สารบัญ
21 ความสัมพันธ์: ฟิลิป เปแตงกัมพูชาในอารักขาของฝรั่งเศสการปกครองประเทศฝรั่งเศสการประชุมเจนีวา (ค.ศ. 1954)มหาอำนาจรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสรายนามคู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศสรายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศสวิกฤตการณ์คลองสุเอซวุฒิสภาฝรั่งเศสสหภาพฝรั่งเศสสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5สงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่งจักรพรรดิบ๋าว ดั่ยธงประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศสความขัดแย้งอาหรับ–อิสราเอลคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสแว็งซ็อง โอรียอลแผนมอร์เกนเธาเรอเน กอตี
ฟิลิป เปแตง
อองรี ฟิลิป เบนโอนี โอแมร์ โจเซฟ เปแตง (24 April 1856 – 23 July 1951),ได้เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปในชื่อว่า ฟิลิป เปแตง หรือ จอมพล เปแตง (Maréchal Pétain),เป็นนายพลฝรั่งเศสที่แตกต่างจากจอมพลแห่งฝรั่งเศส,และต่อมาในภายหลังได้ทำหน้าที่เป็นประมุขรัฐของวิชีฝรั่งเศสที่เป็นที่รู้จักกันคือชาตินิยมฝรั่งเศสหรือรัฐฝรั่งเศส (Chef de l'État Français),ตั้งแต่ปี..
ดู สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4และฟิลิป เปแตง
กัมพูชาในอารักขาของฝรั่งเศส
กัมพูชาในอารักขาของฝรั่งเศส (French protectorate of Cambodia; ប្រទេសកម្ពុជាក្រោមអាណាព្យាបាលបារាំង; Protectorat français du Cambodge) เป็นระยะเวลาช่วงที่กัมพูชาเข้าเป็นรัฐในอารักขาของฝรั่งเศสก่อนจะถูกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพอินโดจีนที่เป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส จนกระทั่งกลายเป็นดินแดนที่ถูกญี่ปุ่นยึดครองระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง จากนั้นกลายเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพฝรั่งเศส และต่อสู้จนได้รับเอกราชในที.
ดู สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4และกัมพูชาในอารักขาของฝรั่งเศส
การปกครองประเทศฝรั่งเศส
การปกครองประเทศฝรั่งเศส เป็นระบบการปกครองแบบกึ่งประธานาธิบดี ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 รัฐสภาแห่งประเทศฝรั่งเศส แบ่งเป็นฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ และฝ่ายตุลาการ โดยมีประธานาธิบดีใช้อำนาจบริหารร่วมกับนายกรัฐมนตรีที่แต่งตั้ง คณะรัฐมนตรี ซึ่งรวมถึงนายกรัฐมนตรีสามารถถูกถอดถอนได้โดยสภาผู้แทนราษฎร หรือ"สภาล่าง" โดยการลงมติไม่ไว้วางใจ เพื่อแสดงให้เห็นว่านายกรัฐมนตรีจะต้องผ่านการสนับสนุนโดยเสียงส่วนมากของสภาฯ รัฐสภาประกอบด้วย สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา เพื่อทำหน้าที่ผ่านร่างกฎหมายและงบประมาณ รวมทั้งตรวจสอบการทำงานของฝ่ายบริหาร ผ่านทางการถามกระทู้สดในรัฐสภา โดยมีสภารัฐธรรมนูญ ("Conseil Consitutionnel") มีหน้าที่รับรองให้บทบัญญัติต่าง ๆ เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ โดยสมาชิกสภารัฐธรรมนูญ จะได้รับการคัดเลือกจากประธานาธิบดี ประธานสภาผู้แทนราษฎร และประธานวุฒิสภา อนึ่ง อดีตประธานาธิบดียังดำรงตำแหน่งเป็นสมาชิกสภารัฐธรรมนูญด้วย ระบบตุลาการ ซึ่งเป็นแบบระบบกฎหมายโดยสืบทอดจากประมวลกฎหมายนโปเลียน แบ่งเป็นสองฝ่าย คือ ศาลแพ่งและอาญา (ดูแลคดีแพ่งและอาญา) และศาลปกครอง (ดูแลเรื่องการใช้อำนาจรัฐ) โดยแต่ละฝ่ายจะมีศาลสูงสุด