เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สามเณร

ดัชนี สามเณร

ผู้ที่จะบรรพชาเป็นสามเณรได้ต้องมีอายุตั้งแต่ 7 ปีขึ้นไป และจะบวชอยู่เป็นสามเณรตลอดชีวิตก็ได้ สามเณร และ สามเณรี แปลว่า เหล่ากอของสมณะ, หน่อเนื้อของสมณะ หมายถึงนักบวชชายในพระพุทธศาสนาที่มีอายุน้อย ยังมิได้รับการอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ถ้าเป็นนักบวชหญิงอายุน้อยเรียกว่า สามเณรี คำว่า สามเณร สามเณรี เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา เป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ ไม่สาธารณะทั่วไป ผู้ที่จะบวชเป็นสามเณรสามเณรีได้นั้นทางพระวินัยกำหนดอายุอย่างต่ำไว้ประมาณ 7 ขวบซึ่งพอช่วยเหลือตัวเองได้ พระวินัยระบุว่าพอจะไล่กาไล่ไก่ได้ ส่วนสูงไม่มีกำหนดไว้ ผู้มีอายุไม่เกิน 20 ปีจะบวชเป็นสามเณรตลอดไป ไม่บวชเป็นภิกษุก็ได้.

สารบัญ

  1. 150 ความสัมพันธ์: บรรพชาบรรจบ บรรณรุจิบาตรบิณฑบาตชุมชนนิมนต์ยิ้มชีวิตอารามวาสีชีนบยูพ.ศ. 2394พ.ศ. 2409พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวพระพรหมกวี (ประกอบ ธมฺมเสฏฺโฐ)พระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร)พระพรหมมุนี (ผิน สุวโจ)พระพุทธชินราช (จำลอง)พระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม)พระภัททากัจจานาเถรีพระมหาบุญมี มาลาวชิโรพระมหาวุฒิชัย วชิรเมธีพระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)พระยาจุฬาราชมนตรี (เถื่อน)พระราชวิเทศปัญญาคุณ (เหลา ปญฺญาสิริ)พระราชสุทธิโสภณ (ประทวน ปภากโร)พระราชสุตาลังการ (ฉัตต์ สจฺจวโร)พระราหุลพระวินยาธิการพระศรีศิลป์ (พระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราช)พระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป)พระสิทธิสารมุนี (ชวรัชต์ มุนิจโร)พระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร)พระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทฺโธ)พระครูพัฒนสารคุณ (สอ คมฺภีรปญฺโญ)พระครูพิพัฒน์นิโรธกิจ (ปาน อคฺคปญฺโญ)พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโตพระครูอาภัสร์ธรรมคุณ (บุญรอด อาภสฺสโร)พระปทุมุตรพุทธเจ้าพระใสพระเสริมพระเจริญราชเดช (อุ่น ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิทพระเทพญาณมงคล (เสริมชัย ชยมงฺคโล)พระเทพคุณาธาร (อภัย อภโย)พิมพ์ รัตนคุณสาสน์กะเทยกันเกราการบวชการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย... ขยายดัชนี (100 มากกว่า) »

บรรพชา

งฆ์ บรรพชา (อ่านว่า บันพะชา, บับพะชา) (ปพฺพชฺช; ปฺรวฺรชฺย) แปลว่า การบวช (แปลว่า เว้นความชั่วทุกอย่าง) หมายถึง การบวชทั่วไป, การบวชอันเป็นบุรพประโยคแห่งอุปสมบท, การบวชเป็นสามเณร (เดิมทีเดียว คำว่า บรรพชา หมายความว่า บวชเป็นภิกษุ เช่น เสด็จออกบรรพชาอัครสาวกบรรพชา เป็นต้น ในสมัยต่อมาจนถึงปัจจุบันนี้ คำว่า บรรพชา หมายถึง บวชเป็นสามเณร ถ้าบวชเป็นภิกษุ ใช้คำว่า อุปสมบท โดยเฉพาะเมื่อใช้คอบกันว่า บรรพชาอุปสมบท).

ดู สามเณรและบรรพชา

บรรจบ บรรณรุจิ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ร้อยโท ดร.

ดู สามเณรและบรรจบ บรรณรุจิ

บาตร

ตรพระ บาตรเป็นหนึ่งในอัฐบริขาร เป็นของที่พระภิกษุและสามเณรใช้ในการบิณฑบาต.

ดู สามเณรและบาตร

บิณฑบาต

ระพุทธรูปคันธาระ ปางทรงบาตร บิณฑบาต (อ่านว่า บิน-ทะ-บาด) เป็นภาษาบาลี มาจากคำว่า ปิณฺฑ + ปาต แปลว่า การตกลงแห่งก้อนข้าว โดยทั่วไปคำนี้หมายถึงกิจวัตรของพระภิกษุสงฆ์และสามเณรในพระพุทธศาสนา ในการออกเดินถือบาตรรับการถวายภัตตาหารหรือสิ่งของจากชาวบ้านในเวลาเช้า เรียกว่าการออกบิณฑบาต การออกบิณฑบาตของพระภิกษุเป็นกิจวัตรที่พระพุทธเจ้าทรงกำหนดไว้ให้เป็นหน้าที่ของพระภิกษุสามเณรมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล โดยพระพุทธองค์ทรงสรรเสริญการบิณฑบาตว่าเป็นกิจอันประเสริฐ หรือในสามัญเรียกว่าการโปรดสัตว์ เพราะการออกบิณฑบาตนั้นนับว่าเป็นการเผยแผ่พระศาสนาทางหนึ่งด้วย ดังในสมัยพุทธกาลที่พระภิกษุสงฆ์จะเทศนาโปรดแก่บรรดาชาวบ้านซึ่งมาร่วมทำบุญ อันเป็นต้นเหตุแห่งการสวดให้พรหลังภัตตกิจในปัจจุบันนี้.

ดู สามเณรและบิณฑบาต

ชุมชนนิมนต์ยิ้ม

มชนนิมนต์ยิ้ม เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชัน 3 มิติ ที่ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับธรรมะเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ซึ่งผลิตโดยบริษัท โฮมรัน เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด ออกอากาศโดยสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ครั้งแรกในวันที่ 23 เมษายน พ.ศ.

ดู สามเณรและชุมชนนิมนต์ยิ้ม

ชีวิตอารามวาสี

อารามเซนต์แคเธอริน เขาไซนายในอียิปต์ ก่อตั้งราวระหว่าง ค.ศ. 527 ถึง ค.ศ. 565 ชีวิตอารามวาสีสมชัย พิทยาพงษ์พร, บาทหลวง, พัฒนาการวิถีชีวิตจิตคริสตชน, นครปฐม: ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม, 2551, หน้า 27 (monasticism) มาจากภาษากรีก “μοναχός” - “monachos” ที่มีรากมาจากคำว่า “monos” ที่แปลว่า “สันโดษ” หรือ “ผู้เดียว” หมายถึงวิถีชีวิตทางศาสนาที่นักบวชเน้นสละชีวิตทางโลกเพื่ออุทิศตนอย่างเต็มตัวในทางธรรม คำนี้ที่มาจากภาษากรีกโบราณและอาจเกี่ยวกับภิกษุซึ่งเป็นนักพรตในพุทธศาสนา ในคริสต์ศาสนา บุรุษที่ใช้ชีวิตอารามวาสีเรียกว่านักพรต ถ้าเป็นหญิงก็เรียกว่านักพรตหญิง นักพรตทั้งชายและหญิงจะเรียกโดยรวมว่าอารามิกชน (monastics) ศาสนาอื่นต่างก็มีชีวิตอารามวาสีเป็นของตนเองโดยเฉพาะในศาสนาพุทธ และรวมทั้งลัทธิเต๋า ศาสนาฮินดู และศาสนาเชน แต่รายละเอียดของแต่ละระบบของแต่ละศาสนาหรือแต่ละนิกายก็แตกต่างจากกันมาก.

ดู สามเณรและชีวิตอารามวาสี

ชีนบยู

วนแห่พิธีชีนบยูที่มัณฑะเลย์ การแต่งกายของผู้เข้าพิธีชีนบยู ชีนบยู (สามารถออกเสียงว่า ชีนปยู) เป็นพิธีกรรมของชาวพม่า โดยเฉพาะเด็กชายในช่วงที่ก่อนจะบวชเป็นสามเณร ในศาสนาพุทธ นิกายเถรวาท พิธีชีนบยู หมายถึงการเฉลิมฉลองเครื่องหมายของสามเณร เมื่อเสร็จพิธีแห่ชีนบยูเด็กชายผู้เข้าร่วมพิธีกรรมจะเข้าบวชเป็นสามเณร เป็นการบวชของเด็กชายอายุต่ำกว่า 20 ปี พิธีชีนบยูถือเป็นหน้าที่สำคัญของบิดา มารดาที่ต้องทำให้บุตรชายของตน โดยการปล่อยให้บุตรของตนออกตามรอยคล้ายตอนที่พระพุทธเจ้าเสด็จออกบวช และให้ประพฤติตนอยู่ในคำสอนของพระพุทธเจ้าสำหรับพิธีกรรมชาวพม่าส่วนใหญ่นิยมจัดระยะสั้น หรือบางส่วนนิยมจัดตอนบวชเป็นพระสงฆ์ต่อเมื่ออายุครบ 20 ปี.

ดู สามเณรและชีนบยู

พ.ศ. 2394

ทธศักราช 2394 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1851 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สามเณรและพ.ศ. 2394

พ.ศ. 2409

ทธศักราช 2409 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1866.

ดู สามเณรและพ.ศ. 2409

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ.

ดู สามเณรและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปวเรนทราเมศมหิศเรศรังสรรค์ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระอนุชาธิราชในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ทรงได้รับพระบวรราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 รองจากพระบรมเชษฐา สูงศักดิ์กว่า "วังหน้า" กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (พระมหาอุปราช)พระองค์ใดในอดีต เมื่อวันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สามเณรและพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระพรหมกวี (ประกอบ ธมฺมเสฏฺโฐ)

ระพรหมกวี (พงศ์สันต์ (เดิมชื่อ ประกอบ) ธมฺมเสฏฺโฐ) (นามเดิม: ประกอบ วงศ์พรนิมิตร) (21 พฤษภาคม 2498 - ปัจจุบัน) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าคณะภาค 13 และเจ้าอาวาสวัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร.

ดู สามเณรและพระพรหมกวี (ประกอบ ธมฺมเสฏฺโฐ)

พระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร)

ระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร) (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 — 10 ตุลาคม พ.ศ. 2550) หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ ท่านเป็นที่รู้จักในฐานะพระสงฆ์ผู้ปฏิรูปแนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ไทย ผู้เป็นสหธรรมิกร่วมอุดมการณ์คนสำคัญของพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปัญโญ) และผู้อุทิศชีวิตให้กับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาจนวาระสุดท้ายของชีวิต.

ดู สามเณรและพระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร)

พระพรหมมุนี (ผิน สุวโจ)

ระพรหมมุนี นามฉายา สุวโจ (นามเดิม: ผิน ธรรมประทีป) เป็นเจ้าอาวาสรูปที่ 5 ของวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร และอดีตสังฆมนตรีช่วยว่าการองค์การเผยแผ.

ดู สามเณรและพระพรหมมุนี (ผิน สุวโจ)

พระพุทธชินราช (จำลอง)

พระพุทธชินราช พระพุทธชินราช เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย นั่งสมาธิราบ จำลองแบบจากพระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก ปัจจุบันประดิษฐานเป็นพระประธานในพระอุโบสถวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร พระพุทธชินราช มีขนาดหน้าตัก 5 ศอก คืบ 5 นิ้ว มีเศษน้ำหนักทองที่ใช้หล่อ 3,940 ชั่ง ตามตำนานเล่าว่า เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสถาปนาวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม พุทธศักราช 2442 โปรดให้ออกแบบพระอุโบสถตกแต่งไว้ด้วยหินอ่อนงดงามวิจิตร จำเป็นต้องแสวงหาพระประธานที่มีความทัดเทียมกัน และทรงระลึกได้ว่า เมื่อ พ.ศ.

ดู สามเณรและพระพุทธชินราช (จำลอง)

พระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม)

ระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ หรือ หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม (27 มกราคม พ.ศ. 2432 - 8 กันยายน พ.ศ. 2504) เป็นพระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุบลราชธานี พระป่ากรรมฐานศิษย์องค์สำคัญของ หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล และ หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม เป็นพระภิกษุผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ตามพระธรรมวินัย เอาใจใส่การศึกษาปฏิบัติธรรม มีความรู้ความเห็นลึกซึ้ง มีปฏิภาณเทศนาแจ่มแจ้ง โวหารไพเราะจับใจ มีชื่อเสียงด้านวิปัสสนาธุระ ธรรมบาลี อักษรสมัย และวิทยาคม เป็นบุคคลที่มีจิตใจหนักแน่ ประพฤติพรหมจรรย์ บำเพ็ญวิปัสสนาธุระตลอดชีวิต มุ่งดีต่อหมู่คณะและพระศาสนา รับภารธุระครูบาอาจารย์ ฟื้นฟูทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ เมื่อรับตำแหน่งฝ่ายบริหาร ยินดีรับภารธุระและเอาใจใส่ด้วยความเต็มใจ ยังกิจการคณะสงฆ์ให้เจริญรุ่งเรื่อง มีพระสงฆ์สามเณรและฆราวาสเป็นศิษย์มากมาย จนได้รับขนานนามว่า แม่ทัพธรรมพระกรรมฐาน.

ดู สามเณรและพระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม)

พระภัททากัจจานาเถรี

ตำหนักพระนางพิมพา พระภัททากัจจานาเถรี หรือพระนามเดิม พระนางยโสธรา (พระนางพิมพา หรือ พระนางยโสธราพิมพา) เป็นพระชายาของเจ้าชายสิทธัตถะ หลังจากเจ้าชายสิทธัตถะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า พระนางได้อุปสมบทเป็นภิกษุณีและบรรลุเป็นพระอรหันต์ในที.

ดู สามเณรและพระภัททากัจจานาเถรี

พระมหาบุญมี มาลาวชิโร

ระมหาบุญมี มาลาวชิโร (พวงเพชร) เป็นประธานกรรมการบริหารพระภิกษุสามเณรน้ำทองสิกขาลัย วิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิด และเป็นอาจารย์ประจำ วิทยาลัยศานศึกษา รวมทั้งเป็นพระนักเขียน นักบรรยายธรรมรุ่นใหม่ มีหนังสือธรรมะผลงานของท่านออกมาอย่างสม่ำเสมอ ปัจจุบันพระมหาบุญมีจำพรรษาอยู่ที่วัดทองศาลางาม เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร.

ดู สามเณรและพระมหาบุญมี มาลาวชิโร

พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี

ระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี หรือชื่อเมื่อแรกเกิดว่า วุฒิชัย บุญถึง หรือรู้จักกันดีในนามปากกา ว.วชิรเมธี (29 มกราคม พ.ศ.

ดู สามเณรและพระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี

พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

ระมหาโพธิวงศาจารย์ นามเดิม ทองดี สุรเดช ฉายา สุรเตโช เป็นราชบัณฑิต พระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร หัวหน้าพระธรรมทูตสายที่ 8 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั.

ดู สามเณรและพระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)

พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)

ระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2365-16 ตุลาคม พ.ศ. 2434) เป็นชาวฉะเชิงเทรา ท่านได้รับสมญาว่าเป็นศาลฎีกาภาษาไทย เป็นผู้แต่งตำราเรียนชุดแรกของไทย เรียกว่า "แบบเรียนหลวง" ใช้สอนในโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ และหนังสือกวีนิพนธ์ที่มีคุณค่าอีกหลายเรื่อง งานชิ้นสำคัญชิ้นหนึ่ง คือท่านได้รับแต่งตั้งให้เป็น แม่กองตรวจโคลงบรรยายประกอบรูปภาพเรื่อง "รามเกียรติ์" รอบระเบียงพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อครั้งกรุงรัตนโกสินทร์ครบรอบ 100 ปี และตัวท่านเองก็ได้รับหน้าที่เป็นผู้แต่งด้วยท่านหนึ่ง.

ดู สามเณรและพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)

พระยาจุฬาราชมนตรี (เถื่อน)

ระยาจุฬาราชมนตรี (เถื่อน) เกิดในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เป็นบุตรของพระยาจุฬาราชมนตรี (ก้อนแก้ว) ท่านถูกกวาดต้อนไปเป็นเชลยเมื่อครั้งเสียกรุงศรีอยุธยาขณะอายุเพียง 13 -14 ปี ต่อมาได้บวชเป็นสามเณรเรียนวิชาไสยศาสตร์กับอาจารย์ชาวเขมร อยู่พม่า 7 ปี จนอายุ 19 ปีจึงหนีกลับเข้าไทยทางแม่สอดไปหาบิดาที่ขณะนั้นไปราชการทัพที่เชียงใหม่และเชียงแสน เมื่อกลับมา ท่านได้เรียนวิชาทางศาสนาอิสลามใหม่ และได้เข้ารับราชการในกรมทหารอาทมาตในสมัยรัชกาลที่ 1 ในสมัยรัชกาลที่ 2ได้เป็นหลวงภักดีสุนทร ได้ร่วมรบในสงครามตีเมืองถลางและไทรบุรี เมื่อเสร็จศึกได้เป็นพระยาวรเชษฐ์ภักดีศรีวรข่าน ต่อมาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นจุฬาราชมนตรี ถึงแก่อนิจกรรมในสมัยรัชกาลที่ 3 ท่านมีชื่อทางศาสนาอิสลามว่า อามิรระชามุฮัมหมัด สมรสกับคุณหญิงนก มีบุตรธิดา 4 คน ถึงแก่อสัญกรรมในช่วงปลายสมัยรัชกาลที่ 3.

ดู สามเณรและพระยาจุฬาราชมนตรี (เถื่อน)

พระราชวิเทศปัญญาคุณ (เหลา ปญฺญาสิริ)

ระราชวิเทศปัญญาคุณ (นามเดิม: ดร.พระมหาเหลา ประชาราษฎร์) น.ธ.เอก, ป..4, พม., พธ.บ., M.A. (London), Ph.D.(Birmingham) (7 สิงหาคม พ.ศ. 2503 - ปัจจุบัน) พระธรรมทูตไทยรูปแรกที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกในประเทศอังกฤษ รองประธานองค์กรพระธรรมฑูตไทยในสหราชอาณาจักร, เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุ สหราชอาณาจักร รูปปัจจุบัน ท่านเกิดเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ดู สามเณรและพระราชวิเทศปัญญาคุณ (เหลา ปญฺญาสิริ)

พระราชสุทธิโสภณ (ประทวน ปภากโร)

ระราชสุทธิโสภณ พระราชสุทธิโสภณ (ประทวน ปภากโร) (นามเดิม:ประทวน เส็งจีน) เจ้าคณะจังหวัดชัยนาท และเจ้าอาวาสวัดปากคลองมะขามเฒ่ารูปปัจจุบัน ท่านเกิดเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู สามเณรและพระราชสุทธิโสภณ (ประทวน ปภากโร)

พระราชสุตาลังการ (ฉัตต์ สจฺจวโร)

ระราชสุตาลังการ (ฉัตต์ สจฺจวโร) ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ (มหานิกาย)และ เจ้าอาวาสวัดพรหมสุรินทร.

ดู สามเณรและพระราชสุตาลังการ (ฉัตต์ สจฺจวโร)

พระราหุล

ระราหุล หรือพระนามเดิม เจ้าชายราหุล เป็นพระโอรสในเจ้าชายสิทธัตถะ (พระโคตมพุทธเจ้า) กับพระนางยโสธรา ประสูติในวันที่พระบิดาออกผนวช ในพระไตรปิฎกว่า เจ้าชายสิทธัตถะเมื่อได้ทราบว่าพระราชโอรสประสูติ ทรงเปล่งอุทานออกมาว่า "ราหุ ชาโต พันธนัง ชาตัง" แปลว่า "'ราหุ (บ่วง) เกิดขึ้นแล้ว พันธนาการเกิดขึ้นแล้ว" หมายความว่า พระกุมารที่ประสูติจะเป็นบ่วงร้อยรึงพระองค์ไว้กับภริยาและชีวิตฆราวาส ซึ่งพระเจ้าสุทโธทนะทรงนึกว่าสิทธัตถราชกุมารทรงตั้งพระนามโอรสอย่างนั้น จึงทรงขนานนามพระภาคิไนย (พระเจ้าหลาน) ว่า "ราหุล" อันแปลว่า "บ่วง" อย่างไรก็ดี ตามพระวินัยของนิกายสรวาสติวาทว่าพระนาม "ราหุล" มิได้มาจากรากศัพท์ "ราหุ" ที่แปลว่า "บ่วง" แต่มาจากศัพท์ "ราหุ" ที่แปลว่า "จันทรคราส" หรือที่ในภาษาไทยว่า "ราหู" อนึ่ง ในพระไตรปิฎกพระธรรมบท มีตอนหนึ่งว่า ความปิติปราโมทย์ที่บุรุษได้รับจากภริยาและบุตร คือ "ราหุ" (แปลว่า "บ่วง") ที่ร้อยรึงชีวิตครอบครัวผ่านประสบการณ์ต่าง ๆ ไม่ว่าทุกข์หรือสุข พระราหุลกุมารทูลขอราชสมบัติจากพระโคตมพุทธเจ้า เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าและเสด็จไปเผยแผ่พุทธศาสนา ณ แคว้นมคธ ก็ทรงนิวัติกลับกรุงกบิลพัสดุ์ เพื่อโปรดพระบิดาและพระญาติประยูร และมีเหล่าสาวกติดตามเสด็จมาด้วย วันหนึ่งพระนางยโสธราทรงได้พระราหุล และมีรับสั่งให้พระกุมารราหุลไปทูลขอพระราชสมบัติ พระพุทธเจ้าจึงทรงบรรพชาพระราหุลเป็นสามเณรและให้เสด็จติดตามพระองค์ไปด้วย พระกุมารราหุลจึงเป็นสามเณรรูปแรกในพุทธศาสนา พระเจ้าสุทโธทนะทรงทราบข่าวพระราหุลได้ทำการบรรพชาเป็นสามเณรในพุทธศาสนาแล้ว ก็ทรงเสียพระทัยมาก เพราะทรงหวังให้พระราหุลเป็นรัชทายาทสืบราชสันติวงศ์ต่อไป พระองค์จึงเสด็จไปตัดพ้อต่อว่าพระพุทธเจ้า และทูลขอว่า ต่อไปถ้าจะบวชให้ใครอีก ขอให้มารดาบิดาของผู้จะบวชอนุญาตเสียก่อน พระพุทธองค์ก็ทรงอนุญาตให้เป็นไปตามคำทูลขอ โดยมีข้อกำหนดว่า ผู้ที่จะเข้ามาบวช "จะต้องได้รับอนุญาตจากบิดามารดา ผู้ปกครอง หรือผู้บังคับบัญชาเสียก่อน" สามเณรราหุลบรรพชาเมื่ออายุ 7 ปี พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมให้ฟังมากมายหลายเรื่อง เมื่ออายุครบ 20 ปี ก็ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ท่านได้ตามเสด็จพระพุทธเจ้าไปยังป่าอันธวัน แขวงเมืองไพศาลี แคว้นวัชชี หลังจากได้ฟัง "จูฬราหโลวาทสูตร" จากพระพุทธองค์ ก็สำเร็จบรรลุเป็นพระอรหันต์ พระราหุลเถระ ได้รับการยกย่องจากพระพุทธองค์ว่า "เอตทัคคะ"(ผู้เลิศกว่าคนอื่นในด้านใคร่การศึกษา) คือ ชอบการศึกษาหรือขยันหมั่นในการเล่าเรียน พระราหุลเถระนิพพานเมื่อใดไม่ปรากฏหลักฐานระบุชัด ทราบเพียงว่า ท่านปรินิพพานก่อนพระอัครสาวกทั้งสอง และก่อนพระพุทธเจ้า โดยการทูลลาพระพุทธเจ้าไปนิพพานที่สวรรค์ชั้นดาวดึง.

ดู สามเณรและพระราหุล

พระวินยาธิการ

วินยาธิการ /วินะยาทิกาน/ (วินย + อธิ + การ, แปล "เจ้าการพระวินัย") หรือภาษาปากว่า ตำรวจพระ หมายถึง พระภิกษุชาวไทยผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการตามพระวินัย เรียกเต็มว่า "พระวินยาธิการ" พระวินยาธิการเป็นคำใหม่ที่ใช้เรียกพระภิกษุผู้ได้รับแต่งตั้งจากเจ้าคณะจังหวัดให้มีหน้าที่ช่วยเหลือด้านการปกครองคณะสงฆ์ในจังหวัด โดยเฉพาะหน้าที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยด้านการปฏิบัติวินัยของพระภิกษุสามเณร พระวินยาธิการมีหน้าที่ตรวจตรา แนะนำ ตักเตือน และชี้แจงระเบียบปฏิบัติแก่พระภิกษุสามเณรในจังหวัดหรือที่เข้ามาในจังหวัด บรรดาที่ประพฤติไม่เรียบร้อย และหากไม่ปฏิบัติตามหรือพบการกระทำความผิดก็มีอำนาจจับกุมตัวส่งเจ้าคณะผู้รับผิดชอบหรือเจ้าหน้าที่บ้านเมืองให้ดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ แต่ไม่มีอำนาจในการให้สละสมณเพศ ปัจจุบัน พระวินยาธิการเป็นตำแหน่งที่ยังไม่มีกฎหมายรองรับ ทำให้การปฏิบัติหน้าเป็นไปอย่างติด ๆ ขัด ๆ พระรัตนเมธี เจ้าอาวาสวัดแก้วฟ้าจุฬามณี และเจ้าคณะเขตบางซื่อ ในฐานะหัวหน้าพระวินยาธิการเขตกรุงเทพมหานคร กล่าวเมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2552 ว่า "การทำงานของพระวินยาธิการขณะนี้ ถือว่าลำบาก เพราะเป็นตำแหน่งที่ยังไม่มีกฎหมายรองรับ จะดำเนินการอะไรกับพระที่ทำผิดพระธรรมวินัยไม่มีอำนาจในการลงโทษ เมื่อพบพระที่ทำความผิดก็ต้องพาไปให้เจ้าคณะผู้ปกครองในท้องที่นั้น ๆ วินิจฉัยลงโทษ รวมทั้งต้องอาศัยความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ตำรวจด้วย" อย่างไรก็ดี หัวหน้าพระวินยาธิการเขตกรุงเทพมหานครเปิดเผยว่า กำลังมีการเสนอร่างพระราชบัญญัติอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนา โดยจะมีการกำหนดสถานะของพระวินยาธิการ ซึ่งจะทำให้มีกฎหมายรองรับและจะมีการออกกฎหมายลูกตามมาอีก โดยอาจจะกำหนดให้พระวินยาธิการมีอำนาจในการวินิจฉัยตัดสินใจลงโทษได้เลย ทำให้มีความรวดเร็วในการทำงาน รวมทั้งจะต้องมีการออกระเบียบการแต่งตั้งพระวินยาธิการให้มีคุณสมบัติเป็นพระสังฆาธิการด้วย เพื่อความสะดวกในการวินิจฉัยลงโทษ และจะทำให้รูปแบบของพระวินยาธิการเป็นในลักษณะเดียวกันทั่วประเทศ ผิดกับปัจจุบันที่ยังเป็นในลักษณะต่างคนต่างทำอยู่ อนึ่ง หนังสือพิมพ์ไทยรัฐยังมีการรายงานว่า ปัญหาของพระวินยาธิการไม่ใช่แต่เพียงเท่านั้น เพราะยังพบว่าบางเขตมีจำนวนพระวินยาธิการมากเกินความจำเป็น ซึ่งพระวินยาธิการบางท้องที่ก็ไม่ยอมทำงาน แต่ที่เป็นพระวินยาธิการเพื่อต้องการอวดพระด้วยกันรวมทั้งจะเอาบัตรประจำตัวพระวินยาธิการไปอวดญาติด้ว.

ดู สามเณรและพระวินยาธิการ

พระศรีศิลป์ (พระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราช)

ระศรีศิลป์ เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราชประสูติแต่นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ มีพระเชษฐา 1 พระองค์ ได้แก่ พระยอดฟ้า ภายหลังการเสด็จขึ้นครองราชสมบัติของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระองค์ทรงได้รับการอุปการะจากสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวเรื่อยมา จนกระทั่ง พระองค์มีพระชันษา 20 พรรษาได้คิดขบถขึ้นและนำไปสู่การสิ้นพระชนม์ในเวลาต่อม.

ดู สามเณรและพระศรีศิลป์ (พระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราช)

พระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ

ระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ (นามเดิม: สมชาย แสงสิน) น.ธ.เอก, ปบ.ส., พธ.บ., พธ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์) (1 ตุลาคม พ.ศ. 2506 - ปัจจุบัน) เจ้าสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ 3หนังสือสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ที่ พศ ๐๐๐๙/๐๕๓๖๕ เรื่อง แจ้งมติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๙ เรื่อง ขออนุมัติจัดตั้งสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ ๓ วัดคุ้งตะเภา ลงวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๙มติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๙ วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๙ สำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม มติที่ ๓๓๘/๒๕๕๙ เรื่อง ขออนุมัติจัดตั้งสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ ๓, รองเจ้าคณะตำบลคุ้งตะเภา พระอุปัชฌาย์ และเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภารูปปัจจุบัน เกิดเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.

ดู สามเณรและพระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ

พระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป)

ระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป พระสารประเสริฐ นามเดิม ตรี นาคะประทีป (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2432 - 4 มิถุนายน พ.ศ. 2488) ผู้เชี่ยวชาญวิชาอักษรศาสตร์ภาษาไทย ผู้ร่วมแปลและถ่ายหนังสือหิโตปเทศจากภาษาอังกฤษร่วมกับพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) และได้ร่วมงานกันต่อเนื่องมาเป็นเวลานานและใช้นามปากกาที่มีชื่อเสียงร่วมกันคือ “เสฐียรโกเศศและนาคะประทีป”.

ดู สามเณรและพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป)

พระสิทธิสารมุนี (ชวรัชต์ มุนิจโร)

ระสิทธิสารมุนี (ชวรัชต์ มุนิจโร) ป.ธ.๓ (นามเดิม: ชวรัชต์ เชาวนะวัณณ์) (3 เมษายน พ.ศ. 2482 - 7 กันยายน พ.ศ. 2551) อดีตเจ้าอาวาสวัดเจ็ดยอด (พระอารามหลวง) และอดีตรองเจ้าคณะจังหวัดเชียงร.

ดู สามเณรและพระสิทธิสารมุนี (ชวรัชต์ มุนิจโร)

พระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร)

ระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร) ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์ และเจ้าอาวาสวัดคลองโพธิ์รูปปัจจุบัน ท่านเป็นพระนักพัฒนาด้านการศึกษาสงเคราะห์รูปสำคัญในจังหวัดอุตรดิตถ์ โดยเป็นผู้ก่อตั้งสำนักเรียนพระปริยัติธรรมวัดคลองโพธิ์ ในปี พ.ศ.

ดู สามเณรและพระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร)

พระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทฺโธ)

ระธรรมโมลี นามเดิม ทองอยู่ พิศลืม ฉายา ญาณวิสุทฺโธ เป็นพระราชาคณะชั้นธรรมฝ่ายมหานิกาย ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 11 อดีตเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ เจ้าอาวาสวัดศาลาลอย รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์ เป็นกรรมการสภาวิชาการมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประเภทโดยตำแหน่งในระดับรองอธิการบดี และอดีตกรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ พิธีบำเพ็ญกุศลอายุวัฒนมงคล พระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทฺโธ) ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 11.

ดู สามเณรและพระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทฺโธ)

พระครูพัฒนสารคุณ (สอ คมฺภีรปญฺโญ)

ระครูพัฒนสารคุณ (สอ คมฺภีรปญฺโญ) ปัจจุบันดำรงตำแหน่งทางพระสังฆาธิการเป็นเจ้าอาวาสวัดสัทธารมณ์ ตำบลบุแกรง อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ และได้รับพระบัญชาให้ดำรงตำแหน่งทางเป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะอำเภออำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ เป็นพระเกจิเถราจารย์ผู้ทรงวิทยาคุณแห่งดินแดนอิสานใต้.

ดู สามเณรและพระครูพัฒนสารคุณ (สอ คมฺภีรปญฺโญ)

พระครูพิพัฒน์นิโรธกิจ (ปาน อคฺคปญฺโญ)

ระครูพิพัฒน์นิโรธกิจ (หลวงพ่อปาน อคฺคปญฺโญ) (พ.ศ. 2368 - 29 สิงหาคม พ.ศ. 2453) วัดมงคลโคธาวาส (วัดบางเหี้ย) อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ.

ดู สามเณรและพระครูพิพัฒน์นิโรธกิจ (ปาน อคฺคปญฺโญ)

พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต

หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต หรือนามตามสมณศักดิ์ว่า พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต (20 มกราคม พ.ศ. 2413 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492) เป็นพระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุบลราชธานี ผู้เป็นบูรพาจารย์สายพระป่าในประเทศไทย พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ได้ปฏิบัติตนตามแนวทางคำสอนพระศาสดาอย่างเคร่งครัด และยึดถือธุดงควัตรด้วยจริยวัตรปฏิปทางดงาม จนได้รับการยกย่องจากผู้ศรัทธาทั้งหลายว่าเป็นพระผู้เลิศทางธุดงควัตร ท่านวางแนวทางในการปฏิบัติสมถะและวิปัสสนาตามหลักธรรมคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาพุทธเจ้าให้แก่สมณะประชาชนอย่างกว้างขวาง จนมีพระสงฆ์และฆราวาสเป็นลูกศิษย์จำนวนมาก แนวคำสอนของท่านเป็นที่รู้จักกันดีในนามว่า คำสอนพระป่า (สายพระอาจารย์มั่น) หลังจากท่านมรณภาพลง ในปี..

ดู สามเณรและพระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต

พระครูอาภัสร์ธรรมคุณ (บุญรอด อาภสฺสโร)

ระครูอาภัสร์ธรรมคุณ (บุญรอด อาภสฺสโร) ปัจจุบันดำรงตำแหน่งทางพระสังฆาธิการป็นเจ้าอาวาสวัดโคกกรม ตำบลจีกแดก อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ และเจ้าคณะตำบลโคกกลาง อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ เป็นพระเกจิเถราจารย์ผู้ทรงวิทยาคุณแห่งดินแดนอิสานใต้.

ดู สามเณรและพระครูอาภัสร์ธรรมคุณ (บุญรอด อาภสฺสโร)

พระปทุมุตรพุทธเจ้า

ระปทุมุตรพุทธเจ้า หลังจากพระศาสนาของพระนารทะพุทธเจ้าอันตรธานไปแล้ว เป็นช่วงเวลาที่ว่างจากพระพุทธเจ้าถึงหนึ่งอสงไขยกัป เรียกว่า รุจิอสงไขย เมื่อเวลาผ่านไปจนถึงมัณฑกัปหนึ่ง มีพระพุทธเจ้ามาอุบัติ 1 พระองค์ ทรงพระนามว่า พระปทุมุตระพุทธเจ้า (พระองค์ทรงอุบัติขึ้นเพียงพระองค์เดียว แต่เปรียบเสมือนมีพระพุทธเจ้ามาอุบัติ 2 พระองค์ บางตำราก็ว่าเป็นสารกัป).

ดู สามเณรและพระปทุมุตรพุทธเจ้า

พระใส

หลวงพ่อพระใส เป็นพระพุทธรูปขัดสมาธิราบปางมารวิชัย หล่อด้วยทองสีสุก มีพระรูปลักษณ์งดงามมาก ขนาดหน้าตัก กว้าง 2 คืบ 8 นิ้ว สวนสูงจากพระสงฆ์เบื้องล่างถึงยอดพระเกศ 4 คืบ 1 นิ้ว ของชางไม้ ปัจจุบันได้ประดิษฐานอยู่ภายในพระอุโบสถวัดโพธิ์ชัย(พระอารามหลวง) เป็นพระพุทธรูปที่ชาวจังหวัดหนองคายนับถือว่าศักดิ์สิทธิ์มากและเป็น ที่เคารพสักการะอย่างยิ่ง.

ดู สามเณรและพระใส

พระเสริม

หลวงพ่อพระเสริม เป็นพระพุทธรูปศิลปะล้านช้างเวียงจันทน์ ประทับนั่งขัดสมาธิราบบนบัลลังก์แอวขัน ปางมารวิชัย พระเกตุโมลีเป็นเอกลักษณ์โดยมีเส้นเปลวพระรัศมีเรียวและปลายม้วน หล่อด้วยทองสีสุก มีพระรูปลักษณ์งดงามโดดเด่นมาก ขนาดหน้าตักกว้าง 2 ศอก 1 นิ้ว ปัจจุบันได้ประดิษฐานอยู่ภายในพระวิหารวัดปทุมวนารามราชวรวิหาร อีกทั้งได้รับยกย่องว่าเป็น 1 ใน 3 พระพุทธรูปลาวอันงดงามที่สยามอัญเชิญมาจากลาวโดยอัญเชิญมาประดิษฐาน ณ วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร ส่วนพระพุทธรูปล้านช้างอีก 2 องค์ที่อัญเชิญมาประดิษฐาน ณ วัดปทุมวนารามราชวรวิหารนั้น คือ พระแสน (พระแสนมหาชัย) และพระสายน์ (พระใส).

ดู สามเณรและพระเสริม

พระเจริญราชเดช (อุ่น ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม)

มหาอำมาตย์ตรี พระเจริญราชเดช (อุ่น ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม) (พ.ศ. ๒๔๐๑ - พ.ศ. ๒๔๖๑) กรมการพิเศษเมืองมหาสารคาม มณฑลร้อยเอ็จและที่ปรึกษาราชการเมืองมหาสารคาม อดีตเจ้าเมืองวาปีปทุมคนสุดท้าย (องค์ที่ ๒) อดีตเจ้าเมืองมหาสารคามคนสุดท้าย (องค์ที่ ๔) อีกทั้งเคยดำรงตำแหน่งข้าหลวงกำกับราชการเมืองมหาสารคาม ผู้ว่าราชการเมืองมหาสารคามท่านแรก นายอำเภอวาปีปทุมท่านแรก รวมถึงมีศักดิ์เป็นบุตรเขยและหลานลุงของพระเจริญราชเดชวรเชษฐ์มหาขัติยพงศ์ (กวด) เจ้าเมืองมหาสารคามคนแรก อนึ่ง พระเจริญราชเดช (อุ่น) เป็นต้นสกุลและได้รับพระราชทานนามสกุล ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม ซึ่งเป็นหนึ่งในสกุลหัวเมืองอีสานที่มีชื่อเสียงของประเทศไท.

ดู สามเณรและพระเจริญราชเดช (อุ่น ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม)

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ

มหาอำมาตย์เอก นายพลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญหลายตำแหน่ง ได้แก่ อภิรัฐมนตรี องคมนตรี สมุหมนตรี ราชองครักษ์พิเศษ เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และนายทหารพิเศษกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ และทรงเป็นต้นราชสกุลกิติยากร.

ดู สามเณรและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท (9 กรกฎาคม พ.ศ. 2351 - 14 สิงหาคม พ.ศ. 2414) พระราชโอรสลำดับที่ 49 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ต้นราชสกุลสนิทวงศ์ และเป็นพระปัยกาในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีน.

ดู สามเณรและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท

พระเทพญาณมงคล (เสริมชัย ชยมงฺคโล)

ระเทพญาณมงคล ว. นามเดิม เสริมชัย พลพัฒนาฤทธิ์ ฉายา ชยมงฺคโล เจ้าอาวาสวัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม เจ้าสำนักและอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวิปัสสนา สำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดราชบุรี ผู้จัดการโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีประจำจังหวัดราชบุรี ผู้อำนวยการวิทยาลัยสงฆ์ราชบุรี ประธานศูนย์ประสานงานสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดแห่งประเทศไทย (ศปท.) ประธานศูนย์ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความมั่นคงแห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ ประจำวัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม (ศสค.) Director, Wat Luang Phor Sodh Buddhist Meditation Institute, an Affiliated Institution of the World Buddhist University.

ดู สามเณรและพระเทพญาณมงคล (เสริมชัย ชยมงฺคโล)

พระเทพคุณาธาร (อภัย อภโย)

ระเทพคุณาธาร​ (อภัย​อภโย) (นามเดิม: อภัย วงศ์บุปผา) (15 ตุลาคม พ.ศ. 2465 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549) อดีตเจ้าคณะจังหวัดระยอง และอดีตเจ้าอาวาสวัดป่าประดู่ ท่านเกิดเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ.

ดู สามเณรและพระเทพคุณาธาร (อภัย อภโย)

พิมพ์ รัตนคุณสาสน์

นายพิมพ์ รัตนคุณสาสน์ เป็นกวีอีสาน ที่มีความสามารถในการประพันธ์กลอนลำได้ทุกรูปแบบ จนได้รับยกย่องในนาม พิมพ์กวี ศรีอีสาน และเป็นสามัญชนคนแรกที่ได้รับพระราชทานปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวรรณกรรม จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น จนมีคำเรียกติดปากคนทั่วไปว่า ดร.พ่อใหญ่พิม.

ดู สามเณรและพิมพ์ รัตนคุณสาสน์

กะเทย

กะเทย ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้ความหมายว่า "คนที่มีอวัยวะเพศทั้งชายและหญิง, คนที่มีจิตใจและกิริยาอาการตรงข้ามกับเพศของตน; ผลไม้ที่เมล็ดลีบ เช่น ลำไยกะเทย" ส่วนความหมายทางแพทยศาสตร์ หมายถึง คนที่มีอวัยวะของทั้งผู้หญิงและผู้ชายอยู่ในคน ๆ เดียวกัน ส่วนกะเทยที่มีจิตใจตรงข้ามกับเพศของตน ทางการแพทย์เรียกกลุ่มนี้ว่า "ลักเพศ".

ดู สามเณรและกะเทย

กันเกรา

ต้นกันเกรา กันเกรา เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่ ขึ้นโดยทั่วไปในทุกภาคของประเทศไทย ในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายนจะออกดอกเป็น ช่อสีเหลือง มีกลิ่นหอมขจรขจาย ต้นกันเกรามีชื่อเรียกอื่นว่า มันปลา ตำเสา มะซูไม้ต้น กันเกรามีชื่อเรียกต่างกันไปคือ ภาคกลางเรียก กันเกรา ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เรียก มันปลา ส่วนภาคใต้เรียก ตำแสง หรือตำเสา ซึ่งถือเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่ง อันมีชื่อเป็นมงคลและมีคุณสมบัติที่ดีในการใช้ประโยชน์ คือชื่อกันเกราหมายถึง กันสิ่งชั่วร้ายทั้งหลายไม่ให้มาทำอันตรายใด ๆ ชื่อตำเสาคือ เป็นมงคลแก่เสาบ้านไม่ให้ปลวก มอด แมลงต่าง ๆ เจาะกิน ชื่อมันปลา น่าจะเป็นลักษณะของดอกที่เหมือนกับไขมันของปลาเมื่อลอยน้ำไขมันของปลาในถ้วยน้ำแกง โดยเฉพาะช่วงข้าวใหม่ปลามันที่ปลาจะมีความมันและเอร็ดอร่อยเป็นที่สุด ต้นกันเกรามีลักษณะต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 15 - 25 เมตร เปลือกสีน้ำตาลเข้ม แตกเป็นร่องลึกไม่เป็นระเบียบ ใบเดี่ยวออกตรงกันข้าม แผ่นใบรูปมนขนาดกว้าง 2.5 - 3.5 เซนติเมตร ยาว 8 - 11 เซนติเมตร ปลายใบแหลมหรือยาวเรียว ฐานใบแหลม โคนมน ใบเขียวมันวาว มีทรงพุ่งเป็นทรงฉัตรแหลมสวยงาม ดอก เริ่มบานสีขาว แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลือง กลิ่นหอม ผลกลมเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 6 มม.

ดู สามเณรและกันเกรา

การบวช

การบวช เป็นศัพท์ที่ใช้ในทางศาสนาโดยมีขั้นตอนที่จะทำให้บุคคลธรรมดาผู้นับถือศาสนาต่างๆ กลายเป็นนักบวชของศาสนาที่ตนนับถือนั้น การบวชมักประกอบไปด้วยพิธีกรรมและแบบพิธีต่าง ๆ ซึ่งขั้นตอนการบวชเองนั้นก็มีความแตกต่างกันไปตามศาสนาและชื่อเรียกขาน ผู้ที่กำลังเตรียมเข้าสู่การบวชเรียกว่า ผู้เตรียมบวช (ordinand).

ดู สามเณรและการบวช

การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย

ษาบาลี หรือภาษามคธ เป็นภาษาที่จารึกพระไตรปิฎก ด้วยเป็นภาษาที่คนชมพูทวีปในสมัยพุทธกาลนิยมใช้กันทั่วไป จึงเป็นภาษาที่พระพุทธเจ้าใช้เผยแพร่พระพุทธศาสนาในสมัยนั้น หลังจากพุทธปรินิพพานมีการทำปฐมสังคายนา พระเถระได้ตกลงกันใช้ภาษาบาลีสำหรับจดจำพระไตรปิฎก พระสงฆ์สายเถรวาทจึงต้องศึกษาภาษาบาลีให้เข้าใจลึกซึ้งและสามารถเทียบเคียงสอบทานกับพระไตรปิฎกที่เก็บไว้ในสถานที่ต่างกันได้ เพื่อรักษาการแปลความหมายจากพระพุทธพจน์ในพระไตรปิฎกให้ถูกต้องไม่บิดเบือน และหน้าที่นี้ก็เป็นหน้าที่ของพระสงฆ์ในประเทศไทยเช่นเดียวกันเทวประภาส มากคล้าย เปรียญ..

ดู สามเณรและการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย

การสอบสนามหลวง

อบสนามหลวง คือการสอบไล่วัดความรู้พระปริยัติธรรมของคณะสงฆ์ไทย โดยคำว่า "สนามหลวง" นั้นสันนิษฐานว่ามาจากคำว่า "การสอบพระปริยัติธรรมบาลีในพระราชวังหลวง" โดยการสอบสนามหลวงในสมัยก่อนนั้นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะทรงรับเป็นพระราชภาระ ถวายความอุปถัมภ์การจัดสอบขึ้นในพระบรมมหาราชวัง โดยจัดสอบแบบปากเปล่า คือพระภิกษุหรือสามเณรผู้ศึกษาบาลีมีความรู้พอสมควรแล้ว เข้าสอบบาลีสนามหลวงโดยการแปลคัมภีร์ภาษาบาลีเป็นภาษาไทย หรือแต่งภาษาไทยเป็นภาษาบาลี ต่อหน้าพระที่นั่งและคณะกรรมการพระเถรานุเถระ โดยผู้สอบไล่ได้ในชั้นประโยคต่างๆ จะได้รับการพระราชทานสมณศักดิ์ พัดยศ ไตรจีวร และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งพระภิกษุสามเณรผู้สอบได้ให้เป็นเปรียญ และรับนิตยภัตของหลวง เป็นการยกย่องเชิดชู.

ดู สามเณรและการสอบสนามหลวง

กาสาวพัสตร์

กาสาวพัสตร์ (อ่านว่า กาสาวะพัด) แปลว่า ผ้าที่ย้อมด้วยน้ำฝาด (kasāva กาสาว; काषाय kāṣāya กาษาย;;;; cà-sa) เป็นคำเรียกผ้าที่พระสงฆ์ใช้นุ่งห่ม ผ้านุ่งห่มของพระสงฆ์ไม่ว่าจะเป็นสีเหลือง สีแก่นขนุนหรือสีกรัก ก็เรียกว่าเป็นผ้ากาสวพัสตร์ทั้งสิ้น ถือว่าเป็นของสูง เป็นของพระอริยะ เป็นเครื่องนุ่งห่มของพระพุทธเจ้าที่ทรงประทานอนุญาตให้พระสาวกใช้ได้ จัดเป็นสัญลักษณ์ของพระพุทธศาสนาอย่างหนึ่ง คำว่า กาสาวพัสตร์ ในความหมายรวมๆ ก็คือผ้าเหลืองซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นภิกษุสามเณรในพระพุทธศาสนา เช่น แม่พูดกับลูกว่า “ลูกเอ๋ย บวชให้แม่ได้เห็นชายผ้าเหลืองสักพรรษานะลูก” คำว่า ผ้าเหลือง ในที่นี้ก็คือผ้ากาสาวพัสตร์ นั่นเอง.

ดู สามเณรและกาสาวพัสตร์

กุฏิ

กุฏิ หรือ กุฎี (อ่านว่า กุด หรือ กุดติ) แปลว่า กระต๊อบ, กระท่อม, โรงนา ใช้ว่า กุฏี ก็ได้ เรียกเพี้ยนไปว่ากฎิ ก็มี (กฎิ แปลว่า สะเอว) หมายถึงอาคารที่เป็นโรงเรือนหรือตึกอันเป็นที่อยู่พำนักอาศัยของภิกษุสามเณร ใช้เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา กุฏิ สมัยก่อนจะแยกกันเป็นหลัง ๆ อยู่รวมกันหลาย ๆ หลัง เช่น กุฏิเรือนไทย เรียกว่า กุฏิหมู่ หรือ หมู่กุฏิ บางแห่งสร้างเป็นหลายชั้นและหลายห้อง เรียกว่า กุฏิแถว สำหรับกุฏิที่ประทับของพระพุทธเจ้ามีชื่อเรียกเป็นพิเศษว่า พระคันธกุฎี เพราะมีกลิ่นหอมอยู่ตลอดเวลา กุฏิที่อยู่อาศัย พุทธบัญญัติเดิมกําหนดขนาดของ กุฏิให้พอดีที่พระภิกษุรูปเดียวจะอาศัยอยู่ได้สะดวก มีเนื้อที่กําหนดความยาว ๑๒ คืบพระสุคต และกว้าง ๗ คืบพระสุคต คือ ประมาณ ๓.๐๐ เมตร x ๑.๗๕ เมตร ตามมาตราส่วนปัจจุบันจะเห็นได้ว่า ขนาดตามที่กําหนดไว้นี้กําหนดเพื่อการอยู่อาศัย โดยแท้จริงมิใช่เพื่อสะสมสิ่งใดๆด้วยเลยตัวอย่างเช่นกุฏิที่ใช้ ในการปฏิบัติวิปัสสนาโดยทั่วไปในปัจจุบัน การที่พระภิกษุแต่ละรูปจะมีกุฏิอยู่อาศัยเองได้นั้น จะต้องประกาศต่อสาธารณะว่าจะทํากุฏิอยู่อาศัยอยู่ถึง ๓ ครั้ง หากไม่มีผู้ใดคัดค้านกรรมสิทธิ์ในที่ดินจึงจะทํากุฏิอยู่ได้ ที่มีพุทธบัญญัติให้กระทํา ดังนี้ก็เพื่อมิให้พระภิกษุล่วงละเมิด ที่ดินที่เป็นทรัพย์สินกรรมสิทธิ์ของผู้อื่น หรือพระภิกษุ อาจเข้าอยู่อาศัยในที่ที่มีผู้สละแบ่งให้ก็ได้ เช่นในเรือนที่พระภิกษุจะต้องอยู่รวมกันหลายๆ รูป แต่การอยู่อาศัยรวมกันนั้น ก็จะต้องมีการกำหนด แบ่งเขตให้เป็นสัดส่วนเฉพาะของภิกษุแต่ละรูป เขตเฉพาะตนดังกล่าวนี้เรียกว่า เขตของการครองผ้าไตรจีวร เขตนี้มีเครื่องล้อมบังเป็นที่หมายกำหนด แต่ถ้าไม่มีเครื่องล้อมบัง จะถือเอากำหนดหัตถบาสที่มีระยะหนึ่งศอกโดยรอบตัวเป็นเขตกำหนด หรือเป็นป่าก็อนุญาตให้อย่างมาก ๗ อัพภันดรโดยประมาณ คือในวงรอบ ๙๘ เมตร เป็นเขตครองผ้าไตรจีวร เขตครองผ้าไตรจีวร หมายถึง เขตที่พระภิกษุ จะต้องรักษาเครื่องนุ่งห่มที่เรียกว่าไตรจีวร (ผ้านุ่ง ผ้าห่ม และผ้าพาดไหล่) ไว้กับตัวเฉพาะในเวลากลางคืน จนกว่าจะถึงเวลาเช้า แม้ในเวลานอนก็จะต้องรักษาไตรจีวรไว้ใกล้ตัว หากพระภิกษุละทิ้งให้ไตรจีวรอยู่ห่างจากตัว แม้ระยะห่างเกินกว่าหัตถบาสรอบตัว ก็ถือว่าขาดจากความเป็นเจ้าของ จะต้องประกาศความเป็นเจ้าของกับพระภิกษุรูปอื่นใหม่ เพื่อให้เป็นพยานจึงนำมานุ่งห่มได้อีก การที่มีบัญญัติเช่นนี้ ก็เพื่อให้มีการรู้จักระมัดระวังข้าวของของตน ไม่ให้ถูกลักขโมยได้ง่าย ลักษณะอาคารที่ใช้สอยในเขตสังฆวาสนี้ ไม่มีข้อกำหนดว่า จะต้องเป็นรูปหรือทรวดทรงอย่างไร ตามที่ปฏิบัติกันมานั้น กุฏิส่วนมากก็มีลักษณะดังเรือนราษฎรอยู่อาศัย เพราะพระภิกษุก็คือราษฎรที่มาบวชนั่นเอง แต่ถ้าจะมีการกำหนดจำแนกแล้ว กุฏิที่พระสงฆ์อยู่อาศัยอาจมีได้ดังนี้ ๑.ภิกษุสร้างขึ้นเองโดยวิธีประกาศหาที่ที่ไม่มีผู้คัดค้าน และอยู่ในขนาดที่มีพุทธานุญาต.

ดู สามเณรและกุฏิ

ญุก แถม

ญุก แถมหรือญ็อก แทม (ภาษาเขมร: ញ៉ុក ថែម) เกิดเมื่อ 22 มิถุนายน..

ดู สามเณรและญุก แถม

ภิกษุ

กษุ หรือ พระภิกษุ (บาลี: ภิกขุ; สันสกฤต: ภิกษุ) เป็นคำใช้เรียก "นักบวชชาย" ในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ คู่กับภิกษุณี (นักบวชหญิง) คำว่า ภิกษุ เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา เป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชชายในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ ไม่สาธารณะทั่วไปสำหรับทุกศาสนา มีความหมายว่า ผู้ขอ (ขออาหาร เป็นต้น) และสามารถแปลว่า ผู้เห็นภัยในวัฏฏสงสาร ก็ได้ ดังรูปวิเคราะห์ว่า "วฏฺฏสํสาเร ภยํ อิกฺขตีติ ภิกฺขุ" ในประเทศไทยและประเทศลาว มีคำเรียกภิกษุเถรวาทว่า "พระ" แปลว่าผู้ประเสร.

ดู สามเณรและภิกษุ

ภิกษุณี

กษุณี (ภิกฺขุณี; ภิกฺษุณี) เป็นคำใช้เรียกนักพรตหญิงในศาสนาพุทธ คู่กับภิกษุที่หมายถึงนักพรตชายในพระพุทธศาสนา คำว่า ภิกษุณี เป็นศัพท์ที่มีเฉพาะในพระพุทธศาสนา โดยเป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชหญิงในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ ไม่ใช้เรียกนักบวชในศาสนาอื่น ภิกษุณี หรือ ภิกษุณีสงฆ์ จัดตั้งขึ้นโดยพระบรมพุทธานุญาต ภิกษุณีรูปแรกในพระพุทธศาสนาคือพระนางมหาปชาบดีโคตมีเถรี โดยวิธีรับคุรุธรรม 8 ประการ ในคัมภีร์เถรวาทระบุว่าต่อมาในภายหลังพระพุทธเจ้าได้ทรงอนุญาตวิธีการอุปสมบทภิกษุณีให้มีรายละเอียดเพิ่มมากขึ้น จนศีลของพระภิกษุณีมีมากกว่าพระภิกษุ โดยพระภิกษุณีมีศีล 311 ข้อ ในขณะที่พระภิกษุมีศีลเพียง 227 ข้อเท่านั้น เนื่องจากในสมัยพุทธกาลไม่เคยมีศาสนาใดอนุญาตให้ผู้หญิงเข้ามาเป็นนักบวชมาก่อน และการตั้งภิกษุณีสงฆ์ควบคู่กับภิกษุสงฆ์อาจเกิดข้อครหาที่จะเป็นอันตรายร้ายแรงต่อการประพฤติพรหมจรรย์และพระพุทธศาสนาได้ หากได้บุคคลที่ไม่มีความมั่นคงในพระพุทธศาสนาเข้ามาเป็นนักบวช จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ไม่ปรากฏว่ามีการตั้งวงศ์ภิกษุณีเถรวาทขึ้นในประเทศไทย อย่างไรก็ตามในประเทศพุทธเถรวาทที่เคยมีหรือไม่เคยมีวงศ์ภิกษุณีสงฆ์ในปัจจุบัน ต่างก็นับถือกันโดยพฤตินัยว่าการที่อุบาสิกาที่มีศรัทธาโกนศีรษะนุ่งขาวห่มขาว ถือปฏิบัติศีล 8 (อุโบสถศีล) ซึ่งเรียกโดยทั่วไปว่า แม่ชี เป็นการผ่อนผันผู้หญิงที่ศรัทธาจะออกบวชเป็นภิกษุณีเถรวาท แต่ไม่สามารถอุปสมบทเป็นภิกษุณีเถรวาทได้ โดยส่วนใหญ่แม่ชีเหล่านี้จะอยู่ในสำนักวัดซึ่งแยกเป็นเอกเทศจากกุฎิสงฆ์ ภิกษุณีสายเถรวาทซึ่งสืบวงศ์มาแต่สมัยพุทธกาลด้วยการบวชถูกต้องตามพระวินัยปิฎกเถรวาท ที่ต้องบวชในสงฆ์สองฝ่ายคือทั้งภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ ได้ขาดสูญวงศ์ (ไม่มีผู้สืบต่อ) มานานแล้ว คงเหลือแต่ภิกษุณีฝ่ายมหายาน (อาจริยวาท) ที่ยังสืบทอดการบวชภิกษุณีแบบมหายาน (บวชในสงฆ์ฝ่ายเดียว) มาจนปัจจุบัน ซึ่งจะพบได้ในประเทศจีน, เกาหลีใต้, ญี่ปุ่น และศรีลังกา ปัจจุบันมีการพยายามรื้อฟื้นการบวชภิกษุณีในฝ่ายเถรวาท โดยทำการบวชมาจากภิกษุณีมหายาน และกล่าวว่าภิกษุณีฝ่ายมหายานนั้น สืบวงศ์ภิกษุณีสงฆ์มาแต่ฝ่ายเถรวาทเช่นกัน แต่มีผู้ตั้งข้อสังเกตว่าฝ่ายมหายานมีการบวชภิกษุณีสืบวงศ์มาโดยมิได้กระทำถูกตามพระวินัยปิฎกเถรวาท และมีศีลที่แตกต่างกันอย่างมากด้วย ทำให้มีการไม่ยอมรับภิกษุณี (เถรวาท) ใหม่ ที่บวชมาแต่มหายานว่า มิได้เป็นภิกษุณีที่ถูกต้องตามพระวินัยปิฎกเถรวาท และมีการยกประเด็นนี้ขึ้นเป็นข้ออ้างว่าพระพุทธศาสนาจำกัดสิทธิสตรีด้วย ซึ่งเป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน เพราะพระพุทธเจ้าได้อนุญาตให้มีภิกษุณีที่นับเป็นการเปิดโอกาสให้มีนักบวชหญิงเป็นศาสนาแรกในโลก เพียงแต่การสืบทอดวงศ์ภิกษุณีได้สูญไปนานแล้ว จึงทำให้ในปัจจุบันไม่สามารถบวชสตรีเป็นภิกษุณีตามพระวินัยเถรวาทได้.

ดู สามเณรและภิกษุณี

ภิกษุณีในประเทศจีน

ประวัติภิกษุณีสงฆ์ในประเทศจีน ปลายปีรัชกาลย่งเจีย(หย่งเกีย)แห่งราชวงศ์จิ้น(พ.ศ.850-855) หญิงจีนมีนามว่า จิ้งเจี่ยน ตัดสินใจปลงผม และขอรับศีล10 จากพระอุปัชฌาย์ พระชญาณเมรุ มีผู้หญิงจีนศรัทธาและเข้ารับการบรรพชาพร้อมเธอ24คน แล้วก่อตั้ง อารามจู๋หลินซื่อ(เต๊กลิ้มยี่)แปลว่า วัดป่าไผ่ ขึ้นที่ประตูทางทิศตะวันตกของเมืองหลวง เนื่องจากบรรดาสามเณรีเหล่านี้ไม่มีปวัตตินี เธอจึงศึกษาธรรมอยู่กับพระอาจารย์จิ้งเจี่ยน ซึ่งเป็นผู้มีความสามารถในการสั่งสอนอบรม พระอุปัชฌาย์นั้นคือ พระชญาณเมรุ สมณะจากแคว้นกาศมีระ(แคชเมียร์)ในดินแดนทางทิศตะวันตก ท่านเป็นอาจารย์ที่ปราดเปรื่องและมีเมตตาธรรม นอกจากนั้น ยังเป็นอาจารย์ฝ่ายวิปัสสนาและมีความรู้ดีในพระสูตรต่างๆในปลายปีรัชกาลย่งเจีย แห่งราชวงศ์จิ้น ท่านได้เดินทางมาประเทศจีน และยังชีพโดยการภิกขาจาร ท่านสั่งสอนธรรมและเผยแผ่คำสอนในพระพุทธศาสนา แต่ประชาชนในยุคนั้นยังไม่ค่อยศรัทธาในพระพุทธศาสนามากนัก จึงไม่ค่อยมีใครสนใจจะศึกษากับท่านอย่างจริงจัง ในปีแรกของปีรัชกาลเจี้ยนอู่(พ.ศ.860) ท่านจึงได้เดินทางกลับไปยังแคว้นกาศมีระ ต่อมาพระอาจารย์อีกรูปหนึ่งชื่อ พุทธจิงค์ เดินทางจากประเทศอินเดียมายังประเทศจีนอีกและได้สรรเสริญถึงคุณธรรมและความสามารถของพระชญาณเมรุ ทำให้ประชาชนชาวจีนพากันเสียใจ และเสียดายโอกาสในความโง่เขลาของตนที่ไม่ได้เล่าเรียนพระพุทธศาสนาจากพระอาจารย์ผู้มีความสามารถในขณะที่ท่านอยู่ในประเทศจีน ขณะเดียวกัน จิ้งเจี่ยน ก็อบรมสั่งสอนศิษย์อยู่ที่อารามแห่งเดิมนั้น เธอเป็นผู้มีท่วงทีงามสง่า คือการปฏิบัติในแนวทางสายกลางและเป็นผู้มีจริยาวัตรที่มั่นคงในธรรม เธอมีความสามารถในการเทศน์สอนจนสามารถเอาชนะใจผู้ฟังได้ดี ระหว่างปลายปีรัชกาลเสียนคัง ในราชวงศ์จิ้น(พ.ศ.878-885)พระสมณะเซิงเจี้ยน ได้รับคัมภีร์ต้นฉบับมหาสังฆิกภิกษุณีกรรม และ ภิกษุณีปราติโมกข์ มาจากอาณาจักรง้วยสี และได้แปล(จากภาษาสันสกฤต)เป็นภาษาจีน ในวันที่8 เดือน2 ปีที่1 ในปีรัชกาลเซิงผิง(พ.ศ.900-904)ในเมืองลั่วหยาง พระอาจารย์ชาวต่างประเทศคือ พระสมณะธรรมคุปต์ได้กำหนดเขตสีมา ศีลมณฑล เพื่อการบรรพชาอุปสมบทภิกษุณีขึ้น แต่พระอาจารย์จีนชื่อ สมณะซือเต้าฉาง โต้แย้ง โดยอ้างว่าการกระทำดังกล่าวไม่ถูกต้องตามพระวินัยบัญญัติดังปรากฏในวินัยสูตร ดังนั้น จึงได้ตระเตรียมเรือลอยกลางแม่น้ำซื่อ จิ้งเจี่ยน พร้อมผู้หญิงอีก3คนจึงขึ้นไปบนเรือนั้น และได้รับศีลภิกษุณีจากพระภิกษุ นับเป็นหญิงจีนคนแรกที่ได้รับการบรรพชาอุปสมบทเป็นภิกษุณีในประเทศจีน.

ดู สามเณรและภิกษุณีในประเทศจีน

มหานิกาย

มหานิกาย เป็นคำเรียกนิกาย หรือคณะของพระสงฆ์ไทยสายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทย เป็นฝ่ายคันถธุระ เดิมนั้น คำเรียกแบ่งแยกพระสงฆ์สายเถรวาทในประเทศไทยออกเป็นมหานิกายและธรรมยุติกนิกายยังไม่มี เนื่องจากคณะพระสงฆ์ไทยในสมัยโบราณ ก่อนหน้าที่จะมีการจัดตั้งคณะธรรมยุตขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ไม่มีการแบ่งแยกออกเป็นนิกายต่าง ๆ โดยส่วนใหญ่พระสงฆ์ไทยนั้นล้วนแต่เป็นเถรวาทสายลังกาวงศ์ทั้งสิ้น จนเมื่อพระวชิรญาณเถระ หรือเจ้าฟ้ามงกุฏ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4) ได้ก่อตั้งนิกายธรรมยุตขึ้นในปี พ.ศ.

ดู สามเณรและมหานิกาย

มาริโอ้ เมาเร่อ

มาริโอ้ เมาเร่อ (Mario Maurer) ชื่อเล่น โอ้ เกิดเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2531 เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่อายุ 16 ปี โดยได้รับการติดต่อจากโมเดลลิ่งในสยามสแควร์ โดยเริ่มจากงานถ่ายแบบ ถ่ายโฆษณา เช่น โฆษณาเอ็กซิท โรลออน ขนมแจ็ค เดอะพิซซ่าคอมปานี และยังได้ถ่ายแบบอยู่เรื่อยมา อย่าง เธอกับฉัน และหนังสือวัยรุ่นอีกหลายเล่มและถ่ายมิวสิกวิดีโอ อีกหลายตัวเช่น กุญแจที่หายไป ของ ปาล์มมี่, ปากดีขี้เหงาเอาแต่ใจ ของ มิล่า เป็นต้น จนในปี 2550 มีผลงานสร้างชื่อจากภาพยนตร์ไทยเรื่อง รักแห่งสยาม ซึ่งจากบทบาท "โต้ง" ใน รักแห่งสยาม นี้ มาริโอ้ได้รับรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม จากนิตยสารสตาร์พิกส์ รับรางวัลจากเทศกาลหนังซีเนมะนิลา ที่จัดขึ้นที่ประเทศฟิลิปปินส์ สาขานักแสดงชายยอดเยี่ยม ประเภทภาพยนตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงจาก รางวัลเอเชียนฟิล์ม สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม อีกทั้งยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิงครั้งที่ 16 ประจำปี 2550 ในสาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม และรางวัลสตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส ครั้งที่ 6 ในสาขาผู้แสดงนำชายยอดเยี่ยม มาริโอ้ได้ร่วมงานกิจกรรมการกุศลอยู่หลายครั้ง รวมถึงยังเป็นพรีเซนเตอร์ ในวันงดสูบบุหรี่โลก ประจำปี..

ดู สามเณรและมาริโอ้ เมาเร่อ

มิตร ชัยบัญชา

มิตร ชัยบัญชา (28 มกราคม พ.ศ. 2477 - 8 ตุลาคม พ.ศ. 2513) หรือชื่อจริง พันจ่าอากาศโท พิเชษฐ์ ชัยบัญชา (นามสกุลเดิม พุ่มเหม) เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงปล..

ดู สามเณรและมิตร ชัยบัญชา

รูป (ศาสนาพุทธ)

รูปในทางพุทธศาสนา มีหลายความหมาย ดังนี้.

ดู สามเณรและรูป (ศาสนาพุทธ)

ลงโบสถ์

ลงโบสถ์ หมายถึงการลงไปทำกิจวัตรประจำวันคือทำวัตรเช้าและทำวัตรเย็นพร้อมกันที่อุโบสถของภิกษุสามเณร เช่นใช้ว่า "การลงโบสถ์ถือเป็นกิจประจำของพระสงฆ์ เพราะเหมือนกับได้เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าอย่างที่เคยปฏิบัติมาในครั้งพุทธกาล" ลงโบสถ์ ในสำนวนไทยถูกใช้ในความหมายทำนองว่าเข้ากันไม่ได้หรือไม่ลงรอยกันเช่นใช้ว่า "ตอนนี้พวกเขาไม่ลงโบสถ์กันเสียแล้ว" "จะลงโบสถ์กันได้อย่างไร ทะเลาะกันบ่อยออกปานนั้น".

ดู สามเณรและลงโบสถ์

วัด

วัด, อาวาส หรือ อาราม คือคำเรียก ศาสนสถานของศาสนาพุทธในประเทศไทย กัมพูชา และลาว เป็นที่อยู่ของภิกษุ และประกอบศาสนกิจของพุทธศาสนิกชน ภายในวัดมีวิหาร อุโบสถ ศาลาการเปรียญ กุฎิ เมรุ ซึ่งใช้สำหรับประกอบศาสนพิธีต่าง ๆ เช่น การเวียนเทียน การสวดมนต์ การทำสมาธิ วัดโดยส่วนใหญ่นิยมแบ่งเขตภายในวัดออกเป็นสามส่วนคือ พุทธาวาส สังฆาวาส และสัตวาส โดยส่วนพุทธาวาสจะเป็นที่ตั้งของสถูปเจดีย์ อุโบสถ สถานที่ประกอบกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา ส่วนสังฆาวาส จะเป็นส่วนกุฎิสงฆ์สำหรับภิกษุสามเณรจำพรรษา ส่วนสัตวาสเป็นส่วนที่อนุญาตให้พุทธศาสนิกชนนำสัตว์เลี้ยงมาปล่อยเพื่อให้วัด และพระภิกษุสงฆ์สามเณรได้เลี้ยงดู และในปัจจุบันแทบทุกวัดจะเพิ่มส่วนฌาปนสถานเข้าไปด้วย เพื่อประโยชน์ในด้านการประกอบพิธีทางศาสนาของชุมชน เช่น การฌาปนกิจศพ โดยในอดีตส่วนนี้จะเป็นป่าช้า ซึ่งอยู่ติดหรือใกล้วัด ตามธรรมเนียมของแต่ละท้องถิ่น ซึ่งส่วนใหญ่กลุ่มฌาปนสถานในวัดพุทธศาสนาในประเทศไทยจะตั้งอยู่บนพื้นที่ ๆ เป็นป่าช้าเดิม.

ดู สามเณรและวัด

วัดสนามใน

วัดสนามใน เป็นวัดไทย ตั้งอยู่เลขที่ 27 หมู่ 4 ตำบลวัดชลอ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี มีหลวงพ่อทอง อาภากโร เป็นเจ้าอาว.

ดู สามเณรและวัดสนามใน

วัดหนองป่าพง

วัดหนองป่าพง (วัดป่าพง; Wat Nong Pah Pong) เป็นวัดป่าฝ่ายอรัญวาสี มีจุดเริ่มต้นเมื่อปี..

ดู สามเณรและวัดหนองป่าพง

วัดทุ่งเศรษฐี (อุตรดิตถ์)

วัดทุ่งเศรษฐี หรือ วัดห้วยบง ตั้งอยู่ที่ หมู่ 7 บ้านห้วยบง ตำบลป่าเซ่า อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ห่างจากตัวอำเภอ 12 กิโลเมตร มีชื่อเดิมว่า "วัดห้วยบง" วัดทุ่งเศรษฐี มีฐานะเป็นวัดที่ยังไม่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา (ยังไม่มีอุโบสถ) สังกัดสังกัดการปกครองคณะสงฆ์มหานิกาย ภาค 4 ตัววัดมีความร่มรื่นและเงียบสงบ วัดนี้ตั้งอยู่ริมบึงทุ่งกะโล่ แหล่งกักเก็บน้ำตามธรรมชาติขนาดใหญ่ของจังหวัดอุตรดิตถ์ จากตัววัดสามารถมองเห็นทัศนียของบึงทุ่งกะโล่ได้ชัดเจน.

ดู สามเณรและวัดทุ่งเศรษฐี (อุตรดิตถ์)

วัดคุ้งตะเภา

วัดคุ้งตะเภา เป็นวัดโบราณในเขตการปกครองของคณะสงฆ์มหานิกาย และเป็น 1 ใน 9 วัดศักดิ์สิทธิ์สำคัญของจังหวัดอุตรดิตถ์ ตั้งอยู่ที่ หมู่บ้านคุ้งตะเภา ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ใกล้กับจุดตัดสี่แยกคุ้งตะเภา บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลขที่ 11 (ถนนสายเอเชีย) วัดคุ้งตะเภา เป็นวัดโบราณมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี และได้รับสถาปนาขึ้นใหม่ในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมื่อปีขาล โทศก จุลศักราช 1132 อันเป็นปีที่พระองค์เสด็จขึ้นมาปราบปรามชุมนุมเจ้าพระฝางเมืองสวางคบุรี และประทับชำระคณะสงฆ์ จัดการหัวเมืองฝ่ายเหนือใหม่ตลอดฤดูน้ำ ดังปรากฏหลักฐานในพระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ซึ่งวัดคุ้งตะเภา เป็นเพียงวัดแห่งเดียวในปริมณฑลเมืองพิชัยและสวางคบุรี ที่ปรากฏหลักฐานการสถาปนาวัดในปีนั้น ตำนานวัดเล่าสืบกันมานับร้อยปีว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ผู้คนย้ายกลับมาตั้งครัวเรือน สร้างวัดและศาลาการเปรียญขึ้นใหม่ ณ ริมคุ้งสำเภา พร้อมทั้งตรัสเรียกชื่อวัดที่ตั้งขึ้นใหม่นี้ว่า "วัดคุ้งตะเภา" ปัจจุบันทางราชการได้นำชื่อคุ้งตะเภาไปใช้ตั้งเป็นชื่อหมู่บ้านและชื่อตำบลคุ้งตะเภาสืบมาจนปัจจุบัน วัดแห่งนี้เป็นวัดที่เก่าแก่ที่สุดในเขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภา เคยเป็นวัดที่สถิตย์ของพระครูสวางคมุนี เจ้าคณะใหญ่เมืองฝางมาตั้งแต่โบราณ โดยเป็นวัดที่เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ และสองพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นที่เคารพศรัทธายิ่งของชาวตำบลคุ้งตะเภา ซึ่งพระพุทธรูปทั้งสององค์นั้นจัดได้ว่าเป็น 2 ใน 9 พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์สำคัญคู่บ้านคู่เมืองอุตรดิตถ์ คือ พระพุทธสุวรรณเภตรา และ พระพุทธสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนี ปัจจุบันวัดคุ้งตะเภาเป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง เป็นสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ 3 (สำนักปฏิบัติธรรมภายใต้การกำกับของมหาเถรสมาคม)หนังสือสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ที่ พศ ๐๐๐๙/๐๕๓๖๕ เรื่อง แจ้งมติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๙ เรื่อง ขออนุมัติจัดตั้งสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ ๓ วัดคุ้งตะเภา ลงวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๙มติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๙ วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๙ สำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม มติที่ ๓๓๘/๒๕๕๙ เรื่อง ขออนุมัติจัดตั้งสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ ๓ และเป็นวัดประจำตำบลที่มีสถิติพระภิกษุสามเณรจำพรรษามากที่สุดในตำบลคุ้งตะเภา เป็นศูนย์กลางทางด้านศาสนศึกษาของคณะสงฆ์และคฤหัสถ์ในเขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภาโดยพฤตินัย โดยเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่มูลนิธิ ๒๕๐ ปี วัดคุ้งตะเภา ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ สำนักเลขานุการรองเจ้าคณะอำเภอเมืองอุตรดิตถ์ฝ่ายการศึกษาคณะสงฆ์ สำนักศาสนศึกษาประจำตำบล และหน่วยอบรมประชาชนประจำตำบลคุ้งตะเภา (อปต.) ซึ่งเป็นหน่วยอบรมฯ ที่มีผลงานดีเด่นระดับจังหวัดอุตรดิตถ์ โดยมี พระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ (แสงสิน) เป็นเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภา (จร.).

ดู สามเณรและวัดคุ้งตะเภา

วัดไผ่ล้อม (จังหวัดแพร่)

วัดไผ่ล้อม ตั้งอยู่เลขที่ 173 หมู่ที่ 1 ตำบลหัวทุ่ง อำเภอลอง จังหวัดแพร่ มีฐานะเป็นวัดราษฎร์ สังกัดการปกครองคณะสงฆ์มหานิกาย ภาค 6.

ดู สามเณรและวัดไผ่ล้อม (จังหวัดแพร่)

วันเข้าพรรษา

ประกอบความดีในช่วงนี้อีกด้วย วันเข้าพรรษา (บาลี: วสฺส, สันสกฤต: วรฺษ, Vassa, เขมร: វស្សា, พม่า: ဝါဆို) เป็นวันสำคัญในพุทธศาสนาวันหนึ่งที่พระสงฆ์เถรวาทจะอธิษฐานว่าจะพักประจำอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่งตลอดระยะเวลาฤดูฝนที่มีกำหนดระยะเวลา 3 เดือนตามที่พระธรรมวินัยบัญญัติไว้ โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่น หรือภาษาปากว่า จำพรรษา ("พรรษา" แปลว่า ฤดูฝน, "จำ" แปลว่า พักอยู่) การเข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระสงฆ์โดยตรง พระสงฆ์จะไม่จำพรรษาไม่ได้ เนื่องจากรูปใดไม่จำพรรษาถือว่าต้องอาบัติทุกกฏตามพระวินัย การเข้าพรรษาตามปกติเริ่มนับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ของทุกปี (หรือเดือน 8 หลัง ถ้ามีเดือน 8 สองหน) และสิ้นสุดลงในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หรือวันออกพรรษา วันเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8) หรือเทศกาลเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11) ถือว่าเป็นวันและช่วงเทศกาลทางศาสนพุทธที่สำคัญเทศกาลหนึ่งในประเทศไทย โดยมีระยะเวลาประมาณ 3 เดือนในช่วงฤดูฝน โดยวันเข้าพรรษาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่ต่อเนื่องมาจากวันอาสาฬหบูชา (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8) ซึ่งพุทธศาสนิกชนชาวไทยทั้งพระมหากษัตริย์และคนทั่วไปได้สืบทอดประเพณีปฏิบัติการทำบุญในวันเข้าพรรษามาช้านานแล้วตั้งแต่สมัยสุโขทัย สาเหตุที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตการจำพรรษาอยู่ ณ สถานที่ใดสถานที่หนึ่งตลอด 3 เดือนแก่พระสงฆ์นั้น มีเหตุผลเพื่อให้พระสงฆ์ได้หยุดพักการจาริกเพื่อเผยแพร่ศาสนาไปตามสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นไปด้วยความยากลำบากในช่วงฤดูฝน เพื่อป้องกันความเสียหายจากการอาจเดินเหยียบย่ำธัญพืชของชาวบ้านที่ปลูกลงแปลงในฤดูฝน และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ช่วงเวลาจำพรรษาตลอด 3 เดือนนั้น เป็นช่วงเวลาและโอกาสสำคัญในรอบปีที่พระสงฆ์จะได้มาอยู่จำพรรษารวมกันภายในอาวาสหรือสถานที่ใดสถานที่หนึ่ง เพื่อศึกษาพระธรรมวินัยจากพระสงฆ์ที่ทรงความรู้ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์และสร้างความสามัคคีในหมู่คณะสงฆ์ด้วย ในวันเข้าพรรษาและช่วงฤดูพรรษากาลตลอดทั้ง 3 เดือน พุทธศาสนิกชนชาวไทยถือเป็นโอกาสอันดีที่จะบำเพ็ญกุศลด้วยการเข้าวัดทำบุญใส่บาตร ฟังพระธรรมเทศนา ซึ่งสิ่งที่พิเศษจากวันสำคัญอื่น ๆ คือ มีการถวายหลอดไฟหรือเทียนเข้าพรรษา และผ้าอาบน้ำฝน (ผ้าวัสสิกสาฏก) แก่พระสงฆ์ด้วย เพื่อสำหรับให้พระสงฆ์ได้ใช้สำหรับการอยู่จำพรรษา โดยในอดีต ชายไทยที่เป็นพุทธศาสนิกชนเมื่ออายุครบบวช (20 ปี) จะนิยมถือบรรพชาอุปสมบทเป็นพระสงฆ์เพื่ออยู่จำพรรษาตลอดฤดูพรรษากาลทั้ง 3 เดือน โดยพุทธศาสนิกชนไทยจะเรียกการบรรพชาอุปสมบทเพื่อจำพรรษาตลอดพรรษากาลว่า "บวชเอาพรรษา" นอกจากนี้ ในปี พ.ศ.

ดู สามเณรและวันเข้าพรรษา

วินัยมุข

วินัยมุข เป็นชื่อหนังสือที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส วัดบวรนิเวศวิหาร ทรงรจนาไว้ เป็นหนังสือที่ว่าด้วยแนวทางแห่งการศึกษาและปฏิบัติพระวินัยให้สำเร็จประโยชน์ คณะสงฆ์ใช้หนังสือวินัยมุขป็นหลักสูตรสำหรับศึกษาวิชาวินัยของภิกษุสามเณรตลอดมาจนถึงปัจจุบัน แบ่งออกเป็น 3 เล่ม คือ เล่ม 1 เป็นหลักสูตรนักธรรมตรี ว่าด้วยเรื่องสิกขาบทหรือศีล 227 ข้อของภิกษุ เล่ม 2 เป็นหลักสูตรนักธรรมชั้นโท ว่าด้วยเรื่องกายบริหาร บริขาร นิสัย วัตร เป็นต้น เล่ม 3 เป็นหลักสูตรนักธรรมเอก ว่าด้วยเรื่องสังฆกรรม สีมา กฐิน เป็นต้น.

ดู สามเณรและวินัยมุข

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑.

ดู สามเณรและศาสนาพุทธ

ศาสนาพุทธในประเทศไทย

ระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 236 สมัยเดียวกันกับประเทศศรีลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ทั้ง 7 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ ตามยุคสมัยต่อไปนี้.

ดู สามเณรและศาสนาพุทธในประเทศไทย

ศาสนาพุทธในเกาหลี

ระพุทธศาสนาเริ่มเข้าสู่ประเทศเกาหลีเมื่อ พ.ศ. 915 โดยสมณทูตซุนเตา เดินทางจากประเทศจีนแผ่นดินใหญ่เข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในอาณาจักรโคกูรยอ คือ ประเทศเกาหลีในปัจจุบัน พระพุทธศาสนาได้ขยายเข้ามาในเกาหลีอย่างรวดเร็ว เพียงระยะเวลา 20 ปี ก็มีการสร้างวัดขึ้นมากมาย เฉพาะเมืองหลวงแห่งเดียว 9 วัด ประเทศเกาหลีในสมัยก่อนนั้นประกอบด้วย 3 อาณาจักรคือ โคกูรยอ แพ็กเจ และชิลลา แต่ผู้นำทั้ง 3 อาณาจักรก็นับถือพระพุทธศาสนา และให้การสนับสนุนกิจการต่าง ๆ อันที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาเสมอ และที่สำคัญได้ทรงถือว่าพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ เพราะคำสอนของพระพุทธศาสนาเป็นสิ่งที่ส่งเสริม และให้การศึกษาแก่ประชาชน และเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชน พร้อมทั้งสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นในชาติ พระพุทธศาสนาจึงมีความเจริญรุ่งเรืองตลอดม.

ดู สามเณรและศาสนาพุทธในเกาหลี

สบง

ง คือผ้านุ่งของภิกษุสามเณร คำวัดเรียกว่า อันตรวาสก สบง เป็นผ้าผืนหนึ่งในจำนวน 3 ผืนหรือ ไตรจีวรของพระสงฆ์ ซึ่งได้แก่ จีวร (ผ้าห่ม) สบง (ผ้านุ่ง) สังฆาฏิ (ผ้าซ้อน) สบง เป็นผ้าสี่เหลี่ยมเหมือนผ้าขาวม้า ขนาดกลางกว้าง 91.44 เซนติเมตร ยาว 283.84 เซนติเมตรโดยประมาณ เล็กใหญ่กว่านั้นบ้าง ในพระวินัยกำหนดการนุ่งไว้คือ ด้านบนนุ่งปิดสะดือ แต่ไม่ถึงกระโจมอก ด้านล่างปิดหัวเข่าทั้งสองลงมาเพียงครึ่งแข้ง ไม่ถึงกรอมข้อเท้า นุ่งอย่างนี้เรียกว่า นุ่งเป็นปริมลฑล.

ดู สามเณรและสบง

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร

นายร้อยโท สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร หรือ สมเด็จพระบรมราชปิตุลาธิบดี เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ (27 มิถุนายน พ.ศ.

ดู สามเณรและสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)

ตราจารย์พิเศษ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ นามเดิม ประยุทธ์ อารยางกูร ฉายา ปยุตฺโต หรือที่รู้จักกันดีทั่วไปในนามปากกา "ป.

ดู สามเณรและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)

สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)

มเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม เจริญ คชวัตร ฉายา สุวฑฺฒโน (3 ตุลาคม พ.ศ. 2456 – 24 ตุลาคม พ.ศ.

ดู สามเณรและสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)

สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์ ธมฺมธโร)

มเด็จพระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์ ธมฺมธโร) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร นอกจากนี้ยังเคยดำรงตำแหน่งสำคัญในคณะสงฆ์ เช่น ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช สังฆมนตรี รองประธานสังฆสภา กรรมการมหาเถรสมาคม เป็นต้น.

ดู สามเณรและสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์ ธมฺมธโร)

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส

มเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 7 แห่งอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์) และเป็นพระราชวงศ์พระองค์แรกที่ทรงได้รับสถาปนาให้ดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช นอกจากนี้ยังเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์แรกที่ประสูติในสมัยรัตนโกสินทร์อีกด้วย ทรงสถิต ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ดำรงสมณศักดิ์เมื่อปี..

ดู สามเณรและสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

มหาอำมาตย์ตรี พันเอกพิเศษ จอมพลเรือ นายกองเอกเสือป่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (1 มกราคม พ.ศ.

ดู สามเณรและสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม อัมพร ประสัตถพงศ์ ฉายา อมฺพโร เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 20 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โดยทรงเริ่มดำรงตำแหน่งในวันที่ 12 กุมภาพัน..

ดู สามเณรและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร)

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม แพ ฉายา ติสฺสเทโว เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 12 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู สามเณรและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)

สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (นาค)

มเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (นาค) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 6 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดราชบุรณราชวรวิหาร ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ.

ดู สามเณรและสมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (นาค)

สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา

ลเรือเอก สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประสูติเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สามเณรและสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา

สังฆทาน

ังฆทาน (สงฺฆทาน) เป็นศัพท์ในพระสูตร เป็นชื่อเรียกการถวายทานแก่พระสงฆ์อย่างหนึ่ง ที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่ามีอานิสงส์มาก ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ใน ทักขิณาวิภังคสูตร ว่าการถวายสังฆทานแก่คณะพระสงฆ์ มีอานิสงส์มากกว่าการถวายทานเฉพาะเจาะจงแก่พระพุทธเจ้า แม้ยังทรงพระชนม์อยู่ การถวายสังฆทานนั้น เข้าใจกันโดยทั่วไปว่าคือการนำถังใส่จตุปัจจัยสีเหลืองไปถวายแก่พระสงฆ์รูปใดรูปหนึ่งหรือหลายรูปเท่านั้น แต่ความจริงแล้วสังฆทานอาจหมายถึงการถวายปัจจัยวัตถุใด ๆ ก็ได้ ที่เป็นประโยชน์แก่คณะสงฆ์โดยส่วนรวม เช่นการถวายกุฏิวิหาร หนังสือ ปากกา จาน หรือ แม้กระทั่งไม้กวาด แม้จะกล่าวคำถวายหรือไม่กล่าว หรือกล่าวคำถวายเป็นอย่างอื่น แต่อาการแห่งการถวายเป็นการอุทิศให้แก่สงฆ์ เพื่อประโยชน์แก่สงฆ์ ก็จัดเป็นสังฆทานได้ ทานพิธีที่มีชื่อเรียกอย่างอื่น ที่เข้าลักษณะของสังฆทาน ก็จัดว่าเป็นสังฆทานได้ เช่น การตักบาตร การถวายผ้ากฐิน การถวายผ้าป่า เป็นต้น.

ดู สามเณรและสังฆทาน

สิกขา

กขา สิกขาบท หมายถึง ข้อที่จะต้องศึกษา ข้อที่ต้องปฏิบัติ ในทางศาสนาหมายถึง ศีล สมาธิ ปัญญา ในคำไทยนำมาใช้ว่า ศึกษา หมายถึงการเล่าเรียน หรือพูดซ้ำว่า การศึกษาเล่าเรียน สิกขาบท หมายถึงข้อศีล ข้อวินัย คือศีลแต่ละข้อ วินัยแต่ละข้อ เช่นศีลของสามเณรมี ๑๐ ข้อ เรียกว่ามี ๑๐ สิกขาบท ศีลของพระภิกษุ มี ๒๒๗ ข้อ เรียกว่ามี ๒๒๗ สิกขาบท.

ดู สามเณรและสิกขา

สุขาวดี (นิกาย)

ระอมิตาภพุทธะและพระโพธิสัตว์ 2 องค์คือพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ (ขวา) และพระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์ (ซ้าย) ในวัดใกล้กับเมือง Meinong, มณฑลเกาสง, ไต้หวัน นิกายสุขาวดี (浄土教, Jōdokyō; 정토종, jeongtojong; Tịnh Độ Tông) เป็นนิกายในศาสนาพุทธที่ตั้งขึ้นครั้งแรกในประเทศจีน แม้จะมีกำเนิดมาจากพระสูตรที่มาจากประเทศอินเดีย แต่ในอินเดียไม่ได้เป็นนิกายเอกเทศ นิกายนี้พระฮุ่นเจียงตั้งขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 9 สมัยราชวงศ์ตั้งจิ้น คำสอนของท่านเน้นการเจริญพุทธสติถึงพระอมิตาภพุทธะและปรารถนาไปเกิดในแดนสุขาวดี ในจีนเรียกนิกายนี้ว่า นิกายวิสุทธิภูมิ (จิ้งถู่จง).

ดู สามเณรและสุขาวดี (นิกาย)

สถาบันภาษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ันภาษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหน่วยงานภายในของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่มีสถานะเทียบเท่าคณะ ตั้งขึ้นเพื่อให้การศึกษา ฝึกอบรม ค้นคว้า วิจัยและให้บริการด้านภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ.

ดู สามเณรและสถาบันภาษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ส้วมในประเทศไทย

้วมชักโครกของส้วมสาธารณะ ในประเทศไทย ส้วมในประเทศไทย มีมาแต่โบราณ โดยในสมัยก่อน ผู้ที่ใช้ส้วมแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ กลุ่มของกษัตริย์ เจ้านาย ขุนนางและผู้มีฐานะดี กลุ่มของพระที่อยู่ภายใต้พระธรรมวินัย กลุ่มของชาวบ้านที่เป็นคนส่วนใหญ่ในสังคม โดยกลุ่มชาวบ้านมักจะไปถ่ายทุกข์ตามที่เหมาะ ๆ เนื่องจากยังไม่มีส้วมใช้ จนกระทั่งในปี พ.ศ.

ดู สามเณรและส้วมในประเทศไทย

หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)

ลตรี หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ, ชื่อเดิม กิมเหลียง วัฒนปฤดา 金良 แต่มิได้มีเชื้อจีนแต่ประการใด) เป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ นักคิด นักพูด นักเขียนคนสำคัญของไทย บุตรนายอิน และนางคล้าย เกิดเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ.

ดู สามเณรและหลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)

หลวงปู่ฝั้น อาจาโร

หลวงปู่ฝั้น อาจาโร เป็นพระเถระในสายพระป่าในประเทศไท.

ดู สามเณรและหลวงปู่ฝั้น อาจาโร

หนังสือเดินทางไทย

หนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ประเภทธรรมดา หนังสือเดินทางไทย เป็นหนังสือเดินทางที่ออกให้เฉพาะประชาชนไทยเท่านั้นราชกิจจานุเบกษ.

ดู สามเณรและหนังสือเดินทางไทย

ห่มดอง

ห่มดอง คือการห่มผ้าของพระสงฆ์แบบหนึ่งโดยห่มเฉวียงบ่าคือเปิดบ่าขวา ปิดบ่าซ้าย พาดสังฆาฏิ แล้วคาดอกด้วยผ้ารัดอก การห่มดองถือว่าเป็นการนุ่งห่มของพระธรรมยุตินิกาย แต่ปัจจุบันเป็นการห่มครองที่นิยมในกลุ่มพระฝ่ายมหานิกายมากกว่า ฝ่ายธรรมยุติไม่ใคร่นิยมแล้ว นิยมห่มในภาคเหนือของประเทศ (อาจจะเพราะครูบาศรีวิชัยซึ่งเป็นที่ศรัทธาของชาวล้านนาห่มดอง)และวัดที่เป็นสำนักเรียนส่วนใหญ่จะกำหนดให้พระและสามเณรนุ่มห่มเพื่อให้ไปในแนวทางเดียวกัน อาจเพราะเนื่องจากมีสามเณรเป็นจำนวนมาก ซึ่งการห่มดองไม่หลุดง่าย บางท้องที่ถือว่าเป็นการห่มของของสามเณร ไม่ใช่การห่มของพระก็มี ปัจจุบันมหาวิทยาลัยสงฆ์ทั้งสองแห่งจะกำหนดให้พระนิสิตนุ่มห่มเมื่อมามหาวิทยาลัย แม้แต่กลุ่มวัดพระธรรมกาย ก็ยึดถือเป็นการห่มที่กลุ่มสาขาต้องห่มเหมือนกัน และยังส่งเสริมให้พระสงฆ์ในประเทศห่มอีกด้วย รูปปั้นพระสีวลีปางเดินธุดงค์ส่วนมากจะนุ่มห่มดองเช่นกัน และมีพระธุดงค์บางกลุ่มนิยมห่ม เมื่อออกเดินธุดงค์โดยจะถือเป็นสัญญลักษณ์หรือธรรมเนียมของกลุ่ม เช่น วัดศีรีล้อม ถ้ำนิรภัย (สำนักท่องปาฏิโมกข์ อำเภอตากฟ้า นครสวรรค์).

ดู สามเณรและห่มดอง

อังสะ

อังสะ คือผ้าที่ภิกษุสามเณรสวมเฉวียงบ่า เรียกว่า ผ้าอังสะ อังสะ เป็นผ้าที่มีลักษณะเหมือนสไบเฉียงของผู้หญิง คือมีบ่าด้านเดียว เย็บติดกันด้านหนึ่ง อีกด้านหนึ่งติดกระดุมบ้าง ติดสายสำหรับผูกให้กระชับในเวลาสวมบ้าง ติดกระเป๋าไว้ด้านหน้าบ้าง ด้านที่เย็บติดกันบ้าง เวลาใช้ สวมปืดบ่าซ้าย เปิดบ่าขวา อังสะ มีคติเหมือนเสื้อกล้ามหรือเสื้อชั้นใน ใช้สวมใส่ขณะอยู่ตามลำพังหรือทำงานเพื่อไม่ให้ดูเปลือยกายท่อนบน สมัยพุทธกาลไม่ปรากฏว่ามีการใช้ผ้าอังสะ แม้ในประเทศไทย พระสงฆ์สมัยเก่าก็ไม่นิยมสวมอังสะ คงถือคติแบบชายไทยสมัยโบราณที่ไม่นิยมสวมเสื้อเวลาอยู่ตามลำพัง อังสะ มิใช่บริขารของภิกษุ สามเณรแต่เดิม เป็นของภิกษุณี สามเณรี และสิกขมานาเนื่องจากเป็นสตรีจึงต้องมีเสื้อหรืออังสะใส่เพื่อปกปิดถันเอาไว้ และยังมีผ้าพันถัน รวมถึงผ้านิสีทนะผ้า3ชาย (ที่มักอธิบายกันว่าเป็นผ้าปูนั่งหรือสันถัต) นุ่งเช่นเดียวกับผ้าเตี่ยว (เหมือนกางเกงใน) เมื่อมีประจำเดือนจะใช้ห่อผ้าซับเลือด (ดุจผ้าอนามัยสมัยนี้).

ดู สามเณรและอังสะ

อุปสมบท

อุปสมบท (อ่านว่า อุปะ-, อุบปะ-) แปลว่า การเข้าถึง คือการบวช เป็นศัพท์เฉพาะในศาสนาพุทธ ใช้หมายถึงการบวชเป็นภิกษุและภิกษุณี เรียกเต็มว่า อุปสมบทกรรม อุปสมบทเป็นสังฆกรรมอย่างหนึ่ง ในพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าทรงวางหลักเกณฑ์และระเบียบปฏิบัติไว้รัดกุมและละเอียดมากโดยทรงบัญญัติให้สวดอนุสาวนาไม่ต้องระบุนามแต่ระบุเพียงโคตร (สกุล) ได้และสวดประกาศครั้งละ 2-3 รูปได้โดยมีอุปัชฌายะ และทรงอนุญาตให้นับอายุผู้บวชว่าครบ 20 ปี โดยคิดตั้งแต่อยู่ในครรภ์ ทั้งนี้เพื่อให้ได้ศาสนทายาทที่ดีไว้สืบสานพระพุทธศาสนา ในประเทศไทยจะถือเป็นประเพณีเลยว่า ลูกชายของครอบครัวเป็นพุทธต้องบวชสักครั้งในชีวิตเพื่อให้แม่เกาะชายผ้าเหลือง ชดใช้ค่าน้ำนม อันเป็นสืบต่ออายุพระพุทธศาสนาโดยเปลี่ยนจากผู้นับถือพระรัตนตรัยขึ้นไปเป็นส่วนหนึ่งของพระรัตนตรั.

ดู สามเณรและอุปสมบท

อุปปถกริยา

อุปปถกริยา คือ การกระทำนอกรีตนอกรอยของพระภิกษุสามเณรมี 3 ประเภท ได้แก.

ดู สามเณรและอุปปถกริยา

จักรพรรดิหงอู่

มเด็จพระจักรพรรดิหงอู่ (21 ตุลาคม พ.ศ. 1871 – 24 มิถุนายน พ.ศ. 1941) คือจักรพรรดิพระองค์แรกแห่งราชวงศ์หมิงของจีน.

ดู สามเณรและจักรพรรดิหงอู่

จังหวัดอุตรดิตถ์

ังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมสะกดว่า อุตรดิฐ เป็นจังหวัดหนึ่งตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ได้ชื่อว่าเมืองท่าแห่งทิศเหนือ ตำนานอันลึกลับของเมืองลับแล ดินแดนแห่งลางสาดหวานหอม อุตรดิตถ์เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มายาวนาน โดยมีการค้นพบหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เดิมทีตัวเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบันนี้เป็นเพียงตำบลชื่อ "บางโพธิ์ท่าอิฐ" แต่เพราะบางโพธิ์ท่าอิฐซึ่งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำน่านมีความเจริญรวดเร็ว เพราะเป็นท่าเรือขนถ่ายสินค้าสำคัญในหัวเมืองฝ่ายเหนือ ดังนั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ย้ายเมืองหลักมาจากเมืองพิชัยมายังตำบลบางโพธิ์ท่าอิฐ และยกฐานะขึ้นเป็นเมือง "อุตรดิตถ์" ซึ่งมีความหมายว่า ท่าน้ำแห่งทิศเหนือของสยามประเทศ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 เมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้น เมืองอุตรดิตถ์จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด จังหวัดอุตรดิตถ์ตั้งอยู่ทางใต้สุดของภาคเหนือตอนล่าง โดยสภาพภูมิศาสตร์จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่สูงสลับซับซ้อน ซึ่งจะอยู่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด เนื่องจากทำเลที่ตั้งดังกล่าวจึงทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีอากาศค่อนข้างร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน มีอากาศฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูฝน และมีช่วงฤดูแล้งคั่นอยู่อย่างชัดเจนตั้งแต่ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤษภาคม เดือนที่ร้อนที่สุดคือเดือนเมษายน จังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงใต้ปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลอันดามัน ทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกันยายน โดยเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยสูงที่สุด ประชากรส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 99.66 นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 26.70 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ รวมทั้งมีการทำพืชไร่ปลูกผลไม้นานาชนิด โดยผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดอุตรดิตถ์คือลางสาด ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดอุตรดิตถ์สามารถใช้เส้นทางได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ ทางรถโดยสารประจำทาง และทางรถยนต์ส่วนบุคคล สำหรับการเดินทางโดยเครื่องบิน จังหวัดอุตรดิตถ์เคยมีท่าอากาศยาน 1 แห่ง สำหรับการเดินทางพาณิชย์ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น วัดพระแท่นศิลาอาสน์ วัดพระฝางสว่างคบุรีมุนีนาถ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรสุโขทัย แหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน และแหล่งท่องเที่ยวอีกมากมาย ทั้งน้ำตก เขื่อนสิริกิติ์ วัด พระพุทธรูปสำคัญของจังหวัด เป็นต้น.

ดู สามเณรและจังหวัดอุตรดิตถ์

จำลอง สารพัดนึก

ร.จำลอง สารพัดนึก ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.จำลอง สารพัดนึก เกิดเมื่อเดือนธันวาคม..

ดู สามเณรและจำลอง สารพัดนึก

จุ๋มจิ๋ม เข็มเล็ก

๋มจิ๋ม เข็มเล็ก หรือชื่อจริง สมศักดิ์ หมีพุฒ เป็นอดีตนักแสดงตลกร่างอ้วนชาวไทย เกิดเมื่อ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู สามเณรและจุ๋มจิ๋ม เข็มเล็ก

จตุปัจจัย

ปัจจัย ในคำวัดหมายถึงเครื่องอาศัยของบรรพชิต คือสิ่งของเครื่องใช้ที่จำเป็นสำหรับดำรงชีพของภิกษุสามเณร เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า นิสสัย มีสี่อย่างจึงได้ชื่อว่า จตุปัจจัย หรือปัจจั.

ดู สามเณรและจตุปัจจัย

ธรรมยุติกนิกาย

ตราคณะธรรมยุต ธรรมยุติกนิกาย หรือ คณะธรรมยุต เป็นคณะสงฆ์ที่พระวชิรญาณเถระทรงตั้งขึ้นเพื่อฟื้นฟูศาสนาพุทธในสยาม และแก้ไขวัตรปฏิบัติให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัย เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวผนวชอยู่นั้น ได้ทรงศึกษาพระไตรปิฎกอย่างแตกฉานทำให้มีพระวิจารณญาณเกี่ยวกับความเป็นมาของพระพุทธศาสนา และความประพฤติปฏิบัติของพระภิกษุสามเณรได้อย่างละเอียดถี่ถ้วน เป็นเหตุให้มีพระราชดำริในอันที่จะฟื้นฟูการสั่งสอนพระพุทธศาสนา และการประพฤติปฏิบัติของพระสงฆ์ให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัยตามที่ได้ทรงศึกษา และทรงพิจารณาสอบสวนจนเป็นที่แน่แก่พระราชหฤทัยว่าถูกต้องเป็นจริงอย่างไร แล้วพระองค์ได้ทรงนำประพฤติปฏิบัติขึ้นก่อน หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือ ทรงเริ่มแก้ไขที่พระองค์เองเป็นอันดับแรก ต่อมาเมื่อมีบุคคลอื่นเห็นชอบและนิยมตาม จึงได้มีผู้ประพฤติปฏิบัติตามอย่างพระองค์ขึ้น และมีจำนวนมากขึ้นเป็นลำดับ จนเกิดเป็นพระสงฆ์หมู่หนึ่ง หรือนิกายหนึ่ง ที่ได้ชื่อในภายหลังว่า ธรรมยุติกนิกาย หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ธรรมยุต” อันมีความหมายว่า ผู้ประกอบด้วยธรรม หรือชอบด้วยธรรม หรือยุติตามธรรม ทั้งนี้ก็เพราะว่าพระสงฆ์นี้เกิดขึ้นด้วยมุ่งแสวงหาว่า ข้อใดเป็นธรรม เป็นวินัย เป็นสัตถุศาสน์ (คือคำสั่งสอนของพระศาสดา) แล้วปฏิบัติข้อนั้น เว้นข้อที่ไม่เป็นธรรม ไม่เป็นวินัย ไม่เป็นสัตถุศาสน์ แม้จะเป็นอาจินปฏิบัติ (ข้อปฏิบัติตามกันมาแต่ผิดพระธรรมวินัย) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการ ให้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลักษณะการปกครองคณะสงฆ์ขึ้น เป็นครั้งแรกในประเทศไทย พระราชบัญญัติฉบับนี้มีชื่อว่า พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ร.ศ.

ดู สามเณรและธรรมยุติกนิกาย

ธรรมาสน์

ระเทศน์บนธรรมาสน์ ธรรมาสน์ คือที่สำหรับพระภิกษุสามเณรนั่งแสดงธรรม ในการประกอบศาสนกิจพิธีโดยเฉพาะการแสดงพระธรรมเทศนาต่อพุทธศาสนิกชน หรือไว้สำหรับพระภิกษุสงฆ์องค์ประธานของพิธีกรรมต่างๆ ภายในสิมของภาคอีสาน หรือเป็นศาสนกิจอย่างที่เรียกว่าการสวดปาติโมกข์หรือปั่นปาติโมกข์ ซึ่งเป็นการทบทวนพระธรรมวินัยศีล 227 ข้อของพระสงฆ์ด้วยกันเอง.

ดู สามเณรและธรรมาสน์

ธรรมทาส พานิช

รรมทาส พานิช มีเดิมคือ ยี่เกย พานิช เป็นบุตรคนที่ 2 ในจำนวน 3 คน ของนายเซี้ยง นางเคลื่อน พานิช มีพี่ชายคือท่านพุทธทาสภิกขุ และน้องสาวคือ นางกิมช้อย เหมะกุล ซึ่งนายธรรมทาสเป็นบุคคลสำคัญผู้ก่อตั้งคณะธรรมทานและสวนโมกขพลาราม.

ดู สามเณรและธรรมทาส พานิช

ธารา ศรีอนุรักษ์

รา ศรีอนุรักษ์ (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518 - ปัจจุบัน) นักเขียนเรื่องสั้นชาวนครศรีธรรมราช เจ้าของนามปากกา ธาร ธรรมโฆษณ.

ดู สามเณรและธารา ศรีอนุรักษ์

ทศพล หิมพานต์

ทศพล หิมพานต์ เป็นนักร้องเพลงแหล่ที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย ด้วยการแหล่ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว โดยมีเพลงที่สร้างชื่อให้กับเขาอย่าง อาลัยเมรี ที่ได้รับการกล่าวขานมานานกว่าทศวรรษ จวบจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ เขายังเคยร่วมงานแสดงในภาพยนตร์ มนต์เพลงลูกทุ่ง เอฟ.เอ็ม.

ดู สามเณรและทศพล หิมพานต์

ทศศีล

ีล 10 หรือ ทศศีล สำหรับสามเณร แต่ผู้ใดศรัทธาจะรักษาก็ได้ หัวข้อเหมือนศีล 8 แต่แยกข้อ 7 เป็น 2 ข้อ เลื่อนข้อ 8 เป็น 9 และเติมข้อ 10 คือ.

ดู สามเณรและทศศีล

ทำวัตร

ทำวัตร หมายถึงการทำกิจที่พึงทำตามหน้าที่ หรือตามธรรมเนียม เป็นคำย่อมาจากคำว่าทำกิจวัตรประจำอันเป็นธรรมเนียมปกติ เรียกการไหว้พระสวดมนต์ของพระสงฆ์ตามปกติในตอนเช้าและตอนเย็นหรือตอนค่ำว่า ทำวัตรเช้า และ ทำวัตรเย็น การทำวัตรเช้าและทำวัตรเย็นเป็นธรรมเนียมเลียนแบบมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล ซึ่งพระสงฆ์จะเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าเพื่อรับฟังโอวาทเป็นกิจวัตรประจำวัน การทำวัตรมีจุดมุ่งหมายอย่างหนึ่งคือเพื่อเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้านั่นเอง ทำวัตร อีกความหมายหนึ่งคือการที่ภิกษุสามเณรนำธูปเทียนแพไปสักการะพระเถระผู้ใหญ่ที่เคารพนับถือในโอกาสต่างๆ เช่น เพื่อขอลาสิกขา เพื่อขอลาไปอยู่ที่อื่น เพื่อขอขมาในเทศกาลเข้าพรรษา เพื่อรายงานตัว การทำวัตรผู้ใหญ่แบบนี้ถือป็นธรรมเนียมของพระสง.

ดู สามเณรและทำวัตร

ขรัวอินโข่ง

ตรกรรมฝาผนังโดยขรัวอินโข่ง ขรัวอินโข่ง มีชีวิตอยู่ในสมัยรัชกาลที่ 3-4 (ไม่ปรากฏวันเดือนปีเกิด) ศิลปินผู้ได้รับการยกย่องเป็นจิตรกรเอกประจำรัชกาลที่ 4 แห่งสมัยรัตนโกสินทร์ เป็นศิลปินในสมณเพศ ศิลปินไทยคนแรกที่ใช้เทคนิคการเขียนภาพฝาผนังแบบตะวันตกที่แสดงปริมาตรใกล้ไกล นับเป็นศิลปินก้าวหน้าแห่งยุคที่ผสมผสานแนวดำเนินชีวิตแบบไทยกับตะวันตกเข้าด้วยกัน ซึ่งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงยกย่องว่า ขรัวอินโข่งเป็นช่างเขียนไม่มีตัวสู้ในสมัยนั้น ในระยะแรกขรัวอินโข่งยังยึดแนวความคิดแบบเดิม คือวาด ภาพเกี่ยวกับพุทธศาสนาตามคตินิยม ภายหลังจึงเปลี่ยนเป็นเขียนภาพเรื่องราวเกี่ยวเนื่องในพระพุทธศาสนา จนกระทั่งหลุดพ้นมาเป็นงานในรูปแบบปริศนาธรรม ความสามารถพิเศษเฉพาะตัวคือการ วาดภาพธรรมชาติโดยเฉพาะต้นไม้ และการควบคุมอารมณ์ของสีในภาพให้มีความกลมกลืนและ เกี่ยวเนื่องกันโดยตลอด ผลงานที่สร้างชื่อเสียงคือภาพปริศนาธรรมที่ฝาผนังภายในพระอุโบสถ วัดบวรนิเวศและวัดบรมนิว.

ดู สามเณรและขรัวอินโข่ง

ขุนแผน

อนุสาวรีย์ขุนแผน ขุนแผน หรือชื่อเดิม พลายแก้ว เป็นตัวเอกของวรรณคดีไทย เรื่อง ขุนช้างขุนแผน.

ดู สามเณรและขุนแผน

ณ (เณร) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 19 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ฒ (ผู้เฒ่า) และก่อนหน้า ด (เด็ก) ออกเสียงอย่าง น (หนู) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ณ เณร” อักษร ณ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /n/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /n/ ปัจจุบันมีคำที่ขึ้นต้นด้วย ณ อยู่น้อยคำ ได้แก่ ณ (ที่), ณรงค์ (ตัดมาจาก รณรงค์), เณร, เณรหน้าไฟ, เณรหางนาค นอกเหนือจากนั้นใช้ประกอบกับคำที่มาจากภาษาบาลีหรือสันสกฤต หมวดหมู่:อักษรไทย.

ดู สามเณรและณ

ณเดชน์ คูกิมิยะ

ณเดชน์ คูกิมิยะ เกิดเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2534 เป็นนักแสดงและนายแบบลูกครึ่งไทย-ออสเตรีย มีชื่อเสียงจากผลงานแสดงทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 โดยเฉพาะละครเรื่อง "ดวงใจอัคนี, เกมร้ายเกมรัก" ซึ่งแสดงร่วมกับอุรัสยา เสปอร์บันด์ เป็นผู้นำเสนอภาพยนตร์โฆษณาสินค้าต่าง ๆ มากมาย เข้าร่วมในกิจกรรมรณรงค์ด้านสังคม งานการกุศล เช่น เป็นพรีเซ็นเตอร์ รณรงค์เชิญชวนชายไทยคัดเลือกทหาร ให้กับทางกองทัพบก การได้รับเลือกจากสภากาชาดไทย เป็นทูตรณรงค์เผยแพร่ความรู้ต้านภัยมะเร็งเต้านมในปี 2554-2555 ได้รับเลือกจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ให้เป็นทูตพระพุทธศาสนาวิสาขบูชานานาชาติ เป็นต้น มีผลงานการพากย์เสียงการ์ตูน และได้รับรางวัลผลงานดีเด่นในวงการบันเทิงมากมาย จากการที่ประชาชนพบเห็นณเดชน์ปรากฏตัวผ่านสื่อต่าง ๆ มากมายอยู่เป็นประจำ ไม่ว่าจะเป็น ละครโทรทัศน์, ภาพยนตร์, โฆษณา, นิตยสาร ฯลฯ ทำให้บางกอกโพสต์ เรียกณเดชน์ว่า "มิสเตอร์เอพวี่แวร์" ความสำเร็จในวงการบันเทิง อาทิเช่น ได้รับฉายา "ซุปตาร์พันธุ์ข้าวเหนียว" จากสมาคมนักข่าวบันเทิงในปี..

ดู สามเณรและณเดชน์ คูกิมิยะ

คำตี่

ำตี่ ขำติ หรือ ชาวไทคำตี่ เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะไดกลุ่มหนึ่งในอัสสัม และทางภาคเหนือของประเทศพม่า ในรัฐกะฉิ่น เมืองปูตาโอ แบ่งได้ เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มไทคำตี่หลวง (ในประเทศพม่า) และ กลุ่มสิงคะลิงคำตี่ (ในประเทศอินเดีย).

ดู สามเณรและคำตี่

คณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย

ณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย เป็นคณะสงฆ์นิกายมหายานของชาวไทยเชื้อสายจีน ถือกำเนิดมาจากชาวจีนที่เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารบนผืนแผ่นดินไทย ได้นำเอาวัฒนธรรม ศาสนา และความเชื่อดั้งเดิมของตนเข้ามาประพฤติปฏิบัติ แรกเริ่มที่ยังไม่มีพระภิกษุ ชาวจีนได้สร้างศาลเจ้าจีนขึ้นก่อนเพื่อเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวและเป็นศูนย์กลางในการประกอบพิธีกรรม ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระภิกษุจีนแถบมณฑลกวางตุ้งจาริกเข้ามาปฏิบัติศาสนกิจมากขึ้น นำไปสู่การจัดระเบียบการบริหารการปกครอง คณะสงฆ์จีนได้ถือกำเนิดขึ้นบนแผ่นดินไทยและมีความเจริญสืบเนื่องมาจวบจนปัจจุบัน ในปัจจุบันการปกครองคณะสงฆ์จีนนิกายเป็นไปตามกฎกระทรวงฉบับที่ 3 (พ.ศ.

ดู สามเณรและคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย

ตาม็อก

ตาม็อก (តាម៉ុក ตามุ̎ก) เป็นนามแฝงของนายพล อึง เชือน (Ung Choeun) หรือ ฌิต เชือน (Chhit Choeun) หรือ เอก เชือน (Ek Choeun) (ค.ศ. 1924 - 21 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู สามเณรและตาม็อก

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๑ องค์ประกันหงสา

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๑ องค์ประกันหงสา หรือ ภาคปฐมวัย เป็นภาพยนตร์ภาคแรกของภาพยนตร์ไตรภาคชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช นำแสดงโดย ปรัชฌา สนั่นวัฒนานนท์, จิรายุ ละอองมณี, สุชาดา เช็คลีย์, โชติ บัวสุวรรณ, สรพงษ์ ชาตรี, ปวีณา ชารีฟสกุล, สมภพ เบญจาธิกุล, ฉัตรชัย เปล่งพานิช, สันติสุข พรหมศิริ, ไพโรจน์ ใจสิงห์, เกรซ มหาดำรงค์กุล บทภาพยนตร์และกำกับการแสดงโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล.

ดู สามเณรและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๑ องค์ประกันหงสา

ติสรณคมนูปสัมปทา

ระอุปัชฌาย์ให้ '''ติสรณคมนูปสัมปทา''' แก่ผู้บวชเป็นสามเณร ติสรณคมนูปสัมปทา, ไตรสรณคมนูปสัมปทา, ติสรณคมนอุปสัมปทา หรือ ไตรสรณคมนอุปสัมปทา แปลว่า การอุปสมบทด้วยการเข้าถึงไตรสรณะ หมายถึงการบวชเป็นภิกษุโดยการรับไตรสรณคมน์ หมายถึงการอุปสมบทเป็นภิกษุแบบหนึ่งในพระพุทธศาสนา กล่าวคือ ในสมัยต้นพุทธกาล พระพุทธเจ้าประทานอุปสมบทเอง เรียกว่า เอหิภิกขุอุปสัมปทา ต่อมา ทรงอนุญาตให้พระสาวกบวชกุลบุตรให้เป็นภิกษุได้โดยวิธีให้กุลบุตรนั้นรับไตรสรณคมน์เท่านั้น ซึ่งการบวชแบบนี้สำเร็จได้โดยบุคคล คือ พระสาวกรูปใดรูปหนึ่งก็สามารถบวชกุลบุตรได้ ต่อมาทรงอนุญาตวิธีการอุปสมบทโดยสงฆ์ คือ ให้ทำเป็นสังฆกรรมที่เรียกว่าแบบญัตติจตุตถกรรมวาจา จึงเลิกวิธีบวชพระแบบติสรณคมนูปสัมปทา แต่ทรงอนุญาตให้ใช้วิธีนี้บวชสามเณร ซึ่งถือปฏิบัติกันมาตราบเท่าทุกวันนี้.

ดู สามเณรและติสรณคมนูปสัมปทา

ตี่ละฉิ่น

ตี่ละฉิ่น (သီလရှင်,; "ผู้ทรงศีล" – มาจากคำบาลีว่า สีล) เป็นนักพรตหญิงในศาสนาพุทธนิกายเถรวาทในประเทศพม่า ลักษณะเดียวกับแม่ชีในประเทศไทย และทสสีลมาตาในประเทศศรีลังกา ทั้งนี้ตี่ละฉิ่นมักถูกเข้าใจผิดว่าเป็นภิกษุณีแต่ตี่ละฉิ่นจะมีลักษณะใกล้เคียงกับสามเณรีมากกว.

ดู สามเณรและตี่ละฉิ่น

ซะยาซาน

ซะยาซาน ซะยาซาน (ဆရာစံ, Saya San) เกิดเมื่อ 24 ตุลาคม..

ดู สามเณรและซะยาซาน

ปฏิคาหก

ปฏิคาหก แปลว่าผู้รับ คู่กับคำว่า ทายก ที่แปลว่า ผู้ให้ ปฏิคาหก หมายถึงผู้รับทาน, ผู้รับของถวายจากทายก ปกติใช้กับนักพรต นักบวช หรือบรรพชิต เช่นภิกษุสามเณร ในบุคคลทั่วไปก็มีใช้บ้างในกรณีที่เป็นผู้เข้าไปรับทานจากทายกผู้ใจบุญ เช่นพระเวสสันดรให้ทานก็มีปฏิคาหกที่เป็นคนทั่วไปมารับทานกันมาก ปฏิคาหก ที่เป็นพระอริยบุคคลและเป็นผู้ทรงศีลทรงธรรมถือว่าเป็นปฏิคาหกผู้ยอดเยี่ยม นำให้ทายกผู้ถวายได้รับบุญอานิสงส์มาก เพราะเป็นปฏิคาหกผู้หมดกิเลสแล้วหรือเป็นผู้มีศีลบริสุทธิ์ เป็นผู้ปฏิบัติธรรม.

ดู สามเณรและปฏิคาหก

ประคด

ประคด คือเครื่องคาดเอวหรือสายคาดอกของภิกษุสามเณร เรียกว่า รัดประคด ก็มี ถ้าใช้รัดเอว นิยมใช้ด้ายถักเป็นแผ่นเหมือนเข็มขัด มีสายโยงสำหรับผูกทั้งสองข้าง ยาวประมาณเมตรครึ่งถึงสองเมตร เรียกว่า ประคดเอว ถ้าใช้รัดอก นิยมใช้เป็นผ้าหนาๆ พับสองชั้น กว้างประมาณ 15 เซนติเมตร ยาวประมาณเมตรครึ่งถึงสองเมตร เรียกว่า ประคดอก หรือ ผ้ารัดอก ประคด มี 2 แบบ คือ ประคดแผ่น และ ประคดใส้สุกร.

ดู สามเณรและประคด

ประโยค 1–2

ปกหนังสืออันเป็นที่คุ้นตาของนักเรียนบาลี '''"ธมฺมปทฏฐกถา"''' หนึ่งในหลักสูตรวิชาแปลมคธเป็นไทยในชั้นประโยค 1–2 ''จัดพิมพ์โดยคณะกรรมการแผนกตำรา มหามกุฏราชวิทยาลัย'' ประโยค 1–2 เป็นระดับชั้นเริ่มต้นของการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย ที่ภิกษุสามเณรผู้เรียนต้องทำความเข้าใจและศึกษาไวยากรณ์บาลีและฝึกการแปลภาษามคธในระดับให้เข้าใจพอแปลภาษาบาลีเริ่มต้นได้ ในอดีตชั้นเริ่มต้นในการสอบไล่เปรียญนั้นจะเริ่มแต่ชั้นเปรียญธรรม 3 ประโยคขึ้นไป โดยการสอบไล่ประโยค 1–2 นี้ยังไม่ถือว่าผู้สอบได้เป็นเปรียญ และไม่สามารถเก็บประโยคชั้นที่สอบได้ เอาไว้สอบในปีต่อไปได้ แต่เมื่อเปลี่ยนการสอบไล่บาลีมาเป็นแบบข้อเขียน ก็เริ่มมีการจัดสอบเก็บประโยคนี้ขึ้น เพื่อเป็นการแบ่งเนื้อหาในการเรียนการสอนให้ไม่ยากและหนักเกินไป ในชั้นนี้ ผู้สอบได้จะยังไม่ได้เข้ารับพระราชทานสมณศักดิ์พัดยศทรงตั้งเป็นเปรียญ แต่ในอดีตนั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยขณะดำรงพระยศเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ทรงเคยรับพระราชภาระอุปถัมภ์ผู้สอบผ่านในชั้นนี้ โดยมีการถวายพัดไตรจีวรให้แก่ผู้สอบได้เป็นกำลังใจ เรียกกันในสมัยนั้นว่า "เปรียญวังหน้า" ซึ่งปัจจุบันไม่มีแล้ว ปัจจุบันผู้สอบได้ประโยค 1–2 จะได้รับใบ "วุฒิบัตร" รับรองจากสำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง ซึ่งต่างจากผู้สอบได้ในชั้น ป..

ดู สามเณรและประโยค 1–2

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2394

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2394 (ค.ศ. 1851) ในประเทศไท.

ดู สามเณรและประเทศไทยใน พ.ศ. 2394

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2409

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2409 ในประเทศไท.

ดู สามเณรและประเทศไทยใน พ.ศ. 2409

ปริมณฑล (ศาสนาพุทธ)

ปริมณฑล ในคำวัดหมายถึงความเรียบร้อย, ความสวยงาม, ความเป็นระเบียบ ปริมณฑล ใช้เรียกการนุ่งห่มของภิกษุสามเณรว่า นุ่งห่มเป็นปริมณฑล คือนุ่งห่มเรียบร้อยสวยงาม เป็นระเบียบ ถูกธรรมเนียมยิยม นุ่งเป็นปริมณฑล คือด้านบนนุ่งปิดสะดือ แต่ไม่ถึงกระโจมอก ด้านล่างปืดหัวเข่าลงมาเพียงครึ่งแข้ง ไม่ถึงกรอมข้อเท้า (ดูสบง) คือ การนุ่งของพระสงฆ์ในส่วนสบง(ผ้าที่ใช้นุ่ง) ปรากฏในพระวินัยส่วนเสขิยวัตรสารูป สิกขาบทที่ 1 ว่า "ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักนุ่งเป็นปริมณฑล ให้เรียบร้อย" การนุ่งเป็นปริมณฑลนี้ หมายถึง การนุ่งสบงโดยส่วนบนปิดตั้งแต่สะดือลงมา ส่วนล่างปิดตั้งแต่ใต้เข่าขี้นไป ห่มเป็นปริมณฑล คือในวัดห่มเฉวียงบ่าคือปิดบ่าและแขนซ้าย เปิดบ่าและแขนขวา ปกเข่าลงมาขนาดเท่าผ้านุ่ง (สบง) เมื่อเข้าบ้านห่มคลุมปิดบ่าและแขนทั้งสองข้าง ปิดหลุมคอ ข้างล่างปิดหัวเข่าทั้งสองข้างเหมือนในวัด (ดูห่มดอง ห่มคลุม).

ดู สามเณรและปริมณฑล (ศาสนาพุทธ)

ปริยัติธรรม

ปริยัติธรรม (อ่านว่า ปะริยัดติทำ) หมายถึงธรรมที่พึงศึกษาเล่าเรียน ได้แก่พระพุทธพจน์หรือพระไตรปิฎก เรียกเต็มว่า พระปริยัติธรรม ปริยัติธรรมหรือพระพุทธพจน์ที่พึงศึกษาเล่าเรียนนั้นมี 9 อย่าง คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า นวังคสัตถุศาสน์ (คำสอนของพระศาสดา 9 ประเภท) การศึกษาเล่าเรียนปริยัติธรรมทั้ง 9 อย่างนี้ของพระภิกษุสามเณรในปัจจุบัน เรียกว่า เรียนนักธรรม เรียนบาลี และแบ่งปริยัติธรรมออกเป็น 2 คือ พระปริยัติธรรมแผนกธรรม พระปริยัติธรรมแผนกบาลี.

ดู สามเณรและปริยัติธรรม

นักพรต

นักพรต (monk)กีรติ บุญเจือ, แก่นปรัชญายุคกลาง, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550, หน้า 131 คือผู้บำเพ็ญพรต หรือผู้ประพฤติตามข้อกำหนดการปฏิบัติทางศาสนาเพื่อข่มกาย ใจ ของตนราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

ดู สามเณรและนักพรต

นักธรรมชั้นตรี

นักธรรมชั้นตรี (ชื่อย่อ น.ธ.ตรี) เป็นระดับการศึกษา พุทธศาสนาในประเทศไทยแผนกธรรม โดยเป็นชั้นแรกของการศึกษาระดับพื้นฐานของพระสงฆ์ สามเณรในประเทศไทย โดยเป็นการศึกษาสำหรับฝ่ายพระภิกษุสามเณรโดยเฉพาะ เมื่อศึกษาจบจะได้วุฒิเทียบเท่าชั้นประถม.

ดู สามเณรและนักธรรมชั้นตรี

นักธรรมชั้นโท

นักธรรมชั้นโท (ชื่อย่อ น.ธ.โท) เป็นระดับการศึกษา พุทธศาสนาในประเทศไทยแผนกธรรม โดยเป็นชั้นกลางของการศึกษาระดับพื้นฐานของพระสงฆ์ สามเณรในประเทศไทย โดยเป็นการศึกษาสำหรับฝ่าย พระภิกษุสามเณรโดยเฉพาะ หลักสูตรนักธรรมชั้นโท.

ดู สามเณรและนักธรรมชั้นโท

นักธรรมชั้นเอก

นักธรรมชั้นเอก (ชื่อย่อ น.ธ.เอก; dhamma scholar advanced level) เป็นระดับการศึกษา พุทธศาสนาในประเทศไทย แผนกธรรม โดยเป็นชั้นสูงสุดของการศึกษาระดับพื้นฐานของพระสงฆ์ สามเณรในประเทศไทย แบ่งชั้นเรียนออกเป็น 3 ชั้น คือ นักธรรมชั้นตรี นักธรรมชั้นโท และ นักธรรมชั้นเอก ทั้ง ๓ ชั้นนี้เป็นการศึกษาสำหรับฝ่าย พระภิกษุสามเณรโดยเฉ.

ดู สามเณรและนักธรรมชั้นเอก

นิมนต์

นิมนต์ ใช้ในความหมายว่าเชิญหรือเชื้อเชิญภิกษุสามเณร เช่น นิมนต์ เป็นคำที่ใช้แทนคำว่า อาราธนา ก็ได้ แต่ไม่นิยมใช้คู่กันเป็น อาราธนานิมนต์ กล่าวคือนิยมใช้คำใดคำหนึ่งเท่านั้นก็เป็นอันเข้าใจ เพราะมีความหมายอย่างเดียวกัน อย่างเช่นที่ใช้คำว่า อย่างนี้ถือว่าใช้ไม่ถูกต้องตามความนิยม.

ดู สามเณรและนิมนต์

ใบสุทธิ

ใบสุทธิ ในคำวัดหมายถึงเอกสารที่แสดงความบริสุทธิ์ของภิกษุสามเณรว่าเป็นภิกษุสามเณรที่ถูกต้องตามพระวินัย เหมือนบัตรประจำตัวประชาชน ต่างแต่มีลักษณะเป็นเล่มขนาดเล็กสำหรับพกติดตัวได้ ในภาษาหนังสือเรียกว่า หนังสือสุทธิ หรือสุทธิบัตร ใบสุทธิ จะระบุรายละเอียดไว้มากมาย เช่น ชื่อ นามสกุล วันเดือนปีเกิด สถานที่เกิด นามบิดามารดา วันเดือนปีที่บวช สังกัดที่อยู่ การย้ายสังกัด การเปลี่ยนแปลงชื่อ ใบสุทธิ พระอุปัชฌาย์เป็นผู้ออกให้ มีพระสังฆาธิการระดับเจ้าคณะอำเภอขึ้นไปลงลายมือชื่อและประทับตราประจำตำแหน่งรับรอง.

ดู สามเณรและใบสุทธิ

โรงเรียนพระปริยัติธรรม

รงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เป็นศาสนศึกษาแผนกสามัญศึกษา อยู่ในความผิดชอบของ กองพุทธศาสนศึกษา สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ดำเนินการจัดการศึกษาทางวิชาการพระพุทธศาสนา แผนกนักธรรม-ภาษาบาลี และหลักสูตรการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-ม.3) และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-ม.6) ให้แก่พระภิกษุสามเณร.

ดู สามเณรและโรงเรียนพระปริยัติธรรม

โรงเรียนวัดม่วงชุมวิทยา

รงเรียนวัดม่วงชุมวิทยา (Wat Muangchum Wittaya School) เป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กองพุทธศาสนศึกษา สังกัดสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ และ ตั้งอยู่ที่อำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ปัจจุบันได้เปิดให้มีการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 เป็นโรงเรียนสามเณร ซึ่งปัจจุบันประสบภาวะการขาดแคลนหนังสือ แต่ยังคงได้รับการบริจาคและช่วยเหลือ และเป็นหนึ่งในโรงเรียนของโครงการจัดหาหนังสือสำหรับสามเณรในโรงเรียนพระปริยัติธรรม 82 แห่ง เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 82 พรรษา ทั้งนี้ ทางโรงเรียนมักจัดกิจกรรม และมีส่วนร่วมทางพุทธศาสนาอยู่เสมอม.

ดู สามเณรและโรงเรียนวัดม่วงชุมวิทยา

โรงเรียนเมธีวุฒิกร

รงเรียนเมธีวุฒิกร "วัดพระธาตุหริภุญชัย" เป็นโรงเรียนเอกชน มุ่งเน้นการเรียนการสอนด้านสามัญศึกษาควบคู่ปริยัติศึกษา เปิดสอนในระดับช่วงชั้นที่ 3 และช่วงชั้นที่ 4 รับนักเรียนชาย-หญิง (คฤหัสถ์) และ พระภิกษุ สามเณร.

ดู สามเณรและโรงเรียนเมธีวุฒิกร

เจ้าฟ้ามยีนไซง์

้าฟ้ามยีนไซง์ (Myinzaing Prince) เป็นพระโอรสของพระเจ้ามินดงกับพระนางและปานซีน (Letpansin) เมื่ออังกฤษตีมัณฑะเลย์แตกนั้น พระองค์ผนวชเป็นสามเณรอยู่ หลังจากนั้น พระองค์ได้ลาผนวช หนีไปกับหม่องละเพื่อซ่องสุมกำลังต่อต้านอังกฤษ กองทัพของพระองค์ตั้งมั่นโจมตีอังกฤษที่ซีบีนจี (Zibingyi) จนถูกตีแตกพ่าย จึงต้องถอยหนีไปตั้งมั่นที่มยีนไซง์ ซึ่งทำให้พระองค์เป็นที่รู้จักในชื่อเจ้าฟ้ามยีนไซง์ พระองค์พยายามรวบรวมกำลังต่อต้านอังกฤษขึ้นอีก แต่ถูกตีแตกพ่ายไปเป็นระยะ ๆ ในที่สุดพระองค์ได้ไปรวบรวมกำลังที่ยวานกาน (Ywangan) และที่ยวานกานนี่เอง พระองค์ประชวรเป็นโรคมาลาเรียและสิ้นพระชนม์ในเดือนสิงหาคม..

ดู สามเณรและเจ้าฟ้ามยีนไซง์

เขาพนมขวด

นมขวด เป็นวัดในจังหวัดเพชรบุรี ตั้งอยู่บนยอดเขา เขาพนมขว.

ดู สามเณรและเขาพนมขวด

เขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภา

ตปกครองคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภา เป็นเขตปกครองของพระภิกษุสงฆ์เถรวาท ฝ่ายมหานิกายระดับตำบล ขึ้นตรงต่อเจ้าคณะเหนือกว่าภายในเขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ ตามการแบ่งเขตพื้นที่การปกครองคณะสงฆ์ไทยในกำกับของมหาเถรสมาคม เขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภา มีอาณาเขตการปกครองคณะสงฆ์และรับผิดชอบกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาเถรวาทครอบคลุมพื้นที่ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ และบางส่วนของตำบลผาจุก อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ (ไม่มีวัดธรรมยุติในเขตพื้นที่ปกครองตำบลนี้) ปัจจุบันมีพระครูสุจิตพัฒนพิธาน (สมพงษ์ สมจิตฺโต) (วัดใหม่เจริญธรรม) เป็นเจ้าคณะตำบลแห่งนี้ตั้งแต่ ปี พ.ศ.

ดู สามเณรและเขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภา

เณรหน้าไฟ

ีบรรพชาสามเณร การบวชสามเณรหน้าไฟ คือการบรรพชาสามเณรที่นิยมบวชเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้กับผู้ตาย โดยปรกติการบวชหน้าไฟมักจะบวชกันในวันเผาศพ โดยเมื่อทำพิธีฌาปนกิจเสร็จก็มักจะสึก เรียกตามภาษาชาวบ้านคือ "บวชเช้าสึกเย็น" ที่เรียกว่าหน้าไฟจึงน่าจะมีสาเหตุมาจากบวชเพียงเพื่อเป็นเณรอยู่หน้าไฟเท่านั้น บางท่านว่าเป็นการ บวชหลอกคนตาย คือพอประกอบพิธีฌาปนกิจเสร็จก็สึก การบวชสามเณรหน้าไฟเป็นความเชื่อที่สืบทอดกันมาเป็นประเพณีนิยม โดยผู้บวชและญาติพี่น้องเชื่อว่าการบวชเณรหน้าไฟ จะทำให้ผู้วายชมน์ได้บุญมาก ดังนั้นเราจึงมักเห็นการบวชลักษณะนี้ได้ทั่วไปในงานพิธีศพ อีกประการหนึ่งการบวชเณรกระทำง่าย เพียงแค่โกนศีรษะและเตรียมจีวรเข้าไปหาอุปัชฌาย์ก็สามารถทำการบวชได้แล้ว ดังนั้นการบวชเณรจึงไม่ยุ่งยากเหมือนการบวชพระภิกษุซึ่งมีขั้นตอนในการรับรอง ในทางพระวินัยมากมาย คนทั่วไปจึงนิยมบวชเณรหน้าไฟมากกว่าบวชพระหน้าไฟ.

ดู สามเณรและเณรหน้าไฟ

เณรน้อยเจ้าปัญญา

ณรน้อยเจ้าปัญญา เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่องราวเกี่ยวกับ อิคคิว เณรในนิกายเซนที่มีปัญญาฉลาดหลักแหลม ตัวละครอิคคิวมาจากพระนิกายเซนชื่อ อิกกีว โซจุง ที่มีชีวิตในช่วง..

ดู สามเณรและเณรน้อยเจ้าปัญญา

เด็กวัด

็กวัด เป็นเด็กชายในประเทศไทยซึ่งอาศัยอยู่ในวัดและคอยรับใช้พระสงฆ์ โดยเด็กวัดจะคอยถือบาตรของพระสงฆ์ในช่วงการบิณฑบาตยามเช้า หลังจากนั้น เด็กวัดจะมีหน้าที่จัดเตรียมอาหารของพระสงฆ์ก่อนที่จะรับประทานอาหารที่เหลือจากพระฉันเสร็จ ("ข้าวก้นบาตร") เด็กวัดเป็นผู้ถือศีล 10 ประการ เด็กชายบางคนถูกส่งมาเป็นเด็กวัดเพื่อประกอบความดี บ้างก็ถูกส่งมาเพราะมีที่พักและอาหารโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เด็กวัดบางคนถูกพระเก็บมาเลี้ยงเนื่องจากไร้พ่อแม่ขาดมิตร ในขณะที่บางส่วนถูกส่งมาเพื่อศึกษาธรรม เด็กวัดบางส่วนบวชเป็นพระ และบ้างก็อาจถือว่าเด็กวัดเป็นขั้นตอนอย่างเป็นทางการสำหรับการบวชเป็นสามเณร ขึ้นอยู่กับอายุและประเพณีท้องถิ่น.

ดู สามเณรและเด็กวัด

เต้าซิ่น

ต้าซิ่น หรือ พระภิกษุตูชุน เป็นพระสังฆปรินายกนิกายเซน รูปที่ 4 เกิด ณ ตำบลกวงจี่ เมืองคีจิว แซ่ซีเบ้ บวชเป็นสามเณรเมื่ออายุ 14 ปี มรณภาพเมื่ออายุ 72 ปี พร้อมกับมอบเครื่องหมายแห่งธรรมทายาทนิกายเซนให้แก่พระภิกษุฮวางยาน (ฮ่งยิ้มไต้ซือ).

ดู สามเณรและเต้าซิ่น

เปรียญ

ปรียญ (อ่านว่า ปะเรียน) บาเรียน ก็เรียก เป็นคำใช้เรียกภิกษุสามเณรผู้ศึกษาเล่าเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีและสอบไล่ได้ตามหลักสูตรตั้งแต่ 3 ประโยคขึ้นไปจนถึง 9 ประโยค เรียกว่า พระเปรียญ หรือ พระเปรียญธรรม สามเณรเปรียญ หรือ สามเณรเปรียญธรรม มีอักษรย่อว่า ป.

ดู สามเณรและเปรียญ

เปรียญธรรม

ปรียญธรรม หรือ ประโยค หมายถึงระดับชั้นการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย มี 9 ชั้น 8 ระดับ แบ่งเป็นชั้นประโยค 1-2 (ระดับที่ 1 ใช้เวลาเรียน 1-2 ปี) และระดับเปรียญ (ป.ธ.

ดู สามเณรและเปรียญธรรม

เปรียญธรรม 3 ประโยค

ัดยศเปรียญธรรม 3 ประโยค เปรียญธรรม 3 ประโยค (ชื่อย่อ ป.ธ.3) เป็นระดับชั้นการศึกษาแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย เรียกพระภิกษุผู้สอบไล่ได้ในชั้นนี้ว่า "พระมหา" และสามเณรว่า "สามเณรเปรียญ" กระทรวงศึกษาธิการเทียบวุฒิผู้สอบได้ในชั้นนี้ให้เทียบเท่ามัธยมศึกษาตอนต้น คณะสงฆ์ เคยมีการขอให้ปรับวุฒิผู้สอบไล่ได้ชั้นนี้ ให้เทียบเท่าระดับอุดมศึกษา แต่ไม่ได้รับการตอบรับจากผู้เกี่ยวข้อง แต่เปรียญธรรม 3 ประโยค ก็ยังเป็นที่นับถือกันโดยพฤตินัยในวงการคณะสงฆ์ไทยว่าผู้สอบได้ในชั้นนี้เป็น "ปริญญาตรี" ของฝ่ายคณะสงฆ์ หรือเปรียบได้กับคฤหัสถ์ผู้สอบไล่ได้ปริญญาบัณฑิตของฝ่ายฆราวาส โดยผู้สอบได้ในชั้นนี้จะได้รับพระมหากรุณาธิคุณ จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ โปรดฯ ทรงตั้งให้เป็นเปรียญ ได้รับพระราชทานประกาศนียบัตร พัดเปรียญธรรม 3 ประโยค การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีในชั้น "เปรียญธรรม 3 ประโยค" นั้น แบ่ง รายวิชาที่สำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวงกำหนดให้พระภิกษุสามเณรสอบไล่เพื่อผ่านในชั้นนี้ได้เป็น 4 วิชา คือ วิชาไวยากรณ์, วิชาแปลมคธเป็นไทย, วิชาสัมพันธ์ไทย และวิชาบุร.

ดู สามเณรและเปรียญธรรม 3 ประโยค

เปรียญธรรม 4 ประโยค

''ในภาพ:หนังสือมงคลัตถทีปนี จัดพิมพ์โดยมหามกุฏราชวิทยาลัย หลักสูตรเปรียญธรรม 4 ประโยค'' เปรียญธรรม 4 ประโยค (ชื่อย่อ ป.ธ.4) เป็นระดับชั้นการศึกษาแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย เรียกผู้สอบผ่านในชั้นนี้ว่า เปรียญโท กระทรวงศึกษาธิการเทียบวุฒิผู้สอบได้ในชั้นนี้ให้เทียบเท่ามัธยมศึกษาตอนต้น.

ดู สามเณรและเปรียญธรรม 4 ประโยค

เปรียญธรรม 5 ประโยค

''ในภาพ:ปกหนังสือมงคลัตถทีปนี จัดพิมพ์โดยมหามกุฏราชวิทยาลัย หลักสูตรเปรียญธรรม 5 ประโยค'' เปรียญธรรม 5 ประโยค (ชื่อย่อ ป.ธ.5) เป็นระดับชั้นการศึกษาแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย เรียกผู้สอบผ่านได้ในชั้นนี้ว่า เปรียญโท ผู้สอบได้ในชั้นนี้สามารถนำใบประกาศนียบัตรมาขอใบเทียบวุฒิการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจากกระทรวงศึกษาธิการได้ ถ้าผู้ที่สอบได้ชั้นนี้ได้รับแต่งตั้งให้เป็นครูสอน 1 ปี และทำการสอนมาแล้วไม่ต่ำกว่า 300 ชั่วโมง.

ดู สามเณรและเปรียญธรรม 5 ประโยค

เปรียญธรรม 9 ประโยค

ัดยศเปรียญธรรม 9 ประโยค เปรียญธรรม 9 ประโยค (ชื่อย่อ ป.ธ.9) เป็นระดับชั้นสูงสุด ของการศึกษาแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย แต่เดิมภาษาบาลีคือภาษามคธที่คนในแคว้นมคธใช้พูดกันเท่านั้น เพราะภาษาบาลีไม่มีอักษรใช้เขียนเป็นตัวหนังสือ พระพุทธเจ้าตรัสสอนธรรมด้วยภาษามคธเพราะแคว้นมคธเป็นแคว้นใหญ่ เหตุที่ภาษาบาลีไม่มีอักษรเขียน จึงต้องอาศัยอักษรจากภาษาอื่นเป็นตัวเขียน เช่น อักษรเทวนาครี อักษรขอม อักษรไทย อักษรโรมัน เป็นต้น ในปัจจุบันภาษาบาลีถือว่าเป็นภาษาที่ตายแล้ว เหมือนภาษาละติน ถึงแม้มีคนใช้พูดอยู่ก็น้อยมาก ในพระพุทธศาสนามีเพียงนิกายเถรวาทที่ใช้ภาษาบาลี เช่นในพระไตรปิฎก เป็นต้น ความหวังผู้ที่สอบได้ ป..๙ สามารถเทียบเท่าระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต หรือ ดร.ทางฝ่ายโลกได้ คือ เป็น ดร.

ดู สามเณรและเปรียญธรรม 9 ประโยค

8 สิงหาคม

วันที่ 8 สิงหาคม เป็นวันที่ 220 ของปี (วันที่ 221 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 145 วันในปีนั้น.

ดู สามเณรและ8 สิงหาคม

8 เทพอสูรมังกรฟ้า (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2537)

8 เทพอสูรมังกรฟ้า (The Maidens of Heavenly Mountains, Semi-Gods and Semi-Devils, The Dragon Chronicles, The Maidens of Heavenly Mountains) เป็นภาพยนตร์กำลังภายในสัญชาติฮ่องกง กำกับภาพยนตร์โดย แอนดี้ ชิน ออกฉายในปี ค.ศ.

ดู สามเณรและ8 เทพอสูรมังกรฟ้า (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2537)

หรือที่รู้จักกันในชื่อ สามเณรีเณร

การสอบสนามหลวงกาสาวพัสตร์กุฏิญุก แถมภิกษุภิกษุณีภิกษุณีในประเทศจีนมหานิกายมาริโอ้ เมาเร่อมิตร ชัยบัญชารูป (ศาสนาพุทธ)ลงโบสถ์วัดวัดสนามในวัดหนองป่าพงวัดทุ่งเศรษฐี (อุตรดิตถ์)วัดคุ้งตะเภาวัดไผ่ล้อม (จังหวัดแพร่)วันเข้าพรรษาวินัยมุขศาสนาพุทธศาสนาพุทธในประเทศไทยศาสนาพุทธในเกาหลีสบงสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมารสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์ ธมฺมธโร)สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (นาค)สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมาสังฆทานสิกขาสุขาวดี (นิกาย)สถาบันภาษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ส้วมในประเทศไทยหลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)หลวงปู่ฝั้น อาจาโรหนังสือเดินทางไทยห่มดองอังสะอุปสมบทอุปปถกริยาจักรพรรดิหงอู่จังหวัดอุตรดิตถ์จำลอง สารพัดนึกจุ๋มจิ๋ม เข็มเล็กจตุปัจจัยธรรมยุติกนิกายธรรมาสน์ธรรมทาส พานิชธารา ศรีอนุรักษ์ทศพล หิมพานต์ทศศีลทำวัตรขรัวอินโข่งขุนแผนณเดชน์ คูกิมิยะคำตี่คณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทยตาม็อกตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๑ องค์ประกันหงสาติสรณคมนูปสัมปทาตี่ละฉิ่นซะยาซานปฏิคาหกประคดประโยค 1–2ประเทศไทยใน พ.ศ. 2394ประเทศไทยใน พ.ศ. 2409ปริมณฑล (ศาสนาพุทธ)ปริยัติธรรมนักพรตนักธรรมชั้นตรีนักธรรมชั้นโทนักธรรมชั้นเอกนิมนต์ใบสุทธิโรงเรียนพระปริยัติธรรมโรงเรียนวัดม่วงชุมวิทยาโรงเรียนเมธีวุฒิกรเจ้าฟ้ามยีนไซง์เขาพนมขวดเขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภาเณรหน้าไฟเณรน้อยเจ้าปัญญาเด็กวัดเต้าซิ่นเปรียญเปรียญธรรมเปรียญธรรม 3 ประโยคเปรียญธรรม 4 ประโยคเปรียญธรรม 5 ประโยคเปรียญธรรม 9 ประโยค8 สิงหาคม8 เทพอสูรมังกรฟ้า (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2537)