เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สามเหลี่ยมจิตรลดา

ดัชนี สามเหลี่ยมจิตรลดา

แผนที่สามเหลี่ยมจิตรลดา ภาพถ่ายทางอากาศ วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2495 บริเวณสามเหลี่ยมจิตรลดา โดยกรมแผนที่ทหาร โค้งจิตรลดาด้านเหนือ โค้งรถไฟทั้ง 2 จะมาขนานกัน ทำให้ดูเหมือนเป็นทางคู่ สามเหลี่ยมจิตรลดา เป็นสามเหลี่ยมกลับรถจักรเพียงแห่งเดียวในประเทศไทยที่ยังมีการใช้งาน ตั้งอยู่ในเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร อยู่ระหว่างสถานีรถไฟกรุงเทพ - สถานีรถไฟจิตรล.

สารบัญ

  1. 4 ความสัมพันธ์: รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทยรถไฟชานเมืองในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลสามเหลี่ยมกลับรถจักรถนนกำแพงเพชร

รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย

ต่อไปนี้ เป็นรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวที่ตั้งอยู่ในประเทศไทย เรียงตามรายชื่อ 76 จังหวัด พร้อมกรุงเทพมหานคร.

ดู สามเหลี่ยมจิตรลดาและรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย

รถไฟชานเมืองในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

รถไฟชานเมืองในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นระบบรถไฟชานเมืองขนาดใหญ่ในประเทศไทย ให้บริการในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, จังหวัดสระบุรี, จังหวัดลพบุรี, จังหวัดสุพรรณบุรี, จังหวัดราชบุรี, จังหวัดฉะเชิงเทรา, จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดสมุทรสงคราม ดำเนินการโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย รหัสเลขขบวนรถส่วนใหญ่จะเป็นเลขสามหลัก ขึ้นต้นด้วยเลข 3 และ4(471-480) และใช้ทางวิ่งร่วมกับรถไฟทางไกลและรถไฟสินค้า ทางส่วนใหญ่เป็นทางคู.

ดู สามเหลี่ยมจิตรลดาและรถไฟชานเมืองในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

สามเหลี่ยมกลับรถจักร

มเหลี่ยมจิตรลดา สามเหลี่ยมกลับรถจักร เป็นคำที่ใช้กันในวงการรถไฟ หมายถึง รางรถไฟที่วางเรียงตัวกันเป็นรูปคล้ายสามเหลี่ยม โดยมีประแจเพื่อใช้สับรางอยู่ที่ยอดของสามเหลี่ยม ในประเทศไทยเคยมีใช้อยู่ในหลายสถานี เพื่อใช้ในการกลับทิศทางของรถจักรไอน้ำ แต่ในปัจจุบันเลิกใช้งานไปหมดแล้ว เนื่องจากไม่มีความจำเป็น เพราะรถจักรดีเซลไฟฟ้าที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้มีห้องขับทั้งสองด้าน.

ดู สามเหลี่ยมจิตรลดาและสามเหลี่ยมกลับรถจักร

ถนนกำแพงเพชร

นนกำแพงเพชร (Thanon Kamphaeng Phet) เป็นถนนที่สร้างขึ้นในเขตการรถไฟแห่งประเทศไทย บ้างขนานกับรางรถไฟ บ้างก็ไม่ขนานเป็นถนนโดด ตั้งชื่อว่าถนนกำแพงเพชร เพื่อระลึกถึง กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน บิดาแห่งกิจการรถไฟ ในตอนแรก การรถไฟแห่งประเทศไทย มีความประสงค์ที่จะตั้งชื่อถนนชุดนี้ว่า "ถนนบุรฉัตร" ตามพระนามเดิมใน กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ได้พระราชทานนามถนนในเขตที่ดินรถไฟชุดนี้ว่า "ถนนกำแพงเพชร".

ดู สามเหลี่ยมจิตรลดาและถนนกำแพงเพชร