คือ ศาลยุติธรรมสูงสุด (ศาลฎีกา) สำหรับคดีความทางแพ่งและอาญา และศาลปกครองสูงสุด (ประเทศฝรั่งเศส) สำหรับคดีด้านปกครอง โดยรัฐบาลฝรั่งเศสรวมถึงหน่วยงานและองค์กรอิสระอื่น ๆ ที่มีหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐอีกหลายทางด้วย ประเทศฝรั่งเศสมีการปกครองแบบรัฐเดี่ยว และแบ่งการปกครองย่อยเป็นแคว้น (région) จังหวัด (départements) และเทศบาล (communes) ซึ่งจะมีขอบเขตการปกครองส่วนท้องถิ่นของตนทั้งด้านการคลังและงบประมาณ ซึ่งรัฐบาลกลางไม่สามารถเข้ามาแทรกแทรงได้ เนื่องจากประเทศฝรั่งเศสเป็นสมาชิกก่อตั้งของประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (European Coal and Steel Community) ซึ่งต่อมาภายหลังได้พัฒนาเป็นสหภาพยุโรป ดังนั้นประเทศฝรั่งเศสจึงต้องถ่ายโอนอำนาจอธิปไตยบางส่วนให้กับสหภาพยุโรปตามรัฐธรรมนูญแห่งสหภาพยุโรป และรัฐบาลฝรั่งเศสจำต้องปฏิบัติตามสนธิสัญญาและกฎข้อบังคับแห่งสหภาพยุโรป.
ดู สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4และการปกครองประเทศฝรั่งเศส
การประชุมเจนีวา (ค.ศ. 1954)
การประชุมเจนีวา การประชุมเจนีวา ระหว่างวันที่ 26 เมษายน - 21 กรกฎาคม..
ดู สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4และการประชุมเจนีวา (ค.ศ. 1954)
มหาอำนาจ
มหาอำนาจ หมายถึงรัฐซึ่งได้รับการยอมรับว่ามีความสามารถแผ่อิทธิพลในระดับโลกได้ ลักษณะของรัฐมหาอำนาจ คือ ครอบครองอำนาจทางทหารและเศรษฐกิจ ตลอดจนอิทธิพลทางการทูตและอำนาจแบบอ่อน (soft power) ซึ่งอาจเป็นเหตุให้ประเทศด้อยอำนาจต้องพิจารณาความเห็นของมหาอำนาจก่อนดำเนินการใด ๆ ของตน นักทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ระบุว่า ลักษณะของสถานภาพมหาอำนาจสามารถจำแนกเป็นขีดความสามารถของอำนาจ และมิติสถานภาพ ในบางครั้ง สถานภาพมหาอำนาจได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการในการประชุมที่สำคัญ ดังเช่น การประชุมแห่งเวียนนาDanilovic, Vesna.
ดู สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4และมหาอำนาจ
รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส
รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส ฉบับวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 1958 (ฉบับที่ 15 ของประเทศฝรั่งเศส) วางกฎเกณฑ์สำหรับสถาบันต่างๆ ของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 ซึ่งถือคติการปกครองว่า "รัฐบาลจากประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน" ชาวฝรั่งเศสได้รับรองรัฐธรรมนูญฉบับนี้ด้วยประชามติเมื่อวันที่ 28 กันยายน ค.ศ.
ดู สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4และรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส
รายนามคู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศส
ู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศส ('épouse du président de la République française) คือผู้ที่เป็นภรรยาประมุขแห่งรัฐ (ประธานาธิบดี) ของประเทศฝรั่งเศส ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีคู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศสจำนวนทั้งสิ้น 25 คน ทั้งนี้ฝรั่งเศสไม่มีตำแหน่งสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งแต่อย่างใด สุภาพสตรีคนล่าสุดคือบรีฌิต มาครง ภริยาแอมานุแอล มาครง ประธานาธิบดี เข้ารับตำแหน่งในวันที่ 14 พฤษภาคม..
ดู สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4และรายนามคู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศส
รายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส
ก่อนปี พ.ศ. 2502 ประเทศฝรั่งเศสไม่ปรากฏว่ามีการเรียกตำแหน่งหัวหน้าคณะรัฐบาลอย่างเป็นทางการว่า นายกรัฐมนตรี (Premier Ministre) เนื่องจากในอดีตภายใต้การปกครองของกษัตริย์ หลายครั้งที่คำนี้ใช้เรียกแทนประธานรัฐมนตรีของกษัตริย์ แม้ต่อมาในช่วงรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 รัฐมนตรีท่านหนึ่งในรัฐมนตรีสภาได้ดำรงตำแหน่งเป็นทั้ง ประธานรัฐมนตรีสภา (Président du Conseil des Ministres) และยังเป็นที่รู้จักกันอย่างไม่เป็นทางการในนาม "หัวหน้ารัฐมนตรีสภา" ซึ่งในปัจจุบันเรียกว่า นายกรัฐมนตรี (Premier Ministre) อีกด้วย ซึ่งเป็นการไม่เหมาะสม เป็นการรวบอำนาจเบ็ดเสร็จในบุคคลเดียว โดยเป็นทั้งประธานาธิบดีเอง และเป็นหัวหน้ารัฐมนตรีสภา (นายกรัฐมนตรี) ทำหน้าที่เป็นประธานในการประชุมสภา และหัวหน้าฝ่ายบริหารคณะรัฐมนตรี เวลาต่อมา ในการทำให้ชื่อตำแหน่ง "นายกรัฐมนตรี" มีผลบังคับทางกฎหมาย แทนที่ตำแหน่ง หัวหน้ารัฐมนตรีสภา นั้นก็ได้กลายเป็นตำแหน่ง "นายกรัฐมนตรี" อย่างเป็นทางการในปี พ.ศ.
ดู สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4และรายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส
วิกฤตการณ์คลองสุเอซ
วิกฤตการณ์สุเอซ (The Suez Crisis หรือ Tripartite Aggression) เป็นวิกฤตการณ์ที่เกิดสงครามระหว่าง อียิปต์, อังกฤษ, ฝรั่งเศส และอิสราเอล มีมูลเหตุมาจากที่อียิปต์ต้องการให้คลองสุเอซ (ที่ขุดโดยเงินทุนของอียิปต์ กับฝรั่งเศส) กลายเป็นของประเทศ แต่คลองนี้มีความสำคัญต่ออังกฤษเพราะเป็นเส้นทางเดินเรือที่สำคัญ มายังอาณานิคมทั้งหลายทั้ง อินเดีย, ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และตะวันออกไกล ดังนั้นอังกฤษจึงซื้อหุ้นส่วนของอียิปต์ในคลองนี้ มาทำให้ตัวเองมีอำนาจเหนือคลองดังกล่าวและคานอำนาจกับฝรั่งเศส คลองนี้มีส่วนสำคัญในการรบทั้ง สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และสงครามโลกครั้งที่สอง.
ดู สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4และวิกฤตการณ์คลองสุเอซ
วุฒิสภาฝรั่งเศส
วุฒิสภาฝรั่งเศส (Sénat français) เป็นสภาสูงในรัฐสภาฝรั่งเศส มีประธานวุฒิสภา (président) เป็นผู้ดำเนินการประชุม วุฒสิภามีความสำคัญน้อยกว่าสภาผู้แทนราษฎร เช่นเดียวกับการอภิปรายในวุฒิสภาที่มีความตึงเครียดน้อยกว่า ฉะนั้น วุฒิสภาจึงได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนน้อ.
ดู สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4และวุฒิสภาฝรั่งเศส
สหภาพฝรั่งเศส
หภาพฝรั่งเศส (Union française) เป็นกลุ่มประเทศอธิปไตยก่อตั้งโดยสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4 เพื่อแทนที่ระบอบอาณานิคมของจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศสที่มีอยู่เดิม.
ดู สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4และสหภาพฝรั่งเศส
สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5
รณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 เป็นสาธารณรัฐปัจจุบันของประเทศฝรั่งเศสที่ถือกำเนิดขึ้นเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2501 เกิดจากการล่มสลายของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4 โดยเปลี่ยนแปลงจากระบอบรัฐสภามาเป็นระบอบกึ่งประธานาธิบดี.
ดู สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4และสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5
สงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง
งครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่งเริ่มในอินโดจีนฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม..
ดู สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4และสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง
จักรพรรดิบ๋าว ดั่ย
ักรพรรดิบ๋าว ดั่ย (จื๋อโกว๊กหงือ: Bảo Đại, จื๋อโนม: 保大, แปลว่า ผู้เก็บรักษาความยิ่งใหญ่; 22 ตุลาคม ค.ศ. 1913 - 30 กรกฎาคม ค.ศ.
ดู สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4และจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย
ธงประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส
รายการต่อไปนี้เป็นรายการเกี่ยวกับธงต่างๆที่มีการใช้หรือเคยใช้โดยประธานาธิบดีฝรั่ง.
ดู สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4และธงประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส
ความขัดแย้งอาหรับ–อิสราเอล
วามขัดแย้งอาหรับ–อิสราเอล (الصراع العربي الإسرائيلي Al-Sura'a Al'Arabi A'Israili; הסכסוך הישראלי-ערבי Ha'Sikhsukh Ha'Yisraeli-Aravi) หมายถึงความตึงเครียดทางการเมืองและความขัดแย้งทางทหารระหว่างสันนิบาตอาหรับและอิสราเอล และระหว่างชาวอาหรับกับชาวอิสราเอล ต้นตอของความขัดแย้งอาหรับ–อิสราเอลสมัยใหม่นี้เกิดจากความรุ่งเรืองของขบวนการไซออนิสต์และลัทธิชาตินิยมอาหรับช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ดินแดนที่ชาวยิวมองว่าเป็นบ้านเกิดทางประวัติศาสตร์ของพวกตนนั้น ก็ถูกมองโดยขบวนการรวมอาหรับว่าเป็นดินแดนประวัติศาสตร์ ซึ่งปัจจุบันเป็นของชาวอาหรับปาเลสไตน์ และเป็นดินแดนของมุสลิมในบริบทรวมอิสลาม ความขัดแย้งระหว่างชาวยิวและชาวอาหรับปาเลสไตน์อุบัติขึ้นในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ระหว่างเหตุจลาจลนบีมูซาเมื่อปี 1920 และบานปลายเป็นสงครามกลางเมืองเต็มขั้นในปี 1947 และขยายเป็นประเทศสันนิบาตอาหรับทั้งหมดเมื่อมีการสถาปนารัฐอิสราเอลสมัยใหม่ขึ้นในเดือนพฤษภาคม 1948 เมื่อเวลาผ่านไป ความขัดแย้งดังกล่าว ซึ่งเริ่มต้นเป็นความขัดแย้งทางการเมืองและชาตินิยมเหนือความปรารถนาดินแดนที่แข่งกันหลังจักรวรรดิออตโตมันล่มสลาย ได้เปลี่ยนแปลงจากความขัดแย้งอาหรับ–อิสราเอลในภูมิภาคเต็มขั้น ไปเป็นความขัดแย้งอิสราเอล-ปาเลสไตน์ที่จำกัดบริเวณกว่า โดยความเป็นปรปักษ์เต็มขั้นส่วนใหญ่สิ้นสุดลงด้วยการหยุดยิง หลังสงครามเดือนตุลาคม ปี 1973 ต่อมา มีการลงนามความตกลงสันติภาพระหว่างอิสราเอลกับอียิปต์ในปี 1979 และอิสราเอลกับจอร์แดนในปี 1994 ข้อตกลงออสโลนำไปสู่การสถาปนาองค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ในปี 1993 แม้จะยังไม่บรรลุความตกลงสันติภาพขั้นสุดท้ายก็ตาม ปัจจุบัน การหยุดยิงยังมีผลระหว่างอิสราเอลกับซีเรีย เช่นเดียวกับเลบานอนที่เพิ่งลงนามไป (ตั้งแต่ปี 2006) ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับกาซาที่ปกครองโดยฮามาส แม้จะไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับสันนิบาตอาหรับ แต่โดยปกตินับเป็นส่วนหนึ่งของความขัดแย้งอิสราเอล-ปาเลสไตน์ จึงเป็นความขัดแย้งอาหรับ–อิสราเอลด้วย แม้จะบรรลุความตกลงสันติภาพและการหยุดยิงต่าง ๆ แต่โลกอาหรับและอิสราเอลโดยทั่วไปยังหมางใจกันอยู่เหนือบางดินแดน.
ดู สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4และความขัดแย้งอาหรับ–อิสราเอล
คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
ณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (United Nations Security Council; UNSC) เป็นหนึ่งใน 6 เสาหลักของสหประชาชาติ และเป็นองค์กรในสหประชาชาติที่มีอิทธิพลรองลงมาจากสมัชชาใหญ่ เป็นองค์กรที่มีอำนาจในการเรียกระดมพลจากรัฐสมาชิกในสหประชาชาติเพื่อจัดตั้งเป็นกองกำลังรักษาสันติภาพเข้าไปปฏิบัติหน้าที่รักษาสันติภาพในประเทศและสงครามต่างๆ และยังมีอำนาจในการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจต่อประเทศต่าง.
ดู สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4และคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส
ฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่เคยอยู่ใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันมาก่อน โดยรู้จักกันในชื่อของชนเผ่า หรือแคว้นกอล ซึ่งเป็นกลุ่มชนเผ่าขนาดใหญ่ที่พูดภาษาเคลท์ ในช่วงท้ายก่อนที่จักรวรรดิโรมันจะล่มสลายลง ดินแดนกอลถูกรุกรานจากทั้งการโจมตีของกลุ่มอนารยชนและการอพยพของกลุ่มคนเร่ร่อน โดยเฉพาะชาวแฟรงก์เชื้อสายเจอร์มานิค พระมหากษัตริย์แฟรงก์นามว่า โคลวิสที่ 1 ได้ทรงรวบรวมดินแดนส่วนมากของกอลภายใต้การปกครองของพระองค๋ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 นับเป็นจุดเริ่มต้นของอิทธิพลชาวแฟรงก์ในภูมิภาคนี้ที่ดำเนินต่อไปอีกหลายร้อยปี อำนาจของแฟรงก์ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดในช่วงของพระเจ้าชาร์เลอมาญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสยุคกลางก็ได้ถือกำเนิดขึ้นจากการเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งทางทิศตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงของชาร์เลอมาญ ซึ่งรู้จักกันในนาม ฟรังเกียตะวันตก และเพิ่มพูนอิทธิพลของตนขึ้นเรื่อยมาภายใต้การปกครองของตระกูลกาแปซึ่งก่อตั้งโดยอูก กาแปในปี..
ดู สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4และประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส
แว็งซ็อง โอรียอล
ฌูล-แว็งซ็อง โอรียอล (Jules-Vincent Auriol, 27 สิงหาคม พ.ศ. 2427 - 1 มกราคม พ.ศ. 2509) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส นายกรัฐมนตรี และประธานสภาผู้แทนราษฎร หมวดหมู่:ประธานาธิบดีฝรั่งเศส หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส.
ดู สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4และแว็งซ็อง โอรียอล
แผนมอร์เกนเธา
แผนมอร์เกนเธา (Morgenthau Plan) เป็นโครงการฟื้นฟูสภาพเศรษฐกิจเยอรมนีของสัมพันธมิตรหลังจากนาซีเยอรมันพ่ายแพ้สงครามและประเทศเยอรมนีถูกยึดครองและแบ่งปกครองโดยทั้งสี่ประเทศคือ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4 และสหภาพโซเวียต โดยกำหนดให้ฟื้นฟูสภาพเศรษฐกิจเพียง 50% ของสภาพเศรษฐกิจเมื่อปี 1938 เพื่อป้องกันไม่ให้เยอรมนีกลายเป็นรัฐทหารอันก้าวร้าวได้อีก ซึ่งทางสหภาพโซเวียตเห็นด้วยกับแผนนี้เพราะไม่ต้องการให้เยอรมนีโจมตีรัสเซีย วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศของสหภาพโซเวียต กล่าวกับ เจมส์ เอฟ.
ดู สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4และแผนมอร์เกนเธา
เรอเน กอตี
รอเน ฌูล กุสตาฟว์ กอตี (René Jules Gustave Coty, 20 มีนาคม พ.ศ. 2425 - 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2505) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งในระหว่างปี..
ดู สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4และเรอเน กอตี