โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สันติ พร้อมพัฒน์

ดัชนี สันติ พร้อมพัฒน์

ันติ พร้อมพัฒน์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทยแบบบัญชีรายชื่อ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช และรัฐบาลของนายสมชาย วงศ์สวั.

28 ความสัมพันธ์: บุศริณธญ์ วรพัฒนานันน์พ.ศ. 2495พรรคเพื่อไทยการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2552รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทยรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทยวันเพ็ญ พร้อมพัฒน์วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557ศันสนีย์ นาคพงศ์สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์สันติสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะสุณีย์ เหลืองวิจิตรหม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุลอิสสระ สมชัยธีระ ห้าวเจริญถวิล พึ่งมาคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60ปวีณา หงสกุลโสภณ ซารัมย์

บุศริณธญ์ วรพัฒนานันน์

นางบุศริณธญ์ วรพัฒนานันน์ (ชื่อเดิม บุษรินทร์ ติยะไพรัช) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดเชียงราย อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย และเป็นพี่สาวของนายยงยุทธ ติยะไพรัช อดีตประธานรั.

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และบุศริณธญ์ วรพัฒนานันน์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2495

ทธศักราช 2495 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1952.

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และพ.ศ. 2495 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเพื่อไทย

รรคเพื่อไทย (ย่อว่า: พท. Pheu Thai Party) จดทะเบียนจัดตั้ง เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550 โดยมี นายบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก และ นายโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์ เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก สำนักงานใหญ่ของพรรค ตั้งอยู่ที่ 1770 อาคารไอเอฟซีที ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10310 ซึ่งเป็นที่ทำการเดิมของพรรคไทยรักไทย และพรรคพลังประชาชน (ย้ายมาจากอาคารนวสร ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร และ 626 อาคาร บีบีดี บิลดิง ซอยจินดาถวิล ถนนพระรามที่ 4 แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500) และสำนักงานสาขาพรรคแห่งแรก ตั้งอยู่ที่จังหวัดพิจิตร ซึ่งเป็นสาขาพรรคพลังประชาชนเดิม.

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และพรรคเพื่อไทย · ดูเพิ่มเติม »

การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2552

นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ ขณะชี้แจงข้อกล่าวหาจากผู้อภิปราย การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไท..

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษ.

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย

รายนามรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของไท.

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

วันเพ็ญ พร้อมพัฒน์

นางวันเพ็ญ พร้อมพัฒน์ (เกิด 2 ธันวาคม พ.ศ. 2493) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดพรรคพลังประชาชน ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และวันเพ็ญ พร้อมพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557

วิกฤตการณ์การเมืองไท..

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 · ดูเพิ่มเติม »

ศันสนีย์ นาคพงศ์

ันสนีย์ นาคพงศ์ ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาล พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร, อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคพลังธรรม, อดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย, อดีตผู้ประกาศข่าว สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ซึ่งมีชื่อเสียงคู่กับจักรพันธุ์ ยมจินดา และเอกชัย นพจิน.

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และศันสนีย์ นาคพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 - 27 กันยายน พ.ศ. 2539) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 391 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538.

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20 (17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 393 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539.

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 มีสมาชิกจำนวน 500 คน แบ่งเป็นแบบเขตเลือกตั้ง 400 คน แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน โดยมีพรรคการเมืองที่ได้รับการเลือกตั้งสูงสุด คือ พรรคไทยรักไทย จำนวน 377 คน.

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 (23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 480 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 400 คน และการเลือกตั้งแบบสัดส่วน 80 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม..

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 500 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 375 คน และการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ 125 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ มี 6 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 6 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สันติ

ันติ สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และสันติ · ดูเพิ่มเติม »

สุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ

นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีและประธานกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตเลขานุการศูนย์บัญชาการติดตามสถานการณ์ ประธานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการและประธานกรรมการคณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 159/2557ประธานคณะกรรมการประสานงาน รวม 3 ฝ่าย (คณะรัฐมนตรี สภานิติบัญญัติแห่งชาติ และสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ) ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 336/2558ประธานกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติประธานกรรมการในคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา และเป็นอดีตผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี ระหว่างวันที่ 21 มกราคม 2557 ถึง 18 มีนาคม 2557 เขาเป็นกรรมการในศูนย์รักษาความสงบแห่งชาติ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ · ดูเพิ่มเติม »

สุณีย์ เหลืองวิจิตร

นางสาวสุณีย์ เหลืองวิจิตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นอดีตเลขาธิการพรรคเพื่อไทย ในระหว่างปี พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และสุณีย์ เหลืองวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล

ร้อยเอกหม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล (เกิด 26 สิงหาคม พ.ศ. 2499; ชื่อเล่น: คุณเหลน) ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำนายกรัฐมนตรี เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทรโอชา อดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และหม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล · ดูเพิ่มเติม »

อิสสระ สมชัย

อิสสระ สมชัย (เกิด 16 ธันวาคม พ.ศ. 2489) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ (ดูแลพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานีและแบบบัญชีรายชื่อ หลายสมัย และมีบุตรสาวที่เป็นนักการเมืองคือ นางสาวบุญย์ธิดา สมชัย อดีต..อุบลราชธานี.

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และอิสสระ สมชัย · ดูเพิ่มเติม »

ธีระ ห้าวเจริญ

ลเรือเอกธีระ ห้าวเจริญ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม สมัย พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ และเป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภา และอดีตผู้บัญชาการทหารเรือ.

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และธีระ ห้าวเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

ถวิล พึ่งมา

ตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และถวิล พึ่งมา · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 57 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 - 18 กันยายน พ.ศ. 2551) นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายยงยุทธ ติยะไพรัช ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 58 (24 กันยายน พ.ศ. 2551 - 19 ธันวาคม พ.ศ. 2551) หรือที่รู้จักกันในชื่อ คณะรัฐมนตรีสมชาย (ครม.สมชาย 1) นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายชัย ชิดชอบ ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 60 (9 สิงหาคม พ.ศ. 2554 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557) เป็นคณะรัฐมนตรีไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม ประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 9 สิงหาคม 2554 ภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไปเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 และการแต่งตั้ง ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ตาม ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 5 สิงหาคม 2554 โดยลำดับ คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุดลง เมื่อนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60 · ดูเพิ่มเติม »

ปวีณา หงสกุล

นางปวีณา หงสกุล (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นักการเมืองสตรีชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครหลายสมัย เป็นที่รู้จักในบทบาทของนักสังคมสงเคราะห์และผู้ดำเนินงานในนามมูลนิธิปวีณ.

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และปวีณา หงสกุล · ดูเพิ่มเติม »

โสภณ ซารัมย์

นายโสภณ ซารัมย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์ สังกัดพรรคภูมิใจไทย เกิดเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2502 ที่ บ้านหนองเก้าข่า ตำบลเมืองแฝก อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ สมรสกับนางอารีภรณ์ ซารัมย์ มีบุตร 3 คน นายโสภณ ซารัมย์ จบการศึกษาครุศาสตรบัณฑิต สาขาการประถมศึกษา จากวิทยาลัยครูบุรีรัม.

ใหม่!!: สันติ พร้อมพัฒน์และโสภณ ซารัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »