โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรีย

ดัชนี สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรีย

รณรัฐประชาชนบัลแกเรีย (PRB; Народна република България (НРБ) Narodna republika Balgariya (NRB), People's Republic of Bulgaria) เป็นรัฐคอมมิวนิสต์ตั้งแต่ พ.ศ. 2489 ถึง พ.ศ. 2533.

18 ความสัมพันธ์: พรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมบัลแกเรียพรรคคอมมิวนิสต์บัลแกเรียพระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรียกลุ่มตะวันออกกองทัพประชาชนบัลแกเรียการบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอกติกาสัญญาวอร์ซอราชอาณาจักรบัลแกเรียรายชื่อพรรคคอมมิวนิสต์สภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาสงครามอาณานิคมโปรตุเกสสงครามเกาหลีอินเตอร์คอสมอสธงชาติบัลแกเรียประเทศบัลแกเรียแกออร์กี ดีมีตรอฟเอสวีที-40

พรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมบัลแกเรีย

รรคกรรมกรชาติสังคมนิยมบัลแกเรีย (Българска Национал-Социалистическа Работническа Партия) เป็นพรรคการเมืองนิยมแนวชาติสังคมนิยมของราชอาณาจักรบัลแกเรีย เป็นหนึ่งในจำนวนกลุ่มต่อต้านยิวที่จะปรากฏอยู่ในประเทศบัลแกเรียในช่วงภายหลังของการขึ้นสู่อำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในประเทศเยอรมนี,ด้วยกลุ่มอื่นๆที่โดดเด่น รวมทั้งสหภาพแห่งกองทหารชาติบัลแกเรียและ Ratniks พรรคนี้ถูกจัดตั้งขึ้นโดย ดร.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรียและพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์บัลแกเรีย

พรรคคอมมิวนิสต์บัลแกเรีย (Българска Комунистическа Партия) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ที่ปกครองสาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรีย ตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1903 แต่มามีอำนาจในปี 1948 แนวคิดของพรรคนี้เป็นแนวคิดนิยมลัทธิมากซ์–เลนิน หมวดหมู่:พรรคคอมมิวนิสต์ หมวดหมู่:พรรคการเมืองบัลแกเรีย หมวดหมู่:พรรคในระบบพรรคการเมืองเดียว.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรียและพรรคคอมมิวนิสต์บัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรีย

ระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรีย (26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2404 — 10 กันยายน พ.ศ. 2491; พระนามเมื่อประสูติ: เจ้าชายเฟอร์ดินานด์ แม็กซิมิลเลียน คาร์ล ลีโอโปลด์ มาเรียแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา-โคฮารี) ทรงเป็นองค์อธิปัตย์แห่งบัลแกเรีย และหลังจากนั้นทรงดำรงเป็นพระเจ้าซาร์แห่งบัลแกเรีย ทรงเป็นทั้งนักประพันธ์,นักพฤกษาศาสตร์,นักกีฏวิทยาและเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านแสตมป.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรียและพระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มตะวันออก

นการณ์ทางการเมืองของโลกตะวันออกในยุคสงครามเย็น. โลกตะวันออกในยุคสงครามเย็น คำว่า กลุ่มตะวันออก (Eastern Bloc) เป็นชื่อเรียกที่หมายถึงอดีตรัฐซึ่งปกครองด้วยระบอบสังคมนิยมแบบคอมมิวนิสต์ ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในยุโรปตะวันออก และอาจหมายรวมถึงประเทศที่เข้าร่วมสนธิสัญญาวอร์ซอด้วยเช่นกัน คำว่า "กลุ่มตะวันออก" เป็นชื่อที่ใช้เรียกในยุคสงครามเย็น (ค.ศ. 1946 - ค.ศ. 1989) รัฐต่างๆ ที่อยู่ในโลกตะวันออกส่วนใหญ่เป็นรัฐที่ถูก สหภาพโซเวียตเข้ายึดครองในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง หลังจากที่สหภาพโซเวียตล่มสลาย รัฐแต่ละรัฐที่อยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียตก็ได้แยกตัวตั้งตนเป็นอิสระและเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสังคมนิยมเป็นระบอบประชาธิปไตยแทน รวมอีกทั้งประเทศเยอรมันทั้งตะวันออกและตะวันตกก็ได้รวมตัวกันเป็นหนึ่งภายหลังการทำลายกำแพงเบอร์ลิน ทำให้กลุ่มตะวันออกล่มสล.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรียและกลุ่มตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพประชาชนบัลแกเรีย

กองทัพประชาชนบัลแกเรีย (Българска народна армия: Bulgarska Narodna Armiya, BNA) เป็นกองกำลังทหารของสาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรีย ก่อตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรียและกองทัพประชาชนบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ

การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ เป็นเหตุการณ์ที่สหภาพโซเวียตและพันธมิตรหลักของสหภาพโซเวียตตามกติกาสัญญาวอร์ซอรุกรานเชโกสโลวาเกียเพื่อยับยั้งการปฏิรูปทางการเมืองของอเล็กซานเดอร์ ดุปเชค ในช่วงปรากสปริง ในคืนวันที่ 20 - 21 สิงหาคม..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรียและการบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ · ดูเพิ่มเติม »

กติกาสัญญาวอร์ซอ

กติกาสัญญาวอร์ซอ (Warsaw Pact) หรือชื่อทางการว่า สนธิสัญญาแห่งไมตรี ความร่วมมือ และการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน (Treaty of Friendship, Co-operation, and Mutual Assistance; Договор о дружбе, сотрудничестве и взаимной помощи) บางครั้งเรียกขานอย่างไม่เป็นทางการว่า วอร์แพ็ก (WarPac) เป็นกติกาสัญญาด้านความมั่นคงร่วมกันระหว่างสหภาพโซเวียตกับรัฐบริวารของตนอีกเจ็ดแห่งในยุโรปตอนกลางและตะวันออกระหว่างช่วงสงครามเย็น กติกาสัญญาวอร์ซอเป็นส่วนเพิ่มด้านการทหารของคณะกรรมาธิการเพื่อการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจระหว่างกันหรือ โคเมคอน (Council for Mutual Economic Assistance; CoMEcon) ซึ่งเป็นองค์การทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคสำหรับรัฐคอมมิวนิสต์ในยุโรปตอนกลางและตะวันออก ทั้งนี้กติกาสัญญาวอร์ซอก่อตั้งขึ้นเพื่อตอบโต้การที่เยอรมนีตะวันตกเข้าร่วมกับองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (เนโท)"In reaction to West Germany’s NATO accession, the Soviet Union and its Eastern European client states formed the Warsaw Pact in 1955." Citation from: ในปี..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรียและกติกาสัญญาวอร์ซอ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรบัลแกเรีย

ราชอาณาจักรบัลแกเรีย หรืออาณาจักรซาร์บัลแกเรีย อาณาจักรซาร์บัลแกเรียที่ 3 และ จักรวรรดิบัลแกเรียที่ 3 (Царство България, Tsarstvo Balgariya).

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรียและราชอาณาจักรบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพรรคคอมมิวนิสต์

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อพรรคคอมมิวนิสต์ทั่วโลก.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรียและรายชื่อพรรคคอมมิวนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

สภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ

ื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ (Council for Mutual Economic Assistance) หรือ คอมิคอน (Comecon) เป็นองค์กรความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจของสหภาพโซเวียต ประเทศต่าง ๆ ในกลุ่มตะวันออก และรัฐคอมมิวนิสต์บางแห่งทั่วโลก มอสโกกังวลเรื่องแผนมาร์แชลล์ คอมิคอนมีขึ้นเพื่อป้องกันไม่ให้ประเทศในขอบเขตอิทธิพลของโซเวียตไปสู่อิทธิพลของอเมริกาและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คอมิคอนได้รับการตอบรับจากกลุ่มตะวันออก (Eastern Bloc) ถึงการก่อตัวในยุโรปตะวันตกขององค์การเพื่อการดำเนินงานทางเศรษฐกิจของยุโรป (OEEC)"Germany (East)", Library of Congress Country Study, การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรปในปี 1957 และองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1961.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรียและสภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา

รณรัฐประชามานิตกัมพูชา หรือในภาษาไทยคือ สาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา (សាធារណរដ្ឋប្រជាមានិតកម្ពុជា สาธารณรฎฺฐบฺรชามานิตกมฺพุชา; People's Republic of Kampuchea: PRK) เป็นรัฐบาลที่จัดตั้งในกัมพูชาโดยแนวร่วมปลดปล่อย ซึ่งเป็นกลุ่มของกัมพูชาฝ่ายซ้ายที่อยู่ตรงข้ามกับกลุ่มของเขมรแดง ล้มล้างรัฐบาลกัมพูชาประชาธิปไตยของพล พต โดยร่วมมือกับกองทัพของเวียดนาม ทำให้เกิดการรุกรานเวียดนามของกัมพูชา เพื่อผลักดันกองทัพเขมรแดงออกไปจากพนมเปญ มีเวียดนามและสหภาพโซเวียตเป็นพันธมิตรที่สำคัญ สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาไม่ได้เป็นสมาชิกของสหประชาชาติเพราะไม่ได้รับการสนับสนุนจากจีน อังกฤษและสหรัฐอเมริกา ที่นั่งในสหประชาชาติของประเทศกัมพูชาในขณะนั้นเป็นของแนวร่วมเขมรสามฝ่ายที่จัดตั้งรัฐบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตย ซึ่งกลุ่มเขมรแดงของพล พตเข้าร่วมกับกลุ่มที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์อีก 2 กลุ่ม คือ กลุ่มของนโรดม สีหนุ และซอน ซาน อย่างไรก็ตาม สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาได้ประกาศเป็นรัฐบาลของกัมพูชาระหว่าง..

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรียและสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอาณานิคมโปรตุเกส

ทหารโปรตุเกสในแองโกลา การฝึกอบรมของทหารของ FNLA ในซาอีร์ สงครามอาณานิคมโปรตุเกส (Portuguese Colonial War,Guerra Colonial Portuguesa), ในโปรตุเกสเรียกว่า สงครามต่างแดน (Overseas War,Guerra do Ultramar) ส่วนในอดีตอาณานิคมเรียกว่าสงครามแห่งการปลดปล่อย (War of Liberation,Guerra de Libertação), คือการต่อสู้ระหว่างทหารของโปรตุเกสกับขบวนการชาตินิยมในอาณานิคมแอฟริกาของโปรตุเกสระหว่างปี พ.ศ. 2504ถึงปี พ.ศ. 2517 เกิดการรัฐประหารล้มล้างระบอบเอสตาโด โนโว เปลี่ยนแปลงในรัฐบาลนำความขัดแย้งถึงจุดสิ้นสุด ในยุโรปในช่วงปี พ.ศ. 2493 ถึง พ.ศ. 2503, ระบอบการปกครองเอสตาโด โนโวของโปรตุเกสไม่ได้ยอมถอนตัวจากการเป็นอาณานิคมแอฟริกา เป็นดินแดนเหล่านั้นได้รับการเรียกร้องเอกราชตั้งแต่ปี พ.ศ. 2494 ในช่วงปี พ.ศ. 2503 การเคลื่อนไหวเป็นอิสระต่าง ๆ กลายเป็นกองกำลังติดอาวุธ ในแองโกลา ขบวนการประชาชนเพื่อการปลดปล่อยแองโกลา,แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติแองโกลา,สหภาพแห่งชาติเพื่อความเป็นอิสระแองโกลา ในโปรตุเกสกินี พรรคแอฟริกันเป็นอิสระของประเทศกินีและเคปเวิร์ดและในโมซัมบิก แนวร่วมปลดปล่อโมซัมบิก ในตลอดความขัดแย้งได้มีการทารุณกรรมพลเรือนที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ตลอดระยะเวลาความขัดแย้ง โปรตุเกสเผชิญกับการคว่ำบาตรทางการค้าและมีมาตรการลงโทษอื่น ๆ ที่กำหนดโดยสหประชาชาติ ปี พ.ศ. 2516 และได้โจมตีระบอบการปกครองเอสตาโด โนโวว่าไม่เป็นประชาธิปไตย การสิ้นสุดของสงครามมาพร้อมกับการทำรัฐประหารปฏิวัติคาร์เนชั่นของเดือนเมษายนปี พ.ศ. 2517 ส่งผลให้ในการอพยพของประชาชนโปรตุเกส หลายพันคนออกจากอาณานิคมเริ่มถึงบุคลากรทางทหารยุโรป, แอฟริกา และเชื้อชาติผสมจากอาณานิคมและประเทศที่เพิ่งเป็นอิสระในแอฟริกา. การอพยพครั้งนี้ได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในการโยกย้ายที่เงียบสงบใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของโลก. ซึ่งโปรตุเกสเป็นประเทศแรกที่สร้างอาณานิคมในทวีปแอฟริกาในเซวตา พ.ศ. 1958 และก็กลายเป็นประเทศสุดท้ายที่จะออกจากดินแดนในแอฟริก.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรียและสงครามอาณานิคมโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเกาหลี

งครามเกาหลี (25 มิถุนายน 1950 – 27 กรกฎาคม 1953) เป็นสงครามระหว่างสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) โดยได้รับการสนับสนุนจากสหประชาชาติฝ่ายหนึ่ง กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดยได้รับการสนับสนุนจากสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นหลัก อีกฝ่ายหนึ่ง สงครามเกาหลีเป็นผลจากเขตทางการเมืองของเกาหลีโดยความตกลงที่ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะกระทำเมื่อสงครามแปซิฟิกยุติ คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิญี่ปุ่นปกครองตั้งแต่ปี 1910 กระทั่งสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุด หลังการยอมจำนนของจักรวรรดิญี่ปุ่นในเดือนกันยายน 1945 นักปกครองชาวอเมริกันได้แบ่งคาบสมุทรตามเส้นขนานที่ 38 โดยกองกำลังทหารสหรัฐยึดครองส่วนใต้ และกองกำลังทหารโซเวียตยึดครองส่วนเหนือ ความล้มเหลวในการจัดการเลือกตั้งเสรีทั่วคาบสมุทรเกาหลีในปี 1948 ยิ่งตอกลึกการแบ่งแยกระหว่างสองฝ่าย เกาหลีเหนือจึงสถาปนารัฐบาลคอมมิวนิสต์ ขณะที่เกาหลีใต้สถาปนารัฐบาลประชาธิปไตยในนาม เส้นขนานที่ 38 กลายเป็นพรมแดนทางการเมืองเพิ่มขึ้นระหว่างสองรัฐเกาหลี แม้การเจรจาเพื่อรวมประเทศยังคงดำเนินต่อมาหลายเดือนก่อนเกิดสงคราม แต่ความตึงเครียดยิ่งทวีขึ้น เกิดการรบปะทะและการตีโฉบฉวยข้ามพรมแดนเส้นขนานที่ 38 อยู่เนือง ๆ สถานการณ์บานปลายเป็นการสงครามเปิดเผยเมื่อกองกำลังเกาหลีเหนือบุกครองเกาหลีใต้เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 1950 ปีเดียวกัน สหภาพโซเวียตคว่ำบาตรคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ เพื่อเป็นการประท้วงที่รัฐบาลก๊กมินตั๋ง/สาธารณรัฐจีนเป็นผู้แทนของจีน ซึ่งลี้ภัยไปยังเกาะไต้หวันหลังปราชัยสงครามกลางเมืองจีน เมื่อขาดเสียงไม่เห็นพ้องจากสหภาพโซเวียต ซึ่งมีอำนาจยับยั้งข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงฯ สหรัฐอเมริกาและประเทศอื่นจึงผ่านข้อมติที่อนุญาตให้แทรกแซงทางทหารในเกาหลี สหรัฐอเมริกาจัดหาทหารคิดเป็น 88% ของทหารนานาชาติ 341,000 นาย ที่ถูกส่งไปช่วยเหลือกองกำลังเกาหลีใต้ขับการบุกครอง โดยมีรัฐสมาชิกสหประชาชาติอื่นอีก 20 ประเทศเสนอความช่วยเหลือ หลังประสบความสูญเสียอย่างหนักในช่วงสองเดือนแรก ฝ่ายตั้งรับถูกผลักดันกลับไปยังพื้นที่เล็ก ๆ ทางใต้ของคาบสมุทรเกาหลี ซึ่งมีชื่อว่า วงรอบปูซาน จากนั้น การรุกโต้ตอบอย่างรวดเร็วของสหประชาชาติได้ขับทหารเกาหลีเหนือผ่านเส้นขนานที่ 38 ขึ้นไปเกือบถึงแม่น้ำยาลู เมื่อสาธารณรัฐประชาชนจีนเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายเดียวกับเกาหลีเหนือ การเข้าแทรกแซงของจีนบีบให้กองกำลังเกาหลีใต้และพันธมิตรถอยกลับไปใต้เส้นขนานที่ 38 อีกครั้ง แม้สหภาพโซเวียตจะมิได้ส่งทหารเข้าร่วมในความขัดแย้งโดยตรง แต่ก็ให้ความช่วยเหลือด้านยุทธปัจจัยแก่ทั้งกองทัพเกาหลีเหนือและจีน การสู้รบยุติลงเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 1953 เมื่อมีการลงนามในความตกลงการสงบศึก ความตกลงดังกล่าวฟื้นฟูพรมแดนระหว่างประเทศใกล้กับเส้นขนานที่ 38 และสถาปนาเขตปลอดทหารเกาหลี แนวกันชนที่มีการป้องกันกว้าง 4.0 กิโลเมตร ระหว่างสองชาติเกาหลี อุบัติการณ์ขนาดย่อมยังคงดำเนินต่อมาตราบจนปัจจุบัน ปัจจัยที่ทำให้สงครามเกาหลียุติเพราะ สตาลินเสียชีวิต และรัฐบาลใหม่โซเวียต ให้บอกให้จีนและเกาหลีเหนือยุติสงครามเกาหลี จากมุมมองวิทยาศาสตร์การทหาร สงครามเกาหลีเป็นการรวมยุทธศาสตร์และยุทธวิธีของสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่สองเข้าด้วยกัน โดยเริ่มต้นจากการสงครามเคลื่อนที่ด้วยการเข้าตีของทหารราบอย่างรวดเร็ว ตามด้วยการตีโฉบฉวยทิ้งระเบิดทางอากาศ แต่กลายเป็นสงครามสนามเพลาะที่อยู่นิ่งเมื่อถึงเดือนกรกฎาคม 1951.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรียและสงครามเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

อินเตอร์คอสมอส

The Interkosmos crest. อินเตอร์คอสมอส (Интеркосмос) เป็นโครงการอวกาศของสหภาพโซเวียต มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือพันธมิตรของสหภาพโซเวียตด้านภารกิจทางอวกาศทั้งแบบมีมนุษย์และแบบไม่มีมนุษย์ ประเทศที่เข้าร่วมโครงการนี้ได้แก่ชาติในยุโรปตะวันออกซึ่งเป็นสมาชิกกติกาสัญญาวอร์ซอ, สภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ และชาติสังคมนิยมอื่น ๆ อย่างอัฟกานิสถาน, คิวบา, มองโกเลีย และเวียดนาม นอกจากนี้ ชาติไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดที่นิยมสหภาพโซเวียตอย่างอินเดียและซีเรีย รวมทั้งฝรั่งเศส (ซึ่งเป็นชาติทุนนิยมและเป็นพันธมิตรกับสหรัฐอเมริกาหรือนาโตในบางครั้ง) ก็เข้าร่วมโครงการด้ว.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรียและอินเตอร์คอสมอส · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติบัลแกเรีย

งชาติบัลแกเรีย (знаме на България zname na Balgariya) มีลักษณะเป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งตามแนวนอนเป็น 3 แถบ แต่ละแถบมีความกว้างเท่ากันและเป็นแถบสีขาว สีเขียว และสีแดง เรียงตามลำดับจากบนลงล่าง ธงดังกล่าวถือกำเนิดขึ้นครั้งแรกเมื่อบัลแกเรียได้ประกาศเอกราชในปี พ.ศ. 2422 หลังสิ้นสุดสงครามรัสเซีย-ตุรกี ธงดังกล่าวนี้ได้มีการบรรจุภาพตราแผ่นดินไว้ด้วยในหลายสมัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสมัยที่ประเทศนี้ใช้ชื่อว่าสาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรีย ธงแบบปัจจุบันนี้เริ่มใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2534 และได้รับการรับรองว่าเป็นธงชาติตามกฎหมายเมื่อ พ.ศ. 2542.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรียและธงชาติบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบัลแกเรีย

ัลแกเรีย (България) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐบัลแกเรีย (Република България) เป็นประเทศทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป มีชายฝั่งบนทะเลดำไปทางตะวันออก มีพรมแดนติดต่อกับประเทศกรีซและประเทศตุรกีทางใต้ ประเทศเซอร์เบียและสาธารณรัฐมาซิโดเนียทางตะวันตก และประเทศโรมาเนียทางเหนือตามแม่น้ำดานูบบัลแกเรียเคยเป็นอาณานิคมของรัสเซี.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรียและประเทศบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

แกออร์กี ดีมีตรอฟ

แกออร์กี ดีมีตรอฟ มีไคลอฟ (Гео̀рги Димитро̀в Миха̀йлов) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ เกออร์กี มีฮาอิลโลวิช ดีมีตรอฟ (Гео́ргий Миха́йлович Дими́тров) เป็นนักการเมืองคอมมิวนิสต์ชาวบัลแกเรีย เขาเป็นผู้นำคอมมิวนิสต์คนแรกของสาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรีย ตั้งแต่ปี 1946 ถึงปี 1949 หลังการอสัญกรรมของดีมีตรอฟ รัฐบาลบัลแกเรียได้นำร่างของเขาไปไว้ที่สุสานแกออร์กี ดีมีตรอฟ จนหลังการล่มสลายของระบอบคอมมิวนิสต์ในบัลแกเรียร่างของเขาถูกฝังที่สุสานกลางที่นครโซเฟียในปี 1990 ส่วนสุสานเดิมถูกรื้อถอนในปี 1999.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรียและแกออร์กี ดีมีตรอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เอสวีที-40

ทหารโซเวียตกับปืนไรเฟิล เอสวีที-40 เอสวีที-40 (SVT-40,ย่อมาSamozaryadnaya Vintovka Tokareva, Obrazets 1940 godaСамозарядная винтовка Токарева, образец 1940 года.) ปืนไรเฟิลของสหภาพโซเวียตผลิตใช้ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ตั้งใจจะเป็นปืนไรเฟิลประจำการใหม่ของกองทัพแดงโซเวียตแทนปืนไรเฟิลโมซิน-นากองท์ แต่การผลิตได้หยุดชะงักจากการรุกรานของเยอรมนี ทำให้การผลิตช้าซึงทำให้กองทัพหันไปใช้ปืนไรเฟิลโมซิน-นากองท์ซึ่งการผลิตได้รวดเร็วกว.

ใหม่!!: สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรียและเอสวีที-40 · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »