โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก

ดัชนี สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก

รณรัฐประชาธิปไตยคองโก (République Démocratique du Congo) หรือบางครั้งมีผู้เรียกว่า คองโก (Congo) และ คองโก-กินชาซา (Congo-Kinshasa) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกากลางและเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่อันดับที่ 2 ของทวีป สาธารณรัฐประชาธิปไตยมีอาณาเขตจรดสาธารณรัฐแอฟริกากลางและซูดานทางทิศเหนือ จรดยูกันดา รวันดา บุรุนดี และแทนซาเนียทางทิศตะวันออก จรดแซมเบียและแองโกลาทางทิศใต้ และจรดสาธารณรัฐคองโกทางทิศตะวันตก โดยมีทางออกสู่ทะเลตามแม่น้ำคองโกไปสู่อ่าวกินี ชื่อ คองโก (หมายถึง "นักล่า") มาจากกลุ่มชาติพันธุ์บาคองโก (Bakongo) ซึ่งอาศัยอยู่บริเวณลุ่มน้ำคองโก ในอดีตสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกเคยเป็นอาณานิคมของเบลเยียม โดยมีชื่อว่า เบลเจียน คองโก (Belgian Congo) ในปี พ.ศ. 2514 หลังจากได้รับเอกราช 11 ปี ก็ได้เปลี่ยนชื่อประเทศจากคองโก-กินชาซา (ใส่ชื่อเมืองหลวงไว้ข้างหลัง เพื่อแยกความแตกต่างระหว่างประเทศนี้กับ สาธารณรัฐคองโก หรือ (คองโก-บราซาวีล) เป็นสาธารณรัฐซาอีร์ จนถึงปี พ.ศ. 2540 จึงได้เปลี่ยนชื่อกลับมาเป็น "คองโก" ตามเดิม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 เป็นต้นมา สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกต้องเผชิญกับความทุกข์ยากอย่างใหญ่หลวงจากสงครามคองโกครั้งที่ 2 (Second Congo War) อันเป็นความขัดแย้งที่ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 บางครั้งจึงมีผู้เรียกว่า "สงครามโลกแอฟริกา" (African World War).

166 ความสัมพันธ์: บราซาวีลบาเซนจีชิมแปนซีชูเซ โบซิงกวาช้างฟาบริซ มูอัมบาพ.ศ. 2553พ.ศ. 2556กลินตอน เอ็นฌีเอกอริลลากอริลลาภูเขากองทัพอุรุกวัยการระบาดของไวรัสอีโบลาในแอฟริกาตะวันตกการร้องทุกข์ต่อศาลอาญาระหว่างประเทศการทารุณเด็กทางเพศการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์รวันดากินชาซากีฬาบาสเกตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อนภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆภาษาฝรั่งเศสภาษาสวาฮีลีมอนิก โบโดมาลาไคต์มิสเวิลด์ 2016มิสเวิลด์ 2017มิสเอิร์ธ 2016มูฮัมหมัด อาลียุคหินกลาง (แอฟริกา)ยูซุฟ มูเลิงบูราชอาณาจักรคองโกรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อรองชนะเลิศและผู้เข้ารอบสุดท้ายนางงามจักรวาลรายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติรายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุรายชื่อสนธิสัญญารายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรปรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรมรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (A–C)รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตทองแดงรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตดีบุกรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทยรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดรายชื่อเขตการปกครองตามขนาดพื้นที่รายการภาพธงชาติรีดบักโบฮอร์ลอริอุสเวิลด์สปอตส์อะวอดส์ลัทธิอาณานิคมในทวีปแอฟริกาลิงขนทองลิงเลซูลา...วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2018 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกาวอลเลย์บอลชายทีมชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกาวันชาติวันมือแดงสกุลผักกาดหอมสกุลคองโกโครมิสสกุลเอื้องหมายนาสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกาสมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมสหพันธรัฐสาธารณรัฐคองโกสาธารณรัฐคองโก (เลออปอลวีล)สาธารณรัฐซาอีร์สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกใน ค.ศ. 1968สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกใน ค.ศ. 2000สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกใน ค.ศ. 2004สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกใน ค.ศ. 2008สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกใน ค.ศ. 2012สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกใน ค.ศ. 2016สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกใน ค.ศ. 2020สาธารณรัฐแอฟริกากลางสิงโตสุริยุปราคา 1 กันยายน พ.ศ. 2559สุริยุปราคา 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556สงครามอาณานิคมโปรตุเกสสแตฟว์ ม็องด็องดาอักษรอาหรับอักแซล ตวนเซเบอาณานิคมโพ้นทะเลของเบลเยียมอุทยานแห่งชาติวีรูงกาอีดี อามินอีโบลา (แก้ความกำกวม)อนุสัญญาแรมซาร์ฮิปโปโปเตมัสจระเข้แคระจุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์ธงชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกทวีปแอฟริกาทอง ป.โชคชัยทะเลสาบคีวูทะเลสาบแทนกันยีกาทิวเขารูเวนโซรีทีมชาติที่ลงแข่งขันฟุตบอลโลกดอน คิงคริสตีย็อง แบนเตเกคริสต์สหัสวรรษที่ 3ความขัดแย้งในสาธารณรัฐแอฟริกากลาง (พ.ศ. 2555–ปัจจุบัน)คองกามาโตคองโกคำขวัญประจำชาติคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศงูเห่าน้ำประวัติศาสตร์เอชไอวี/เอดส์ประเทศบุรุนดีประเทศยูกันดาประเทศรวันดาประเทศซิมบับเวประเทศแองโกลาประเทศแทนซาเนียประเทศแซมเบียประเทศเบลเยียมประเทศเซาท์ซูดานปลารีดฟิชปลาอะโรวานาแอฟริกาปลาไทเกอร์วิเตตัสป่าเมฆนกกระเรียนมงกุฎเทานกนางแอ่นแม่น้ำนกนางแอ่นแม่น้ำแอฟริกานางงามจักรวาล 1972นางงามจักรวาล 1973นางงามจักรวาล 1984นางงามจักรวาล 1987นโยบายการขอรับลงตราของประเทศลาวแม่น้ำอีโบลาแม่น้ำแซมบีซีแอฟริกัน ทริปาโนโซมิเอซิสแอฟริกากลางแฌร์แม็ง กาต็องกาโบโนโบโกลด มาเกเลเลโมบูตู เซเซ เซโก้โมแกเล-อึมแบมเบโรคไวรัสอีโบลาโรเมลู ลูกากูโอลิมปิกฤดูร้อน 1976โอคาพีโฌแอ็ล ซามีโจเซฟ กาบีลาไก่ต๊อกหมวกเหล็กไมยราบยักษ์ไฮแรกซ์จุดเหลืองไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์กไดแอน ฟอสซีย์ไดโนซอร์ เจาะแดนลี้ลับช็อกโลกเช เกบาราเบลเจียนคองโกเกรตริฟต์แวลลีย์เวลายุโรปกลางเสรีรัฐคองโกเสือดาวแอฟริกาเสือไฟแอฟริกาเผด็จการทหารเทือกเขาวีรูงกาเขตเวลาเดอบูกงกอแลเซอร์วัลISO 4217UTC+01:00UTC+02:00Xenotilapia papilio.cd.zr5 ธันวาคม ขยายดัชนี (116 มากกว่า) »

บราซาวีล

ราซาวีล (Brazzaville) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสาธารณรัฐคองโก ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำคองโก เชื่อมต่อกับชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก จากการสำรวจประชากรในปี..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและบราซาวีล · ดูเพิ่มเติม »

บาเซนจี

ซนจี (Basenji) สายพันธุ์สุนัขล่าเหยื่อ (Hound) ชนิดหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมที่ทวีปแอฟริกา บริเวณประเทศคองโก โดยคำว่า "บาเซนจี" เป็นภาษาสวาฮีลีแปลว่า "สิ่งที่อยู่ในพุ่มไม้" บาเซนจีเป็นสุนัขที่ผู้คนในแถบทวีปแอฟริกานิยมเลี้ยงมานานแล้ว เพราะหลักฐานทางโบราณคดีพบว่า รูปสลักในปิรามิดมีรูปของสุนัขที่ลักษณะคล้ายบาเซนจีอยู่ และแม้เทพองค์หนึ่งที่เป็นที่นับถือของชาวอียิปต์โบราณ คือ อะนูบิส (Anubis) ก็มีหัวเป็นสุนัขคล้ายบาเซนจี ชาวพื้นเมืองในแอฟริกานิยมใช้บาเซนจีในการล่าสัตว์ ซึ่งบาเซนจีสามารถใช้ล่าเป็นอย่างดีทั้งสัตว์ขนาดเล็ก อย่าง นก หนู กระต่าย หรือแม้แต่กระทั่งสัตว์ขนาดใหญ่อย่างกอริลลา ลักษณะของบาเซนจี เป็นสุนัขขนสั้น รูปร่างปราดเปรียว สง่างาม หลังตรง รูปร่างถือว่าไม่ใหญ่เมื่อเทียบกับสุนัขล่าเนื้อชนิดอื่น ๆ หางม้วนเป็นวงกลม หน้าแหลม หูแหลมชี้ตั้ง มีความสูงประมาณ 40–43 เซนติเมตร น้ำหนัก 9.5–11 กิโลกรัม และมีลักษณะพิเศษคือ ไม่มีกลิ่นตัว และไม่เห่า จัดว่าเป็นสุนัขชนิดเดียวในโลกที่ไม่เห่า เมื่อเวลาจะส่งเสียงขู่จะเพียงแค่คำรามสั้น ๆ ในลำคอ สีลำตัวโดยมากจะเป็นสีน้ำตาล–ขาว หรือ สีน้ำตาลแดง–ขาว อายุโดยเฉลี่ย 16 ปี อุปนิสัยของบาเซนจี เป็นสุนัขฉลาด แม้จะไม่เห่า แต่ก็สามารถใช้เฝ้าบ้านได้เป็นอย่างดี มีสัญชาตญาณความเป็นนักล่าสูงอันเป็นลักษณะนิสัยประจำสายพันธุ์ และรักอิสระไม่ชอบให้ใครมาบังคับขู่เข็ญ เข้ากับเด็ก ๆ ได้ดี แต่มักไม่สนใจสิ่งรอบข้าง บาเซนจีถูกนำเข้ามาในอังกฤษครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและบาเซนจี · ดูเพิ่มเติม »

ชิมแปนซี

มแปนซี (Chimpanzee; ชื่อวิทยาศาสตร์: Pan troglodytes) เป็นลิงไม่มีหางที่มีความใกล้เคียงกับมนุษย์มากที.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและชิมแปนซี · ดูเพิ่มเติม »

ชูเซ โบซิงกวา

ูเซ โบซิงกวา ดา ซิลวา (José Bosingwa da Silva) เป็นอดีตนักฟุตบอลสังกัดสโมสรฟุตบอลเชลซี ปัจจุบันอยูสโมสรแทร็บซอนสปอร์และเขาลงเล่นให้ทีมชาติโปรตุเกส ส่วนสูง 183 เซนติเมตร (6 ฟุต) ตำแหน่งแบ็กขวา/กองกลาง.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและชูเซ โบซิงกวา · ดูเพิ่มเติม »

ช้าง

รงกระดูกช้างแอฟริกา ช้าง เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมขนาดใหญ่วงศ์ Elephantidae โดยแบ่งเป็นสองสกุล ได้แก่ Elephas และ Loxodonta ช้างในปัจจุบันเหลือ 3 สปีชีส์ คือ ช้างแอฟริกา, ช้างป่าแอฟริกา และช้างเอเชีย (หรือที่รู้จักกันในชื่อ ช้างอินเดีย) ส่วนสปีชีส์และสกุลอื่นของวงศ์ Elephantidae ล้วนสูญพันธุ์ไปหมดแล้ว บางสปีชีส์หรือสกุลสูญพันธุ์ไปตั้งแต่ยุคน้ำแข็งครั้งหลังสุด ถึงแม้ว่าช้างแมมมอธในรูปแคระอาจสืบสายพันธุ์ต่อมาจนถึง 2,000 ปีก่อนคริสตกาล ช้างและสัตว์ในวงศ์ Elephantidae อื่น ๆ เคยถูกจัดเป็นประเภทเดียวกับสัตว์หนังหนาอื่น ๆ ชื่อว่าอันดับ Pachydermata ซึ่งปัจจุบันเลิกใช้แล้ว ช้างนับเป็นสัตว์บกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในปัจจุบัน ใช้เวลาการตั้งครรภ์ถึง 22 เดือน ซึ่งนับว่านานที่สุดในบรรดาสัตว์บกทุกชนิด ช้างแรกเกิดมีน้ำหนักเฉลี่ย 120 กิโลกรัม มีอายุขัยอยู่ระหว่าง 50 ถึง 70 ปี แต่ช้างอายุมากที่สุดที่เคยบันทึกไว้มีอายุถึง 109 ปี ช้างขนาดใหญ่ที่สุดที่เคยบันทึกไว้อาศัยอยู่ในแองโกลาในปี..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ฟาบริซ มูอัมบา

ฟาบริซ มูอัมบา (Fabrice Muamba) เป็นอดีตนักฟุตบอลอาชีพ เกิดเมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2531 ที่เมืองกินชาซา ประเทศซาอีร์ (สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกในปัจจุบัน) อพยพมาอยู่ที่ประเทศอังกฤษขณะมีอายุ 11 ขวบ เข้าเป็นนักฟุตบอลในนามทีมเยาวชนของสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอล เมื่อปี พ.ศ. 2545 หลังจากนั้นจึงเซ็นสัญญาเป็นนักฟุตบอลอาชีพกับสโมสรในปี พ.ศ. 2547 และต่อมาเล่นให้กับโบลตันวอนเดอเรอส์ มูอัมบา ตกเป็นข่าวดังไปทั่วโลกเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2555 ขณะทำการแข่งขันฟุตบอลเอฟเอคัพรอบ 8 ทีมสุดท้าย มูอัมบาได้หมดสติขณะทำการแข่งขันในครึ่งแรกซึ่งยังผลให้ต้องหยุดการแข่งขันในครั้งนี้ไปโดยปริยาย และถูกส่งตัวไปทำการรักษาในห้องไอซียู ศูนย์โรคหัวใจ โรงพยาบาลทรวงอกลอนดอน จากนั้นเขาจึงประกาศเลิกเล่นฟุตบอลอาชีพตามคำแนะนำของแพท.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและฟาบริซ มูอัมบา · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

กลินตอน เอ็นฌีเอ

กลินตอน มัว เอ็นฌีเอ (เกิดวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1993) เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวแคเมอรูน ปัจจุบันลงเล่นให้กับออแล็งปิกเดอมาร์แซย์ในลีกเอิง และทีมชาติแคเมอรูน เอ็นฌีเอเริ่มต้นอาชีพฟุตบอลกับลียงในปี..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและกลินตอน เอ็นฌีเอ · ดูเพิ่มเติม »

กอริลลา

ัวน้อย กอริลลาเพศเมียที่มีชื่อเสียงแห่งสวนสัตว์พาต้า กอริลลา (Gorilla) เป็นเอปที่อยู่ในเผ่า Gorillini และสกุล Gorilla ในวงศ์ Hominidae นับเป็นไพรเมตที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่ยังดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน กอริลลา จัดเป็นเอปจำพวกหนึ่งในบรรดาเอปทั้งหมดที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน และจัดเป็นเอปและไพรเมตที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีถิ่นกำเนิดอยู่ในตอนกลางของทวีปแอฟริกา ทั้งที่เป็นที่ราบต่ำ และเป็นภูเขาสูงแถบเทือกเขาวีรูงกาที่มีระดับความสูงจากน้ำทะเลถึง 2,200–4,300 เมตร (7,200–14,100 ฟุต) ในคองโก และรวันดา กอริลลา นับได้ว่าเป็นเอปที่มีความใกล้เคียงกับมนุษย์มากที่สุดรองจากชิมแปนซีและโบโนโบ โดยมีดีเอ็นเอที่ใกล้เคียงกับมนุษย์ถึงร้อยละ 95–99.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและกอริลลา · ดูเพิ่มเติม »

กอริลลาภูเขา

กอริลลาภูเขา (Mountain gorilla) เป็นชนิดย่อยของกอริลลาตะวันออก (G. ฺberingei) ชนิดหนึ่ง กอริลลาภูเขาเป็นสัตว์เฉพาะถิ่นพบกระจายพันธุ์อยู่ในเขตเทือกเขาวีรูงกาในเขตแดน 3 ประเทศเท่านั้น คือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก, รวันดา และอูกันดา โดยแบ่งออกได้เป็นฝูงทั้งหมด 3 ฝูง ฝูงแรกมีชื่อเรียกว่า "วีรูงกา" มีจำนวนประมาณ 480 ตัว อาศัยอยู่ในเทือกเขาวีรูงกาและภูเขาไฟในอุทยานแห่งชาติทางตอนเหนือของรวันดา ในป่ามงตาน ซึ่งเป็นป่าไผ่ ในระดับความสูงจากน้ำทะเล 2,500–4,000 เมตร, ฝูงที่สองมีชื่อเรียกว่า "มจาฮิงจา" พบทางตอนใต้ของอูกันดา และ "บวินดี" พบในอุทยานแห่งชาติบวินดี ในอูกันดา อาศัยอยู่ในเทือกเขาสูงจากระดับน้ำทะเล 1,500–2,300 เมตร มีประมาณ 400 ตัว โดยถือเป็นสถานที่ ๆ มีชื่อเสียงที่พบได้มากที่สุดอีกด้วย โดยจำนวนกอริลลาภูเขาในปัจจุบันในธรรมชาติมีประมาณ 880 ตัว กอริลลาภูเขา มีพฤติกรรมเหมือนกับกอริลลาชนิดอื่น ๆ คือ อาศัยอยู่เป็นครอบครัว ประกอบด้วยตัวผู้จ่าฝูงที่มีหลังขนหลังสีหงอกเทาหรือสีเงิน หรือที่เรียกว่า "หลังเงิน" (Silverback) ตัวเมียและลูก ๆ จัดเป็นกอริลลาที่มีขนาดใหญ่มากอีกชนิดหนึ่ง โดยเป็นกอริลลาที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 รองจากกอริลลาที่ลุ่มตะวันออก (G. b. graueri) ซึ่งถือเป็นกอรริลาตะวันออกอีกชนิดหนึ่งเท่านั้น ตัวผู้ที่โตเต็มที่หนักได้ถึง 195 กิโลกรัม (430 ปอนด์) และสูงเมื่อยืนด้วยสองขาหลังประมาณ 150 เซนติเมตร (59 นิ้ว) และน้ำหนักในตัวเมีย 100 กิโลกรัม (220 ปอนด์) และสูงประมาณ 130 เซนติเมตร (51 นิ้ว)ช่วงแขนที่วัดจากปลายนิ้วข้างหนึ่งถึงอีกข้างหนึ่งอาจยาวถึง 2 เมตร อาศัยอยู่ในป่าดิบทึบและป่าเมฆที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 2,200–4,300 เมตร (7,200–14,100 ฟุต) ในพื้นที่ ๆ อุณหภูมิมีความหนาวเย็นประมาณ 10 องศาเซลเซียสและชื้นแฉะ กอริลลาภูเขา เป็นสัตว์ที่กินพืชเป็นอาหารหลัก โดยมีชนิดพืชที่กินได้หลากหลาย เมื่อกินแล้วจะถ่ายมูลซึ่งมีลักษณะคล้ายกับอุจจาระของมนุษย์ตามสุมทุมพุ่มไม้ต่าง ๆ หรีอบางครั้งอาจถ่ายทิ้งไว้ที่ระหว่างทาง มีพฤติกรรมย้ายที่หากินไปเรื่อย ๆ ไม่มีหลักแหล่งที่แน่นอน ตัวผู้ในวัยโตเต็มที่จะกินอาหารมากถึงวันละ 30 กิโลกรัม ขณะที่ในตัวเมีย 18 กิโลกรัม ในฝูง ๆ หนึ่งประกอบไปด้วยตัวผู้ที่เป็นจ่าฝูง โดยมีตัวเมียประมาณ 3 ตัว และมีกอริลลาที่ยังไม่โตเต็มวัยซึ่งเป็นลูก ๆ อีกราว 3 ตัว ซึ่งแต่ละฝูงจะมีอาณาเขตเป็นของตัวเองชัดเจน โดยตัวผู้จ่าฝูงจะทำหน้าที่ปกป้องดูแลอาณาเขตของตัวเอง อีกทั้งยังมีพฤติกรรมคล้ายกับมนุษย์มาก กล่าวคือ จับคู่เพียงตัวเดียวตลอดชีวิต, มีการแข่งขันกันเองในหมู่พี่น้อง, ลูกตัวผู้มีการต่อสู้กับพ่อ หรือการที่จ่าฝูงที่อายุมากแล้วส่งมอบการเป็นจ่าฝูงให้แก่ตัวที่แข็งแรงกว่าตัวใหม่ขึ้นเป็นจ่าฝูงแทน เป็นต้นหน้า 7 จุดประกาย, Mountain Gorilla ออกเดินทางตามหากอริลลาภู.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและกอริลลาภูเขา · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพอุรุกวัย

กองทัพอุรุกวัย (Fuerzas armadas del Uruguay: FF.AA.) ประกอบด้วย กองทัพบก กองทัพเรือและกองทัพอากาศ รัฐธรรมนูญ ได้บัญญัติไว้ดังนี้ ประธานาธิบดี เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดโดยตำแหน่ง และ ใช้อำนาจผ่านกระทรวงกลาโหม.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและกองทัพอุรุกวัย · ดูเพิ่มเติม »

การระบาดของไวรัสอีโบลาในแอฟริกาตะวันตก

การระบาดกว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ของโรคไวรัสอีโบลา เริ่มในประเทศกินีในเดือนธันวาคม 2556 และยังมีการเสียชีวิตอย่างสำคัญเรื่อยมาเป็นเวลาสองปี จนกำลังมีการประกาศว่ายุติในเดือนมกราคม 2559 โรคระบาดกระจุกอยู่ในหลายประเทศแอฟริกาตะวันตก ได้แก่ ประเทศไลบีเรีย กินีและเซียร์ราลีโอน โดยมีการระบาดขนาดเล็กที่อื่น โรคมีอัตราตายสำคัญ โดยอัตราป่วยตายที่รายงานถึง 70% และโดยเฉพาะ 57–59% ของผู้ป่วยที่เข้ารักษาในโรงพยาบาล มีการอธิบายโรคไวรัสอีโบลาครั้งแรกในปี 2519 ในการระบาดพร้อมกันสองครั้งในเซาท์ซูดานและสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก แต่ครั้งนี้เป็นการระบาดของอีโบลาครั้งแรกในอนุทวีปแอฟริกาตะวันตก การระบาดเริ่มในกินีในเดือนธันวาคม 2556 แล้วลามไปไลบีเรียและเซียร์ราลีโอน เกิดการระบาดเล็กในประเทศไนจีเรียและมาลี และมีผู้ป่วยเดี่ยวในประเทศเซเนกัล สหราชอาณาจักรและซาร์ดีเนีย ผู้ป่วยจากนอกประเทศในสหรัฐอเมริกาและสเปนนำสู่การติดเชื้อทุติยภูมิของบุคลากรทางการแพทย์ แต่มิได้แพร่ไปอีก วันที่ 14 มกราคม 2559 องค์การอนามัยโลก (WHO) และรัฐบาลที่เกี่ยวข้องรายงานผู้ป่วยต้องสงสัยรวม 28,638 คน และเสียชีวิต 11,315 คน แม้ WHO เชื่อว่าตัวเลขนี้ประเมินขนาดของการระบาดครั้งนี้ต่ำกว่าจริงมากพอควร WHO ยังเตือนว่าอาจเกิดการระบาดเล็กอีกในอนาคต และควรระมัดระวังต่อไป ครั้งนี้เป็นการระบาดของอีโบลาครั้งแรกที่แตะสัดส่วนโรคระบาด การระบาดครั้งก่อน ๆ สามารถควบคุมได้ในไม่กี่สัปดาห์ ความยากจนสุดขั้ว ระบบสาธารณสุขที่ทำหน้าที่บกพร่อง ข้าราชการที่ไม่ไว้วางใจหลังการขัดกันด้วยอาวุธนานหลายปี และความล่าช้าในการสนองตอบการระบาดเป็นเวลาหลายเดือนทั้งหมดล้วนส่งเสริมให้การควบคุมโรคระบาดล้มเหลว ปัจจัยอื่นมีขนบธรรมเนียมฝังศพของท้องถิ่นที่ชำระศพหลังเสียชีวิตและการแพร่ไปนครที่มีประชากรอยู่หนาแน่น เมื่อโรคระบาดแพร่กระจาย หลายโรงพยาบาลซึ่งขาดแคลนเจ้าหน้าที่และเวชภัณฑ์ ไม่สามารถแบกรับภาระไหวและปิด ทำให้ผู้เชี่ยวชาญด้านสาธารณสุขบางคนแถลงว่า ความไร้สามารถรักษาความต้องการทางการแพทย์อื่นอาจทำให้ "ยอดผู้เสียชีวิตเพิ่มเป็นไปได้ว่าอาจสูงกว่าโรคระบาดเอง" เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลซึ่งทำงานใกล้ชิดกับสารคัดหลั่งที่ติดต่อทางสัมผัสของผู้เป็นโรค เป็นกลุ่มเสี่ยงสูงเป็นพิเศษต่อการรับเชื้อ ในเดือนสิงหาคม 2557 WHO รายงานว่า ร้อยละ 10 ของผู้เสียชีวิตเป็นเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ในเดือนกันยายน 2557 มีการประมาณว่า ขีดความสามารถของประเทศสำหรับการรักษาผู้ป่วยอีโบลานั้นขาดเทียบเท่า 2,122 เตียง ในเดือนธันวาคม มีจำนวนเตียงเพียงพอรักษาและแยกผู้ป่วยอีโบลาที่มีรายงานทั้งหมด แม้การกระจายของผู้ป่วยที่ไม่สม่ำเสมอส่งผลให้มีการขาดแคลนอย่างรุนแรงในบางพื้นที่ วันที่ 28 มกราคม 2558 WHO รายงานว่า เป็นครั้งแรกนับแต่สัปดาห์ที่ 29 มิถุนายน 2557 ซึ่งมีรายงานผู้ป่วยยืนยันใหม่น้อยกว่า 100 คนในสามประเทศที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด จากนั้นการสนองตอบโรคระบาดเคลื่อนไประยะที่สอง เมื่อความสนใจเปลี่ยนจากการชะลอการแพร่เชื้อเป็นการหยุดโรคระบาด วันที่ 8 เมษายน 2558 WHO รายงานว่ามีผู้ป่วยยืนยันรวมเพียง 30 คน และการปรับรายสัปดาห์ของวันที่ 29 กรกฎาคมรายงานผู้ป่วยเพียง 7 คน วันที่ 7 ตุลาคม 2558 ประเทศที่ได้รับผลกระทบร้ายแรงที่สุดทั้งสามประเทศบันทึกว่าไม่มีผู้ป่วยใหม่ในสัปดาห์นั้นเป็นครั้งแรก ทว่า เมื่อปลายปี 2558 แม้การระบาดขนาดใหญ่จะยุติลงแล้ว แต่ยังมีผู้ป่วยใหม่เกิดห่าง ๆ เกิดอยู่ ซึ่งขัดขวางความหวังที่จะสามารถประกาศว่าโรคระบาดสิ้นสุดลงแล้ว วันที่ 8 สิงหาคม 2557 องค์การอนามัยโลกประกาศให้การระบาดนี้เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขที่เป็นปัญหาระหว่างประเทศ WHO ถูกวิจารณ์อย่างกว้างขวางว่าลงมือปฏิบัติล่าช้าเพื่อจัดการกับโรคระบาดนี้ เดือนกันยายน 2557 แพทย์ไร้พรมแดน องค์การนอกภาครัฐซึ่งมีเจ้าหน้าที่มากที่สุดที่ทำงานในประเทศที่ได้รับผลกระทบ วิจารณ์การสนองระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น เมื่อวันที่ 3 กันยายน ประธานแพทย์ไร้พรมแดนกล่าวถึงการขาดความช่วยเหลือจากประเทศสมาชิกสหประชาชาติ ว่า "หกเดือนกับโรคระบาดอีโบลาที่เลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์ โลกกำลังพ่ายการต่อสู้เพื่อจำกัดมัน" ในถ้อยแถลงเมื่อวันที่ 26 กันยายน องค์การอนามัยโลกแถลงว่า "โรคระบาดอีโบลาซึ่งกำลังผลาญแอฟริกาตะวันตกบางส่วนเป็นภาวะฉุกเฉินสาธารณสุขเฉียบพลันที่รุนแรงที่สุดที่พบในสมัยใหม่" และผู้อำนวยการองค์การอนามัยโลก มาร์กาเรต ชาน เรียกโรคระบาดนี้ว่า "ใหญ่สุด ซับซ้อนที่สุด และรุนแรงที่สุดเท่าที่เราเคยเห็น" ในเดือนมีนาคม 2558 กลุ่มพัฒนาสหประชาชาติรายงานว่า เนื่องจากการลดการค้า การปิดพรมแดน การยกเลิกเที่ยวบินและการลงทุนต่างชาติและกิจกรรมการท่องเที่ยวที่เกิดจากความเสื่อมเสีย โรคระบาดนี้ได้ส่งผลลัพธ์ทางเศรษฐกิจใหญ่หลวงทั้งในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบในแอฟริกาตะวันตกและแม้แต่ในชาติแอฟริกาอื่นที่ไม่มีผู้ป่วยอีโบลา วันที่ 31 กรกฎาคม 2558 WHO ประกาศ "การพัฒนาที่มีความหวังอย่างยิ่ง" ในการแสวงวัคซีนที่มีประสิทธิภาพสำหรับโรคอีโบลา ขณะที่วัคซีนนี้แสดงประสิทธิพลัง 100% ในปัจเจกบุคคล แต่จำเป็นต้องมีหลักฐานที่สรุปได้มากกว่านี้ถึงขีดความสามารถในการป้องกันประชากรผ่านภูมิคุ้มกันหมู่ก่อน ในเดือนสิงหาคม 2558 หลังมีความคืบหน้าพอควรในการลดขนาดของโรคระบาด WHO จัดการประชุมเพื่อดำเนิน "แผนการดูแลครอบคลุมสำหรับผู้รอดชีวิตอีโบลา" และระบุการวิจัยที่ต้องการทำให้การดูแลเชิงคลินิกและความเป็นอยู่ดีทางสังคมให้เหมาะที่สุด ปัญหาพิเศษ คือ การวิจัยล่าสุดที่แสดงว่าผู้รอดชีวิตจากอีโบลาบางคนประสบสิ่งที่เรียก กลุ่มอาการหลังอีโบลา ซึ่งมีอาการรุนแรงจนผู้นั้นอาจต้องดูแลรรักษาทางการแพทย์เป็นเวลาหลายเดือนถึงหลายปี เมื่อโรคระบาดใกล้สิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2558 สหประชาชาติประกาศว่า มีเด็กกำพร้า 22,000 คนจากการเสียบิดาหรือมารดาหรือทั้งสองเนื่องจากอีโบล.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและการระบาดของไวรัสอีโบลาในแอฟริกาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

การร้องทุกข์ต่อศาลอาญาระหว่างประเทศ

ตราสัญลักษณ์ศาลอาญาระหว่างประเทศ ตามความในธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ (Rome Statute of the International Criminal Court) อันเป็นสนธิสัญญาจัดตั้งศาลอาญาระหว่างประเทศนั้น บุคคลหรือองค์กรจะแจ้งความดำเนินคดีที่อยู่ในอำนาจของศาลอาญาระหว่างประเทศต่อศาลนั้นก็ได้ ถ้าบุคคลเป็นผู้ยื่น เรียกว่า "ร้องทุกข์" (complain) ถ้ารัฐภาคีศาลก็ดี หรือเลขาธิการสหประชาชาติก็ดี เป็นผู้ยื่น เรียกว่า "เสนอข้อหา" (refer) และเรียกรวมกันว่า "กล่าวโทษ" (communicate)International Criminal Court.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและการร้องทุกข์ต่อศาลอาญาระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

การทารุณเด็กทางเพศ

การทารุณเด็กทางเพศ (Child sexual abuse ตัวย่อ CSA, child molestation) หรือ การกระทำทารุณต่อเด็กทางเพศ หรือ การทำร้ายเด็กทางเพศ เป็นรูปแบบการกระทำทารุณต่อเด็กที่ผู้ใหญ่, หรือเยาวชนหรือวัยรุ่นที่มีอายุมากกว่าและต่างระดับพัฒนา ใช้เด็กกระตุ้นความรู้สึกทางเพศ มีรูปแบบตั้งแต่การขอหรือบังคับให้เด็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางเพศ (ไม่ว่าจะได้ผลตามที่ต้องการหรือไม่), การแสดงสิ่งลามกอนาจารไม่ว่าจะเป็นอวัยวะเพศ หัวนมหญิง เป็นต้น เพื่อสนองความต้องการทางเพศของตน เพื่อขู่ขวัญเด็ก หรือเพื่อปะเหลาะประเล้าประโลมเตรียมเด็กเพื่อทารุณกรรม, การสัมผัสเด็กทางเพศ, หรือการใช้เด็กเพื่อผลิตสื่อลามกอนาจาร ทารุณกรรมสามารถเกิดขึ้นได้ในหลายที่หลายสถาน รวมทั้งที่บ้าน ที่โรงเรียน หรือสำนักงานที่มีเด็กทำงานเป็นปกติ การจับเด็กแต่งงานเป็นรูปแบบการทารุณหลักอย่างหนึ่ง ที่กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ได้กล่าวไว้ว่า "อาจเป็นรูปแบบการทารุณและฉวยผลประโยชน์จากเด็กหญิงทางเพศที่แพร่หลายที่สุด" ทารุณกรรมต่อเด็กส่งผลทางจิตใจ ให้เกิดความซึมเศร้า ความวิตกกังวล ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจแบบซับซ้อน (complex post-traumatic stress disorder) ความโน้มเอียงที่จะตกเป็นเหยื่อทารุณกรรมอีกในวัยผู้ใหญ่ รวมทั้งการบาดเจ็บทางกาย และเหล่านี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของปัญหาทั้งหมด ทารุณกรรมโดยสมาชิกครอบครัวซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการร่วมประเวณีกับญาติสนิท จะก่อให้เกิดปัญหาร้ายแรงยิ่งกว่าต่อเด็ก ส่งผลกระทบต่อจิตใจในระยะยาว โดยเฉพาะในกรณีที่ทำโดยผู้ปกครอง ไม่ว่าจะเป็นพ่อ แม่ พ่อเลี้ยง แม่เลี้ยง พ่อบุญธรรม แม่บุญธรรม ความแพร่หลายทั่วโลกของทารุณกรรมทางเพศต่อเด็กประเมินอยู่ที่ 19.7% ในหญิง และ 7.9% ในชาย ผู้กระทำผิดส่วนมากรู้จักเหยื่อ ราว 30% เป็นญาติ บ่อยที่สุดเป็นพี่ชาย พ่อ ลุง หรือลูกพี่ลูกน้อง ราว 60% เป็นคนรู้จักอื่นอย่างเช่น "เพื่อน"ของคนในครอบครัว พี่เลี้ยงเด็ก หรือเพื่อนบ้าน และราว 10% เป็นคนแปลกหน้า ผู้กระทำผิดส่วนใหญ่เป็นชาย จากการศึกษาพบว่า หญิงทำผิดต่อ 14-40% ของเหยื่อเด็กชาย และ 6% ของเหยื่อเด็กหญิง(โดยที่เหลือของเหยื่อทำโดยผู้ทำผิดเพศชาย) ส่วนคำภาษาอังกฤษว่า pedophile (คนใคร่เด็ก) มักจะใช้อย่างไม่เลือกกับทุก ๆ คนที่ทารุณเด็กทางเพศ แต่ผู้ทำผิดต่อเด็กทุกคนไม่ใช่คนใคร่เด็ก ยกเว้นถ้ามีความรู้สึกทางเพศที่รุนแรงกับเด็กที่อยู่ในวัยก่อนหนุ่มสาว และคนใคร่เด็กทุกคนก็ไม่ใช่ผู้ทำผิดต่อเด็ก ในกฎหมายบางประเทศ คำว่า child sexual abuse (การทารุณเด็กทางเพศ) ใช้เป็นคำคลุมทั้งการละเมิดกฎหมายอาญาและแพ่ง ที่ผู้ใหญ่ทำกิจทางเพศร่วมกับผู้เยาว์ หรือฉวยประโยชน์จากผู้เยาว์เพื่อสนองความรู้สึกทางเพศ สมาคมจิตวิทยาอเมริกัน (American Psychological Association) ยืนยันว่า "เด็กไม่สามารถยินยอมมีกิจกรรมทางเพศร่วมกับผู้ใหญ่" และประณามการทำเช่นนั้นของผู้ใหญ่ คือ "ผู้ใหญ่ที่มีกิจกรรมทางเพศร่วมกับเด็ก กำลังละเมิดทั้งกฎหมายและจริยธรรม ที่ไม่มีทางพิจารณาได้ว่าเป็นพฤติกรรมที่ปกติหรือที่ยอมรับได้ในสังคม".

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและการทารุณเด็กทางเพศ · ดูเพิ่มเติม »

การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์รวันดา

การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์รวันดาเป็นการสังหารหมู่พันธุฆาตทุตซี (Tutsi) และฮูตู (Hutu) สายกลางในประเทศรวันดา โดยสมาชิกรัฐบาลฝ่ายข้างมากฮูตู ระหว่างสมัยประมาณ 100 วันตั้งแต่วันที่ 7 เมษายนถึงกลางเดือนกรกฎาคม 2537 มีชาวรวันดาประมาณ 501,000–1,000,000 คนเสียชีวิต ซึ่งเป็น 70% ของชาวทุตซี และ 20% ของประชากรรวมของรวันดา สมาชิกอภิชนการเมืองแกนกลางที่เรียก อะคะซุ (akazu) วางแผนพันธุฆาตนี้ ซึ่งหลายคนนั่งตำแหน่งระดับสูงสุดของรัฐบาลแห่งชาติ ผู้ก่อการมาจากทหารในกองทัพรวันดา ตำรวจแห่งชาติ (ก็องดาร์เมอรี) ทหารอาสาสมัครที่รัฐบาลสนับสนุน ซึ่งมีอินเตราฮัมเว (Interahamwe) และอิมปูซูมูกัมบิ (Impuzamugambi) และประชากรพลเรือนฮูตู พันธุฆาตดังกล่าวเกิดในบริบทสงครามกลางเมืองรวันดา ความขัดแย้งที่กำลังดำเนินซึ่งเริ่มในปี 2533 ระหว่างรัฐบาลที่มีฮูตูนำกับแนวร่วมรักประเทศชาติรวันดา (Rwandan Patriotic Front, RDF) ซึ่งส่วนใหญ่ประกอบด้วยผู้ลี้ภัยทุตซีซึ่งครอบครัวของพวกเขาหลบหนีไปประเทศยูกันดาให้หลังระลอกความรุนแรงต่อทุตซีของฮูตู การกดดันระหว่างประเทศต่อรัฐบาลที่มีฮูตูนำของจูเวนัล ไฮเบียรีมานา (Juvénal Habyarimana) ส่งผลให้มีการหยุดยิงในปี 2536 โดยแผนการนำข้อตกลงอารูชา (Arusha Accords) ไปปฏิบัติซึ่งจะสร้างรัฐบาลที่แบ่งอำนาจกับ RDF ความตกลงนี้ทำให้ฮูตูอนุรักษนิยมจำนวนมากไม่พอใจ ซึ่งมีสมาชิกอะคะซุด้วย ซึ่งมองว่าเป็นการยอมรับข้อเรียกร้องของศัตรู ในหมู่ประชากรฮูตูทั่วไป การทัพของ RDF ยังเร่งเร้าการสนับสนุนอุดมการณ์ที่เรียก "พลังฮูตู" ซึ่งพรรณา RDF ว่าเป็นกำลังต่างด้าวที่เจตนาฟื้นฟูพระมหากษัตริย์ทุตซีและจับฮูตูเป็นทาส เป็นความเชื่อที่ทำให้เกิดการต่อต้านอย่างสุดขั้ว วันที่ 6 เมษายน 2537 เครื่องบินที่บรรทุกไฮเบียรีมานา และประธานาธิบดีบุรุนดี ไซเปรียน ทายามิรา (Cyprien Ntaryamira) ถูกยิงตกระหว่างลงจอดสู่กรุงคิกาลี ทำให้ทุกคนบนเครื่องเสียชีวิต การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เริ่มในวันต่อมา ทหาร ตำรวจและทหารอาสาสมัครประหารชีวิตผู้นำทุตซีและฮูตูสายกลางคนสำคัญอย่างรวดเร็ว แล้วตั้งจุดตรวจและสิ่งกีดขวางและใช้บัตรประจำตัวประชาชนชาวรวันดาเพื่อฆ่าทุตซีอย่างเป็นระบบ กำลังเหล่านี้เกณฑ์หรือกดดันพลเรือนฮูตูให้ติดอาวุธตนเองด้วยพร้า กระบอง วัตถุทื่อ และอาวุธอื่นเพื่อข่มขืนกระทำชำเรา ทำร้ายอวัยวะและฆ่าเพื่อนบ้านทุตซีของตนและทำลายหรือขโมยทรัพย์สินของพวกเขา การละเมิดความตกลงสันติภาพทำให้ RDF เริ่มการบุกใหม่และยึดการควบคุมส่วนเหนือของประเทศอย่างรวดเร็วก่อนยึดกรุงคิกาลีในกลางเดือนกรกฎาคม ทำให้การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์สิ้นสุด ระหว่างเหตุการณ์และผลลัพธ์ สหประชาชาติและประเทศอย่างสหรัฐ สหราชอาณาจักร และเบลเยียมถูกวิจารณ์ว่าอยู่เฉย ซึ่งรวมความล้มเหลวในการเสริมกำลังและอาณัติของทหารรักษาสันติภาพคณะผู้แทนช่วยเหลือแก่รวันดาของสหประชาชาติ (United Nations Assistance Mission for Rwanda, UNAMIR) ส่วนผู้สังเกตการณ์วิจารณ์รัฐบาลฝรั่งเศสโดยกล่าวหาว่าสนับสนุนรัฐบาลที่ฮูตูนำหลังการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เริ่มแล้ว พันธุฆาตนี้มีผลกระทบยาวนานล้ำลึกต่อประเทศรวันดาและประเทศเพื่อนบ้าน การใช้การข่มขืนกระทำชำเรายามสงครามอย่างแพร่หลายทำให้มีการติดเชื้อเอชไอวีพุ่งสูงขึ้น ซึ่งรวมเด็กทารกที่เกิดจากการข่มขืนกระทำชำเรามารดาที่ติดเชื้อใหม่ หลายครัวเรือนมีเด็กกำพร้าหรือหญิงหม้ายเป็นหัวหน้าครอบครัว การทำลายโครงสร้างพื้นฐานและการลดประชากรของประเทศอย่างรุนแรงทำให้เศรษฐกิจเป็นอัมพาต เป็นความท้าทายแก่รัฐบาลใหม่ที่จะทำให้เศรษฐกิจเติบโตอย่างรวดเร็วและสร้างเสถียรภาพ ชัยทางทหารของ RDF และการตั้งรัฐบาลที่ RDF ครอบงำทำให้ฮูตูหลายคนหนีไปประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งส่วนตะวันออกของประเทศซาเอียร์ (ปัจจุบันคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก) ที่ที่ฮูตูผู้ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เริ่มรวมกลุ่มใหม่ในค่ายผู้ลี้ภัยตามชายแดนกับประเทศรวันดา รัฐบาลที่มี RDF นำประกาศความจำเป็นต่อป้องกันมิให้เกิดพันธุฆาตอีก จึงนำการบุกเข้าประเทศซาเอียร์ ได้แก่ สงครามคองโกครั้งที่หนึ่ง (2539–2540) และครั้งที่สอง (2542–2546) การต่อสู้ด้วยอาวุธระหว่างรัฐบาลรวันดากับศัตรูในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกยังดำเนินต่อผ่านทหารอาสาสมัครตัวแทนในภูมิภาคโกมา ซึ่งรวมการกบฏเอ็ม23 (2546–2556) ประชากรฮูตูและทุตซีรวันดาขนาดใหญ่ยังอาศัยแบบผู้ลี้ภัยทั่วภูมิภาค ปัจจุบัน ประเทศรวันดามีวันหยุดราชการสองวันเพื่อระลึกถึงพันธุฆาตดังกล่าว ช่วงรำลึกแห่งชาติเริ่มด้วยวันอนุสรณ์พันธุฆาตในวันที่ 7 เมษายนและสิ้นสุดด้วยวันปลดปล่อยในวันที่ 4 กรกฎาคม สัปดาห์ถัดจากวันที่ 7 เมษายนกำหนดให้เป็นสัปดาห์ไว้ทุกข์อย่างเป็นทางการ การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์รวันดาเป็นเหตุผลสนับสนุนให้สร้างศาลอาญาระหว่างประเทศเพื่อกำจัดความจำเป็นสำหรับศาลชำนัญพิเศษเฉพาะกิจเพื่อฟ้องดำเนินคดีต่อผู้ที่ถูกกล่าวหาในเหตุพันธุฆาต อาชญากรรมต่อมนุษยชาติและอาชญากรรมสงครามในอนาคต.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์รวันดา · ดูเพิ่มเติม »

กินชาซา

กินชาซา (Kinshasa) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก หรือเป็นที่รู้จักในชื่อประเทศซาอีร์ในช่วงปี 1971 ถึง 1997 เมืองตั้งอยู่ริมแม่น้ำคองโก แต่เดิมเป็นหมู่บ้านชาวประมง ปัจจุบันเป็นพื้นที่เมือง มีประชากร 10,076,099 คนในปี 2009 ส่วนกรุงบราซาวีลของสาธารณรัฐคองโก (มีประชากรราว 1.5 ล้านคนในปี 2007 รวมเขตชานเมืองแล้ว) ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้ามแม่น้ำคองโกของกินชาซา หากรวมประชากรเข้ากับกรุงบราซาวีลแล้ว มีประชากรเกือบ 12 ล้านคน และเพราะว่าเขตการบริหารที่กว้างขวางอย่างมาก กว่า 60% ของพื้นที่เมืองเป็นชนบทธรรมชาติ และพื้นที่ในเมืองมีเพียงส่วนน้อยในเขตตะวันตกไกลของเมือง กินชาซาเป็นเมืองที่มีสถานะเทียบเท่าเมืองโจฮันเนสเบิร์ก ที่เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเขตกึ่งสะฮารา และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 3 ของทวีป รองจากเมืองเลกอสและไคโร และยังมักถูกพิจารณาว่าเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 2 รองจากปารีสที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส และหากแนวโน้มด้านสถิติประชากรอย่างต่อเนื่อง กรุงกินชาซาจะมีประชากรมากกว่ากรุงปารีสก่อนปี 2020.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและกินชาซา · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาบาสเกตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาบาสเกตบอลในโอลิมปิก (Basketball) ในโอลิมปิก ค.ศ. 1904 ที่เมืองเซนต์หลุยส์ รัฐมิสซูรี สหรัฐอเมริกา บาสเกตบอลชายได้เป็นกีฬาสาธิต ปี ค.ศ. 1908 มีการเปลี่ยนแปลงกฎจากที่ให้ผู้เล่นที่ทำฟาล์ว 5 ครั้ง ถูกตัดสิทธิ์ไม่ให้เล่นในเกมนั้น เป็นการให้อีกฝ่ายได้ชู้ตลูกโทษ 1 หรือ 2 ลูก บวกเพิ่มพิเศษอีก 1 ลูก ในปี 1936 กีฬาบาสเกตบอลชายได้รับการบรรจุให้เป็นกีฬาชิงเหรียญในโอลิมปิกเป็นครั้งแรก ที่กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี คราวนั้นยังแข่งขันกลางแจ้งบนคอร์ทดินของสนามเทนนิส ทีมชาติสหรัฐฯ ซึ่งตอนนั้นมีชื่อเรียกว่า แมคเฟอร์สันโกล๊บออยเลอร์ส (McPherson Globeoilers) ได้เหรียญทองโอลิมปิกจากการเอาชนะทีมแคนาดาไปด้วยคะแนน 19: 8 ที่ได้แต้มกันน้อยนั้นก็เป็นผลมาจากฝนตกสนามเฉอะแฉะ ทำให้ยากต่อการเล่น โดยเฉพาะการเลี้ยงบอล ส่วนบาสเกตบอลหญิงโอลิมปิกเกิดขึ้นครั้งแรกในปี 1976 ที่เมืองมอนทรีออล ประเทศแคนาดา ทีมบาสเกตบอลสหรัฐฯ เป็นทีมที่น่าเกรงขามที่สุด และครองความเป็นจ้าวมานานกว่า 50 ปี ได้เหรียญทองบาสเกตบอลโอลิมปิก 7 เหรียญแรก เสียให้กับสหภาพโซเวียต 3 ครั้ง ในปี ค.ศ. 1972 ค.ศ. 1980 และ ค.ศ. 1988 แต่ในปี 1980 นั้น ทีมสหรัฐฯไม่ได้ร่วมแข่ง เนื่องจากบอยคอตต์สหภาพโซเวียต แล้วปี 1992 ดรีมทีมของสหรัฐฯก็ได้เหรียญทอง โดยทำคะแนนทิ้งห่างคู่แข่งเฉลี่ยเกมละ 40 คะแนน หลังจากนั้นทีมสหรัฐฯ ก็อยู่อันดับต้นๆ มาตลอด ส่วนทีมรองๆ ลงไปนั้น มีทีมต่างๆในยุโรป เช่น โครเอเชีย ยูโกสลาเวีย และลิธัวเนีย ที่พัฒนาฝีมือขึ้นมาอย่างรวดเร็ว London 2012 basketball กีฬาบาสเกตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 เริ่มแข่งขันตั้งแต่ วันที่ 28 กรกฎาคม ถึง 12 สิงหาคม 2555มีการชิงชัย 2 ประเภทเหรียญทอง คือ ทีมชาย ทีมหญิง สนามที่ใช้ในการแข่งขัน คือสนาม Basketball Arena และสำหรับนัดชิงชนะเลิศที่สนาม Greenwich Arena.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและกีฬาบาสเกตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

ภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ

ระเบียงภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ แสดงตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ ที่มีในรายชื่อประเท.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2558 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ประมาณ 84 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 300 ล้านคน ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และสหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไท.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสวาฮีลี

ษาสวาฮีลี (หรือ คิสวาฮีลี) เป็นภาษากลุ่มแบนตูที่พูดอย่างกว้างขวางในแอฟริกาตะวันออก ภาษาสวาฮีลีเป็นภาษาแม่ของชาวสวาฮีลี ซึ่งอาศัยอยู่แถบชายฝั่งของแอฟริกาตะวันออกระหว่างประเทศโซมาเลียตอนใต้ ประเทศโมแซมบิกตอนเหนือ มีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 5 ล้านคนและคนพูดเป็นภาษาที่สองประมาณ 30-50 ล้านคน ภาษาสวาฮีลีได้กลายเป็นภาษาที่ใช้โดยทั่วไปในแอฟริกาตะวันออกและพื้นที่รอบ ๆ คำว่า Swahili มาจากรูปพหูพจน์ของคำภาษาอาหรับ sahel ساحل (เอกพจน์) คือ sawahil سواحل แปลว่า "ขอบเขต" และ "ชายฝั่ง" (ใช้เป็นคำวิเศษณ์ที่แปลว่า "คนที่อาศัยอยู่ชายฝั่ง" หรือ "ภาษาชายฝั่ง") นอกจากนี้ คำว่า sahel ใช้เรียกพื้นที่พรมแดนของทะเลทรายซาฮารา การเพิ่ม "i" ตรงท้ายน่าจะมาจาก nisba ของภาษาอาหรับ (ของชายฝั่ง سواحلي) บ้างก็ว่าเป็นเหตุผลทางสัทศาสตร.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและภาษาสวาฮีลี · ดูเพิ่มเติม »

มอนิก โบโด

ักรพรรดินีทายเฟือง (Empress Thai Phương) หรือพระนามเดิม มอนิก โบโด (Monique Baudot) หรือภายหลังเปลี่ยนเป็น มอนิก หวิญ ถวิ (Monique Vĩnh Thụy) พระสนมในสมเด็จพระจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งเวียดนาม.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและมอนิก โบโด · ดูเพิ่มเติม »

มาลาไคต์

มาลาไคต์ (Malachite) เป็นแร่ทองแดงคาร์บอเนต หรือคอปเปอร์คาร์บอเนต มีสูตรโครงสร้างทางเคมีเป็น Cu2CO3 (OH) 2 มีผลึกสีเขียวที่มักแสดงลักษณะรูปแบบของ โบทรียอยดัล ไฟบรัส และสตาแลคไมต.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและมาลาไคต์ · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2016

มิสเวิลด์ 2016 การประกวดมิสเวิลด์ครั้งที่ 66 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและมิสเวิลด์ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2017

มิสเวิลด์ 2017 ครั้งที่ 67 ของการประกวดมิสเวิลด์ จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและมิสเวิลด์ 2017 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเอิร์ธ 2016

มิสเอิร์ธ 2016, การประกวดมิสเอิร์ธ ครั้งที่ 16 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและมิสเอิร์ธ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มูฮัมหมัด อาลี

มูฮัมหมัด อาลี (Muhammad Ali) เป็นอดีตยอดนักมวยชาวอเมริกันในรุ่นเฮฟวี่เวทผู้เป็นตำนาน อาลีมีชื่อจริงแต่กำเนิดว่า เคสเซียส มาเซลลัส เคลย์ จูเนียร์ (Cassius Marcellus Clay Jr.) แต่นิยมเรียกว่า เคสเซียส เคลย์ (Cassius Clay) เกิดเมื่อวันที่ 17 มกราคม ค.ศ. 1942 ที่เมืองหลุยส์วิลล์ รัฐเคนตักกี้ สหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและมูฮัมหมัด อาลี · ดูเพิ่มเติม »

ยุคหินกลาง (แอฟริกา)

ในสาขาบรรพมานุษยวิทยาและชีววิทยาวิวัฒนาการเป็นต้น ยุคหินกลาง (Middle Stone Age ตัวย่อ MSA) เป็นยุคก่อนประวัติศาสตร์ของแอฟริการะหว่างยุคหินต้น (Early Stone Age) และยุคหินหลัง ๆ (Later Stone Age) โดยทั่วไปพิจารณาว่าเริ่มประมาณ 280,000 ปีก่อนและยุติประมาณ 50,000-25,000 ปีก่อน จุดเริ่มต้นของเครื่องมือหินแบบ MSA อาจเริ่มตั้งแต่ 550,000-500,000 ปีก่อน และดังนั้น นักวิจัยบางคนพิจารณาว่านั่นเป็นจุดเริ่มต้นของ MSA MSA บ่อยครั้งเข้าใจผิดว่าเท่ากับยุคหินเก่ากลาง (Middle Paleolithic) ของยุโรป เพราะมีระยะเวลาเกือบเหมือนกัน แต่ยุคหินเก่ากลางของยุโรปสัมพันธ์กับสปีชีส์มนุษย์ที่ต่างกัน ซึ่งก็คือ ''Homo neanderthalensis'' เปรียบเทียบกับแอฟริกาที่ไม่มีมนุษย์สปีชีส์นี้ในช่วง MSA นอกจากนั้นแล้ว งานโบราณคดีในแอฟริกายังได้ให้หลักฐานเป็นจำนวนมากที่แสดงว่า พฤติกรรมและลักษณะทางประชานของมนุษย์ปัจจุบันได้เริ่มพัฒนาขึ้นในแอฟริกาช่วง MSA ก่อนกว่าที่พบในยุโรปช่วงยุคหินเก่ากลางอย่างมาก อนึ่ง ราชบัณฑิตยสถานแปลคำว่า Mesolithic period (12,000-7,000 ปีก่อนในยุโรป และ 22,000-11,500 ปีก่อนในลิแวนต์) ว่า "ยุคหินกลาง" ซึ่งอาจซ้ำกับคำแปลของ Middle Stone Age (280,000-25,000 ปีก่อนในแอฟริกา) ได้เหมือนกัน แต่ให้สังเกตว่าคำแต่ละคำหมายเอาสิ่งที่ต่างกันแทบสิ้นเชิง MSA สัมพันธ์กับทั้งมนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน (anatomically modern humans) สปีชีส์ Homo sapiens และกับมนุษย์โบราณ (archaic Homo sapiens) ซึ่งบางครั้งก็เรียกว่า Homo helmei ด้วย หลักฐานที่เป็นรูปธรรมยุคต้น ๆ ของ MSA มาจากโบราณสถานต่าง ๆ ใน Gademotta Formation ในเอธิโอเปีย, หมวดหินแคปธิวริน (Kapthurin Formation) ในประเทศเคนยา และ Kathu Pan ในแอฟริกาใต้ เครื่องมือยุคหินกลางแอฟริกา (MSA) จากถ้ำบลอมโบส์ แอฟริกาใต้.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและยุคหินกลาง (แอฟริกา) · ดูเพิ่มเติม »

ยูซุฟ มูเลิงบู

ูซุฟ มูเลิงบู (Youssuf Mulumbu) เกิดเมื่อวันที่ 25 มกราคม..1987 (พ.ศ. 2530) เป็นนักฟุตบอลชาวคองโกเชื้อสายซาอีร์ ปัจจุบันเล่นอยู่กับสโมสรฟุตบอลเวสต์บรอมมิชอัลเบียนในเอฟเอพรีเมียร์ลีกของประเทศอังกฤษ โดยปกติมูเลิงจะเล่นในตำแหน่ง กองกลาง หมวดหมู่:นักฟุตบอลชาวคองโก หมวดหมู่:ผู้เล่นในพรีเมียร์ลีก หมวดหมู่:ผู้เล่นในลีกเอิง หมวดหมู่:ผู้เล่นสโมสรฟุตบอลเวสต์บรอมมิชอัลเบียน.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและยูซุฟ มูเลิงบู · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรคองโก

อาณาจักรแห่งคองโก (คองโก: Kongo dya Ntotila หรือ Wene wa Kongo หรือโปรตุเกส: Reino do Kongo) เป็นอาณาจักรแอฟริกันอยู่ในภาคตะวันตกตอนกลางของแอฟริกาในตอนนี้ทางตอนเหนือของแองโกลา, คาบินลา, สาธารณรัฐคองโกและตะวันตกของสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก. เช่นเดียวกับส่วนใต้สุดของประเทศกาบอง. ในขอบเขตที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของมันก็เข้าถึงได้จากมหาสมุทรแอตแลนติกทางตะวันตกไปถึงแม่น้ำกวันโกอยู่ทางทิศตะวันออก และจากแม่น้ำคองโกในทิศตะวันตกเฉียงเหนือไปยังแม่น้ำหน้าแรกในภาคใต้ ราชอาณาจักรประกอบด้วยจังหวัดหลักหลายปกครองโดยมานิคองโก, ภายหลังโปรตุเกสชื่อคองโก 'อึมเวเน คองโก' หมายถึงพระเจ้าหรือผู้ปกครองของอาณาจักรคองโก แต่อิทธิพลขยายไปยังสหราชอาณาจักรที่อยู่ใกล้เคียงเช่นโงโย, คาคองโก, นดองโกและมาตามบา. ราชอาณาจักรในช่วงปี 1390-1891 อยู่ในฐานะรัฐอิสระและ 1891-1914 อยู่ในฐานะเป็นรัฐอารักขาของราชอาณาจักรโปรตุเกส, ด้วยความพ่ายแพ้โปรตุเกสในปี 1914 การจลาจลที่เกิดขึ้นจากการยกเลิกระบอบกษัตริย์และการผนวกของดินแดนที่เหลือเป็น อาณานิคมของแองโกลา หมวดหมู่:ราชาธิปไตยในอดีต.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและราชอาณาจักรคองโก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรองชนะเลิศและผู้เข้ารอบสุดท้ายนางงามจักรวาล

ทความนี้แสดงรายชื่อของที่ได้รับรางวัลรองชนะเลิศในการประกวดนางงามจักรวาล ตั้งแต่ในปี ค.ศ. 1952.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและรายชื่อรองชนะเลิศและผู้เข้ารอบสุดท้ายนางงามจักรวาล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ

มาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ประกอบไปด้วยสมาชิกถาวร 5 ประเทศ และประเทศสมาชิกไม่ถาวร 10 ประเทศ มาจากการเลือก.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและรายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุ

รายชื่อสนามกีฬาฟุตบอลเรียงตามความจุ นับตามจำนวนเก้าอี้ ตามข้อกำหนดฟีฟ่าขั้นต่ำ 40,000 ที่นั่ง ที่สามารถจัดการแข่งขันรายการระดับฟุตบอลโลกได้ จำนวนรายชื่อดังกล่าวมีทั้งสนามกีฬาแห่งชาติ และสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอล ส่วนใหญ่จะเป็นสนามกีฬาอเนกประสงค์และสนามฟุตบอล.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและรายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป

ต่อไปนี้คือรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม จากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (A–C)

รายชื่อประเทศในภาษาต่างๆ ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไต.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (A–C) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตทองแดง

การส่งออกทองแดงทั่วโลกในปี 2012 ด้านล่างนี้ เป็นรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตทองแดง เป็นข้อมูลจากปี 2014 ข้อมูลเมื่อศตวรรษที่ผ่านม.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตทองแดง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตดีบุก

้านล่างนี้เป็นรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตของดีบุก เป็นข้อมูลจากปี 2557.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตดีบุก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย

รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไท.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเกาะเรียงตามขนาด

หน้านี้คือรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดทั่วโลก.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและรายชื่อเกาะเรียงตามขนาด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตการปกครองตามขนาดพื้นที่

ตการปกครองที่ใหญ่ที่สุด 50 อันดับแรก หมายเหตุ:ในแต่ละละติจูดในแผนที่อาจทำให้พื้นที่บิดเบือนทำให้การเปรียบเทียบกันโดยแผนที่นี้อาจมีข้อผิดพลาด นี้เป็นรายชื่อรวบรวมเขตการปกครองที่ใหญ่ที่สุด 50 อันดับแรกซึ่งนำรวมพื้นที่แหล่งน้ำในเขตการปกครองนั้นๆด้ว.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและรายชื่อเขตการปกครองตามขนาดพื้นที่ · ดูเพิ่มเติม »

รายการภาพธงชาติ

นื้อหาในหน้านี้เป็นรายการภาพธงชาติของประเทศต่าง ๆ ซึ่งแบ่งตามทวีป โดยยึดตามรายชื่อที่ปรากฏในหน้าบทความ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง (อ้างอิงตามการบัญญัติของราชบัณฑิตยสถานของไทย) ทั้งนี้รายชื่อดังกล่าวได้มีการเรียงลำดับใหม่ตามพจนานุกรม โดยยึดตามชื่อสามัญของแต่ละประเทศในภาษาไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ สำหรับประเทศที่ไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐเอกราช หรือได้รับการยอมรับบางส่วนได้แยกเป็นหัวข้อย่อยอีกกลุ่มหนึ่งในบทความนี้ โดยแสดงรายชื่อด้วยอักษรตัวเอนและเรียงลำดับตามชื่อสามัญเช่นเดียวกับกลุ่มประเทศที่เป็นรัฐเอกร.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและรายการภาพธงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รีดบักโบฮอร์

รีดบักโบฮอร์ (Bohor reedbuck) เป็นแอนทิโลปขนาดกลาง ที่พบได้ในแอฟริกากลาง ตัวผู้มีน้ำหนักตัวประมาณ 45–60 กิโลกรัม ตัวเมีย 35–45 กิโลกรัม ความสูงตั้งแต่กีบเท้าจนถึงหัวไหล่ 75–85 เซนติเมตร ความยาวลำตัว 1.2–1.4 เมตร อายุโดยเฉลี่ย 10 ปี มีเขาเฉพาะตัวผู้ที่โง้งงุ้มไปทางด้านหน้าของส่วนหัว ตัวเมียไม่มีเขา มีจุดเด่น คือ มีต่อมกลิ่นเป็นแผ่นหนังสีดำที่ใต้หูทั้งสองข้างเห็นได้ชัดเจน อาศัยอยู่ในภูมิประเทศที่เป็นพื้นที่ชุ่มน้ำ เช่น ดงกก, ดงอ้อ, ริมหนองหรือบึง หรือแม่น้ำที่ติดกับทุ่งหญ้า กินใบไม้, หญ้า รวมถึงดอกไม้ตูมในฤดูแล้ง เมื่อสะสมความชื้นจากพืชที่กินเข้าไปแล้วก็จะสามารถอดน้ำได้เป็นเวลานาน รีดบักโบฮอร์ ที่โตเต็มวัยแล้วมักตกเป็นเหยื่อของสิงโตและฝูงไฮยีนา ส่วนในวัยที่ยังไม่โตเต็มที่ก็จะถูกเสือดาว, เสือชีตาห์, ไฮยีนา, แมวป่า, อินทรีขนาดใหญ่ และงูเหลือมล่าเป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในป่าแอฟริกาตอนกลางจนถึงแอฟริกาตะวันออกไปจนถึงตะวันตก แบ่งออกเป็นชนิดย่อยได้ 5 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและรีดบักโบฮอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ลอริอุสเวิลด์สปอตส์อะวอดส์

ัญลักษณ์ของรางวัลลอริอุสเวิลด์สปอตส์อะวอดส์ ลอริอุสเวิลด์สปอตส์อะวอดส์ ลอริอุสเวิลด์สปอตส์อะวอดส์ (Laureus World Sports Awards) คือรางวัลเกียรติยศสำหรับนักกีฬาทั่วโลกที่จะมีการมอบรางวัลให้เป็นประจำทุกปี ซึ่งเริ่มต้นมีการมอบรางวัลมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000 ซึ่งรางวัลเป็นของมูลนิธิลอรีอุสสปอร์ตฟอร์กูด โดยแบ่งการมอบรางวัลทั้งหมด 9 สาขาในปัจจุบัน โดยในปี ค.ศ. 2013 มีงานประกาศรางวัลลอริอุสเวิลด์สปอตส์อะวอดส์ 2013 จัดขึ้นที่นครรีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล ในวันที่ 11 มีนาคม ค.ศ. 2013 ตามเวลาท้องถิ่นของประเทศบราซิล.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและลอริอุสเวิลด์สปอตส์อะวอดส์ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิอาณานิคมในทวีปแอฟริกา

อาณานิคมที่ประเทศจากยุโรปครอบครองในปี 1913 อาณานิคมในแอฟริกา (Scramble for Africa) หรือ การอาณานิคมในแอฟริกา เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1885 จากประเทศเยอรมนีโดยการนำของออตโต ฟอน บิสมาร์ค ได้จัดให้มีการประชุมในกรุงเบอร์ลินว่าด้วยข้อตกลงเกี่ยวกับการเข้าครอบครองดินแดนในทวีปแอฟริก.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและลัทธิอาณานิคมในทวีปแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ลิงขนทอง

ลิงขนทอง (Cercopithecus kandti) เป็นสปีชีส์หนึ่งของลิงโลกเก่า พบในเทือกเขาวีรูงกาในแอฟริกากลาง รวมทั้งอุทยานแห่งชาติ 4 แห่งในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก เขตที่อยู่ของมันจำกัดอยู่บริเวณป่าบนที่สูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งใกล้กับบริเวณที่มีต้นไผ่ขึ้น ลิงขนทองเคยถูกจัดให้เป็นสปีชีส์ย่อยของลิงสีน้ำเงิน (Cercopithecus mitis) ลิงทั้งสองชนิดนี้มีลักษณะโดยทั่วไปเหมือนกัน แต่ลิงขนทองจะมีปื้นสีส้มทองบริเวณสีข้างด้านบนและหลัง ลิงขนทองอาศัยอยู่ในพื้นที่ขนาดเล็กซึ่งทับซ้อนกับถิิ่นของกอริลลาภูเขากลุ่มหนึ่ง พฤติกรรมของลิงขนทองยังไม่เป็นที่ทราบกันดีนัก มันอาศัยอยู่กันเป็นกลุ่มซึ่งอาจมีลิงมากถึง 30 ตัว อาหารของมันส่วนใหญ่เป็นใบไม้และผลไม้ และยังคาดกันว่ามันอาจจะกินแมลงด้วย เนื่องจากการทำลายพื้นที่อยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องและเหตุสงครามปัจจุบันในเขตถิ่นที่อยู่อันจำกัด ทำให้ลิงขนทองถูกจัดให้เป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ในบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาต.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและลิงขนทอง · ดูเพิ่มเติม »

ลิงเลซูลา

ลิงเลซูลา (Lesula) ลิงโลกเก่าชนิดหนึ่ง ที่เพิ่งถูกอนุกรมวิธานในปี..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและลิงเลซูลา · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2018 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2018 รอบคัดเลือกโซนแอฟริกา จะมีสมาชิกทั้งหมด 3 ประเทศ ผ่านการคัดเลือกเข้าร่วมแข่งขันในรอบสุดท้ายที่ประเทศอิตาลี และประเทศบัลแกเรี.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2018 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายทีมชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก

วอลเลย์บอลชายทีมชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (DR Congo men's national volleyball team) เป็นตัวแทนของสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ รวมถึงนัดกระชับมิตร.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและวอลเลย์บอลชายทีมชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก (ซีเอวีบี) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลกเพื่อหาสมาชิก 2 ประเทศ เข้าร่วมการแข่งขัน ที่ประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันมือแดง

ตราสัญลักษณ์ของวันมือแดง วันมือแดง (Red Hand Day) ตรงกับวันที่ 12 กุมภาพันธ์ของทุกปี เป็นวันรำลึกประจำปีซึ่งมีการร้องขอผู้นำทางการเมืองและมีการจัดงานขึ้นทั่วโลกเพื่อให้ความสนใจแก่ชะตากรรมของทหารเด็ก เด็กผู้ซึ่งถูกบังคับให้เป็นทหารในช่วงสงครามและความขัดแย้งกันด้วยกำลังอาวุธเป้าหมายของวันมือแดงคือเรียกร้องให้มีการดำเนินการกับวิธีปฏิบัติดังกล่าว และสนับสนุนเด็กที่ได้รับผลกระทบจากวิธีปฏิบัตินี้ เด็กได้รับรายงานว่าถูกใช้เป็นทหารหลายครั้งในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา รวมทั้งความขัดแย้งกันด้วยกำลังอาวุธในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก รวันดา ยูกันดา ซูดาน โกตดิวัวร์ พม่า ฟิลิปปินส์ โคลัมเบีย และปาเลสไตน์ การฟื้นฟูสภาพของทหารเด็กที่กลับคืนสู่ชุมชนนั้นมีแตกต่างกันตั้งแต่ไม่เพียงพอไปจนถึงไม่ปรากฏเลย วันมือแดงได้รับการริเริ่มขึ้นใน..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและวันมือแดง · ดูเพิ่มเติม »

สกุลผักกาดหอม

กุลผักกาดหอมหรือ Lactuca เป็นพืชมีดอกในวงศ์ Asteraceae ประกอบด้วย 50 สปีชีส์ แพร่กระจายไปทั่วโลก พืชในสกุลนี้ที่รู้จักดีที่สุดคือผักกาดหอม (Lactuca sativa) ที่มีหลายสายพันธุ์ บางสปีชีส์เป็นวัชพืช มีทั้งพืชฤดูเดียว พืชสองฤดูและพืชหลายฤดูLebeda, A., et al.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและสกุลผักกาดหอม · ดูเพิ่มเติม »

สกุลคองโกโครมิส

กุลคองโกโครมิส เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Congochromis (/คอง-โก-โคร-มิส/) จัดเป็นปลาหมอแคระสกุลหนึ่ง เป็นสกุลใหม่ที่เพิ่งถูกตั้งชื่อมาในปี ค.ศ. 2007 เดิมเคยจัดให้อยู่ในสกุล Nanochromis ลักษณะโดยทั่วไป คือ มีขนาดเล็กกว่าปลาในสกุล Nanochromis มีลำตัวป้อมกว่า ตาไม่ปูดโปนทำให้ทรงหัวดูมนกลม มีพฤติกรรมหากินบริเวณพื้นน้ำ อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง มีลักษณะการว่ายน้ำที่ประหลาด พบกระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกาตอนกลาง แถบลุ่มแม่น้ำคองโก ได้แก่ แคเมอรูน, ซาอีร์, แอฟริกากลาง เป็นต้น แบ่งออกได้เป็น 4 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและสกุลคองโกโครมิส · ดูเพิ่มเติม »

สกุลเอื้องหมายนา

กุลเอื้องหมายนา หรือ Costus เป็นสกุลของไม้ล้มลุกอายุหลายปีอยู่ในวงศ์ Costaceae ซึ่งตั้งชื่อโดยลินเนียสใน..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและสกุลเอื้องหมายนา · ดูเพิ่มเติม »

สมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา

มาพันธ์ฟุตบอลแอฟริกา (Confederation of African Football) หรือ ซีเอเอฟ (CAF) เป็นองค์กรที่ควบคุมการแข่งขันฟุตบอลในทวีปแอฟริกา และเป็น 1 ใน 6 สมาคมที่จัดการแข่งขันฟุตบอลทั่วโลกของฟีฟ่า ซีเอเอฟก่อตั้งเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ที่ประเทศอียิปต.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 2 (Léopold Louis Philippe Marie Victor, Leopold Lodewijk Filips Maria Victor, 9 เมษายน ค.ศ. 1835 - 17 ธันวาคม ค.ศ. 1909) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเบลเยียม ประสูติในกรุงบรัสเซลส์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่สอง (แต่มีพระชนมายุมากที่สุดที่ยังมีพระชนม์ชีพ) ของสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 1 และหลุยส์-มารีแห่งออร์เลอ็อง พระองค์สืบราชสมบัติต่อจากพระราชบิดาเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและสมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธรัฐ

แผนที่ประเทศสหพันธรัฐอย่างเป็นทางการ รัฐเดี่ยว สหพันธรัฐ (federation) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า รัฐสหพันธ์ เป็นรัฐอธิปไตยประเภทหนึ่งซึ่งมีลักษณะของสหภาพรัฐหรือภูมิภาคที่ปกครองตนเองบางส่วน ที่รวมเข้าด้วยกันโดยรัฐบาลกลาง หรือรัฐบาลสหพันธ์ ในสหพันธรัฐ สถานะการปกครองตนเองของรัฐองค์ประกอบนั้นตามแบบได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญและไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้โดยการตัดสินใจฝ่ายเดียวของรัฐบาลกลาง ระบอบการปกครองหรือโครงสร้างตามรัฐธรรมนูญที่พบในสหพันธรัฐนั้นทราบกันในชื่อ ระบอบสหพันธรัฐ เป็นระบอบการปกครองที่ตรงข้ามกับรูปแบบรัฐอีกประเภทหนึ่ง คือ รัฐเดี่ยว ตัวอย่างสหพันธรัฐ เช่น ประเทศเยอรมนี ซึ่งประกอบด้วยสิบหกรัฐ (Länder) ที่รวมเข้ากันเป็นสหพันธ์ สหพันธรัฐนั้นอาจประกอบไปด้วยประชาชนที่หลากหลายทางเชื้อชาติ และมีพื้นที่กว้างใหญ่ (ดังเช่น ความหลากหลายอย่างที่สุดในอินเดีย) แม้สหพันธรัฐจะไม่จำเป็นต้องประกอบด้วยทั้งสองประการที่กล่าวมาก็ตาม สหพันธรัฐนั้นส่วนมากก่อตั้งขึ้นจากความตกลงแต่เดิมระหว่างรัฐอธิปไตยจำนวนหนึ่งโดยตั้งอยู่บนความกังวลหรือผลประโยชน์ร่วมกัน ความตกลงแรกเริ่มได้สร้างเสถียรภาพซึ่งเกื้อหนุนผลประโยชน์ร่วมกันข้ออื่น นำดินแดนที่แตกต่างกันสิ้นเชิงมาใกล้ชิดกัน และให้ดินแดนทั้งหมดมีหลักความเห็น (common ground) กว่าแต่ก่อน ในขณะเดียวกัน ความตกลงนี้ได้รับการรับรองและมีการจัดขบวนการเพื่อผสานรวมกันให้ใกล้ชิดยิ่งขึ้น แต่ก็มีบางช่วง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อปัจจัยวัฒนธรรมร่วมเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น เชื้อชาติหรือภาษา บางขั้นตอนในแบบนี้ถูกเร่งให้เร็วขึ้นหรือบีบอัด องค์การระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศสหพันธรัฐ คือ องค์ประชุมกลุ่มประเทศสหพันธรัฐ (Forum of Federations) มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงออตตาวา รัฐออนตาริโอ ประเทศแคนาดา ซึ่งมีจุดประสงค์ในการแบ่งปันแนวคิดและแนวปฏิบัติในการจัดการระบบการปกครองแบบสหพันธ์ ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 9 ประเท.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและสหพันธรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐคองโก

รณรัฐคองโก (République du Congo) หรือบางครั้งมีผู้เรียกว่า คองโก-บราซาวีล (Congo-Brazzaville) หรือ คองโก (Congo) (เป็นคนละประเทศกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ซึ่งครั้งหนึ่งเคยใช้ชื่อประเทศว่า "สาธารณรัฐคองโก" เช่นกัน) เป็นอดีตอาณานิคมของฝรั่งเศสในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตกกลาง มีอาณาเขตจรดกาบอง แคเมอรูน สาธารณรัฐแอฟริกากลาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก แองโกลา และอ่าวกินี.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและสาธารณรัฐคองโก · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐคองโก (เลออปอลวีล)

รณรัฐคองโก (République du Congo) คือประเทศสาธารณรัฐที่ก่อตั้งขึ้นภายหลังจากการได้รับอิสรภาพจากการเป็นอาณานิคมของเบลเยียม (เบลเจียนคองโก) ในปี..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและสาธารณรัฐคองโก (เลออปอลวีล) · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐซาอีร์

ซาอีร์ (Zaire) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐซาอีร์ (République du Zaïre) เป็นชื่อรัฐระหว่าง..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและสาธารณรัฐซาอีร์ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก

รณรัฐประชาธิปไตยคองโก (République Démocratique du Congo) หรือบางครั้งมีผู้เรียกว่า คองโก (Congo) และ คองโก-กินชาซา (Congo-Kinshasa) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกากลางและเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่อันดับที่ 2 ของทวีป สาธารณรัฐประชาธิปไตยมีอาณาเขตจรดสาธารณรัฐแอฟริกากลางและซูดานทางทิศเหนือ จรดยูกันดา รวันดา บุรุนดี และแทนซาเนียทางทิศตะวันออก จรดแซมเบียและแองโกลาทางทิศใต้ และจรดสาธารณรัฐคองโกทางทิศตะวันตก โดยมีทางออกสู่ทะเลตามแม่น้ำคองโกไปสู่อ่าวกินี ชื่อ คองโก (หมายถึง "นักล่า") มาจากกลุ่มชาติพันธุ์บาคองโก (Bakongo) ซึ่งอาศัยอยู่บริเวณลุ่มน้ำคองโก ในอดีตสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกเคยเป็นอาณานิคมของเบลเยียม โดยมีชื่อว่า เบลเจียน คองโก (Belgian Congo) ในปี พ.ศ. 2514 หลังจากได้รับเอกราช 11 ปี ก็ได้เปลี่ยนชื่อประเทศจากคองโก-กินชาซา (ใส่ชื่อเมืองหลวงไว้ข้างหลัง เพื่อแยกความแตกต่างระหว่างประเทศนี้กับ สาธารณรัฐคองโก หรือ (คองโก-บราซาวีล) เป็นสาธารณรัฐซาอีร์ จนถึงปี พ.ศ. 2540 จึงได้เปลี่ยนชื่อกลับมาเป็น "คองโก" ตามเดิม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 เป็นต้นมา สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกต้องเผชิญกับความทุกข์ยากอย่างใหญ่หลวงจากสงครามคองโกครั้งที่ 2 (Second Congo War) อันเป็นความขัดแย้งที่ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 บางครั้งจึงมีผู้เรียกว่า "สงครามโลกแอฟริกา" (African World War).

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกใน ค.ศ. 1968

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกใน ค.ศ. 1968 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกใน ค.ศ. 2000

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกใน ค.ศ. 2000 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกใน ค.ศ. 2004

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกใน ค.ศ. 2004 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกใน ค.ศ. 2008

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกใน ค.ศ. 2008 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกใน ค.ศ. 2012

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกใน ค.ศ. 2012 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกใน ค.ศ. 2016

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกใน ค.ศ. 2016 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกใน ค.ศ. 2020

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกใน ค.ศ. 2020 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐแอฟริกากลาง

รณรัฐแอฟริกากลาง (République centrafricaine; ซังโก: Ködörösêse tî Bêafrîka) หรือ ซ็องทราฟริก (Centrafrique) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในแอฟริกากลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศชาด ทางตะวันออกจรดประเทศซูดาน ทางใต้จรดสาธารณรัฐคองโกและสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์เดิม) และทางตะวันตกจรดประเทศแคเมอรูน ตั้งอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร และแบ่งลุ่มแม่น้ำคองโกจากทะเลสาบชาดและลุ่มแม่น้ำไนล์ขาว.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและสาธารณรัฐแอฟริกากลาง · ดูเพิ่มเติม »

สิงโต

งโต (Lion) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อยู่ในวงศ์ Felidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมว สิงโตมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera leo มีขนาดลำตัวใหญ่ ขนาดไล่เลี่ยกับเสือโคร่งทั่วไป (P. tigris) ซึ่งเป็นสัตว์ในสกุล Panthera เหมือนกัน จัดเป็นสัตว์ในวงศ์ Felidae ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดรองมาจากเสือโคร่งไซบีเรีย (P. t. altaica) พื้นลำตัวสีน้ำตาล ไม่มีลาย ตัวผู้เมื่อโตเต็มที่จะมีขนสร้อยคอยาว ขนปลายหางเป็นพู่ ชอบอยู่เป็นฝูงตามทุ่งโล่ง มีน้ำหนักประมาณ 250 กิโลกรัม (550 ปอนด์) ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่า มักทำหน้าที่ล่าเหยื่อ มีน้ำหนักประมาณ 180 กิโลกรัม (400 ปอนด์) มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกาและประเทศอินเดีย ในป่าธรรมชาติ สิงโตมีอายุขัยประมาณ 10-14 ปี ส่วนสิงโตที่อยู่ในกรงเลี้ยงมีอายุยืนถึง 20 ปี.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและสิงโต · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 1 กันยายน พ.ศ. 2559

ริยุปราคาวงแหวนเกิดขึ้นในวันที่ 1 กันยายน..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและสุริยุปราคา 1 กันยายน พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ริยุปราคาเต็มดวงเกิดขึ้นในวันที่ 3 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและสุริยุปราคา 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอาณานิคมโปรตุเกส

ทหารโปรตุเกสในแองโกลา การฝึกอบรมของทหารของ FNLA ในซาอีร์ สงครามอาณานิคมโปรตุเกส (Portuguese Colonial War,Guerra Colonial Portuguesa), ในโปรตุเกสเรียกว่า สงครามต่างแดน (Overseas War,Guerra do Ultramar) ส่วนในอดีตอาณานิคมเรียกว่าสงครามแห่งการปลดปล่อย (War of Liberation,Guerra de Libertação), คือการต่อสู้ระหว่างทหารของโปรตุเกสกับขบวนการชาตินิยมในอาณานิคมแอฟริกาของโปรตุเกสระหว่างปี พ.ศ. 2504ถึงปี พ.ศ. 2517 เกิดการรัฐประหารล้มล้างระบอบเอสตาโด โนโว เปลี่ยนแปลงในรัฐบาลนำความขัดแย้งถึงจุดสิ้นสุด ในยุโรปในช่วงปี พ.ศ. 2493 ถึง พ.ศ. 2503, ระบอบการปกครองเอสตาโด โนโวของโปรตุเกสไม่ได้ยอมถอนตัวจากการเป็นอาณานิคมแอฟริกา เป็นดินแดนเหล่านั้นได้รับการเรียกร้องเอกราชตั้งแต่ปี พ.ศ. 2494 ในช่วงปี พ.ศ. 2503 การเคลื่อนไหวเป็นอิสระต่าง ๆ กลายเป็นกองกำลังติดอาวุธ ในแองโกลา ขบวนการประชาชนเพื่อการปลดปล่อยแองโกลา,แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติแองโกลา,สหภาพแห่งชาติเพื่อความเป็นอิสระแองโกลา ในโปรตุเกสกินี พรรคแอฟริกันเป็นอิสระของประเทศกินีและเคปเวิร์ดและในโมซัมบิก แนวร่วมปลดปล่อโมซัมบิก ในตลอดความขัดแย้งได้มีการทารุณกรรมพลเรือนที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ตลอดระยะเวลาความขัดแย้ง โปรตุเกสเผชิญกับการคว่ำบาตรทางการค้าและมีมาตรการลงโทษอื่น ๆ ที่กำหนดโดยสหประชาชาติ ปี พ.ศ. 2516 และได้โจมตีระบอบการปกครองเอสตาโด โนโวว่าไม่เป็นประชาธิปไตย การสิ้นสุดของสงครามมาพร้อมกับการทำรัฐประหารปฏิวัติคาร์เนชั่นของเดือนเมษายนปี พ.ศ. 2517 ส่งผลให้ในการอพยพของประชาชนโปรตุเกส หลายพันคนออกจากอาณานิคมเริ่มถึงบุคลากรทางทหารยุโรป, แอฟริกา และเชื้อชาติผสมจากอาณานิคมและประเทศที่เพิ่งเป็นอิสระในแอฟริกา. การอพยพครั้งนี้ได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในการโยกย้ายที่เงียบสงบใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของโลก. ซึ่งโปรตุเกสเป็นประเทศแรกที่สร้างอาณานิคมในทวีปแอฟริกาในเซวตา พ.ศ. 1958 และก็กลายเป็นประเทศสุดท้ายที่จะออกจากดินแดนในแอฟริก.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและสงครามอาณานิคมโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

สแตฟว์ ม็องด็องดา

แตฟว์ ม็องด็องดา (Steve Mandanda) เกิดเมื่อวันที่ 28 มีนาคม..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและสแตฟว์ ม็องด็องดา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอาหรับ

อักษรอาหรับ เป็นอักษรที่มีความสำคัญในศาสนาอิสลาม เพราะคัมภีร์อัลกุรอานเขียนด้วยอักษรนี้ อักษรนี้จึงมีใช้แพร่หลายในกลุ่มผู้นับถือศาสนาอิสลาม แม้แต่ภาษานอกกลุ่มเซมิติก เช่น ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอูรดู และภาษามลายูปัตตานี ตัวอักษรมีหลายแบบแต่รูปร่างของอักษรเหมือนกัน.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและอักษรอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

อักแซล ตวนเซเบ

อักแซล ตวนเซเบ (Axel Tuanzebe) เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและอักแซล ตวนเซเบ · ดูเพิ่มเติม »

อาณานิคมโพ้นทะเลของเบลเยียม

อาณานิคมโพ้นทะเลของเบลเยียม (Belgian overseas colonies) เป็นดินแดนสามอาณานิคมของเบลเยียมระหว่างปี..1885-1962 คือ คองโกของเบลเยียม (ปัจจุบันคือสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก), รวันดา-บุรุนดี, เทียนจิน และ แทนเจียร.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและอาณานิคมโพ้นทะเลของเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติวีรูงกา

อุทยานแห่งชาติวีรูงกา (Virunga National Park; Parc National des Virunga) ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก มีเนื้อที่กว่า 8,090 ตารางกิโลเมตร จัดตั้งขึ้นเป็นอุทยานแห่งชาติขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและอุทยานแห่งชาติวีรูงกา · ดูเพิ่มเติม »

อีดี อามิน

อีดี้ อามิน (พ.ศ. 2468 - 16 สิงหาคม พ.ศ. 2546) เป็นเผด็จการทหาร และประธานาธิบดีของประเทศยูกันดาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและอีดี อามิน · ดูเพิ่มเติม »

อีโบลา (แก้ความกำกวม)

อีโบลา เป็นคำสามัญของโรคไวรัสอีโบลา อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและอีโบลา (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาแรมซาร์

ปสเตอร์การประชุมอนุสัญญาแรมซาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2514 ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) คือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน เช่น เพื่อการสกัดกั้นและยับยั้งการบุกรุกเข้าครอบครองและการลดถอยของพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และเป็นการเพื่อรับรู้และรับรองความสำคัญพื้นฐานของพื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงหน้าที่ทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและอนุสัญญาแรมซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิปโปโปเตมัส

ปโปโปเตมัส หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า ฮิปโป (Hippopotamus; Hippo) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกินพืชชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กีบคู่ จัดอยู่ในวงศ์ฮิปโปโปเตมัส (Hippopotamidae) โดยเป็นสัตว์เพียง 1 ใน 2 ชนิดของวงศ์นี้ที่ยังสืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน (อีกชนิดนั้นคือ ฮิปโปโปเตมัสแคระ (Choeropsis liberiensis) ที่พบในป่าดิบชื้นของแอฟริกาตะวันตก) ชื่อ "ฮิปโปโปเตมัส" มาจากภาษากรีกคำว่า ἵππος (hippos) หมายถึง "ม้า" และ ποταμός (potamos) หมายถึง "แม่น้ำ" รวมแล้วหมายถึง "ม้าแม่น้ำ" หรือ "ม้าน้ำ" (ἱπποπόταμος) เนื่องจากมีส่วนหัวคล้ายม้ามาก โดยเฉพาะยามเมื่ออยู่ในน้ำ.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและฮิปโปโปเตมัส · ดูเพิ่มเติม »

จระเข้แคระ

ระเข้แคระ (Dwarf crocodile) เป็นจระเข้ที่พบในทวีปแอฟริกา และเป็นชนิดของจระเข้ที่เล็กที่สุดในโลก ปัจจุบันจากการสุ่มตัวอย่างตรวจพบถึงการระบุประชากรที่แตกต่างกันสามกลุ่มพันธุกรรม ซึ่งการค้นพบนี้อาจยกชนิดย่อยขึ้นเป็นชน.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและจระเข้แคระ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและจุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก

งชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกที่ใช้อยู่ในเวลานี้ได้ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2006 โดยรัฐธรรมนูญใหม่ฉบับใหม่ของสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ซึ่งได้มีการให้สัตยาบันในเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและธงชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปแอฟริกา

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและทวีปแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ทอง ป.โชคชัย

ทอง ป.โชคชัย หรือ ธงพิทักษ์ ปฐวิกรณ์ยิม มีชื่อจริงว่า อนุกูล กุลมุน เกิดเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2524 สถิติการชก 21 ครั้ง ชนะ 15 (น็อค 9) เสมอ 1 แพ้ 5.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและทอง ป.โชคชัย · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบคีวู

ทะเลสาบคีวู (Lake Kivu) เป็นทะเลสาบในทวีปแอฟริกา อยู่ทางตอนกลางของทวีป ระหว่างสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกกับรวันดา ทางเหนือของทะเลสาบแทนกันยีกา และทางใต้ของทะเลสาบเอ็ดเวิร์ด ทะเลสาบมีเนื้อที่ 2,700 ตร.กม.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและทะเลสาบคีวู · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบแทนกันยีกา

ทะเลสาบแทนกันยีกา (Lake Tanganyika) เป็นทะเลสาบน้ำจืดขนาดใหญ่ที่ตั้งอยู่ในเขตรอยต่อ 4 ประเทศด้วยกัน ได้แก่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์เดิม), แทนซาเนีย, แซมเบีย และบุรุนดี เป็นแหล่งน้ำจืดที่สำคัญเป็นอันดับที่สองในแอฟริการองจากทะเลสาบวิกตอเรีย นอกจากนั้นยังเป็นทะเลสาบที่ใหญ่เป็นอันดับสองในทวีปแอฟริกาและลึกที่สุดในทวีปแอฟริกาอีกด้วย จุดที่มีความลึกที่สุดลึกกว่า 1,470 เมตร ทะเลสาบแทนกันยีกาเกิดจากการทรุดตัวของแผ่นเปลือกโลกและภูเขาไฟระเบิด เมื่อราว 20 ล้านปีมาแล้ว นับเป็นทะเลสาบแห่งหนึ่งที่มีอายุเก่าแก่ในทวีปแอฟริกา ซึ่งตั้งอยู่ในแนวเกรตริฟต์แวลลีย์ โดยคำว่า "แทนกันยีกา" นั้นมาจากภาษาสวาฮิลีสองคำ คือ "tangan" หมายถึง "เรือใบ" และ "nyika" หมายถึง "ป่า" หรือ "ไม่มีที่อยู่" โดยรวมอาจหมายความว่า "เรือใบที่แล่นในถิ่นทุรกันดาร" ก็ได้ ทะเลสาบแทนกันยีกา มีความยาวจัดจากเหนือจรดใต้ได้ถึง 673 กิโลเมตร แต่มีความกว้างโดยเฉลี่ยประมาณ 50 กิโลเมตร มีพื้นที่โดยรวมประมาณ 3,2892 ตารางกิโลเมตร ความยาวรอบชายฝั่งวัดรวมกันได้ 1,828 กิโลเมตร และยังเป็นทะเลสาบน้ำจืดที่มีความลึกเป็นอันดับสองของโลกรองจากทะเลสาบไบคาล ในไซบีเรีย มีดินแดนติดกับคองโกราวร้อยละ 45 และติดกับแทนซาเนียร้อยละ 41 โดยประมาณ น้ำในทะเลสาบไหลสู่แม่น้ำคองโกในตอนกลางของทวีป และจะไหลไปลงทะเลที่ตอนแอฟริกาตะวันตกที่มหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลสาบแห่งนี้มีความโดดเด่นเรื่องของอุณหภูมิที่ค่อนข้างเสถียร เรื่องจากข้างล่างทะเลสาบยังคงมีภูเขาไฟ น้ำมีการเปลี่ยนแปลงในแนวตั้งน้อยมาก ในความลึกเกิน 300 เมตร ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำค่อนข้างน้อย จึงมักไม่ค่อยมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ อุณหภูมิโดยเฉลี่ยมีความเปลี่ยนแปลงต่างกันไม่เกิน 5 ฟาเรนไฮต์ โดยบริเวณผิวน้ำจะมีอุณหภูมิประมาณ 73-88 ฟาเรนไฮต์ ค่าความเป็นกรด-ด่างของน้ำอยู่ที่ประมาณ 7.5-9.3 (pH) ระบบนิเวศของทะเลสาบแทนกันยีกา แบ่งออกได้เป็นสองส่วนหลัก คือ ระบบชายฝั่งและพื้นที่นอกชายฝั่ง ซึ่งสามารถแบ่งระบบนิเวศตามสภาพแวดล้อมที่ต่างกันได้ ดังนี้.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและทะเลสาบแทนกันยีกา · ดูเพิ่มเติม »

ทิวเขารูเวนโซรี

right ทิวเขารูเวนโซรี (Ruwenzori Range) ตั้งอยู่บริเวณรอยต่อพรมแดนระหว่างประเทศยูกันดากับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (เดิมคือประเทศซาเอียร์) ทิวเขารูเวนโซรีทอดตัวเป็นแนวยาวจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวชายแดนระหว่างยูกันดากับสาธารณรัฐฯ คองโก เป็นแนวยาวประมาณ 120 กิโลเมตร กว้าง 65 กิโลเมตร บริเวณทิวเขาเป็นหินแกรนิตที่ถูกแรงกดดันทำให้ถูกยกตัวขึ้นมาเมื่อหลายล้านปีที่แล้วและมีการทรุดลงอีกทำให้เกิดหุบเขาทรุด พิกัดทิวเขาแห่งนี้อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตรขึ้นมาเพียง 48 กิโลเมตร แต่บนยอดเขากลับมีหิมะตลอดทั้งปีและปกคลุมไปด้วยธารน้ำแข็ง ทิวเขาแห่งนี้มียอดเขาที่สูงกว่าระดับ 4,877 เมตร ถึง 9 ลูก เขาสแตนลีย์เป็นเขาที่สูงที่สุดในทิวเขารูเวนโซรี มียอดเขามาร์เกรีตาเป็นยอดที่สูงสุด สูงกว่า 5,109 เมตร คำว่า "รูเวนโซรี" เป็นภาษาถิ่นแอฟริกาแปลว่า "ผู้บันดาลฝน" ซึ่งก็เป็นความจริงตามชื่อ เพราะว่ากระแสลมทางตะวันตกจะพัดความชื้นจากลุ่มน้ำคองโก พาดผ่านภูเขา แล้วถูกยกตัวสูงขึ้นตามภูเขาทำให้ไอน้ำถูกกลั่นตัวเป็นเกร็ดน้ำแข็งบริเวณยอดเขาและกลั่นตัวเป็นฝนบริเวณเชิงเขา ทำให้ภูเขามีเมฆปกคลุมอยู่ตลอดปี.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและทิวเขารูเวนโซรี · ดูเพิ่มเติม »

ทีมชาติที่ลงแข่งขันฟุตบอลโลก

แผนที่จำนวนครั้งที่ผ่านรอบคัดเลือกของประเทศต่างๆ ผลงานที่ดีที่สุดของประเทศต่าง.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและทีมชาติที่ลงแข่งขันฟุตบอลโลก · ดูเพิ่มเติม »

ดอน คิง

อน คิง ดอน คิง (Don King) มีชื่อเต็มว่า โดนัลด์ ดอน คิง (Donald Don King) เกิดเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1931 ที่เมืองคลีฟแลนด์ รัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา เมื่อตอนอายุ 14 เคยติดคุกข้อหาฆ่าคนตายมาแล้ว ดอน คิง เริ่มอาชีพในวงการมวยด้วยการเป็นผู้จัดการให้กับ เออร์นี่ เชฟเวอร์ นักมวยรุ่นเฮฟวี่เวท และเริ่มมีชื่อเสียงจากการเป็นโปรโมเตอร์ผู้จัดศึก "The Rumble in the Jungle" ในปี ค.ศ. 1974 ที่กรุงกินชาซา ประเทศซาอีร์ ซึ่งเป็นการป้องกันตำแหน่งแชมป์โลกในรุ่นเฮฟวี่เวทระหว่าง จอร์จ โฟร์แมน กับ มูฮัมหมัด อาลี ซึ่งมวยคู่นี้ได้สร้างปรากฏการณ์หลายอย่างให้เกิดขึ้นในโลกด้วย ไม่เพียงแต่เป็นการแข่งขันกีฬาธรรมดา แต่ยังมีนัยแฝงทางการเมืองรวมอยู่ด้วย เนื่องจากขณะนั้นกระแสทางการเมืองทั่วโลกกำลังต่อต้านชนชาติผิวสี แต่การที่ดอน คิง กล้าเข้าไปจัดมวยชิงแชมป์โลกถึงใจกลางทวีปแอฟริกา นับเป็นการท้าทายอย่างยิ่ง และมวยคู่นี้จบลงที่อาลีเป็นฝ่ายชนะน็อกไปในยกที่ 8 ได้กลับมาเป็นแชมป์โลกสมัยที่ 2 ทั้ง ๆ ที่เกมการชกก่อนหน้านั้นเป็นไปอย่างชนิดที่อาลีเป็นรองสุดกู่ ท่ามกลางเสียงครหาว่าผู้จัดเจตนาขึงเชือกกั้นเวทีให้หย่อน เพื่อที่จะให้อาลีพยายามโยกหลบหมัดของโฟร์แมนได้สะดวก อีกทั้งฝ่ายโฟร์แมนเองก็ได้บอกภายหลังการชกว่า ตนถูกเอาเปรียบแทบทุกอย่าง ในทศวรรษที่ 80 และ 90 เรียกได้ว่าเป็นยุคทองของ ดอน คิง เมื่อยอดนักมวยของโลกหลายต่อหลายคนทยอยเข้ามาอยู่ในสังกัด ไม่ว่าจะเป็น ซาลวาดอร์ ซานเชส, ไมค์ ไทสัน, โรแบร์โต้ ดูรัน, อเล็กซิส อาร์กูเอลโล่, ฮูลิโอ ซีซาร์ ชาเวซ, ริคาร์โด้ โลเปซ เป็นต้น พร้อมกันนั้น ดอน คิง ยังได้เปิด "ดอน คิง โปรโมชั่น" (Don King Promotion) บริษัทของตัวเองอย่างเป็นทางการในปี ค.ศ. 1970 ดอน คิง นับได้ว่าเป็นผู้สร้างปรากฏการณ์ให้กับวงการมวยสหรัฐและวงการมวยโลกอย่างแท้จริง โดยเป็นผู้จุดกระแสสร้างสีสันให้กับการประกบคู่มวย โดยสร้างสีสันให้แก่การชก เช่น การโชว์แสงสีระหว่างหรือก่อนการชก การเปิดตัวนักมวย รวมทั้งยังนำเสนอแม้แต่ตัวเองด้วยผ่านการไว้ทรงผมที่ฟูฟองตั้งตรงตลอดเวลา อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว และมักขึ้นไปแสดงตัวบนเวทีให้ผู้ชมให้เห็นกันเสมอ ๆ อีกทั้งยังเป็นผู้เริ่มการจัดศึกมวยโลกขึ้นที่ลาสเวกัส รัฐเนวาดา อีกด้วย เพื่อดึงดูดความน่าสนใจและดึงดูดนักเล่นพนันทั้งหลาย เนื่องจากก่อนหน้านั้นศูนย์กลางของวงการมวยโลกและมวยสหรัฐจะอยู่ที่สนามเมดิสัน สแควร์ การ์เด้น ในมหานครนิวยอร์ก หน้าปกดีวีดีภาพยนตร์เรื่อง ''Don King: Only in America'' ดอน คิง ได้ชื่อว่าเป็นผู้ทรงอิทธิพลอันดับหนึ่งของวงการมวยโลก เป็นผู้ที่เชื่อว่ามีอิทธิพลเหนือสถาบันมวยใด ๆ โดยมีกลุ่มมาเฟียที่ลาสเวกัสให้การสนับสนุนอยู่ ถูกครหาว่าเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการให้คะแนนที่ค้านสายตาผู้ชมหลายครั้ง ถูกฟ้องร้องดำเนินคดีทางศาลหลายต่อหลายครั้ง แต่ก็รอดตัวมาได้ทุกครั้ง ปัจจุบันได้โอนถ่ายงานส่วนหนึ่งไปให้แก่ลูกชายคือ คาร์ล คิง เป็นผู้ดูแล.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและดอน คิง · ดูเพิ่มเติม »

คริสตีย็อง แบนเตเก

ริสตีย็อง แบนเตเก ลียอโล (Christian Benteke Liolo; เกิดเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม ค.ศ. 1990) เป็นนักฟุตบอลชาวเบลเยียมที่มีเชื้อสายมาจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ปัจจุบันลงเล่นให้กับคริสตัลพาเลซ ในพรีเมียร์ลีกอังกฤษ และได้ติดทีมชาติเบลเยียมอีกด้วย โดยมีชื่อเสียงมาก่อนกับแอสตันวิลลาในลีกเดียวกัน แบนเตเก เล่นได้อย่างโดดเด่นในฤดูกาล 2014–15 และมีส่วนสำคัญที่ทำให้แอสตันวิลลาไม่ต้องตกชั้นและได้เข้ารอบชิงเอฟเอคัพ เมื่อจบฤดูกาล จึงถูกซื้อตัวโดยลิเวอร์พูลในราคา 32.5 ล้านปอนด์ (ประมาณ 1.625 พันล้านบาท) นับว่าเป็นสถิติผู้เล่นที่แพงที่สุดเป็นอันดับสองของประวัติศาสตร์ฟุตบอลอังกฤษ.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและคริสตีย็อง แบนเตเก · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 3

ในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คริสต์สหัสวรรษที่ 3 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและคริสต์สหัสวรรษที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

ความขัดแย้งในสาธารณรัฐแอฟริกากลาง (พ.ศ. 2555–ปัจจุบัน)

วามขัดแย้งในสาธารณรัฐแอฟริกากลาง เริ่มขึ้นเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2555 ระหว่างรัฐบาลสาธารณรัฐแอฟริกากลางกับกบฏซึ่งหลายคนเคยมีส่วนเกี่ยวข้องในสงครามกลางเมืองสาธารณรัฐแอฟริกากลาง กลุ่มกบฏกล่าวหารัฐบาลประธานาธิบดีฟร็องซัว บอซีเซว่าไม่สามารถปฏิบัติตามความตกลงสันติภาพที่ลงนามตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 กองกำลังกบฏซึ่งมีชื่อว่า "เซเลกา" (Séléka CPSK-CPJP-UFDR) ยึดเมืองหลักหลายเมืองในภาคกลางและภาคตะวันออกของประเทศ พันธมิตรดังกล่าวประกอบด้วยสองกลุ่มหลัก คือ UFDR และ CPJP ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่นเดียวกับ CPSK ซึ่งรู้จักกันน้อยกว่า อีกสองกลุ่มประกาศการสนับสนุนแนวร่วมนี้เช่นเดียวกัน ได้แก่ FDPC และ FPR (ในประเทศชาด) ทั้งสองตั้งอยู่ในภาคเหนือของประเทศ ทุกกลุ่มแยกยกเว้น FPR และ CPSK เป็นฝ่ายในสัญญาความตกลงสันติภาพและกระบวนการปลดอาวุธ ประเทศชาด กาบอง แคเมอรูน แองโกลา แอฟริกาใต้ และสาธารณรัฐคองโก ส่งทหารช่วยเหลือรัฐบาลบอซีเซยับยั้งการรุกคืบของฝ่ายกบฏสู่กรุงบังกี เมืองหลวงของประเทศ วันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2556 มีการลงนามความตกลงหยุดยิงในกรุงลีเบรอวิล ประเทศกาบอง ฝ่ายกบฏสละข้อเรียกร้องของพวกตนที่จะให้ประธานาธิบดีฟร็องซัว บอซีเซลาออก แต่เขาต้องแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีคนใหม่จากพรรคฝ่ายค้านภายในวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2556 วันที่ 13 มกราคม บอซีเซลงนามกฤษฎีกาซึ่งถอดถอนนายกรัฐมนตรีโฟสแต็ง-อาร์ช็องฌ์ ตัวเดราจากตำแหน่ง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของความตกลงกับแนวร่วมกบฏ วันที่ 17 มกราคม นีกอลา ตีย็องกาย (Nicolas Tiangaye) ได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีPatrick Fort,, Agence France-Presse, 17 January 2013. วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2556 การหยุดยิงถูกละเมิด โดยรัฐบาลประณามเซเลกาว่าละเมิดการหยุดยิง และเซเลกาประณามรัฐบาลโดยกล่าวหาว่ารัฐบาลไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขของความตกลงแบ่งสรรอำนาจ จนถึงวันที่ 21 มีนาคม กบฏรุกคืบถึงเมืองบูกาซึ่งอยู่ห่างจากเมืองหลวง 300 กิโลเมตร วันที่ 22 มีนาคม การสู้รบมาถึงเมืองดามารา ซึ่งอยู่ห่างจากเมืองหลวง 75 กิโลเมตร กบฏยึดด่านตรวจที่ดามาราและรุกคืบสู่กรุงบังกี แต่ถูกหยุดด้วยการโจมตีทางอากาศจากเฮลิคอปเตอร์จู่โจม อย่างไรก็ดี วันรุ่งขึ้น ฝ่ายกบฏเข้าสู่กรุงบังกี มุ่งหน้าสู่ทำเนียบประธานาธิบดี วันที่ 24 มีนาคม ฟร็องซัว บอซีเซหลบหนีออกนอกประเทศหลังกบฏยึดทำเนียบได้ ผู้นำกบฏ มีแชล จอตอดียา ประกาศตนเป็นประธานาธิบดีในวันเดียวกัน.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและความขัดแย้งในสาธารณรัฐแอฟริกากลาง (พ.ศ. 2555–ปัจจุบัน) · ดูเพิ่มเติม »

คองกามาโต

องกามาโต (Kongamato; แปลว่า "ตัวทำลายเรือ") เป็นสัตว์ประหลาดที่กล่าวกันว่ามีรูปร่างคล้ายไดโนเสาร์ชนิดที่บินได้ จำพวก เทอโรซอ หรือ เทอราโนดอน พบในหนองน้ำทวีปแอฟริกาตอนกลาง ในปี ค.ศ. 1923 แฟรงก์ เอ.เมลแลนด์ นักเดินทางได้บันทึกไว้ในหนังสือบันทึกการเดินทางตนชื่อ In Witchbound Africa ถึงสัตว์ประหลาดที่บินได้ที่พบในหนองน้ำว่า เป็นสัตว์ที่ดุร้าย น่ากลัว สามารถโจมตีเรือขนาดเล็กได้ มีลำตัวสีแดง ความยาวเมื่อกางปีกเต็มที่ราว 4-7 ฟุต จากภาพสเก็ตพบว่า มีลักษณะคล้ายเทอโรซอร์ แต่ลักษณะโดยละเอียดนั้นชาวพื้นเมืองที่เล่าให้เมลแลนด์ฟังไม่มั่นใจ เพราะแทบไม่มีใครที่เห็นสัตว์ตัวนี้ใกล้ๆแล้วรอดกลับมา ในปี ค.ศ. 1956 วิศวกรชื่อ.พี.เอฟ.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและคองกามาโต · ดูเพิ่มเติม »

คองโก

องโก อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและคองโก · ดูเพิ่มเติม »

คำขวัญประจำชาติ

ำขวัญประจำชาติ (state motto) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายประเทศต่างๆ โดยใช้วลีที่สั้น และกระชับ โดยเนื้อหาจะเกี่ยวกับ แนวความคิด แรงจูงใจ การปลุกใจ เอกลักษณ์ หรือความภาคภูมิใจสำหรับชาตินั้น.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและคำขวัญประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ

หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU ได้กำหนดคำนำหน้าสัญญาณเรียกขาน หรือ Prefix สำหรับสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ทุกชนิด ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะเข้าใจได้อย่างตรงกัน สัญญาณเรียกขานนั้นเป็นการผสมกันระหว่างตัวหนังสือและตัวเลข ซึ่งแต่ละประเทศต้องกำหนดให้ขึ้นต้นด้วยคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานที่กำหนดมาสำหรับประเทศนั้นๆ และในแต่ละประเทศก็อาจมีวิธีการกำหนดสัญญาณเรียกขานให้กับผู้ใช้ที่อาจแตกต่างกันออกไป เช่น ประเทศไทย มีคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานคือ HS และ E2 โดยมีข้อกำหนดว่า ตัวหนังสือที่ตามมาจะเป็นเลขบอกเขต 0 - 9 และตัวหนังสือต่อจากตัวเลขถ้ากำหนดให้เป็นตัวหนังสือตัวเดียวจะใช้สำหรับุคคลสำคัญของประเทศ หรือถ้ากำหนดให้มีตัวหนังสือตาม 2 ตัวและขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A เช่น HS0AC จะสำรองให้สถานีกรณีพิเศษ เช่น สถานนีควบคุมข่ายประจำจังหวัด สถานีของชมรมหรือสมาคม (Club Station) และสถานีชั่วคราวเฉพาะก.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

งูเห่าน้ำ

งูเห่าน้ำ (Water cobras) เป็นสกุลของงูพิษสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Boulengerina ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) คำว่า Boulengerina ที่ใช้เป็นชื่อสกุลนั้น มาจากชื่อของจอร์จ อัลเบิร์ต บุนเลเยอร์ นักสัตววิทยาชาวเบลเยี่ยม-อังกฤษWallach, V., W. Wüster & D. Broadley 2009 In praise of subgenera: taxonomic status of cobras of the genus Naja Laurenti (Serpentes: Elapidae).

