โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สาธารณรัฐประชาชนฮังการี

ดัชนี สาธารณรัฐประชาชนฮังการี

รณรัฐประชาชนฮังการี (Magyar Népköztársaság), หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ฮังการี เป็นยุคหนึ่งของ ประวัติศาสตร์ฮังการี ตั้งแต่ปี 1949 ถึงปี 1989 โดยประเทศนี้เป็น สาธารณรัฐสังคมนิยม สาธารณรัฐประชาชนฮังการีถูกปกครองโดย พรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการี, ภายได้การหนุนหลังของ สหภาพโซเวียตRao, B. V. (2006), History of Modern Europe Ad 1789-2002: A.D. 1789-2002, Sterling Publishers Pvt.

28 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2499พรรคประชาชนแรงงานฮังการีพรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการีกลุ่มตะวันออกการบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอการรื้อถอนรั้วพรมแดนด้านที่ติดกับออสเตรียของฮังการีการปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956กติกาสัญญาวอร์ซอยาโนช กาดาร์ยาโนช อาแดร์ยูรี อันโดรปอฟรัฐหุ่นเชิดราชอาณาจักรฮังการีรายชื่อพรรคคอมมิวนิสต์รายชื่อธงในประเทศฮังการีรายนามประมุขแห่งรัฐฮังการีสภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจสาธารณรัฐฮังการีที่ 2สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาสงครามโลกครั้งที่สองสงครามเกาหลีอิมแร นอจอินเตอร์คอสมอสธงชาติฮังการีถอดรหัสสายลับพันหน้าคณะรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐประชาชนฮังการีแรเฌอ แชแร็ชช์เอสวีที-40

พ.ศ. 2499

ทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและพ.ศ. 2499 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาชนแรงงานฮังการี

รรคประชาชนแรงงานฮังการี (MDP) เป็นพรรคการเมืองและพรรคคอมมิวนิสต์ของสาธารณรัฐประชาชนฮังการีตั้งแต..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและพรรคประชาชนแรงงานฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

พรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการี

ใบปลิวชวนเชื่อของพรรคซึ่งมีข้อความว่า "เอกภาพอันแบ่งแยกมิได้ซึ่งพรรคของเราและประชาชนของเราจงเจริญ!" พรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการี (Magyar Szocialista Munkáspárt, MSzMP) เป็นพรรคการเมืองของสาธารณรัฐประชาชนฮังการี ก่อตั้งแทนที่พรรคประชาชนแรงงานฮังการีที่ถูกยุบลงในการปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและพรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มตะวันออก

นการณ์ทางการเมืองของโลกตะวันออกในยุคสงครามเย็น. โลกตะวันออกในยุคสงครามเย็น คำว่า กลุ่มตะวันออก (Eastern Bloc) เป็นชื่อเรียกที่หมายถึงอดีตรัฐซึ่งปกครองด้วยระบอบสังคมนิยมแบบคอมมิวนิสต์ ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในยุโรปตะวันออก และอาจหมายรวมถึงประเทศที่เข้าร่วมสนธิสัญญาวอร์ซอด้วยเช่นกัน คำว่า "กลุ่มตะวันออก" เป็นชื่อที่ใช้เรียกในยุคสงครามเย็น (ค.ศ. 1946 - ค.ศ. 1989) รัฐต่างๆ ที่อยู่ในโลกตะวันออกส่วนใหญ่เป็นรัฐที่ถูก สหภาพโซเวียตเข้ายึดครองในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง หลังจากที่สหภาพโซเวียตล่มสลาย รัฐแต่ละรัฐที่อยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียตก็ได้แยกตัวตั้งตนเป็นอิสระและเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสังคมนิยมเป็นระบอบประชาธิปไตยแทน รวมอีกทั้งประเทศเยอรมันทั้งตะวันออกและตะวันตกก็ได้รวมตัวกันเป็นหนึ่งภายหลังการทำลายกำแพงเบอร์ลิน ทำให้กลุ่มตะวันออกล่มสล.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและกลุ่มตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ

การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ เป็นเหตุการณ์ที่สหภาพโซเวียตและพันธมิตรหลักของสหภาพโซเวียตตามกติกาสัญญาวอร์ซอรุกรานเชโกสโลวาเกียเพื่อยับยั้งการปฏิรูปทางการเมืองของอเล็กซานเดอร์ ดุปเชค ในช่วงปรากสปริง ในคืนวันที่ 20 - 21 สิงหาคม..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและการบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ · ดูเพิ่มเติม »

การรื้อถอนรั้วพรมแดนด้านที่ติดกับออสเตรียของฮังการี

นพรมแดนระหว่างออสเตรียกับฮังการีในอดีตที่ถูกทิ้งร้าง การรื้อถอนรั้วพรมแดนด้านที่ติดกับออสเตรียของฮังการี ในเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและการรื้อถอนรั้วพรมแดนด้านที่ติดกับออสเตรียของฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956

การปฏิวัติฮังการี..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและการปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956 · ดูเพิ่มเติม »

กติกาสัญญาวอร์ซอ

กติกาสัญญาวอร์ซอ (Warsaw Pact) หรือชื่อทางการว่า สนธิสัญญาแห่งไมตรี ความร่วมมือ และการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน (Treaty of Friendship, Co-operation, and Mutual Assistance; Договор о дружбе, сотрудничестве и взаимной помощи) บางครั้งเรียกขานอย่างไม่เป็นทางการว่า วอร์แพ็ก (WarPac) เป็นกติกาสัญญาด้านความมั่นคงร่วมกันระหว่างสหภาพโซเวียตกับรัฐบริวารของตนอีกเจ็ดแห่งในยุโรปตอนกลางและตะวันออกระหว่างช่วงสงครามเย็น กติกาสัญญาวอร์ซอเป็นส่วนเพิ่มด้านการทหารของคณะกรรมาธิการเพื่อการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจระหว่างกันหรือ โคเมคอน (Council for Mutual Economic Assistance; CoMEcon) ซึ่งเป็นองค์การทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคสำหรับรัฐคอมมิวนิสต์ในยุโรปตอนกลางและตะวันออก ทั้งนี้กติกาสัญญาวอร์ซอก่อตั้งขึ้นเพื่อตอบโต้การที่เยอรมนีตะวันตกเข้าร่วมกับองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (เนโท)"In reaction to West Germany’s NATO accession, the Soviet Union and its Eastern European client states formed the Warsaw Pact in 1955." Citation from: ในปี..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและกติกาสัญญาวอร์ซอ · ดูเพิ่มเติม »

ยาโนช กาดาร์

นช กาดาร์ (János Kádár) เป็นผู้นำคอมมิวนิสต์ฮังการีและเป็นเลขาธิการกลางพรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการี เขาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของประเทศตั้งแต..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและยาโนช กาดาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยาโนช อาแดร์

นช อาแดร์ (János Áder) เป็นนักกฎหมายและนักการเมืองชาวฮังการีซึ่งดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีฮังการีตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและยาโนช อาแดร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยูรี อันโดรปอฟ

ยูรี วลาดีมีโรวิช อันโดรปอฟ (Ю́рий Влади́мирович Андро́пов) เป็นผู้นำสหภาพโซเวียตคนที่ 4 เลขาธิการกลางคณะกรรมาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต ประธานคณะผู้บริหารสูงสุดแห่งสภาโซเวียตสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียต เอกอัครทูตสหภาพโซเวียตประจำสาธารณรัฐประชาชนฮังการีระหว่างปี 1954 ถึงปี 1957 และ ประธานคณะกรรมาธิการเพื่อความมั่นคงแห่งรัฐ ระหว่างปี 1967 ถึงปี 1982 อันโดรปอฟเป็นผู้นำหัวปฏิรูปที่มีบทบาทสำคัญต่อการเมืองของสหภาพโซเวียต เพราะเป็นคนที่พยายามจัตระเบียบ และ ยกระดับคุณภาพการทำงานในวงราชการ ความเป็นผู้นำของเขาทำให้ อันโดรปอฟ ได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกของโปลิตบูโร ในปี 1973 และเป็นผู้สืบทอดอำนาจต่อจากเลโอนิด เบรจเนฟ ในปี 1982 หมวดหมู่:ผู้นำในสงครามเย็น หมวดหมู่:บุคคลจากสตัฟโรปอล หมวดหมู่:นักการเมืองโซเวียต.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและยูรี อันโดรปอฟ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐหุ่นเชิด

รัฐหุ่นเชิด (Puppet state) หรือ รัฐบาลหุ่นเชิด (Puppet government หรือ Marionette government) ใช้อธิบายถึงสภาพของรัฐที่มีเอกราชแต่เพียงในนาม แต่ถูกควบคุมโดยอำนาจต่างชาติหรือกองทัพอย่างชัดเจน คำว่า รัฐหุ่นเชิด หมายความถึง รัฐบาลที่ถูกควบคุมโดยอีกรัฐบาลหนึ่ง เหมือนกับการเชิดหุ่นกระบอก และยังใช้ในความหมายที่รัฐขาดความเป็นเอกราช หรือมีการปกป้องเอกราชในสิ่งที่เป็นอิทธิพลจากต่างชาติหรือกองทั.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและรัฐหุ่นเชิด · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฮังการี

ราชอาณาจักรฮังการี หรือเรียกสั้นๆ ว่า ฮังการี (Kingdom of Hungary, Magyar Királyság) มีชื่อเต็มว่า “ราชอาณาจักรแห่งพระมหามงกุฎอันศักดิ์สิทธิ์แห่งเซนต์สตีเฟน” (A magyar Szent Korona országai) เริ่มก่อตั้งราชอาณาจักรขึ้นราว..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและราชอาณาจักรฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพรรคคอมมิวนิสต์

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อพรรคคอมมิวนิสต์ทั่วโลก.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและรายชื่อพรรคคอมมิวนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศฮังการี

นื้อหาต่อไปนี้ว่าด้วยธงประเภทต่างๆ ที่ใช้ในฮังการี.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและรายชื่อธงในประเทศฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประมุขแห่งรัฐฮังการี

รายนามประมุขแห่งรัฐของประเทศฮังการี ตั้งแต่การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1848จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบันประมุขแห่งรัฐฮังการีเป็นตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ (Magyarország köztársasági elnöke) ประธานาธิบดีนั้นมาจากการเลือกตั้งโดยสมาชิกของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีวาระในการดำรงตำแหน่ง 5 ปี ซึ่งบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญฮังการี ประธานาธิบดีคนปัจจุบันคือ ยาโนช อาแดร์ เป็นผู้ได้รับเลือกคนล่าสุดโดยเริ่มดำรงตำแหน่งวันที่ 10 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและรายนามประมุขแห่งรัฐฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

สภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ

ื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ (Council for Mutual Economic Assistance) หรือ คอมิคอน (Comecon) เป็นองค์กรความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจของสหภาพโซเวียต ประเทศต่าง ๆ ในกลุ่มตะวันออก และรัฐคอมมิวนิสต์บางแห่งทั่วโลก มอสโกกังวลเรื่องแผนมาร์แชลล์ คอมิคอนมีขึ้นเพื่อป้องกันไม่ให้ประเทศในขอบเขตอิทธิพลของโซเวียตไปสู่อิทธิพลของอเมริกาและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คอมิคอนได้รับการตอบรับจากกลุ่มตะวันออก (Eastern Bloc) ถึงการก่อตัวในยุโรปตะวันตกขององค์การเพื่อการดำเนินงานทางเศรษฐกิจของยุโรป (OEEC)"Germany (East)", Library of Congress Country Study, การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรปในปี 1957 และองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1961.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและสภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐฮังการีที่ 2

รณรัฐฮังการีที่ 2 (második magyar köztársaság) เป็นสาธารณรัฐที่มาแทนที่ราชอาณาจักรฮังการีซึ่งถูกยุบลงในวันที่ 1 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและสาธารณรัฐฮังการีที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา

รณรัฐประชามานิตกัมพูชา หรือในภาษาไทยคือ สาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา (សាធារណរដ្ឋប្រជាមានិតកម្ពុជា สาธารณรฎฺฐบฺรชามานิตกมฺพุชา; People's Republic of Kampuchea: PRK) เป็นรัฐบาลที่จัดตั้งในกัมพูชาโดยแนวร่วมปลดปล่อย ซึ่งเป็นกลุ่มของกัมพูชาฝ่ายซ้ายที่อยู่ตรงข้ามกับกลุ่มของเขมรแดง ล้มล้างรัฐบาลกัมพูชาประชาธิปไตยของพล พต โดยร่วมมือกับกองทัพของเวียดนาม ทำให้เกิดการรุกรานเวียดนามของกัมพูชา เพื่อผลักดันกองทัพเขมรแดงออกไปจากพนมเปญ มีเวียดนามและสหภาพโซเวียตเป็นพันธมิตรที่สำคัญ สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาไม่ได้เป็นสมาชิกของสหประชาชาติเพราะไม่ได้รับการสนับสนุนจากจีน อังกฤษและสหรัฐอเมริกา ที่นั่งในสหประชาชาติของประเทศกัมพูชาในขณะนั้นเป็นของแนวร่วมเขมรสามฝ่ายที่จัดตั้งรัฐบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตย ซึ่งกลุ่มเขมรแดงของพล พตเข้าร่วมกับกลุ่มที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์อีก 2 กลุ่ม คือ กลุ่มของนโรดม สีหนุ และซอน ซาน อย่างไรก็ตาม สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาได้ประกาศเป็นรัฐบาลของกัมพูชาระหว่าง..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเกาหลี

งครามเกาหลี (25 มิถุนายน 1950 – 27 กรกฎาคม 1953) เป็นสงครามระหว่างสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) โดยได้รับการสนับสนุนจากสหประชาชาติฝ่ายหนึ่ง กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดยได้รับการสนับสนุนจากสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นหลัก อีกฝ่ายหนึ่ง สงครามเกาหลีเป็นผลจากเขตทางการเมืองของเกาหลีโดยความตกลงที่ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะกระทำเมื่อสงครามแปซิฟิกยุติ คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิญี่ปุ่นปกครองตั้งแต่ปี 1910 กระทั่งสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุด หลังการยอมจำนนของจักรวรรดิญี่ปุ่นในเดือนกันยายน 1945 นักปกครองชาวอเมริกันได้แบ่งคาบสมุทรตามเส้นขนานที่ 38 โดยกองกำลังทหารสหรัฐยึดครองส่วนใต้ และกองกำลังทหารโซเวียตยึดครองส่วนเหนือ ความล้มเหลวในการจัดการเลือกตั้งเสรีทั่วคาบสมุทรเกาหลีในปี 1948 ยิ่งตอกลึกการแบ่งแยกระหว่างสองฝ่าย เกาหลีเหนือจึงสถาปนารัฐบาลคอมมิวนิสต์ ขณะที่เกาหลีใต้สถาปนารัฐบาลประชาธิปไตยในนาม เส้นขนานที่ 38 กลายเป็นพรมแดนทางการเมืองเพิ่มขึ้นระหว่างสองรัฐเกาหลี แม้การเจรจาเพื่อรวมประเทศยังคงดำเนินต่อมาหลายเดือนก่อนเกิดสงคราม แต่ความตึงเครียดยิ่งทวีขึ้น เกิดการรบปะทะและการตีโฉบฉวยข้ามพรมแดนเส้นขนานที่ 38 อยู่เนือง ๆ สถานการณ์บานปลายเป็นการสงครามเปิดเผยเมื่อกองกำลังเกาหลีเหนือบุกครองเกาหลีใต้เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 1950 ปีเดียวกัน สหภาพโซเวียตคว่ำบาตรคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ เพื่อเป็นการประท้วงที่รัฐบาลก๊กมินตั๋ง/สาธารณรัฐจีนเป็นผู้แทนของจีน ซึ่งลี้ภัยไปยังเกาะไต้หวันหลังปราชัยสงครามกลางเมืองจีน เมื่อขาดเสียงไม่เห็นพ้องจากสหภาพโซเวียต ซึ่งมีอำนาจยับยั้งข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงฯ สหรัฐอเมริกาและประเทศอื่นจึงผ่านข้อมติที่อนุญาตให้แทรกแซงทางทหารในเกาหลี สหรัฐอเมริกาจัดหาทหารคิดเป็น 88% ของทหารนานาชาติ 341,000 นาย ที่ถูกส่งไปช่วยเหลือกองกำลังเกาหลีใต้ขับการบุกครอง โดยมีรัฐสมาชิกสหประชาชาติอื่นอีก 20 ประเทศเสนอความช่วยเหลือ หลังประสบความสูญเสียอย่างหนักในช่วงสองเดือนแรก ฝ่ายตั้งรับถูกผลักดันกลับไปยังพื้นที่เล็ก ๆ ทางใต้ของคาบสมุทรเกาหลี ซึ่งมีชื่อว่า วงรอบปูซาน จากนั้น การรุกโต้ตอบอย่างรวดเร็วของสหประชาชาติได้ขับทหารเกาหลีเหนือผ่านเส้นขนานที่ 38 ขึ้นไปเกือบถึงแม่น้ำยาลู เมื่อสาธารณรัฐประชาชนจีนเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายเดียวกับเกาหลีเหนือ การเข้าแทรกแซงของจีนบีบให้กองกำลังเกาหลีใต้และพันธมิตรถอยกลับไปใต้เส้นขนานที่ 38 อีกครั้ง แม้สหภาพโซเวียตจะมิได้ส่งทหารเข้าร่วมในความขัดแย้งโดยตรง แต่ก็ให้ความช่วยเหลือด้านยุทธปัจจัยแก่ทั้งกองทัพเกาหลีเหนือและจีน การสู้รบยุติลงเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 1953 เมื่อมีการลงนามในความตกลงการสงบศึก ความตกลงดังกล่าวฟื้นฟูพรมแดนระหว่างประเทศใกล้กับเส้นขนานที่ 38 และสถาปนาเขตปลอดทหารเกาหลี แนวกันชนที่มีการป้องกันกว้าง 4.0 กิโลเมตร ระหว่างสองชาติเกาหลี อุบัติการณ์ขนาดย่อมยังคงดำเนินต่อมาตราบจนปัจจุบัน ปัจจัยที่ทำให้สงครามเกาหลียุติเพราะ สตาลินเสียชีวิต และรัฐบาลใหม่โซเวียต ให้บอกให้จีนและเกาหลีเหนือยุติสงครามเกาหลี จากมุมมองวิทยาศาสตร์การทหาร สงครามเกาหลีเป็นการรวมยุทธศาสตร์และยุทธวิธีของสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่สองเข้าด้วยกัน โดยเริ่มต้นจากการสงครามเคลื่อนที่ด้วยการเข้าตีของทหารราบอย่างรวดเร็ว ตามด้วยการตีโฉบฉวยทิ้งระเบิดทางอากาศ แต่กลายเป็นสงครามสนามเพลาะที่อยู่นิ่งเมื่อถึงเดือนกรกฎาคม 1951.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและสงครามเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

อิมแร นอจ

อิมแร นอจ อิมแร นอจ (Imre Nagy) เป็นนักการเมืองคอมมิวนิสต์ชาวฮังการี ซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประธานสภารัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐประชาชนฮังการี (เทียบเท่ากับนายกรัฐมนตรี) 2 สมัย เขาเกิดในวันที่ 7 มิถุนายน..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและอิมแร นอจ · ดูเพิ่มเติม »

อินเตอร์คอสมอส

The Interkosmos crest. อินเตอร์คอสมอส (Интеркосмос) เป็นโครงการอวกาศของสหภาพโซเวียต มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือพันธมิตรของสหภาพโซเวียตด้านภารกิจทางอวกาศทั้งแบบมีมนุษย์และแบบไม่มีมนุษย์ ประเทศที่เข้าร่วมโครงการนี้ได้แก่ชาติในยุโรปตะวันออกซึ่งเป็นสมาชิกกติกาสัญญาวอร์ซอ, สภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ และชาติสังคมนิยมอื่น ๆ อย่างอัฟกานิสถาน, คิวบา, มองโกเลีย และเวียดนาม นอกจากนี้ ชาติไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดที่นิยมสหภาพโซเวียตอย่างอินเดียและซีเรีย รวมทั้งฝรั่งเศส (ซึ่งเป็นชาติทุนนิยมและเป็นพันธมิตรกับสหรัฐอเมริกาหรือนาโตในบางครั้ง) ก็เข้าร่วมโครงการด้ว.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและอินเตอร์คอสมอส · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติฮังการี

งชาติฮังการี (Magyarország zászlaja) เริ่มใช้เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1957 มีทั้งหมด 3 สี คือ สีแดง,สีขาว และ สีเขียว โดยสีแดง หมายถึง เลือดของผู้รักชาติ สีขาว หมายถึง สันติภาพและแม่น้ำดานูบ สีเขียว หมายถึง ความหวังและธรรมชาติ ในประเทศฮังการี และเคยเป็นธงประจำสาธารณรัฐประชาชนฮังการี แบบสร้างธงชาติฮังการี.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและธงชาติฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ถอดรหัสสายลับพันหน้า

อดรหัสสายลับพันหน้า (ภาษาอังกฤษ: Tinker Tailor Soldier Spy) เป็นภาพยนตร์แนวจารกรรม สัญชาติอังกฤษ-ฝรั่งเศส ออกฉายในปี..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและถอดรหัสสายลับพันหน้า · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐประชาชนฮังการี

ณะรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐประชาชนฮังการี (Council of Ministers of the Hungarian People's Republic) จัดตั้งขึ้นหลังสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนฮังการี และเมื่อสาธารณรัฐถูกยุบไป คณะรัฐมนตรีก็สิ้นสุดลงตามไปในวันที่ 23 ตุลาคม 1989 คณะรัฐมนตรีเป็นรัฐบาลฮังการีในช่วงที่ประเทศอยู่ในความควบคุมของระบอบคอมมิวนิสต์ คณะประกอบด้วย ประธานคนหนึ่ง คือ นายกรัฐมนตรี, รองประธาน, รัฐมนตรีลอย, รัฐมนตรีเจ้ากระทรวง, และประธานกรรมการแผนงานแห่งชาติ (National Planning Board) ประธานและรัฐมนตรีนั้นรัฐสภาฮังการีแต่งตั้งและให้พ้นจากตำแหน่งตามคำแนะนำของสภาประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐประชาชนฮังการี (Presidential Council of the Hungarian People's Republic).

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและคณะรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐประชาชนฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

แรเฌอ แชแร็ชช์

แรเฌอ แชแร็ชช์ (Rezső Seress; 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1899 – 11 มกราคม ค.ศ. 1968) เป็นนักแต่งเพลงชาวฮังการี มีชื่อเกิดว่า "รูดอล์ฟ สปิตเซอร์" (Rudolf Spitzer) ในวัยเด็ก เขาออกจากโรงเรียนและเริ่มต้นชีวิตจากการเป็นนักแสดงกายกรรมในคณะละครสัตว์ แต่หลังจากประสบอุบัติเหตุ แชแร็ชช์ลาออกมาเป็นนักแสดงในโรงละคร ต่อมาเขาทำงานเป็นนักดนตรีในร้านอาหารแห่งหนึ่ง ด้วยฐานะที่ยากจน ทำให้แชแร็ชช์ต้องหาเลี้ยงชีพด้วยการแต่งเพลงไปด้วย ในปี..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและแรเฌอ แชแร็ชช์ · ดูเพิ่มเติม »

เอสวีที-40

ทหารโซเวียตกับปืนไรเฟิล เอสวีที-40 เอสวีที-40 (SVT-40,ย่อมาSamozaryadnaya Vintovka Tokareva, Obrazets 1940 godaСамозарядная винтовка Токарева, образец 1940 года.) ปืนไรเฟิลของสหภาพโซเวียตผลิตใช้ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ตั้งใจจะเป็นปืนไรเฟิลประจำการใหม่ของกองทัพแดงโซเวียตแทนปืนไรเฟิลโมซิน-นากองท์ แต่การผลิตได้หยุดชะงักจากการรุกรานของเยอรมนี ทำให้การผลิตช้าซึงทำให้กองทัพหันไปใช้ปืนไรเฟิลโมซิน-นากองท์ซึ่งการผลิตได้รวดเร็วกว.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนฮังการีและเอสวีที-40 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Hungarian People's RepublicPeople's Republic of Hungary

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »