน่าย มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ท่านผู้หญิงอรนุช อิศรางกูร ณ อยุธยาได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ฝ่ายในเมื่อ..

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และอรนุช อิศรางกูร ณ อยุธยา

อาคารอนุรักษ์

อาคารอนุรักษ์ คืออาคารเก่าที่มีคุณค่าทางทางสถาปัตยกรรม สมควรได้รับการบูรณะและอนุรักษ์ โดยหน่วยงานที่เป็นกำลังหลักในการส่งเสริมคือ คณะกรรมาธิการอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรม สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีกิจกรรมมอบรางวัลด้านการอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นองค์ประธานการมอบรางวัลอาคารอนุรักษ์ดีเด่น อย่างต่อเนื่องทุกปี ตั้งแต..

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และอาคารอนุรักษ์

อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา

ูปวีรชน 14 ตุลา อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา เป็นสิ่งก่อสร้างที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่รำลึกถึงผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์ในวันที่ 14 - 16 ตุลาคม พ.ศ.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และอนุสรณ์สถาน 14 ตุลา

จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40

อห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40 เป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกสูงสุดของไทยฤดูกาลแรก โดยปรับเปลื่ยนจาก ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทาน ก.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และจอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40

จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา

รองศาสตราจารย์ จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา องคมนตรี และประธานกรรมการมูลนิธิสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อดีตเลขาธิการพระราชวัง อดีตผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์อดีตเลขาธิการและกรรมการมูลนิธิโครงการหลวง นายกสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา

จิตภัสร์ กฤดากร

ตภัสร์ กฤดากร ชื่อเล่นว่า ตั๊น ปัจจุบันเป็นรองโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ และกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการมูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย, อดีตแนวร่วมกลุ่ม กปปส., อดีตเลขานุการรัฐมนตรีจุติ ไกรฤกษ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีว.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และจิตภัสร์ กฤดากร

ธารินทร์ นิมมานเหมินท์

รินทร์ นิมมานเหมินท์ กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน).

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และธารินทร์ นิมมานเหมินท์

ธนาคารไทยพาณิชย์

นาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) (The Siam Commercial Bank Public Company Limited ชื่อย่อ: SCB) เป็นธนาคารพาณิชย์แห่งแรกและเป็นหนึ่งในห้าธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ก่อตั้งโดยพระบรมราชานุญาต ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และธนาคารไทยพาณิชย์

ถนนลูกหลวง

นนลูกหลวง (Thanon Luk Luang) เป็นถนนสายหนึ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นจากบริเวณตลาดมหานาค เชิงสะพานจตุรพักตร์รังสฤษดิ์ หรือสะพานขาว ไปสิ้นสุดที่บริเวณตลาดเทวราชหรือตลาดเทเวศร์ ที่สะพานเทเวศร์นฤมิตร ริมแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นถนนที่เลียบไปกับคลองผดุงกรุงเกษม และเป็นถนนที่อยู่ด้านตรงข้ามกับถนนกรุงเกษมตลอดทั้งสาย ถนนลูกหลวงสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พร้อม ๆ กับการขุดคลองผดุงกรุงเกษม เช่นเดียวกับถนนหลวง และถนนหลานหลวง รวมถึงสะพานนพวงศ์ และได้รับชื่อพระราชทานว่า "ลูกหลวง" เนื่องจากตัดผ่านวังของพระเจ้าลูกยาเธอหลายพระองค์ เช่น วังไชยา, วังนางเลิ้ง และวังลดาวัล.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และถนนลูกหลวง

ทำเนียบรัฐบาลไทย

ทำเนียบรัฐบาล เป็นสถานที่ราชการสำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย เนื่องจากเป็นสถานที่ทำงานของรัฐบาลไทย นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ตลอดจนข้าราชการและเจ้าหน้าที่ ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี, สถานที่ประชุมคณะรัฐมนตรี, สถานที่ต้อนรับบุคคลสำคัญระดับผู้นำต่างประเทศ ซึ่งมาเยือนประเทศไทย และยังใช้เป็นสถานที่จัดรัฐพิธี เช่น งานสโมสรสันนิบาตเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ เป็นต้น ตั้งอยู่เลขที่ 1 ถนนพิษณุโลก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 2 ไร่ 3 งาน 44 ตารางว.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และทำเนียบรัฐบาลไทย

ทำเนียบท่าช้าง

ทำเนียบท่าช้าง หรือ วังถนนพระอาทิตย์ ตั้งอยู่บนถนนพระอาทิตย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เดิมเป็นบ้านของเจ้าพระยามหาโยธา (ทอเรียะ คชเสนี) บุตรเจ้าพระยามหาโยธานราธิบดีศรีพิชัยณรงค์ (พญาเจ่ง) ต้นสกุลคชเสนี เชื้อสายมอญ เจ้าพระยามหาโยธา (ทอเรีย)เป็นปู่ของเจ้าจอมมารดากลิ่นในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นมรดกตกทอดมาถึง พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศรวรฤทธิ์ (พระองค์เจ้ากฤดาภินิหาร) ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างตำหนัก 2 ชั้น เป็นที่ประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศวรฤทิธิ์และเจ้าจอมมารดา ต่อมาเรียกอาคารหลักนี้ว่า ตำหนักเดิม พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์สร้างตำหนักใหม่ ในปี พ.ศ.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และทำเนียบท่าช้าง

ท่าเตียน

ประชาชนทั่วไปและนักท่องเที่ยวลงเรือด่วนเจ้าพระยา ร้านค้าและอาคารพาณิชย์ทางเข้าตลาดท่าเตียน หลังการปรับปรุง ท่าเตียน เป็นท่าเรือและตลาดแห่งหนึ่ง ในแขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บนถนนมหาราช ด้านตะวันตกติดกับแม่น้ำเจ้าพระยา ท่าเตียน มีประวัติความเป็นมาอย่างยาวนานตั้งแต่ยุคเริ่มต้นสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ โดยอยู่บริเวณด้านหลังพระบรมมหาราชวัง และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม โดยที่ชื่อ "ท่าเตียน" มีที่มาต่าง ๆ กันไป บ้างก็ว่าเกิดจากในรัชสมัยรัชกาลที่ 4 ที่แถบนี้เคยเกิดเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ จนราบเรียบเหี้ยนเตียน หรือเชื่อว่ามาจาก "ฮาเตียน" เมืองท่าแห่งหนึ่งในตอนใต้ของประเทศเวียดนาม (ปัจจุบันอยู่ในจังหวัดเกียนซาง ในต้นกรุงรัตนโกสินทร์เป็นดินแดนของไทย ในชื่อ บันทายมาศ หรือ พุทไธมาศ) เนื่องจากแถบนี้ในอดีตเคยเป็นที่อยู่อาศัยของชาวญวนอพยพหนีภัยสงครามจากเว้ ตั้งแต่ยุคกรุงธนบุรี ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และชาวญวนเหล่านี้ได้เรียกชื่อถิ่นฐานนี้ว่าฮาเตียน เนื่องจากมีภูมิทัศน์คล้ายกับฮาเตียนเพื่อคลายความคิดถึงถิ่นฐานตนเอง และได้เรียกเพี้ยนมาเป็นท่าเตียนในที่สุด แต่ทั้งนี้ท่าเตียนปรากฏมาตั้งแต่อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา โดยปรากฏหลักฐานเป็นนิราศของหม่อมพิมเสนเรียกว่า "บางจีน" สันนิษฐานว่าอาจเคยเป็นถิ่นที่อยู่ของชาวจีนด้วย และยังมีตำนานเมืองที่โด่งดังมาก คือ เรื่องของยักษ์เฝ้าประตูวัดสองฟากต่อสู้กัน คือ ยักษ์วัดแจ้ง จากฝั่งธนบุรี ต่อสู้กับ ยักษ์วัดโพธิ์ แห่งฝั่งพระนคร เนื่องจากผิดใจกันเรื่องการขอยืมเงินกัน จนในที่สุดที่บริเวณนี้เหี้ยนเตียนราบเรียบไปหมด ซึ่งในบางตำนานก็มีการเสริมเติมแต่งเข้าไปอีกว่า ที่ยักษ์ทั้งสองตนนั้นหยุดสู้กันเพราะมีโยคีหรือฤๅษีมาห้าม บ้างก็ว่าเป็นยักษ์วัดพระแก้วเข้ามาห้าม ปัจจุบัน ท่าเตียนเป็นทั้งตลาดและสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงและได้รับความนิยม มีร้านอาหารและร้านกาแฟเป็นจำนวนมาก ในส่วนของตลาด เป็นตลาดที่นับว่าใหญ่ที่สุดของกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น เป็นตลาดที่มีสินค้าหลากหลายประเภทขายทั้งสินค้าทางการเกษตรหรือข้าวของเครื่องใช้ เนื่องจากเป็นท่าจอดเรือที่มีชัยภูมิเหมาะสม โดยในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์มีชื่อเรียกว่า "ตลาดท้ายวัง" หรือ "ตลาดท้ายสนม" กินอาณาบริเวณตั้งแต่ถนนท้ายวังจนถึงตลาดท่าเตียนในปัจจุบัน เป็นตลาดที่บรรดานางในหรือนางสนมจะออกจากกำแพงพระบรมมหาราชวังมาจับจ่ายซื้อข้าวของต่าง ๆ โดยสินค้าที่นิยมมากที่สุด คือ ดอกไม้ ต่อมาได้รวมเป็นตลาดเดียวกับตลาดท่าเตียน จนกระทั่งถึงรัชสมัยรัชกาลที่ 5 จึงเริ่มมีการสร้างอาคารขึ้นมาอย่างเป็นรูปร่าง โดยวางแนวเป็นรูปตัวยู ด้วยสถาปัตยกรรมแบบนีโอคลาสสิก และมีสินค้าที่หลากหลายมากขึ้น และกลายมาเป็นแหล่งค้าส่งแห่งแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ เช่น วัสดุก่อสร้าง, เครื่องตัดหญ้า, อะไหล่รถยนต์, ผักและผลไม้, น้ำตาล, ลูกอมหรือท็อฟฟี่ รวมถึงอาหารทะเลแห้ง เป็นต้นในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 ท่าเตียนมีสถานะเป็นตำบลชื่อ "ตำบลท่าเตียน" ขึ้นอยู่กับอำเภอพระราชวัง (เขตพระนครในปัจจุบัน) ปัจจุบันอาคารพาณิชย์ตลอดจนบ้านเรือนต่าง ๆ ได้รับการบูรณะปรับปรุงโดยสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ในปี..

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และท่าเตียน

ท่าเตียน (ภาพยนตร์)

ท่าเตียน เป็นภาพยนตร์ไทย 35 มม.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และท่าเตียน (ภาพยนตร์)

ดอยคำ

ริษัท ดอยคำผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด ก่อตั้งเมื่อ วันที่ 8 สิงหาคม..

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และดอยคำ

ดุสิต เซ็นทรัล ปาร์ค

ต เซ็นทรัล ปาร์ค เป็นโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์แบบประสมขนาดใหญ่ บนที่ดินขนาด 23 ไร่ 2 งาน 2.72 ตารางวา บริเวณหัวมุม ถนนพระราม 4 ตัดถนนสีลม ตรงข้ามกับสวนลุมพินี ในพื้นที่แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นพื้นที่เดิมของ โรงแรมดุสิตธานี กรุงเทพฯ และ บริษัท ไทยประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) สำนักงานสีลม บริหารงานโดย บริษัท วิมานสุริยา จำกัด ภายใต้การร่วมทุนของ บริษัท ดุสิตธานี จำกัด (มหาชน) และ กลุ่มเซ็นทรัล โดย บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน) ตั้งเป้าขึ้นเป็นแลนด์มาร์คหนึ่งของเส้นขอบฟ้ากรุงเทพมหานคร ด้วยความสูงสุดของอาคารที่ 78 ชั้น ภายใต้สถาปัตยกรรมแบบไทยโบราณร่วมกับสถาปัตยกรรมแบบไทยร่วมสมัย รองรับกลุ่มลูกค้าทั้งชาวไทยและชาวต่างชาต.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และดุสิต เซ็นทรัล ปาร์ค

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 61 (30 สิงหาคม พ.ศ. 2557 — ปัจจุบัน) คณะรัฐมนตรีไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม พระบรมราชโองการประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2557 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/RKJ/announce/answer.jsp?id.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61

คณะองคมนตรีไทย

ณะองคมนตรีในประเทศไทย คือกลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่พระมหากษัตริย์ โดยในอดีตเคยใช้ชื่อ ปรีวีเคาน์ซิล (สภาที่ปฤกษาในพระองค์), องคมนตรีสภา, และ สภากรรมการองคมนตรี ตามลำดับ ก่อนจะเปลี่ยนมาเป็นชื่อปัจจุบัน.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และคณะองคมนตรีไทย

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ปลี่ยนแปลงจากปีก่อน: +198.96 จุด (+%) |- ! colspan.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ตลาดนางเลิ้ง

ตลาดนางเลิ้ง เป็นชุมชนและตลาดที่ตั้งอยู่บนถนนนครสวรรค์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เป็นตลาดบกแห่งแรกของประเทศไทย มีอายุยาวนานกว่า 100 ปี ตลาดนางเลิ้งก่อตั้งมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 เปิดขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และตลาดนางเลิ้ง

ซอยกัปตันบุช

ซอยกัปตันบุช หรือ ตรอกกัปตันบุช หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ซอยเจริญกรุง 30 เป็นซอยแยกจากถนนเจริญกรุงในพื้นที่แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ใกล้กับถนนสี่พระยาและท่าน้ำสี่พระยา ติดกับริมฝั่งแม่เจ้าพระยา ชื่อซอยกัปตันบุชมีที่มาจากจอห์น บุช นักเดินเรือชาวอังกฤษ ผู้เข้ามาอาศัยและรับราชการในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 จนมีตำแหน่งเป็นอธิบดีกรมเจ้าท่า และได้รับบรรดาศักดิ์เป็นพระวิสูตรสาครดิฐ ซึ่งเคยมีบ้านพำนักอยู่บริเวณแถบนี้ โดยในซอยเป็นที่ตั้งของบ้านเลขที่ 1 ของถนนเจริญกรุง เป็นบ้านที่มีสถาปัตยกรรมสวยงามแบบยุโรปนีโอคลาสสิก ตัวอาคารก่ออิฐถือปูนสองชั้น หลังคาทรงปั้นหยา และออกแบบเป็นหน้าจั่วตรงกลางด้านหน้าอาคาร ผนังทาสีเหลือง หน้าต่างทาสีเขียวมะกอกตัดขอบขาว ประตูหน้าต่างเป็นทรงโค้งแบบโรมัน บ้านหลังนี้มักมีความเข้าใจผิดว่าเป็นบ้านของกัปตันบุช แต่ตามหลักฐานชื่อของเจ้าบ้านเลขที่ 1 ถนนเจริญกรุงของกรมไปรษณีย์โทรเลข พบว่าในปี..

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และซอยกัปตันบุช

ปูนซิเมนต์ไทย

อสซีจี หรือ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) (Siam Cement Group ชื่อย่อ: SCG) เอสซีจี หรือเรียกสั้นๆว่า "ปูนใหญ่" เป็นกลุ่มบริษัทชั้นนำในภูมิภาคอาเซียนที่ดำเนินธุรกิจมากว่า 100 ปี ก่อตั้งในประเทศไทยเมื่อปี 2456 ตามพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เพื่อผลิตปูนซีเมนต์ วัสดุก่อสร้าง ปัจจุบันเอสซีจีประกอบด้วย 3 กลุ่มธุรกิจหลัก ได้แก่ เอสซีจี ซิเมนต์-ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง เอสซีจี เคมิคอลส์ และ เอสซีจี แพคเกจจิ้ง.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และปูนซิเมนต์ไทย

นกแอร์

นกแอร์ (อังกฤษ: Nok Air) เป็นสายการบินราคาประหยัดของประเทศไทย เปิดตัวอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 ภายใต้ชื่อบริษัท สกายเอเชีย จำกัด (Sky Asia Ltd.) เริ่มทำการบินครั้งแรกวันที่ 23 กรกฎาคม 2547 และเมื่อวันที่ 16 มกราคม 2549 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท สายการบินนกแอร์ จำกัด (Nok Airlines Co., Ltd.) ต่อมาได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น บริษัทสายการบินนกแอร์ จำกัด (มหาชน) (Nok Airlines Public Company Limited) เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2556 เพื่อเตรียมนำบริษัทเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเริ่มซื้อขายบนกระดานหลักทรัพย์ได้ในวันที่ 20 มิถุนายนปีเดียวกัน สายการบินนกแอร์ ก่อตั้งขึ้นโดยมีบริษัทร่วมทุนดังนี้ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) (ถือหุ้น 49%) บริษัท นกแอร์แมนเนจเม้นท์ฮ่องกง จำกัด (25%) บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด (สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์) (6%) ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) (5%) บริษัท คิง เพาเวอร์ อินเตอร์เนชั่นแนลจำกัด (5%) ผู้ถือหุ้นรายอื่น ๆ (10%) โดยมีนายพาที สารสิน เป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ตั้งแต่ก่อตั้งสายการบิน จนกระทั่งนายพาทีลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2560 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทจึงได้แต่งตั้งนายปิยะ ยอดมณี รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหารแทน.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และนกแอร์

นารถ ถาวรบุตร

นารถ ถาวรบุตร (16 ตุลาคม พ.ศ. 2448 - 26 มกราคม พ.ศ. 2524) นักดนตรี และนักแต่งเพลงที่มีชื่อเสียง โดยเฉพาะเพลงที่แต่งคู่กับครูแก้ว อัจฉริยกุล.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และนารถ ถาวรบุตร

นิทรรศน์รัตนโกสินทร์

อาคารนิทรรศน์รัตนโกสินทร์ อาคารนิทรรศน์รัตนโกสินทร์ เป็นอาคาร 4 ชั้น ตั้งอยู่บริเวณเดียวกับวัดราชนัดดาราม จัดแสดงนิทรรศการถาวรเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของกรุงรัตนโกสินทร์ โดยอยู่ในความดูแลของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตร.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และนิทรรศน์รัตนโกสินทร์

โรงแรม ดับเบิ้ลยู กรุงเทพฯ

รงแรม ดับเบิ้ลยู กรุงเทพฯ (อังกฤษ: W Bangkok) เป็นโรงแรมระดับ 5 ดาว ตั้งอยู่บนถนนสาทรเหนือ จังหวัดกรุงเทพฯ บริหารงานโดยกลุ่มโรงแรมและรีสอร์ทสตาร์วูด ภายใต้แบรนด์ ดับเบิ้ลยู โฮเท็ล แอนด์ รีสอร์ท.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และโรงแรม ดับเบิ้ลยู กรุงเทพฯ

โรงเรียนบ้านนาวิทยาคม

รงเรียนบ้านนาวิทยาคม เปิดทำการเรียนการสอนครั้งแรกวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2499 เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำอำเภอบ้านนาเดิม และโรงเรียนมัธยมศึกษาลำดับที่ 11 ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ปัจจุบันสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 11 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนผ่านการประเมินเป็นต้นแบบโรงเรียนดีใกล้บ้าน โรงเรียนในฝัน และผ่านการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3 จาก สมศ.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และโรงเรียนบ้านนาวิทยาคม

โรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ

รงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ เป็นโรงเรียนสอนคนตาบอดแห่งแรกในประเทศไทย ภายใต้การดำเนินงานของ มูลนิธิช่วยคนตาบอดแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัม.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และโรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ

โรงเรียนตะละภัฏศึกษา

อาคารโรงเรียนตะละภัฏศึกษา อาคารที่ตั้งเดิมของโรงละครปรีดาลัย ปัจจุบันปิดทำการแล้ว โรงเรียนตะละภัฏศึกษา เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 63 ถนนแพร่งนรา แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นตำหนักไม้เก่าหลังเล็ก 2 ชั้น เดิมเคยใช้เป็นโรงละครปรีดาลัย โรงละครที่จัดแสดงละครร้องโดย พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ซึ่งได้รับความนิยมอย่างยิ่งในรัสมัยรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 มีบทละครที่ทรงประพันธ์เสร็จ ณ ที่นี่หลายเรื่อง รวมถึงเปิดแสดงด้วย เช่น สาวเครือฟ้า ที่ดัดแปลงมาจากบทอุปรากรเรื่อง Madame Butterfly ของคีตกวีชาวอิตาลี จาโกโม ปุชชีนี หรือ อีนากพระโขนง ที่ต่อเติมมาจากตำนานเมืองอันโด่งดังของแม่นากพระโขนง (สำหรับเรื่องนี้เมื่อทรงประพันธ์ ทรงใช้นามแฝงว่า "หมากพญา") ที่ประสบความสำเร็จอย่างมากเมื่อจัดแสดง ถึงกับมีการแสดงซ้ำต่อเนื่องกันถึง 24 คืน เป็นต้น โดยแต่เดิมโรงละครปรีดาลัย เป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งของวังวรวรรณ วังที่ประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ พื้นที่ส่วนใหญ่ของวังวรวรรณ ถูกเวนคืนเพื่อนำพื้นที่มาสร้างเป็นถนน และอาคารพาณิชย์ตั้งแต่รัชสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งปัจจุบันนี้คือ ถนนแพร่งนรา คงเหลือแต่อาคารโรงเรียนตะละภัฏศึกษา ประวัติของโรงเรียนตะละภัฏศึกษา เริ่มต้นหลังจากพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ได้ปลีกวิเวกไปใช้พระชนม์ชีพบั้นปลายที่อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี จนกระทั่งสิ้นพระชนม์ที่นั่น เมื่อปี..

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และโรงเรียนตะละภัฏศึกษา

โรงเรียนเตรียมทหาร

รงเรียนเตรียมทหาร (Armed Forces Academies Preparatory School.) เป็นสถาบันการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ กองบัญชาการกองทัพไทย และเป็นสถาบันการศึกษาแห่งเดียวในประเทศไทย ที่เป็นศูนย์รวมเบื้องต้นสำหรับผู้ที่จะเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า โรงเรียนนายเรือ โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช และโรงเรียนนายร้อยตำรวจ ผู้ที่ศึกษาในโรงเรียนเตรียมทหาร เรียกว่า นักเรียนเตรียมทหาร (นตท.) การรับสมัครบุคคลพลเรือนเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหารนั้น โรงเรียนเตรียมทหารมิได้เป็นผู้ดำเนินการสอบคัดเลือกนักเรียนเตรียมทหารด้วยตนเอง หากแต่โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า โรงเรียนนายเรือ โรงเรียนนายเรืออากาศ และโรงเรียนนายร้อยตำรวจ จะเป็นผู้ดำเนินการสอบคัดเลือก โดยในแต่ละปีจะมีการกำหนดจำนวนรับนักเรียนเตรียมทหารในส่วนของกองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จากนั้นแต่ละเหล่าทัพจะส่งผู้ผ่านการสอบคัดเลือกมาเรียนรวมกันที่โรงเรียนเตรียมทหาร เป็นเวลา 2 ปี ภายหลังจากที่สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรียนเตรียมทหารแล้ว นักเรียนเตรียมทหารเหล่านี้จะเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนเหล่าทัพ ตามที่นักเรียนได้สมัครและผ่านการสอบคัดเลือก เมื่อสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนเหล่าทัพ หรือโรงเรียนนายร้อยตำรวจแล้ว นักเรียนนายร้อยเหล่านี้ จะได้รับการบรรจุเข้ารับราชการเป็นนายทหาร และนายตำรวจชั้นสัญญาบัตร พร้อมทั้งเข้ารับพระราชทานกระบี่จากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และโรงเรียนเตรียมทหาร

ไสล ไกรเลิศ

ล ไกรเลิศ (12 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 - 19 มีนาคม พ.ศ. 2529) เป็นนักไวโอลิน และนักแต่งเพลง ครูไสล ไกรเลิศ เป็นชาวมหาชัย บ้านเดียวกับชาลี อินทรวิจิตร เป็นบุตรของนายบุญฤทธิ์ และนางทองย้อย ไกรเลิศ เริ่มเรียนหนังสือที่โรงเรียนกล่อมพิทยาคาร และโรงเรียนวัดพระเชตุพน เริ่มเรียนดนตรีกับพระเจนดุริยางค์ ที่โรงเรียนพรานหลวง กรมมหรสพ และได้บรรจุเป็นนักไวโอลินประจำวงเครื่องสายฝรั่งหลวง ร่วมวงเดียวกับเอื้อ สุนทรสนาน ไสล ไกรเลิศ ลาออกจากวงเครื่องสายฝรั่งหลวงในปี..

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และไสล ไกรเลิศ

ไอทีวี

ริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) เป็นกลุ่มบริษัทที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับสื่อโทรทัศน์ โดยได้รับอนุมัติให้ดำเนินการสัมปทานสถานีโทรทัศน์ระบบ UHF จาก สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) จำนวน 1 ช่องสถานี ส่งโทรทัศน์สีในระบบยูเอชเอฟ ทางช่อง 26 (ต่อมาเปลี่ยนเป็นช่อง 29) โดยใช้ชื่อว่า สถานีโทรทัศน์ไอทีวี (ปัจจุบันสถานีฯได้ถูกโอนกิจการให้แก่ทั้งสองหน่วยงานของรัฐ ซึ่งสามารถอ่านรายละเอียดได้ที่ด้านล่าง) เดิมชื่อ บริษัท สยามอินโฟเทนเมนท์ จำกัด ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และไอทีวี

ไทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2540

ทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2540 เป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกระดับสอง ของไทยฤดูกาลแรก โดยปรับเปลื่ยนจาก ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทาน ข.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และไทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2540

ไทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2541

ทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2541 เป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกระดับสอง ของไทย โดยมี 10 สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน โดยเริ่มต้นทำการแข่งขันตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน - 27 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และไทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2541

ไทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2542

ทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2542 เป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกระดับสอง ของไทย โดยมี 10 สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน โดยใช้ชื่อการแข่งขันว่า ฟุตบอลปลามังกรลีก ดิวิชัน 1 ตามผู้สนับสนุนหลัก โดยการแข่งขันอยู่ภายใต้การดูแลของ สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัม.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และไทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2542

เชาวน์ ณศีลวันต์

วน์ ณศีลวันต์ (7 สิงหาคม 2471 -) อดีตองคมนตรี และอดีตประธานกรรมการบริษัทเครือซีเมนต์ไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร สมรสกับคุณหญิงไขศรี ณศีลวันต์ (ถึงแก่อสัญกรรมโดยอุบัติเหตุเครื่องบินตกในปี พ.ศ.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และเชาวน์ ณศีลวันต์

เสนาะ อูนากูล

นาะ อูนากูล (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2474 -) เป็นกรรมการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย และอดีตเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และเสนาะ อูนากูล

เผ่า ศรียานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ (1 มีนาคม พ.ศ. 2452 — 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2503) อดีตอธิบดีกรมตำรว..

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และเผ่า ศรียานนท์

เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)

ลเอก พลเรือเอก มหาเสวกเอก จางวางเอก นายพลเสือป่า เจ้าพระยารามราฆพ (5 ตุลาคม พ.ศ. 2433 - 21 ตุลาคม พ.ศ. 2510) อดีตองคมนตรี อดีตสมุหราชองครักษ์ อดีตสมุหพระราชมนเทียร อดีตประธานกรรมการพระราชสำนัก อดีตนายกเทศมนตรีเทศบาลนครกรุงเทพฯ และ อดีตนายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศสยาม ในพระบรมราชูปถัม.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และเจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)

เดอะคิงเนเวอร์สไมลส์

อะคิงเนเวอร์สไมลส์ (The King Never Smiles; "กษัตริย์ไม่เคยยิ้ม") เป็นหนังสือว่าด้วยพระราชประวัติอย่างไม่เป็นทางการของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและราชวงศ์จักรี เขียนโดย พอล แฮนด์ลีย์ (Paul Handley) นักเขียนชาวอเมริกัน จัดพิมพ์ครั้งแรกโดยสำนักพิมพ์แห่งมหาวิทยาลัยเยล (Yale University Press) และออกจำหน่ายครั้งแรกเมื่อเดือนมิถุนายน 2549 หนังสือนี้ทางการไทยจัดให้เป็น "หนังสือต้องห้าม" อย่างไม่เป็นทางการ ตั้งแต่ก่อนตีพิมพ์ โดยมิได้มีการประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาตามหลักเกณฑ์และวิธีการในกฎหมายว่าด้วยการจดแจ้งการพิมพ์ ต่อมามีหนังสือกองบัญชาการตำรวจนครบาล ที่ ตช 0016.146/289 ลงวันที่ 18 มกราคม 2551 ว่าหนังสือเล่มนี้เป็น "หนังสือต้องห้ามนำเข้ามาในราชอาณาจักร", ประชาไท, 29 มกราคม..

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และเดอะคิงเนเวอร์สไมลส์

เซ็นทรัลเวิลด์

ซ็นทรัลเวิลด์ เดิมชื่อ เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ เป็นโครงการศูนย์การค้า โรงแรม และอาคารสำนักงาน ตั้งอยู่บริเวณสี่แยกราชประสงค์ ถนนราชดำริ ตัดกับถนนพระรามที่ 1 และถนนเพลินจิต เป็นศูนย์การค้าครบวงจรที่มีพื้นที่รวมใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองในประเทศไทย รองจากศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต จังหวัดนนทบุรี และมีพื้นที่ขายมากเป็นอันดับสามของโลก นอกจากนี้ยังมีพื้นที่ชั้น 1 มากเป็นอันดับสามของโลก รองจากท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ และหอคอยอบราจ อัล เบท ประเทศซาอุดีอาระเบี.

ดู สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และเซ็นทรัลเวิลด์

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Crown Property Bureau

หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากรหม่อมหลวงปิยาภัสร์ ภิรมย์ภักดีหม่อมทวีวงศ์ถวัลยศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์เฉลิมลาภ ทวีวงศ์)อภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์อรนุช อิศรางกูร ณ อยุธยาอาคารอนุรักษ์อนุสรณ์สถาน 14 ตุลาจอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยาจิตภัสร์ กฤดากรธารินทร์ นิมมานเหมินท์ธนาคารไทยพาณิชย์ถนนลูกหลวงทำเนียบรัฐบาลไทยทำเนียบท่าช้างท่าเตียนท่าเตียน (ภาพยนตร์)ดอยคำดุสิต เซ็นทรัล ปาร์คคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61คณะองคมนตรีไทยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยตลาดนางเลิ้งซอยกัปตันบุชปูนซิเมนต์ไทยนกแอร์นารถ ถาวรบุตรนิทรรศน์รัตนโกสินทร์โรงแรม ดับเบิ้ลยู กรุงเทพฯโรงเรียนบ้านนาวิทยาคมโรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพโรงเรียนตะละภัฏศึกษาโรงเรียนเตรียมทหารไสล ไกรเลิศไอทีวีไทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2540ไทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2541ไทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2542เชาวน์ ณศีลวันต์เสนาะ อูนากูลเผ่า ศรียานนท์เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)เดอะคิงเนเวอร์สไมลส์เซ็นทรัลเวิลด์