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและงูเห่าน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เอชไอวี/เอดส์

ภาพถ่ายแบบให้สีเกินจริงจากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดของเชื้อเอชไอวี-1 กำลังเจริญออกมาจากเซลล์เม็ดเลือดขาวลิมโฟซัยต์ที่เพาะไว้ เชื้อเอชไอวีซึ่งทำให้เกิดโรคเอดส์นั้นมีแหล่งกำเนิดมาจากไพรเมทที่ไม่ใช่มนุษย์ใน sub-Saharan Africa ต่อมาจึงถ่ายทอดมายังมนุษย์ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 หรือต้นศตวรรษที่ 20 มีเชื้อเอชไอวีสองชนิดที่ติดต่อมายังมนุษย์ คือเอชไอวี-1 และเอชไอวี-2 โดย เอชไอวี-1 นั้นเป็นอันตรายมากกว่า ติดต่อง่ายกว่า และเป็นสาเหตุของการติดเชื้อเอชไอวีส่วนใหญ่บนโลกนี้ เชื้อเอชไอวี-1 มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับเชื้อไวรัสที่พบในลิงชิมแปนซี และการศึกษาทาง molecular phylogenetics ก็บ่งชี้ว่าเชื้อไวรัสเอชไอวี-1 ปรากฏขึ้นในช่วงระหว่างปี..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและประวัติศาสตร์เอชไอวี/เอดส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบุรุนดี

รุนดี (ฝรั่งเศสและBurundi) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐบุรุนดี (Republika y'u Burundi; République du Burundi) หรือชื่อเดิมว่า อุรุนดี (Urundi) คือประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเกรตเลกส์ของแอฟริกา บุรุนดีมีพรมแดนทางเหนือจดประเทศรวันดา ทางใต้และตะวันออกจดประเทศแทนซาเนีย และทางตะวันตกจดสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก บุรุนดีเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล อย่างไรก็ดี ทางตะวันตกส่วนใหญ่ติดต่อกับทะเลสาบแทนกันยีกา (Lake Tanganyika) ชื่อบุรุนดีมาจากภาษากลุ่มบันตู ภาษาคิรุนดี นอกจากจะเป็นประเทศที่ห่างไกลทางภูมิศาสตร์ มีความกดดันทางประชากร และมีทรัพยากรเบาบางแล้ว บุรุนดีเป็นหนึ่งในประเทศที่ยากจนและมีความขัดแย้งมากที่สุดในแอฟริกาและโลก ขนาดเล็กของบุรุนดี ต่างจากปัญหาใหญ่ที่มีเกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยพื้นที่ที่เป็นสิทธิ์ของชนกลุ่มน้อยทุตซี กับชนกลุ่มใหญ่ฮูตู.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและประเทศบุรุนดี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศยูกันดา

ูกันดา (Uganda) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐยูกันดา (Republic of Uganda) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออก มีอาณาเขตทางตะวันออกจดประเทศเคนยา ทางเหนือจดประเทศซูดานใต้ ทางตะวันตกจดสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์เดิม) ทางตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศรวันดา และทางใต้จดประเทศแทนซาเนีย ทางใต้ของประเทศรวมถึงบางส่วนของทะเลสาบวิกตอเรีย ซึ่งมีพรมแดนติดกับเคนยาและแทนซาเนียด้วย ยูกันดาได้ชื่อมาจากอาณาจักรบูกันดาซึ่งมีพื้นที่ครอบคลุมทางใต้ของประเทศ รวมถึงเมืองหลวง กัมปาลา นอกจากนี้ยังมีอาณาจักรอื่นคือ อาณาจักรโตโร อาณาจักรบุนโยโร-กิตารา อาณาจักรบูโซกา อาณาจักรอันโกเล อาณาจักรรเวนซูรูรู เมืองหลวงเก่าของประเทศนี้คือเอนเทบบี อันเป็นที่ตั้งของสนามบินแห่งชาติยูกันดาด้ว.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและประเทศยูกันดา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรวันดา

รวันดา (กิญญาร์วันดา, อังกฤษ และRwanda) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐรวันดา (กิญญาร์วันดา: Republika y'u Rwanda; Republic of Rwanda; République du Rwanda) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลแต่อยู่ติดกับทะเลสาบเกรตเลกส์ (Great Lakes) ทางตะวันออกของประเทศ รวันดาเป็นประเทศเล็ก ๆ ที่อยู่ทางระหว่างตอนกลางและตะวันออกของทวีปแอฟริกา มีประชากรร่วม ๆ 8 ล้านคน รวันดามีอาณาเขตติดต่อกับยูกันดาทางตอนเหนือ บุรุนดีทางตอนใต้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกทางตะวันตกเฉียงเหนือมาจนถึงตะวันตก และแทนซาเนียที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ไล่ขึ้นมาถึงทางตะวันออก รวันดามีลักษณะทางภูมิประเทศที่เป็นเนินเขาที่อุดมสมบูรณ์ ทำให้ได้สมญานามจากเบลเยียม เจ้าอาณานิคมเก่าว่าเป็น ดินแดนแห่งเขาพันลูก (Pays des Mille Collines เป็นภาษาฝรั่งเศส หรือ Igihugu cy'Imisozi Igihumbi เป็นภาษากิญญาร์วันดา) รวันดายังถือเป็นประเทศที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในแอฟริกาส่วนภูมิภาค (ไม่นับเกาะเล็ก ๆ) เหตุการณ์ที่โด่งดังที่สุดของประเทศรวันดาในระดับสากลคือเหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวทุตซีในปี พ.ศ. 2537 (1994) ซึ่งส่งผลให้ประชากรเกือบล้านคนต้องเสียชีวิตไป เศรษฐกิจของรวันดาล้วนมาจากการเกษตรกรรม แต่เกือบทั้งหมดเป็นเกษตรกรรมเพื่อการเลี้ยงชีพ มิใช่เพื่อการค้า ในปัจจุบันที่ความหนาแน่นและจำนวนประชากรที่เพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่คุณภาพดินที่เสื่อมลงและสภาพอากาศที่ไม่แน่นอนทำให้รวันดาเป็นประเทศที่มีปัญหาร้ายแรงด้านการขาดสารอาหารของประชาชนที่เป็นไปอย่างกว้างขวาง รวมถึงประสบกับปัญหาความยากจนอย่างต่อเนื่อง หมวดหมู่:ประเทศรวันดา ร หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2505 หมวดหมู่:อดีตอาณานิคมของเบลเยียม.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและประเทศรวันดา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซิมบับเว

ซิมบับเว (Zimbabwe) มีชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซิมบับเว (Republic of Zimbabwe) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ทวีปแอฟริกา อยู่ระหว่างแม่น้ำซัมเบซีและแม่น้ำลิมโปโป มีอาณาเขตทิศเหนือติดกับประเทศแซมเบีย ทิศตะวันออกติดกับประเทศโมซัมบิก ทิศตะวันตกติดกับประเทศบอตสวานา และทิศใต้ติดกับประเทศแอฟริกาใต้ มีพื้นที่ประเทศ 390,580 ตารางกิโลเมตร เมืองหลวงคือ กรุงฮาราเร.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและประเทศซิมบับเว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแองโกลา

แองโกลา (Angola,, อังกอลา) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐแองโกลา (República de Angola) คือประเทศในแอฟริกาตะวันตกเฉียงใต้ มีพรมแดนจดกับประเทศนามิเบีย สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและประเทศแซมเบีย และมีชายฝั่งทางตะวันตกบนมหาสมุทรแอตแลนติก ส่วนจังหวัดกาบิงดาแยกจากส่วนที่เหลือของประเทศและมีพรมแดนจดสาธารณรัฐคองโก (คองโก-บราซาวีล) แองโกลาเป็นอดีตอาณานิคมของประเทศโปรตุเกส มีทรัพยากรธรรมชาติอยู่พอสมควร ที่สำคัญคือน้ำมันและเพชร แองโกลาเป็นประเทศที่ปกครองภายใต้ระบอบประชาธิปไต.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและประเทศแองโกลา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแทนซาเนีย

แทนซาเนีย หรือชื่อทางการ สหสาธารณรัฐแทนซาเนีย (United Republic of Tanzania; Jamhuri ya Muungano wa Tanzania) เป็นประเทศที่อยู่บนชายฝั่งตะวันออกของแอฟริกา มีอาณาเขตทางเหนือจดเคนยาและยูกันดา ทางตะวันตกจดรวันดา บุรุนดี และสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก และทางใต้จดแซมเบีย มาลาวี และโมซัมบิก ส่วนทางตะวันออกจดมหาสมุทรอินเดีย ประเทศตั้งชื่อมาจากแผ่นดินใหญ่แทนกันยีกาและเกาะแซนซิบาร์ที่อยู่นอกจากชายฝั่งตะวันออก แทนซาเนียเป็นสมาชิกของเครือจักรภพแห่งชาติ ตั้งแต่ประกาศเอกราชเมื่อ พ.ศ. 2504 เมื่อ พ.ศ. 2507 แทนกันยีกาได้รวมกับแซนซีบาร์ กลายเป็นสหสาธารณรัฐแทนแกนยิกาและแซนซิบาร์ และต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นสหสาธารณรัฐแทนซาเนีย เมื่อพ.ศ. 2539 เมืองหลวงของแทนซาเนียย้ายจากดาร์เอสซาลามไปโดโดมา อย่างไรก็ดี สำนักงานของรัฐบาลหลายแห่งยังคงตั้งอยู่ในเมืองหลวงเดิม.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและประเทศแทนซาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแซมเบีย

แซมเบีย (Zambia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐแซมเบีย (Republic of Zambia) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคแอฟริกาใต้ มีพรมแดนทางด้านเหนือจรดสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดแทนซาเนีย ทางด้านใต้จรดโมซัมบิก ซิมบับเว บอตสวานา และนามิเบีย และทางตะวันตกจรดแองโกลา เดิมมีชื่อว่าโรดีเซียเหนือ ชื่อแซมเบียมีต้นกำเนิดมาจากแม่น้ำแซมบีซี.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและประเทศแซมเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียม

ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซาท์ซูดาน

ซาท์ซูดาน (South Sudan) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐเซาท์ซูดาน (Republic of South Sudan) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออก เมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดมีชื่อว่า จูบา ซึ่งตั้งอยู่ในรัฐอิเควทอเรียลกลางที่อยู่ทางตอนใต้ของประเทศ เซาท์ซูดานเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ทางตะวันออกมีอาณาเขตติดต่อกับเอธิโอเปีย ทางใต้ติดต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ทางตะวันตกติดต่อกับสาธารณรัฐแอฟริกากลาง และทางเหนือติดต่อกับซูดาน พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นบึงตมซึ่งเกิดขึ้นจากแม่น้ำไนล์ขาว หลังจากซูดานได้รับเอกราชเมื่อปี..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและประเทศเซาท์ซูดาน · ดูเพิ่มเติม »

ปลารีดฟิช

ปลารีดฟิช หรือ ปลาโรปฟิช หรือ ปลางู (Reedfish, Ropefish, Snakefish) เป็นปลาน้ำจืดกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Erpetoichthys calabaricus อยู่ในวงศ์ปลาไบเคอร์ (Polypteridae) ปลารีดฟิชจัดเป็นปลาไบเคอร์เพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Erpetoichthys มีรูปร่างที่เรียวยาวคล้ายเชือกหรืองูมากกว่าปลาไบเคอร์ชนิดอื่น ๆ โดยไม่มีครีบท้อง ส่วนหัวมีขนาดเล็ก ครีบหูมีจุดสีดำที่ฐานครีบ ครีบหลังมีสีน้ำตาลจนถึงสีเขียวมะกอก ลำตัวสีเขียวมะกอก ขณะที่ส่วนท้องเป็นสีเหลืองอมส้ม มีขนาดความเต็มที่ประมาณ 37 เซนติเมตร และพบได้ยาวที่สุดถึง 90 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำนิ่งและน้ำกร่อยในแอฟริกาตะวันตก แถบสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก, แองโกลา, ไนจีเรีย, แคเมอรูน, อิเควทอเรียล กินี และเบนิน อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่มีสภาพเป็นกรดเล็กน้อย (ค่า pH ต่ำกว่า 7 เล็กน้อย) และมีพืชพรรณไม้น้ำขึ้นรกครึ้ม หากินในเวลากลางคืน เช่น ปลาไบเคอร์ชนิดอื่น ๆ ปลารีดฟิชนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งในปัจจุบันยังไม่สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ ซึ่งชื่อสกุลของปลารีดฟิช คือ Erpetoichthys นั้นดัดแปลงมาจากภาษากรีกคำว่า erpeton ที่หมายถึง "สิ่งที่คลานได้" และ ichthys ที่หมายถึง "ปลา".

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและปลารีดฟิช · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอะโรวานาแอฟริกา

ปลาอะโรวานาแอฟริกา หรือ ปลาตะพัดแอฟริกา (African arowana, Nile arowana, African bonytongue) เป็นปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาอะราไพม่า (Arapaimidae) ซึ่งมีเพียงชนิดเดียวในสกุล Heterotis นี้ (ในข้อมูลเก่าจะระบุให้อยู่ในวงศ์ปลาตะพัด (Osteoglossidae)) ปลาอะโรวานาแอฟริกา มีลักษณะส่วนหัวค่อนข้างกลมหนาและสั้น ตาโต ปากเล็ก ริมฝีปากหนา ไม่มีหนวด ลำตัวกลมและแบนข้างที่หาง สีลำตัวสีน้ำตาลอมเขียวและดำ โดยสีสันนี้สามารถแปรเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อม บริเวณส่วนท้องซีดจาง ครีบและหางค่อนข้างเล็กและสีเดียวกับลำตัว เกล็ดมีขนาดเล็ก เกล็ดตามเส้นข้างลำตัวมี 32–38 เกล็ด โดยเส้นข้างลำตัวเริ่มจากจุดเหนือแผ่นปิดเหงือกไปจรดที่จุดกึ่งกลางของโคนหาง ขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 1 เมตร อีกทั้งยังกินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ และยังสามารถกินแพลงก์ตอนเป็นอาหารได้อีกด้วย โดยการผ่านการกรองที่ช่องเหงือก โดยจะหากินทุกระดับน้ำ อีกทั้งยังสามารถฮุบอากาศหายใจโดยตรงได้ด้วย แพร่พันธุ์ด้วยการสานรัง โดยพ่อแม่ปลาจะคาบไม้น้ำประเภทกกมาวางซ้อนสานกันเป็นวงกลมคล้ายตะกร้าลอยอยู่ผิวน้ำ เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4 ฟุต ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัว 2 วัน ไข่มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2.5 มิลลิเมตร แพร่กระจายอยู่บริเวณแม่น้ำไนล์ในแอฟริกาตะวันออก, แอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันตก แถบประเทศอียิปต์, เซเนกัล, ซาอีร์ เป็นต้น เป็นปลาที่ชาวพื้นเมืองใช้เป็นอาหาร และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แม้จะไม่มีสีสันสวยงามเลยก็ตาม ซึ่งในสถานที่เลี้ยง ปลาอะโรวานาแอฟริกาไม่มีนิสัยก้าวร้าวเหมือนปลาชนิดอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน หนังสือ (แอบ)คุยเรื่องปลาตู้ โครงการ 2: ปลาอโรตัวเป็นวาน่าเลี้ยง โดย Nanconnection (ตุลาคม, พ.ศ. 2546) ISBN 974-534-865-1.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและปลาอะโรวานาแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไทเกอร์วิเตตัส

ปลาไทเกอร์วิเตตัส (Tigerfish) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hydrocynus vittatus (Hydrocynus-สุนัขน้ำ, หมาน้ำ; vittatus-ลายพาด) อยู่ในวงศ์ปลาเตตร้าแอฟริกัน (Alestidae) มีรูปร่างโดยรวมทั่วไปคล้ายกับปลาในสกุล Hydrocynus ชนิดอื่น ๆ แต่มีความแตกต่างออกไป คือ มีขาไกรรไกรที่สั้นงุ้ม ส่วนหัวมีขนาดเล็กกว่าชนิดอื่น ๆ ลำตัวมีลายพาดตามยาว หางมีสีเหลืองไปจนถึงสีแดงในบางตัวและสภาพแวดล้อม ปลายปากล่างสีแดง เมื่อยังเล็กลำตัวมีความกลม แฉกของครีบหางแคบกว่าชนิด H. goliath มีเกล็ดประมาณ 44– 48 ชิ้น ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวได้ 105 เซนติเมตร มีน้ำหนัก 28 กิโลกรัม อายุสูงสุดที่ได้รายงานคือ 8 ปี เป็นปลาที่มีพฤติกรรมอยู่รวมเป็นฝูง พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางในทวีปแอฟริกาทั้ง แม่น้ำไนล์, ประเทศไนเจอร์, สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก, แม่น้ำคองโก, แม่น้ำลูลาบา, แม่น้ำแซมเบซี, ทะเลสาบแทนกันยีกา, ทะเลสาบมาลาการาซี เป็นต้น จัดเป็นปลาแอฟริกันไทเกอร์อีกชนิดหนึ่ง ที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม และตกกันเป็นเกมกีฬาบทความเรื่อง Hydrolycus หมาป่าวารีแห่งอเมซอน VS Hydrocynus สุนัขน้ำแห่งแอฟริกา, หน้า 42-64 นิตยสาร Aquarium Biz Vol.1 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนพฤษภาคม 2011 ปลาไทเกอร์วิเตตัส เป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่สามารถทำร้ายมนุษย์ได้ มีชาวพื้นเมืองตลอดจนเจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่าถูกทำร้ายจนได้รับบาดเจ็บและถึงแก่ชีวิตมาแล้ว ในความเชื่อของชาวพื้นเมือง นับเป็นปลาที่นำความโชคร้ายและอัปมงคลมาให้ หากใครได้รับประทานก็จะเจ็บป่วย เมื่อจับปลาได้จะไม่มีการนำเข้ามาในบ้าน แม้แต่การพูดถึงก็เป็นสิ่งที่ไม่ควร และเป็นปลาที่ทำความเสื่อมให้แก่พลังในการรักษาผู้คนของหมอผีพื้นบ้านอีกด้วย โดยมีชื่อเรียกในภาษาถิ่นว่า อิงเกวส (Ndweshi) ปลาไทเกอร์วิเตตัส จะออกล่าอาหารเมื่อโตเต็มที่ ในบริเวณปากแม่น้ำโอคาวังโก ในแอฟริกาใต้ ในช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ เป็นช่วงที่น้ำในแม่น้ำจะใสสะอาด ฝูงปลาต่าง ๆ จะว่ายออกมาหาอาหาร รวมถึงพวกปลาหนัง ปลาหนังจะมีพฤติกรรมไล่ล่าปลาเล็ก ๆ เป็นอาหารในดงกกหรือปาริรุส นั่นคือสัญญาณเตือนให้ฝูงปลาไทเกอร์วิเตตัสออกมาไล่ล่าปลาหนัง ซึ่งบางครั้งเมื่อกัดและตระครุบเหยื่อได้ อาจฉีกเนื้อเหยื่อกระเด็นลอยขึ้นไปบนอากาศได้Pack of Teeth, "River Monsters" ทางดิสคัพเวอรีแชนแนล, สารคดีทางทรูวิชั่นส์: เสาร์ที่ 29 ธันวาคม 2555.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและปลาไทเกอร์วิเตตัส · ดูเพิ่มเติม »

ป่าเมฆ

ฟินต้นในป่าเมฆบนยอดเขากีนาบาลู, บอร์เนียว ที่ Parque Internacional la Amistad ป่าเมฆเขตอบอุ่นบน La Palma, หมู่เกาะคะเนรี ป่าเมฆของ Monteverde, ประเทศคอสตาริกา ป่าเมฆบนเขาหลูซานทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีน หนึ่งในสะพานแขวนของ Sky walk ใน Santa Elena, Costa Rica หายไปในเมฆ มอสส์ในป่าเมฆเขตอบอุ่นที่ Budawang National Park, ประเทศออสเตรเลีย ป่าเมฆ (cloud forest) หรือ ป่าหมอก (fog forest) คือป่าไม้เขตร้อนในเขตร้อนหรือกึ่งเขตร้อน เติบโตตามภูเขา ไม่ผลัดใบ มีโอกาสถูกปกคลุมด้วยเมฆระดับต่ำได้สูง ปกติมักอยู่ระดับยอดเขาและสันเขา ป่าเมฆจะอุดมไปด้วยมอสส์ไม่ว่าบนพื้นหรือบนต้นไม้จึงเรียกอีกอย่างว่า ป่ามอสส์ (mossy forest) ป่ามอสส์มักจะอยู่บนสันเขาที่ซึ่งได้รับความชื้นจากเมฆอย่างมีประสิท.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและป่าเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

นกกระเรียนมงกุฎเทา

thumb นกกระเรียนมงกุฎเทา หรือ นกกระเรียนหงอนพู่ (Grey crowned crane) เป็นนกในวงศ์นกกระเรียน พบในทุ่งหญ้าสะวันนาในทวีปแอฟริกาทางใต้ของทะเลทรายซาฮารา ทำรังในพื้นที่เปียกชื้น ไม่ใช่นกอ.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและนกกระเรียนมงกุฎเทา · ดูเพิ่มเติม »

นกนางแอ่นแม่น้ำ

นกนางแอ่นแม่น้ำ หรือ นกนางแอ่นเทียม (river martins) เป็นสกุลนกนางแอ่นในวงศ์ย่อย Pseudochelidoninae ที่อยู่ในวงศ์นกนางแอ่น (Hirundinidae) ประกอบไปด้วย 2 สปีชีส์คือ นกนางแอ่นแม่น้ำแอฟริกา (Pseudochelidon eurystomina) ที่พบในสาธารณรัฐคองโกและประเทศกาบอง และนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร (Pseudochelidon sirintarae) ที่พบในประเทศไทยเพียงแห่งเดียวในโลก เป็นนกนางแอ่นขนาดกลาง มีขนส่วนใหญ่เป็นสีดำ บินจับแมลงกินเป็นอาหาร พวกมันดูเหมือนจะใช้ชีวิตอยู่บนพื้นมากกว่านกนางแอ่นชนิดอื่น อาจเดินมากกว่าเกาะคอน และนกนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธรอาจหากินในเวลากลางคืน นกนางแอ่นแม่น้ำแอฟริกาทำรังบนตลิ่งทรายริมแม่น้ำโดยการขุดโพรงลงไป ส่วนแหล่งผสมพันธุ์วางไข่ของนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธรยังไม่ทราบ เมื่อมีการค้นพบนกนางแอ่นแม่น้ำแอฟริกาครั้งแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 19 กุสทัฟ ฮาร์ทเลาบ์ (Gustav Hartlaub) คิดว่ามันเป็นนกตะขาบและผู้แต่งหลังจากนั้นก็จัดวางมันอยู่ในวงศ์ของตนเองหรืออยู่ในวงศ์นกแอ่นพง จากการศึกษาทางกายวิภาคพบว่ามันเป็นญาติใกล้ชิดกับนกในวงศ์นกนางแอ่น แต่มีลักษณะพิเศษที่แตกต่างคือมีขาและเท้าแข็งแรงและมีปากอวบ สิ่งเหล่านี้แสดงว่าควรแยกมันออกเป็นวงศ์ย่อยต่างหาก นกนางแอ่นแม่น้ำทั้งสองชนิดจัดอยู่ในสกุลเดียวกันคือสกุล Pseudochelidon เพราะทั้งสองมีโครงสร้างที่คล้ายกัน แต่ บรูก เสนอว่านกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธรควรแยกออกเป็นสกุล Eurochelidon นกนางแอ่นแม่น้ำแอฟริกามีการกระจายพันธุ์ในวงแคบในหลายพื้นที่แต่สถานะภาพที่แท้จริงยังไม่มีการตรวจสอบข้อเท็จจริง ส่วนนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธรค้นพบในปี..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและนกนางแอ่นแม่น้ำ · ดูเพิ่มเติม »

นกนางแอ่นแม่น้ำแอฟริกา

นกนางแอ่นแม่น้ำแอฟริกา หรือ นกนางแอ่นเทียมคองโก (African River Martin) เป็นนกจับคอนหนึ่งในสองชนิดของวงศ์ย่อยนกนางแอ่นแม่น้ำในวงศ์นกนางแอ่น (Hirundinidae) เป็นนกขนาดกลาง มีขนสีดำ ตาสีแดง ปากอวบกว้างสีส้ม-แดง หางเหลี่ยม โครงสร้างต่างจากนกนางแอ่นชนิดอื่นคือ มีเท้าและขาแข็งแรง มีการเสนอให้แยกนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธรที่พบในเอเชียที่เป็นนกสกุลเดียวกันออกเป็นอีกวงศ์ย่อย มีการกระจายพันธุ์ตามแม่น้ำคองโกและสาขารวมถึงแม่น้ำอูบองชี (Ubangi) ด้วย มันทำรังในโพรงบนตลิ่งทราย มีการกระจายพันธุ์ในวงจำกัดแม้จะถูกจับไปเป็นอาหารโดยคนในพื้นที่ มันเป็นนกอพยพ ในฤดูหนาวจะอพยพไปที่ราบชายฝั่งทางใต้ของประเทศกาบองและสาธารณรัฐคองโก แต่นกหลายตัวก็ยังคงผสมพันธุ์วางไข่ในเขตหนาวเย็น นกนางแอ่นชนิดนี้บินจับแมลงกินเป็นอาหาร และเดินบนพื้นมากกว่าจะเกาะคอน สหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติจัดสถานะการอนุรักษ์เป็นยังไม่มีข้อมูล (DD) เพราะไม่มีข้อมูลของจำนวนประชากร.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและนกนางแอ่นแม่น้ำแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1972

นางงามจักรวาล 1972 (Miss Universe 1972) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 21 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและนางงามจักรวาล 1972 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1973

นางงามจักรวาล 1973 (Miss Universe 1973) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 22 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและนางงามจักรวาล 1973 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1984

นางงามจักรวาล 1984 (Miss Universe 1984) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 33 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและนางงามจักรวาล 1984 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1987

นางงามจักรวาล 1987 (Miss Universe 1987) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 36 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและนางงามจักรวาล 1987 · ดูเพิ่มเติม »

นโยบายการขอรับลงตราของประเทศลาว

Lao visa ผู้เดินทางเข้ามาในประเทศลาวจะต้องถือวีซ่าที่ออกโดยคณะผู้แทนทางการทูตลาว เว้นแต่เข้าข่ายได้รับยกเว้นวีซ่าหรือเป็นประเทศที่สามารถขอรับวีซ่าเมื่อเดินทางมาถึงได้.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและนโยบายการขอรับลงตราของประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำอีโบลา

แม่น้ำอีโบลา (Ebola river) เป็นแม่น้ำที่อยู่ทางเหนือของสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและเป็นต้นน้ำของแม่น้ำมอนกาลาและเป็นสาขาของแม่น้ำคองโก มีความยาว 250 กิโลเมตร ใน..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและแม่น้ำอีโบลา · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำแซมบีซี

แม่น้ำแซมบีซี หรือ แม่น้ำซัมเบซี (Zambezi) เป็นแม่น้ำที่ยาวเป็นอันดับ 4 ของทวีปแอฟริกา และเป็นแม่น้ำแอฟริกาที่ใหญ่ที่สุดที่ไหลลงมหาสมุทรอินเดีย มีปริมาณน้ำไหล 1,390,000 ตร.กม.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและแม่น้ำแซมบีซี · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกัน ทริปาโนโซมิเอซิส

แอฟริกัน ทริปาโนโซมิเอซิส (ภาษาอังกฤษ African trypanosomiasis) หรือ โรคเหงาหลับ เป็นโรคที่เกิดจากปรสิตในคนหรือสัตว์อื่น ๆ โรคนี้เกิดจากปรสิตชนิด ทริปาโนโซมา บรูเซีย ซึ่งมีอยู่สองชนิดที่สามารถก่อให้เกิดการติดเชื้อในมนุษย์ ได้แก่ ทริปาโนโซมา บรูเซีย แกมเบียนส์ (T.b.g) และ ทริปาโนโซมา บรูเซีย โรดเซียนส์ (T.b.r.). T.b.g เป็นสาเหตุของผู้ป่วยที่ได้รับรายงานกว่า 98% โรคเหงาหลับทั้งสองชนิดมักถูกส่งผ่านโดยการกัดของแมลงวันเซตซีที่ติดเชื้อและมักจะแพร่หลายในพื้นที่ชนบท  ในขั้นต้น ในระยะแรกของโรค ผู้ป่วยมักมีอาการไข้ ปวดศีรษะ มีอาการคันและปวดตามข้อ อาการเหล่านี้จะเกิดขึ้นในช่วงหนึ่งถึงสามสัปดาห์หลังถูกกัด หลายสัปดาห์ถึงหลายเดือนต่อมา ระยะที่สองของโรคเริ่มขึ้นด้วยอาการสับสน มือไม้ทำงานไม่ประสานกัน อาการชา และปัญหาในการนอนหลับ การวินิจฉัยทำได้โดยการหาพยาธิในสเมียร์เลือด หรือในของเหลวในต่อมน้ำเหลือง มักมีความจำเป็นต้องใช้การเจาะน้ำไขสันหลังเพื่อบอกความแตกต่างระหว่างระยะแรกและระยะที่สองของโรค การป้องกันโรคที่รุนแรงทำได้โดยการตรวจคัดประชากรที่มีความเสี่ยงโดยการตรวจเลือดเพื่อหา T.b.g. การรักษาสามารถทำได้ง่ายกว่าหากสามารถตรวจพบโรคอย่างรวดเร็วก่อนที่จะเกิดอาการทางระบบประสาท การรักษาอาการระยะแรกทำได้โดยการใช้ยาเพนทามิดินหรือซูรามิน ส่วนการรักษาอาการระยะที่สองทำได้โดยการใช้อีฟลอนิธินหรือส่วนผสมของไนเฟอไทมอกกับ อีฟลอนิธิน สำหรับ T.b.g. แม้ว่าเมลาร์โซโพรลจะใช้ได้กับเชื้อทั้งสองชนิด ยานี้มักถูกใช้เฉพาะกับผู้ป่วยที่ติดเชื้อ T.b.r. เนื่องจากมีผลข้างเคียงที่รุนแรง โรคนี้เกิดขึ้นเป็นประจำในบางพื้นที่ของแอฟริกาใต้สะฮารา โดยมีประชากรที่มีความเสี่ยงประมาณ 70 ล้านคนใน 36 ประเทศ ในปี 2553 โรคนี้ทำให้มีผู้เสียชีวิตประมาณ 9,000 ราย ซึ่งถือว่าลดน้อยลงจากจำนวน 34,000 รายในปี 2533 ปัจจุบันคาดว่ามีผู้ติดเชื้อประมาณ 30,000 ราย โดยเป็นผู้ติดเชื้อใหม่ 7,000 รายในปี 2555 กว่า 80% ของผู้ติดเชื้ออาศัยอยู่ใน สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก เกิดการระบาดครั้งใหญ่ขึ้นสามครั้งในประวัติศาสตร์: ครั้งแรกในปี 2439 ถึงปี 2449 โดยเริ่มในประเทศยูกันดาและลุ่มแม่น้ำคองโก และอีกสองครั้งในปี 2463 และปี 2513 ในหลายประเทศในทวีปแอฟริกา สัตว์อื่น ๆ เช่น โค สามารถเป็นพาหะของโรคและติดเชื้อได้.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและแอฟริกัน ทริปาโนโซมิเอซิส · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกากลาง

สหพันธ์แอฟริกากลาง (ยกเลิก) แอฟริกากลาง เป็นดินแดนในทวีปแอฟริกา ได้ถูกนิยามไว้สองอย่างคือ Central Africa และ Middle Africa (นิยามโดยสหประชาชาติ) ประกอบด้วยประเท.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและแอฟริกากลาง · ดูเพิ่มเติม »

แฌร์แม็ง กาต็องกา

แฌร์แม็ง กาต็องกา (Germain Katanga; เกิด 28 เมษายน 1978) หรือชื่ออื่นว่า ซีมบา (Simba) เป็นผู้นำแนวหน้าอีตูรีปกป้องปิตุภูมิ (Front for Patriotic Resistance of Ituri)International Criminal Court (19 October 2007).

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและแฌร์แม็ง กาต็องกา · ดูเพิ่มเติม »

โบโนโบ

นโบ หรือ ชิมแปนซีแคระ (Bonobo, Dwarf chimpanzee, Pygmy chimpanzee).

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและโบโนโบ · ดูเพิ่มเติม »

โกลด มาเกเลเล

ล้ด มาเคเลเล่ สินดา (Claude Makélelé Sinda) เกิดวันที่ 18 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและโกลด มาเกเลเล · ดูเพิ่มเติม »

โมบูตู เซเซ เซโก้

มบูตู เซเซ เซโก้ (Mobutu Sese Seko; เกิด Joseph-Desiré Mobutu; 14 ตุลาคม 1930 – 7 กันยายน 1997) เป็นเผด็จการทหารและประธานาธิบดีของประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซึ่งโมบูตูเปลี่ยนชื่อเป็นซาอีร์ในปี ค.ศ.1971) ตั้งแต่ปี..1965 ถึง..1997 เขายังเป็นประธานองค์การเอกภาพแอฟริกาในปี..1967–1968 ขณะอยู่ในอำนาจ โมบูตูสร้างระบอบการปกครองแบบอำนาจนิยม สะสมความมั่งคั่งส่วนตัวและพยายามกวาดล้างอิทธิพลจากอารยธรรมของเจ้าอาณานิคมในประเทศ ในขณะที่ได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกาเพราะท่าทีที่ต่อต้านคอมมิวนิสต์ ระหว่างวิกฤตการณ์คองโก กองทัพเบลเยียมช่วยพันเอกโมบูตูทำรัฐประหารต่อรัฐบาลชาตินิยมของ Patrice Lumumba ในปี 1960 และได้ประหารชีวิต Lumumba โดยการยิงเป้า 00.36.57 โมบูตูได้เป็นเสนาธิการกองทัพก่อนที่จะได้รับอำนาจอย่างแท้จริงในรัฐประหารครั้งที่สองในปี 1965 โมบูตูเปลี่ยนชื่อประเทศคองโกเป็นซาอีร์ในปี 1971 และเปลี่ยนชื่อตัวเองเป็น โมบูตู เซเซ เซโก้ ในปี 1972 โมบูตูเปลี่ยนประเทศเป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวซึ่งอำนาจทั้งหมดตกอยู่ในมือเขา เขายังเป็นบุคคลที่ถูกบูชาตามลัทธิบูชาบุคคลอีกด้วย ภายใต้การปกครองของเขา โมบูตูสร้างรัฐที่รวมอำนาจและรวมทรัพย์สมบัติไว้ส่วนตัวผ่านการแสวงหากำไรและคอร์รัปชั่น ทำให้บางคนเรียกการปกครองของเขาว่า "โจราธิปไตย" ประเทศมีอัตราเงินเฟ้อที่ควบคุมไม่ได้ มีหนี้สินมาก และการลดลงของค่าสกุลเงิน ในปี 1991 ความถดถอยทางเศรษฐกิจและความไม่สงบทำให้เขาตกลงที่จะแบ่งอำนาจกับผู้นำฝ่ายค้านแต่เขาใช้กองทัพในการขัดขวางการเปลี่ยนแปลงนี้จนกระทั่งเดือนพฤษภาคม ปี 1997 กองกำลังกบฏนำโดย Laurent-Désiré Kabila ขับไล่เขาออกนอกประเทศ ซาอีร์ถูกเปลี่ยนชื่อกลับเป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก เขาเจ็บป่วยจากมะเร็งต่อมลูกหมากและเสียชีวิตในอีกสามเดือนถัดมาที่โมร็อกโก โมบูตูมีชื่อด้านการคอร์รัปชั่นและการฉ้อฉลเงินระหว่าง 4 ล้าน ถึง 15 ล้านดอลลาร์สหรัฐในช่วงที่เขาปกครองเช่นเดียวกับความฟุ่มเฟือยอย่างเช่นนั่งเครื่องบินคอนคอร์ดบินไปเที่ยวและซื้อของที่ปารีส โมบูตูปกครองประเทศกว่า 3 ทศวรรษ ซึ่งมีการละเมิดสิทธิมนุษยชน โมบูตูยังถูกกล่าวว่าเป็น "ผู้เผด็จการในแอฟริกาตามแบบฉบับ".

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและโมบูตู เซเซ เซโก้ · ดูเพิ่มเติม »

โมแกเล-อึมแบมเบ

วาดโมแกเล-อึมแบมเบ โมแกเล-อึมแบมเบ (Mokèlé-mbèmbé; ลิงกาลา: Mokɛle-mbɛmbe) เป็นชื่อเรียกของสัตว์ลึกลับขนาดใหญ่ที่พบในหนองน้ำหรือทะเลสาบของตอนกลางของทวีปแอฟริกา ได้แก่บริเวณลุ่มแม่น้ำคองโกของประเทศแคเมอรูน, สาธารณรัฐคองโก, สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก และแซมเบีย โมแกเล-อึมแบมเบมีรูปร่างคล้ายไดโนเสาร์จำพวกซอโรพอด เช่น แบรคิโอซอรัสหรือบรอนโตซอรัส โดยชื่อนี้เป็นภาษาลิงกาลามีความหมายว่า "ผู้เดียวที่หยุดการไหลของน้ำได้" โมแกเล-อึมแบมเบเป็นสัตว์ที่อยู่ในตำนานเล่าขานของชนเผ่าพื้นเมือง เช่น ปิกมี ว่าเป็นสัตว์ดุร้าย มักทำร้ายคนหรือสัตว์ที่เข้าใกล้ตัว โดยจะฆ่าให้ถึงตายแต่จะไม่กิน มีรายงานการพบเห็นอย่างเป็นทางการครั้งแรกใน ค.ศ. 1766 โดยบาทหลวงชาวฝรั่งเศสที่เข้าไปเผยแพร่ศาสนาในแคเมอรูนชื่อ ลีแว็ง บอนาว็องตูร์ ว่าพบเห็นรอยเท้าขนาด 3 ฟุต ที่มีนิ้วเท้า 3 นิ้ว ริมแม่น้ำ พร้อมกับเรื่องเล่าจากชาวพื้นเมือง จากนั้นก็มีรายงานการพบเห็นอีกครั้งต่อมาในปี ค.ศ. 1909 โดยพอล กราตซ์ ได้บันทึกว่าเขาพบโมแกเล-อึมแบมเบในขณะที่มันว่ายน้ำอยู่ในบึงอย่างสบายอารมณ์ใกล้กับทะเลสาบบังเวอูลูของประเทศแซมเบีย และเรียกชื่อมันว่า อึนซังกา (Nsanga) จากนั้นก็มีการอ้างว่าพบเห็นอีกหลายครั้ง โดยนักสำรวจหรือนักผจญภัยชาวตะวันตกในอีกหลายปีต่อมา จนกระทั่งในทศวรรษที่ 90 มีปฏิบัติการตามล่าอย่างจริงจังถึง 2 ครั้งใหญ่ รวมทั้งมีการบันทึกภาพได้ด้วยในระยะไกลโดยนักท่องเที่ยวชาวญี่ปุ่น ใน ค.ศ. 1988 และพบสิ่งที่คล้ายรอยเท้า แต่ก็ยังไม่มีใครพบหลักฐานหรือสิ่งที่ยืนยันได้จะจะจริง ๆ แต่พอสรุปรูปร่างและขนาดของโมแกเล-อึมแบมเบได้ว่า มีความยาวลำตัว 5-10 เมตร คอยาว 1.6-3.3 เมตร หางยาว 1.6-3.3 เมตร มีผิวสีน้ำตาลแดง ไม่มีเกล็ด กินพืช 2 ชนิดเป็นอาหาร การพบเห็นครั้งสุดท้ายเกิดขึ้นเมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 2000 ในประเทศแคเมอรูน โดยเจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่าแคเมอรูน 2 คนมีความเชื่อว่าเนื้อโมแกเล-อึมแบมเบมีอาถรรพ์ด้วย เนื่องจากมีเรื่องเล่าว่าเผ่าปิกมีกลุ่มหนึ่งได้ฆ่ามันและกินเนื้อของมัน แล้วจู่ ๆ ทุกคนที่ได้กินเนื้อของมันได้ตายอย่างลึกลับทุกคน ปัจจุบันคาดว่า โมแกเล-อึมแบมเบอาจสูญพันธุ์ไปแล้วก็เป็นได้.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและโมแกเล-อึมแบมเบ · ดูเพิ่มเติม »

โรคไวรัสอีโบลา

รคไวรัสอีโบลา หรือไข้เลือดออกอีโบลา เป็นโรคของมนุษย์ที่เกิดจากไวรัสอีโบลา ตรงแบบเริ่มมีอาการสองวันถึงสามสัปดาห์หลังสัมผัสไวรัส โดยมีไข้ เจ็บคอ ปวดกล้ามเนื้อและปวดศีรษะ จากนั้นมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนและท้องร่วงร่วมกับการทำหน้าที่ของตับและไตลดลงตามมา เมื่อถึงจุดนี้ บางคนเริ่มมีปัญหาเลือดออก บุคคลรับโรคนี้ครั้งแรกเมื่อสัมผัสกับเลือดหรือสารน้ำในร่างกายจากสัตว์ที่ติดเชื้อ เช่น ลิงหรือค้างคาวผลไม้ เชื่อว่าค้างคาวผลไม้เป็นตัวพาและแพร่โรคโดยไม่ได้รับผลกระทบจากไวรัส เมื่อติดเชื้อแล้ว โรคอาจแพร่จากคนสู่คนได้ ผู้ที่รอดชีวิตอาจสามารถส่งผ่านโรคทางน้ำอสุจิได้เป็นเวลาเกือบสองเดือน ในการวินิจฉัย ต้องแยกโรคอื่นที่มีอาการคล้ายกันออกก่อน เช่น มาลาเรีย อหิวาตกโรคและไข้เลือดออกจากไวรัสอื่น ๆ อาจทดสอบเลือดหาแอนติบอดีต่อไวรัส ดีเอ็นเอของไวรัส หรือตัวไวรัสเองเพื่อยืนยันการวินิจฉัย การป้องกันรวมถึงการลดการระบาดของโรคจากลิงและหมูที่ติดเชื้อสู่คน ซึ่งอาจทำได้โดยการตรวจสอบหาการติดเชื้อในสัตว์เหล่านี้ และฆ่าและจัดการกับซากอย่างเหมาะสมหากพบโรค การปรุงเนื้อสัตว์และสวมเสื้อผ้าป้องกันอย่างเหมาะสมเมื่อจัดการกับเนื้อสัตว์อาจช่วยได้ เช่นเดียวกับสวมเสื้อผ้าป้องกันและล้างมือเมื่ออยู่ใกล้ผู้ที่ป่วยเป็นโรคดังกล่าว ตัวอย่างสารน้ำร่างกายจากผู้ป่วยควรจัดการด้วยความระมัดระวังเป็นพิเศษ ไม่มีการรักษาไวรัสอย่างจำเพาะ ความพยายามช่วยเหลือผู้ป่วยมีการบำบัดคืนน้ำ (rehydration therapy) ทางปากหรือหลอดเลือดดำ โรคนี้มีอัตราตายสูงระหว่าง 50% ถึง 90% ของผู้ติดเชื้อไวรัส มีการระบุโรคนี้ครั้งแรกในประเทศซูดานและสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ตรงแบบเกิดในการระบาดในเขตร้อนแอฟริกาใต้สะฮารา ระหว่างปี 2519 ซึ่งมีการระบุโรคครั้งแรก และปี 2555 มีผู้ติดเชื้อน้อยกว่า 1,000 คนต่อปี การระบาดครั้งใหญ่ที่สุดจนถึงปัจจุบัน คือ การระบาดของอีโบลาในแอฟริกาตะวันตก พ.ศ. 2557 ซึ่งกำลังดำเนินอยู่ โดยระบาดในประเทศกินี เซียร์ราลีโอนและไลบีเรีย จนถึงเดือนกรกฎาคม 2557 มีผู้ป่วยยืนยันแล้วกว่า 1,320 คน แม้จะมีความพยายามพัฒนาวัคซีนอยู่ แต่จนถึงบัดนี้ยังไม่มีวัคซีน.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและโรคไวรัสอีโบลา · ดูเพิ่มเติม »

โรเมลู ลูกากู

รเมลู เมนามา ลูกากู (Romelu Lukaku) เกิดเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1993 เป็นนักฟุตบอลชาวเบลเยียมเชื้อสายคองโก ปัจจุบันเล่นให้กับแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด และทีมชาติเบลเยียมในตำแหน่งกองหน้าตัวเป้า ลูกากู เคยอยู่กับเชลซีมาก่อน และได้ถูกยืมตัวไปเล่นให้กับเวสต์บรอมวิชอัลเบียน ตลอดจนเอฟเวอร์ตัน จนกระทั่งเอฟเวอร์ตันได้ซื้อตัวมาอย่างถาวรในปลายเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและโรเมลู ลูกากู · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1976

บีเวอร์ ''Amik'' เป็นมาสคอตประจำโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 18 ประจำปี..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

โอคาพี

อคาพี (okapi; ชื่อวิทยาศาสตร์: Okapia johnstoni) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับสัตว์กีบคู่ ในวงศ์ Giraffidae เช่นเดียวกับยีราฟ เป็นสัตว์พื้นเมืองของเขตป่าฝนอีตูรี ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ในแอฟริกากลาง แม้ว่าโอคาพีจะมีลายแถบและรูปร่างที่คล้ายกับม้าลาย แต่ที่จริงแล้วมีสายสัมพันธ์กับยีราฟ อันเป็นสัตว์ที่อยู่ในวงศ์เดียวกัน และถือว่าเป็นสัตว์เพียง 1 ใน 2 ชนิดเท่านั้นในวงศ์นี้ ที่ยังดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบันนี้ จึงถือว่าเป็นซากดึกดำบรรพ์ที่มีชีวิตอยู่อีกชนิดหนึ่ง โอคาพีมีความสูงเพียงประมาณ 1.5-2 เมตร บริเวณขาทั้ง 4 ข้างและบั้นท้ายจะมีแถบดำคล้ายกับม้าลาย ส่วนบริเวณคอนั้นจะเห็นเป็นแถบไม่ชัดนัก อีกทั้งยังมีนัยน์ตาคล้ายคลึงกับกวางหรือแอนทีโลป โอคาพีตัวผู้นั้นจะมีเขา 2 เขา โดยหากมองจากด้านข้างแล้วจะทำให้ดูราวกับว่ามีเพียงเขาเดียว ซึ่งในอดีตมีผู้เคยเข้าใจว่าโอคาพี คือ ยูนิคอร์น สัตว์ในเทพปกรณัมกรีกด้วยซ้ำ แถบดำบนตัวของโอคาพีนั้น นอกจากจะเป็นสิ่งที่ช่วยพรางตัวในธรรมชาติแล้ว ยังเชื่อกันว่าเป็นสิ่งที่ช่วยให้โอคาพีวัยอ่อนสามารถที่จะสังเกตเห็นแม่ของตัวเองได้ง่ายขึ้นในสภาพแวดล้อมที่เป็นป่าฝนที่หนาทึบ เพราะถึงแม้โอคาพีเป็นสัตว์ที่รักสันโดษ มักใช้ชีวิตตามลำพัง แต่โอคาพีตัวเมียจะดูแลและไปไหนมาไหนกับลูกของตัวเองเสมอ โดยปกติแล้ว โอคาพีมีลำตัวสีน้ำตาลแดง มีความยาวประมาณ 2-2.5 เมตรและสูงประมาณ 1.5-2 เมตร ส่วนหางจะยาวประมาณ 30-40 เซนติเมตร เมื่อโตเต็มวัย โอคาพีจะมีน้ำหนักอยู่ในราว 200-250 กิโลกรัม และถึงแม้ว่าลำตัวของโอคาพีจะคล้ายคลึงกับยีราฟ แต่ลำคอก็มิได้ยืดยาวเหมือนยีราฟแต่อย่างใด โอคาพีเป็นที่รู้จักครั้งแรกของโลกในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 จากการค้นพบของเซอร์แฮร์รี จอห์นสตัน ผู้สำเร็จราชการแห่งจักรวรรดิอังกฤษ ที่พบเห็นชาวปิกมีนุ่งห่มหนังของโอคาพี ในครั้งแรกเซอร์จอห์นสตันเข้าใจว่าเป็นหนังของม้าลายหน้า 71-72, สัตว์สวยป่างาม โดย ชมรมนิเวศวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล (สิงหาคม, 2518) ปัจจุบัน มีโอคาพีอยู่ในป่าที่ประมาณ 10,000–20,000 ตัวใน..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและโอคาพี · ดูเพิ่มเติม »

โฌแอ็ล ซามี

อังเดร-โฌแอ็ล ซามี (เกิดวันที่ 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1984 ณ Montfermeil จังหวัดแซน-แซ็ง-เดอนี) เป็นนักฟุตบอลกองหลังชาวสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ปัจจุบันลงเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลราชบุรี มิตรผล ส่วนในนามทีมชาติ เขาลงเล่นนัดแรกให้กับทีมชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ในการพบกับแอลจีเรีย เมื่อวันที่ 26 มีนาคม..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและโฌแอ็ล ซามี · ดูเพิ่มเติม »

โจเซฟ กาบีลา

ซฟ กาบีลา (Joseph Kabila, เกิด 4 มิถุนายน 1971) เป็นนักการเมืองชาวคองโกและเป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกตั้งแต่เดือนมกราคม..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและโจเซฟ กาบีลา · ดูเพิ่มเติม »

ไก่ต๊อกหมวกเหล็ก

ก่ต๊อกหมวกเหล็ก (helmeted guineafowl) เป็นนกขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ไก่ต๊อก (Numididae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Numida ไก่ต๊อกหมวกเหล็ก มีลักษณะทั่วไปเหมือนกับไก่ต๊อกชนิดอื่น ๆ แต่บนหัวมีหงอนที่เป็นโหนกแข็งที่มีลักษณะที่เหมือนกับสวมหมวกเหล็กหรือหมวกกันน็อกอยู่ อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ มีความยาวเต็มที่ประมาณ 61 เซนติเมตร มีพฤติกรรมรวมตัวกันเป็นฝูงตั้งแต่ 10-100 ตัว หากินตามพื้นดินหรือตามทุ่งหญ้าโปร่งเท่านั้น เมื่อตกใจจะบินได้ระยะทางสั้น ๆ เพื่อขึ้นต้นไม้หรือขึ้นที่สูง โดยกินอาหารที่เป็นพืชแทบทุกชนิด ตลอดจนสัตว์ขนาดเล็ก เช่น หอยทาก แมลงชนิดต่าง ๆ ไก่ต๊อกหมวกเหล็กเป็นไก่ต๊อกที่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกา และเป็นไก่ต๊อกชนิดที่พบเห็นได้ง่ายและแพร่กระจายพันธุ์มากที่สุด ปัจจุบันมีการเพาะเลี้ยงไก่ต๊อกหมวกเหล็กเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม เพื่อความเพลิดเพลินใจ และยังมีการเพาะเลี้ยงเพื่อการบริโภคเนื้อและไข่เป็นสัตว์เศรษฐกิจอีกด้วย โดยเมื่อวางไข่ไก่ต๊อกหมวกเหล็กจะแยกตัวจากฝูงไปวางไข่เพียงตามลำพังในพงหญ้า ครั้งละ 40-50 ฟอง แม่ไก่จะดูแลลูกประมาณ 2-3 เดือน เมื่อพ้นจากนี้แล้วลูกไก่จะแข็งแรงพอที่จะเข้าฝูงหากินเองได้ ไก่ต๊อกหมวกเหล็กเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 5-7 เดือน.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและไก่ต๊อกหมวกเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ไมยราบยักษ์

มยราบยักษ์ (pricky wood weed, mimosa, giant sensitive plant, catclaw mimosa, black mimosa) เป็นพืชดอกมีลักษณะเป็นไม้พุ่มในวงศ์ถั่ว เป็นวัชพืชต่างถิ่นประเภทรุกรานที่มีความรุนแรง เนื่องจากสามารถเติบโตและแพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ยังมีความทนต่อสภาพน้ำท่วมและแห้งแล้งได้ดี.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและไมยราบยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮแรกซ์จุดเหลือง

แรกซ์จุดเหลือง หรือ ไฮแรกซ์พุ่มไม้ (Yellow-spotted rock hyrax, Bush hyrax) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในอันดับไฮแรกซ์ (Hyracoidea) ในวงศ์ไฮแรกซ์ (Procaviidae) มีลักษณะรูปร่างคล้ายกับไฮแรกซ์หิน ซึ่งเป็นไฮแรกซ์อีกชนิดหนึ่ง มีน้ำหนักประมาณ 1.5-2.5 กิโลกรัม มีความสูง 20-25 เซนติเมตร ความยาว 35-57 เซนติเมตร อายุขัยเฉลี่ย 5-10 ปี ไฮแรกซ์จุดเหลืองมีรูปร่างลักษณะเหมือนไฮแรกซ์หิน แต่มีจุดสีขาวเหนือดวงตาแต่ละข้าง อาศัยอยู่ตามโขดหินและถ้ำเล็ก ๆ กินพืชต่าง ๆ และใบไม้บนต้นไม้เป็นอาหาร ไฮแรกซ์จุดเหลืองก็เหมือนกับไฮแรกซ์หินตรงที่ก็ตกเป็นเหยื่อของสัตว์กินเนื้อที่มีขนาดใหญ่กว่า เช่น เสือดาว, เสือชีตาห์, แมวป่าต่าง ๆ, นกล่าเหยื่อขนาดใหญ่ เช่น อินทรี, เหยี่ยว หรือนกฮูก รวมทั้งงู ไฮแรกซ์จุดเหลือง นับเป็นไฮแรกซ์ชนิดที่พบได้มากที่สุดและกระจายพันธุ์ในวงกว้างที่สุด โดยพบที่แองโกลา, บอตสวานา, บูรุนดี, คองโก, อียิปต์ตอนใต้, เอริเธรีย, เอธิโอเปีย, เคนยา, มาลาวี, โมซัมบิก, รวันดา, โซมาลี, ตอนเหนือของแอฟริกาใต้, ซูดาน, แทนซาเนีย, อูกันดา, แซมเบีย และ ซิมบับเว โดยไม่พบในอาระเบียเหมือนไฮแรกซ์หิน.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและไฮแรกซ์จุดเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก

ทยทีวีโกลบอลเน็ทเวิร์ค (TGN, Thai TV Global Network) เป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมแห่งแรกของประเทศไทย ดำเนินการโดยสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก โดยได้แพร่ภาพสัญญาณโทรทัศน์ เพื่อคนไทยที่อาศัยอยู่ทั่วโลก 170 ประเทศ และต่างชาติที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับประเทศไทย ก่อนมีพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ไดแอน ฟอสซีย์

แอน ฟอสซีย์ กับดิจิต กอริลลาภูเขาตัวผู้ ตัวโปรดของเธอ ไดแอน ฟอสซีย์ (Dian Fossey; 16 มกราคม ค.ศ. 1932 - 26 ธันวาคม ค.ศ. 1985) นักสัตววิทยาชาวอเมริกัน ผู้ทำการศึกษาพฤติกรรมของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม โดยเฉพาะกับกอริลลา (วานรวิทยา) เธอมีชื่อเสียงจากการผลงานวิจัยกลุ่มลิงกอริลลาภูเขา ในป่าทึบของประเทศรวันดา มีผลงานเขียนหนังสือ ชื่อ Gorilla in the Mist ซึ่งถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ชื่อ Gorillas in the Mist: The Story of Dian Fossey (1988) หลังจากเธอเสียชีวิต รับบทโดยซิกอร์นีย์ วีเวอร.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและไดแอน ฟอสซีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ไดโนซอร์ เจาะแดนลี้ลับช็อกโลก

นซอร์ เจาะแดนลี้ลับช็อกโลก (The Dinosaur Project) ภาพยนตร์แนวผจญภัยระทึกขวัญ สัญชาติอังกฤษ ในปี ค.ศ. 2012.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและไดโนซอร์ เจาะแดนลี้ลับช็อกโลก · ดูเพิ่มเติม »

เช เกบารา

อร์เนสโต เกบารา (Ernesto Guevara)ในระบบเสียงภาษาสเปนทั้งในยุโรปและลาตินอเมริกาโดยทั่วไปไม่ปรากฏหน่วยเสียง (ตรงกับเสียงของตัวอักษร v ในภาษาอังกฤษ) เพราะตัวอักษร b และ v แทนหน่วยเสียงเดียวกันคือ ซึ่งในการออกเสียงจริงอาจแปรเป็นเสียงกัก ริมฝีปาก ก้อง หรือเสียงเปิด ริมฝีปาก ก้อง ก็ได้ขึ้นอยู่กับตำแหน่งภายในคำและในประโยค รวมทั้งความระมัดระวังในการเปล่งเสียงของผู้พูด อนึ่ง เสียง นี้เป็นเสียงที่ฟังดูคล้ายกับเสียง หรือ สำหรับหูคนไทยหลายคน แต่ความจริงไม่ใช่ทั้งคู่ หรือที่รู้จักกันในชื่อ เช (Che,; 14 มิถุนายนThe date of birth recorded on his birth certificate was June 14, 1928, although one tertiary source, (Julia Constenla, quoted by Jon Lee Anderson), asserts that he was actually born on May 14 of that year. Constenla alleges that she was told by Che's mother, Celia de la Serna, that she was already pregnant when she and Ernesto Guevara Lynch were married and that the date on the birth certificate of their son was forged to make it appear that he was born a month later than the actual date to avoid scandal. (Anderson 1997, pp. 3, 769.) ค.ศ. 1928 – 9 ตุลาคม ค.ศ. 1967) เป็นนักปฏิวัติลัทธิมากซ์ นายแพทย์ นักเขียน ผู้นำนักรบกองโจร นักการทูต และนักทฤษฎีการทหารชาวอาร์เจนตินา ในฐานะที่เป็นบุคคลสำคัญคนหนึ่งจากการปฏิวัติคิวบา ภาพใบหน้าของเขากลายเป็นสัญลักษณ์ที่พบทั่วไปของวัฒนธรรมต่อต้านและการกบฏ และเป็นตราต้นแบบที่รู้จักกันเป็นสากลภายในวัฒนธรรมสมัยนิยม ครั้งยังเป็นนักศึกษาแพทย์หนุ่ม เกบาราเดินทางไปทั่วทวีปอเมริกาใต้และรู้สึกสะเทือนใจกับความยากจนข้นแค้น ความหิวโหย และโรคภัยที่เขาพบระหว่างทาง Speech by Che Guevara to the Cuban Militia on August 19, 1960.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและเช เกบารา · ดูเพิ่มเติม »

เบลเจียนคองโก

ลเจียนคองโก (Belgian Congo; Congo Belge; ดัตช์) เป็นชื่อทางการในอดีตของสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (DRC) ในปัจจุบัน เป็นช่วงระหว่างที่พระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมทรงปลดปล่อยการควบคุมดินแดนในฐานะดินแดนส่วนพระองค์ให้กับราชอาณาจักรเบลเยียมเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและเบลเจียนคองโก · ดูเพิ่มเติม »

เกรตริฟต์แวลลีย์

แนวหุบเขาทรุดถ่ายจากดาวเทียม เกรตริฟต์แวลลีย์ (Great Rift Valley) คือหุบเขารอยเลื่อนขนาดใหญ่ เป็นรอยแยกยาวต่อเนื่องขนาดยาวที่สุดในโลก ขนาดความกว้างประมาณ 30-100 กิโลเมตร เป็นหน้าผาดิ่งจากที่ราบสูงรอบ ๆ ลึกกว่า 450-800 เมตร พาดผ่าน 19 ประเทศ ตั้งแต่เหนือจรดใต้ เรียงกันได้ดังนี้ เริ่มต้นจากประเทศซีเรีย เลบานอน อิสราเอล จอร์แดน เวสต์แบงก์ (ปาเลสไตน์) ผ่านเข้าสู่ทะเลแดง เลียบชายฝั่งอียิปต์และซูดาน ก่อนจะเข้าสู่เอริเทรีย เอธิโอเปีย เคนยา ยูกันดา สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์เดิม) รวันดา บุรุนดี แทนซาเนีย แซมเบีย มาลาวี และสิ้นสุดในโมซัมบิก รวมความยาวที่พาดผ่านตั้งแต่เหนือจรดใต้ ประมาณ 6,750 กิโลเมตร คิดเป็นประมาณ 1 ใน 4 เท่าของเส้นรอบวงโลก (เส้นศูนย์สูตร) โดยที่ขอบด้านข้างของหุบเขาทรุดสูงมากกว่า 2,000 เมตร หุบเขาทรุดเกิดจากการที่แผนเปลือกโลก 2 แผ่นแยกออกจากกัน คือ แผ่นเปลือกโลกที่รองรับคาบสมุทรอาหรับและแอฟริกาตะวันออก กับแผ่นเปลือกโลกที่รอบรับทวีปแอฟริกาทั้งทวีป ซึ่งค่อย ๆ แยกตัวออกจากกันอย่างสม่ำเสมอทำให้เกิดแนวทรุดตัวเป็นแนวยาว เกิดที่ที่ราบทรุดตัวแม่น้ำ ร่องธารลึก และภายในยุคหน้าน้ำทะเลจะท่วมเข้ามาจนกระทั่งตัดทวีปแอฟริกาขาดออกจากกัน.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและเกรตริฟต์แวลลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เวลายุโรปกลาง

ตเวลาชาติยุโรปกลาง (Central European Time; CET) เป็นชื่อของเขตเวลาที่ตรงกับมาตรฐานบบเวลาสากลเชิงพิกัดบวก 1 ชั่วโมง (UTC+1) ซึ่งใช้เป็นเวลามาตรฐานส่วนใหญ่ในประเทศยุโรป และใช้ในประเทศทางตอนเหนือของทวีปแอฟริก.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและเวลายุโรปกลาง · ดูเพิ่มเติม »

เสรีรัฐคองโก

รีรัฐคองโก (Congo Free State; État indépendant du Congo) เป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ในแอฟริกากลาง ซึ่งอยู่ในการครอบครองส่วนพระองค์ของพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียม มีกำเนิดจากการหนุนหลังทางวิทยาศาสตร์และมนุษยธรรมที่น่าดึงดูดแก่องค์การพัฒนาเอกชน สมาคมแอฟริกานานาชาติ (Association internationale africaine, AIA) ของพระเจ้าเลออปอลที่ 2 พระองค์ทรงกระชับการควบคุมลุ่มน้ำคองโกส่วนมากผ่าน AIA และองค์การสืบเนื่องทั้งหลาย องค์การสุดท้าย คือ สมาคมคองโกนานาชาติ (Association internationale du Congo, AIC) เป็นเครื่องมือส่วนพระองค์ของพระเจ้าเลออปอลที่ 2 เนื่องจากทรงเป็นผู้ถือหุ้นแต่พระองค์เดียวและประธาน พระองค์จึงได้ใช้องค์การเพื่อรวบรวมและขายงา ยางและแร่เพิ่มขึ้นในลุ่มน้ำคองโกตอนบน แม้องค์การดังกล่าวจะถูกจัดตั้งขึ้นบนความเข้าใจว่าวัตถุประสงค์คือ เพื่อยกระดับประชาชนท้องถิ่นและพัฒนาพื้นที่ พระองค์ให้นามเสรีรัฐคองโกแก่ AIC ใน..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและเสรีรัฐคองโก · ดูเพิ่มเติม »

เสือดาวแอฟริกา

ือดาวแอฟริกา (African leopard) เป็นชนิดย่อยชนิดหนึ่งในบรรดา 8 ชนิดของเสือดาว จัดอยู่ในวงศ์เสือและแมว (Felidae).

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและเสือดาวแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

เสือไฟแอฟริกา

ือไฟแอฟริกา หรือ แมวทองแอฟริกา (African golden cat) เสือขนาดเล็กหรือแมวชนิดหนึ่ง กระจายพันธุ์อยู่ในทวีปแอฟริกา เสือไฟแอฟริกามีลักษณะทั่วไปคล้ายกับเสือไฟที่พบในทวีปเอเชีย ทั้งที่พบกันคนละทวีปที่ห่างไกลกัน เชื่อว่าในยุคก่อนประวัติศาสตร์ราวหนึ่งล้านปีก่อนแผ่นดินใหญ่ในจีนจนถึงทวีปแอฟริกาในปัจจุบันเชื่่อมต่อกันเป็นป่าเดียวกัน แต่ต่อมาถูกคั่นด้วยทะเลทรายกว้างใหญ่หลายแห่ง เสือไฟในสองทวีป จึงถูกตัดขาดจากกัน และมีวิวัฒนาการแยกออกจากกัน หรือเป็นผลของการวิวัฒนาการแบบเข้าหากันผ่อง เล่งอี้.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและเสือไฟแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

เผด็จการทหาร

ระบอบเผด็จการทหาร (military dictatorship) คือ ระบอบการปกครองที่อำนาจทางการเมืองขึ้นอยู่กับกองทัพ ถือได้ว่าเป็นการปกครองแบบคณาธิปไตยลัทธิอำนาจนิยมอย่างหนึ่ง เผด็จการทหารต่างจากเผด็จการพลเรือนด้วยหลายสาเหตุ คือ แรงจูงใจของการยึดอำนาจ สถาบันซึ่งใช้จัดระเบียบการปกครอง และหนทางสละอำนาจ เผด็จการทหารมักมองว่าตนกำลังช่วยให้ประเทศชาติพ้นจากนักการเมืองพลเรือนที่ฉ้อฉลหรือวิสัยทัศน์คับแคบ และอ้างฐานะของตนเป็นผู้ชี้ขาด "คนกลาง" บนฐานสมาชิกภาพในกองทัพ ผู้นำทหารมักปกครองเป็นคณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง โดยเลือกหนึ่งในพวกตนเป็นหัวหน้.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและเผด็จการทหาร · ดูเพิ่มเติม »

เทือกเขาวีรูงกา

ทือกเขาวีรูงกา (Virunga Mountains) เป็นแนวภูเขาไฟในแอฟริกาตะวันออก ตามพรมแดนด้านเหนือของรวันดา สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก และยูกันดา เทือกเขานี้เป็นสาขาหนึ่งของอัลเปอร์ไทน์ริฟต์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเกรตริฟต์แวลลีย์ ตั้งอยู่ระหว่างทะเลสาบเอ็ดเวิร์ดและทะเลสาบกิวู คำว่า "วีรูงกา" เป็นคำในภาษาอังกฤษของคำว่า ibirunga ในภาษากินยาร์วันดา ซึ่งมีความหมายว่า "เทือกเขา" เทือกเขาวีรูงกาประกอบด้วยภูเขาไฟหลัก 8 ลูก ส่วนใหญ่เป็นภูเขาไฟที่สงบแล้ว ยกเว้นภูเขาไฟเอ็นยิรากอนโก (3,462 เมตร) และภูเขาไฟนัยยะมูรกิรา (3,063 เมตร) ทั้งสองอยู่ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก การปะทุครั้งล่าสุดเกิดขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและเทือกเขาวีรูงกา · ดูเพิ่มเติม »

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและเขตเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เดอบูกงกอแล

อบูกงกอแล (Debout Congolais, แปลว่า "ตื่นเถิดชาวคองโก") คือชื่อเพลงชาติของสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ประพันธ์ทำนองโดยซีมง-ปีแยร์ บอกา ดี อึมปาซี ลงดี (Simon-Pierre Boka di Mpasi Londi) เนื้อร้องโดยโจเซฟ ลูตุมบา (Joseph Lutumba) เพลงนี้ได้ใช้เป็นเพลงชาติครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและเดอบูกงกอแล · ดูเพิ่มเติม »

เซอร์วัล

ซอร์วัล (serval, serval cat) สัตว์กินเนื้อขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์เสือและแมว (Felidae).

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและเซอร์วัล · ดูเพิ่มเติม »

ISO 4217

ISO 4217 เป็นมาตรฐานสากลสำหรับรหัสสกุลเงินที่ใช้ในประเทศต่างๆ มักใช้ในการแลกเปลี่ยนสกุลเงินตามธนาคาร ประกอบด้วยอักษรละตินตัวใหญ่ 3 ตัวจากชื่อประเทศและชื่อของสกุลเงินที่ใช้ในประเทศนั้น.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและISO 4217 · ดูเพิ่มเติม »

UTC+01:00

UTC+01:00 เป็นช่วงเวลาที่การชดเชยที่เพิ่ม 1 ชั่วโมง ไปยังเวลาสากลเชิงพิกัด (UTC).

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและUTC+01:00 · ดูเพิ่มเติม »

UTC+02:00

UTC+02:00 เป็นเขตเวลาใช้ใน: UTC +2 สีน้ำเงิน (เดือนธันวาคม), สีส้ม (มิถุนายน), สีเหลือง (ตลอดทั้งปี), สีน้ำเงินอ่อน - พื้นที่ทางทะเล.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและUTC+02:00 · ดูเพิ่มเติม »

Xenotilapia papilio

Xenotilapia papilio เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) X. papilio ถูกค้นพบเมื่อปี..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและXenotilapia papilio · ดูเพิ่มเติม »

.cd

.cd เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2540.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและ.cd · ดูเพิ่มเติม »

.zr

.zr เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศซาเอียร์ จดทะเบียนครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2539 ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว และเปลี่ยนรหัสเป็น.cd หลังจากเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและ.zr · ดูเพิ่มเติม »

5 ธันวาคม

วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันที่ 339 ของปี (วันที่ 340 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 26 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกและ5 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

DR CongoDemocratic Republic of CongoDemocratic Republic of the CongoZaireดีอาร์ คองโกซาอีร์ประเทศซาอีร์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »