เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สังคมศาสตร์

ดัชนี สังคมศาสตร์

กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ (social science) คือ สาขาวิชาที่ใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เพื่อศึกษาโลกในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ หน่วยสังคมต่าง ๆ ของมนุษย์ รวมทั้งพฤติกรรมของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ วิชาในสังคมศาสตร์แตกต่างจากวิชาในกลุ่มมนุษยศาสตร์ เนื่องจากหลาย ๆ สาขาวิชาในสังคมศาสตร์เน้นการหาความรู้และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการดำเนินพฤติกรรมของมนุษย์และปรากฏการณ์ทางสังคมด้วยกระบวนการแบบปฏิฐานและประจักษ์นิยม ทั้งเชิงปริมาณ (quantitative method) และเชิงคุณภาพ (qualitative method) อย่างเป็นวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ตาม บางสาขาก็อาจจะนำระเบียบวิธีเชิงคุณภาพแบบการตีความ การคาดการณ์ วิเคราห์ตามหลักปรัชญาและตรรกะ หรือความเชื่อส่วนบุคคล และการวิจารณ์มาใช้ในการอธิบายพฤติกรรมในบางกรณีที่เหมาะสมหากจำเป็น อย่างไรก็ตาม ระเบียบวิธีการศึกษาทางสังคมศาสตร์แบบใหม่ได้รับอิทธิพลจากสังคมศาสตร์แบบอเมริกันอย่างมาก ทำให้การศึกษาแบบปฏิฐานนิยมได้รับความนิยมและการยอมรับมากกว่าระเบียบวิธีแบบเก่าที่คล้ายคลึงกับสาขามนุษยศาสตร์ พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (2529: 129) ทรงกล่าวถึงความหมายของสังคมศาสตร์และขอบเขตของการศึกษาวิชานี้ไว้ว่า สังคมศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตของมนุษย์ในทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ตามความเป็นจริง สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ.

สารบัญ

  1. 162 ความสัมพันธ์: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหงชนชั้นทางสังคมพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพฤติกรรมศาสตร์พหุนามกลุ่มรัสเซลกลุ่มในและกลุ่มนอกการบริหารงานยุติธรรมการพัฒนาการเมืองการวิจัยเชิงบุกเบิกการศึกษาตามแผนการผังเมืองการจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้การจำลองการทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุมการทดลองแบบอำพรางการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติการปฏิเสธการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศการแยกทัศนคติออกเป็นสองขั้วการเปลี่ยนความถี่ยีนอย่างไม่เจาะจงฝูงชนวุ่นวายภูมิศาสตร์มนุษย์มหาวิทยาลัยพระหฤทัยคาทอลิกมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหาวิทยาลัยกลาสโกว์มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญมหาวิทยาลัยมหาสารคามมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัยรามคำแหงมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสันมหาวิทยาลัยศิลปากรมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีมหาวิทยาลัยฮาวายมหาวิทยาลัยฮิโตะสึบะชิมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่นมหาวิทยาลัยติรานามหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์มหาวิทยาลัยนเรศวรมหาวิทยาลัยแห่งชาติเจิ้งจื้อมหาวิทยาลัยไลพ์ซิชมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียสเตตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนมหาวิทยาลัยเคียวริอึน... ขยายดัชนี (112 มากกว่า) »

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นสถานศึกษาวิชาการความรู้ในระดับที่สูงขึ้น โดยมีภารกิจหน้าที่ เป็นหน่วยงานกลางของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา รับผิดชอบดูแลควบคุม เกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา และลงทะเบียนเรียน ตลอดจนการให้ตำแนะนำการศึกษาต่อ.

ดู สังคมศาสตร์และบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ชนชั้นทางสังคม

นชั้นทางสังคม หรือเรียกเพียง ชนชั้น เป็นกลุ่มมโนทัศน์ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์และทฤษฎีการเมืองซึ่งมีศูนย์กลางที่แบบจำลองการจัดชั้นภูมิทางสังคมซึ่งบุคคลถูกจัดอยู่ในกลุ่มหมวดหมู่สังคมลำดับชั้น ชนชั้นสามัญที่สุด คือ ชนชั้นสูง ชนชั้นกลาง และชนชั้นล่าง ชนชั้นเป็นวัตถุสำคัญแห่งการวิเคราะห์สำหรับนักสังคมวิทยา นักรัฐศาสตร์ นักมานุษยวิทยาและนักประวัติศาสตร์สังคม อย่างไรก็ดี ไม่มีการเห็นพ้องต้องกันว่านิยามที่ดีที่สุดของคำว่า "ชนชั้น" คืออะไร และคำนี้มีหลายความหมายบริบท ในสำนวนพูดทั่วไป คำว่า "ชนชั้นทางสังคม" โดยทั่วไปพ้องกับ "ชนชั้นทางสังคม-เศรษฐกิจ" ซึ่งนิยามว่าเป็น "บุคคลที่มีสถานภาพทางสังคม เศรษฐกิจหรือการศึกษาเท่ากัน" เช่น ชนชั้นกรรมกร ชนชั้นวิชาชีพอุบัติใหม่ ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 คำว่า "ชนชั้น" เริ่มเป็นวิธีหลักในการจัดระเบียบสังคมเป็นการแบ่งลำดับชั้นแทนการจำแนกประเภทอย่างฐานันดร ยศและลำดับ ซึ่งสัมพันธ์กับการให้ความสำคัญกับคุณลักษณะที่ตกทอดมาลดลงโดยทั่วไป และให้ความสำคัญกับความมั่งคั่งและรายได้เพิ่มขึ้นเป็นตัวชี้วัดฐานะในลำดับชั้นทางสังคม.

ดู สังคมศาสตร์และชนชั้นทางสังคม

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ดู สังคมศาสตร์และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นประมุขแห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน..

ดู สังคมศาสตร์และพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

พฤติกรรมศาสตร์

ลิงก์ไปภาษาอื่นพฤติกรรมศาสตร์lang-en|Behavioural sciences หรือ Behavioral scienceหมายถึงคำศัพท์ทั่วไปที่ใช้ในสาขาวิชาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมและปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในโลกธรรมชาติ พฤติกรรมศาสตร์เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบและการสืบค้นหาพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์ผ่านการควบคุมและการสังเกตการณ์เชิงทดลองแบบธรรมชาติและการวางกฎเกณฑ์อันเข้มงวด อย่างไรก็ดี เมื่อเร็วๆ นี้ภาควิชาในสาขาจิตวิทยาหลายแห่งได้ยอมรับคำศัพท์เฉพาะนี้เพื่อใช้ในการกล่าวถึงกลุ่มบุคคลที่ทำการศึกษาคำถามเชิงพฤติกรรมอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ที่แตกต่างอย่างเด่นชัดไปจากการศึกษาเรื่องทั่วไปทางจิตวิท.

ดู สังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์

พหุนาม

upright พหุนาม ในคณิตศาสตร์ หมายถึง นิพจน์ที่สร้างจากตัวแปรอย่างน้อยหนึ่งตัวและสัมประสิทธิ์ โดยใช้การดำเนินการแค่ การบวก การลบ การคูณ และการยกกำลังโดยที่เลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบเท่านั้น ตัวอย่างของพหุนามตัวแปรเดียวที่มี เป็นตัวแปร เช่น ซึ่งเป็นฟังก์ชันกำลังสอง พหุนามสามารถนำไปใช้ในสาขาต่าง ๆ ของคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ได้อย่างกว้างขวาง ตัวอย่างเช่น สมการพหุนาม ซึ่งสามารถนำไปใช้ในการแก้ปัญหาได้อย่างกว้างขวาง จากโจทย์ปัญหาพื้นฐาน ไปจนถึงปัญหาที่ซับซ้อนทางวิทยาศาสตร์ และยังใช้ในการนิยาม ฟังก์ชันพหุนาม ซึ่งนำไปใช้ตั้งแต่พื้นฐานของเคมีและฟิสิกส์ ไปจนถึงเศรษฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ รวมถึงการนำไปใช้ในแคลคูลัส และการวิเคราะห์เชิงตัวเลข ซึ่งคล้ายคลึงกับฟังก์ชันต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ขั้นสูงนั้น พหุนามยังใช้ในการสร้างวงล้อพหุนาม และความหลากหลายทางพีชคณิต และเป็นแนวคิดสำคัญในพีชคณิต และเรขาคณิตเชิงพีชคณิตอีกด้ว.

ดู สังคมศาสตร์และพหุนาม

กลุ่มรัสเซล

กลุ่มรัสเซล (Russell Group) เป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยที่ประกอบด้วยมหาวิทยาลัยวิจัยขนาดใหญ่ในสหราชอาณาจักร 18 มหาวิทยาลัยจากสมาชิก 19 แห่ง ติด 20 อันดับแรกของประเทศในด้านงบวิจัย กลุ่มรัสเซลมีมหาวิทยาลัยอันดับต้น ๆ ของสหราชอาณาจักรอยู่เป็นจำนวนมาก ผู้คนมักเปรียบเทียบกลุ่มรัสเซลของสหราชอาณาจักรกับ ไอวีลีก ซึ่งเป็นกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบที่ไม่ค่อยจะสมเหตุผลเท่าไรนัก เนื่องจากสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำในสหรัฐอเมริกานั้น ส่วนใหญ่ได้รับการสนับสนุนจากเอกชน (ยกเว้นมหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ที่มีบางสาขาได้รับการสนับสนุนจากรัฐ) จึงไม่มีความจำเป็นต้องจัดตั้งกลุ่มล็อบบี้วิ่งเต้น อย่างมหาวิทยาลัยในสหราชอาณาจักรซึ่งทุกแห่งรับงบประมาณรัฐ (ยกเว้นเพียงแห่งเดียวคือ มหาวิทยาลัยบักกิงแฮม ที่เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนเต็มรูปแบบ) จุดประสงค์ของกลุ่มรัสเซลคือ เป็นกระบอกเสียงของสมาชิก (โดยเฉพาะการวิ่งเต้นล็อบบี้รัฐบาลและรัฐสภา) และจัดทำรายงานเพื่อสนับสนุนข้อเรียกร้องต่าง ๆ ประเด็นสนใจของกลุ่มได้แก่ ความต้องการเป็นผู้นำในการวิจัยของสหราชอาณาจักร เพิ่มรายรับให้มากที่สุด ดึงพนักงานและนักเรียนที่ดีที่สุด ลดการแทรกแซงจากรัฐบาล และใช้ประโยชน์จากความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยให้มากที.

ดู สังคมศาสตร์และกลุ่มรัสเซล

กลุ่มในและกลุ่มนอก

ในสาขาสังคมศาสตร์และจิตวิทยาสังคม กลุ่มใน (ingroup) เป็นกลุ่มสังคมที่บุคคลนับว่าตนเป็นสมาชิก โดยเปรียบเทียบกัน กลุ่มนอก (outgroup) ซึ่งเป็นกลุ่มสังคมที่บุคคลไม่นับว่าตนเป็นสมาชิก ยกตัวอย่างเช่น เราอาจจะเห็นว่าตนเป็นสมาชิกของกลุ่มต่าง ๆ ที่จำแนกโดยเชื้อชาติ วัฒนธรรม เพศ อายุ หรือศาสนา และมีการพบว่า ความรู้สึกทางจิตใจว่าเป็นสมาชิกของกลุ่มสังคม มีบทบาทในปรากฏการณ์ทางสังคมต่าง ๆ มากมาย คำภาษาอังกฤษว่า ingroup และ outgroup เกิดความนิยมเพราะงานของเฮ็นรี่ ทัชเฟ็ล และเพื่อนร่วมงาน เมื่อกำลังสร้างทฤษฎีเอกลักษณ์ทางสังคม (social identity theory) และได้ศึกษาความแตกต่างของกลุ่มในกลุ่มนอก โดยวิธีที่เรียกว่า minimal group paradigm พวกเขาพบว่า เราสามารถสร้างกลุ่มในตามความชอบใจของตน ภายในไม่กี่นาที และกลุ่มเช่นนี้อาจจะมีเอกลักษณ์อะไรบางอย่างที่เป็นเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น ความชอบใจในภาพศิลป์บางอย่าง.

ดู สังคมศาสตร์และกลุ่มในและกลุ่มนอก

การบริหารงานยุติธรรม

การบริหารงานยุติธรรม (Justice Administration (JA)) เป็นการบริหารจัดการงาน ที่เกี่ยวข้องกับระบบงานยุติธรรม ได้แก่ องค์กรตำรวจ อัยการ ศาล ราชทัณฑ์และคุมประพฤติ โดยเฉพาะเรื่องหลักการบริหาร การบังคับใช้กฎหมายอาญา การแก้ปัญหาการกระทำความผิดในสังคม ตลอดทั้งการบริหารเพื่อความปลอดภัยภายในองค์กรเอกชน 1.

ดู สังคมศาสตร์และการบริหารงานยุติธรรม

การพัฒนาการเมือง

การพัฒนาการเมือง (อังกฤษ: Political Development) เป็นคำที่เริ่มใช้กันในวงวิชาการรัฐศาสตร์เมื่อทศวรรษที่ 1960 โดยพัฒนามาจากการเรียนการสอนวิชาการเมืองเปรียบเทียบ (comparative politics) การพัฒนาการเมืองใช้เป็นมาตรฐานทางความเชื่อในทางการเมืองในเรื่องที่ว่า การเมืองในประเทศต่างๆต่างก็สามารถพัฒนาเข้าสู่สภาวะทางการเมืองที่ “ดีกว่า” แบบหนึ่ง การวัดการพัฒนาการทางการเมืองบางทีก็เรียกว่า “การทำการเมืองให้มีความทันสมัย (political modernization) ” การศึกษาวิชาการพัฒนาการเมืองมีมโนทัศน์หลักที่สำคัญคือสถาบันทางการเมือง และวัฒนธรรมทางการเมือง.

ดู สังคมศาสตร์และการพัฒนาการเมือง

การวิจัยเชิงบุกเบิก

การวิจัยเชิงบุกเบิก (exploratory research) คือประเภทของการวิจัยที่ปัญหายังไม่ได้รับการนิยามหรือบ่งชี้โดยชัดเจนมาก่อน การวิจัยเชิงบุกเบิกเอื้อให้ผู้วิจัยทำการออกแบบกระบวนการขั้นตอนการวิจัย การเก็บข้อมูล และการเลือกชื่อเรื่องได้ดีที่สุด ด้วยลักษณะการวิจัยพื้นฐานแบบนี้เองที่ได้ผลการวิจัยออกมาบ่อยครั้งว่าปัญหาที่นึกคาดไว้หรือที่ตั้งเป็นสมมุติฐานไว้ว่าไม่มีอยู่จริง การวิจัยเชิงบุกเบิก มักพึ่งการวิจัยทุติยภูมิ (secondary research) เช่น การทบทวนวรรณกรรม หรือการเข้าหาปัญหาเชิงปริมาณเช่นการสอบถามหรืออภิปรายอย่างไม่เป็นทางการกับผู้บริโภค, ลูกจ้าง, ฝ่ายบริหารจัดการหรือคู่แข่ง และเข้าสู่ปัญหาที่ลึกขึ้นโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก การเจาะกลุ่ม (focus groups) วิธีถามแบบเลียบเคียง กรณีศึกษา หรือการศึกษานำร่อง อินเทอร์เน็ตช่วยให้วิธีวิจัยมีความเป็นปฏิสัมพันธ์ได้มาก เช่น RSS (รูปแบบหนึ่งของเว็บฟีด) สามารถให้ข้อมูลข่าวสารสำหรับการวิจัยที่มีประสิทธิภาพและทันสมัยมาก โปรแกรมค้นหาหลักๆ เช่น กูเกิลอเลิร์ต จะส่งข้อมูลที่ทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับชื่อเรื่องวิจัยแก่ผู้วิจัยโดยอัตโนมัติทางอีเมล ส่วนโปรแกรมกูเกิลเทรนด์ สามารถสืบค้นข้อมูลเรื่องวิจัยที่ละเอียดเจาะจงแต่ได้ผลช้ากว่า นอกจากนี้ผู้วิจัยยังสามารถสร้างเว็บไซต์ที่เรียกว่า “บล็อก” เฉพาะของตนขึ้นเพื่อรองรับข้อมูลข่าวสารที่อาจป้อนเข้ามาถึงได้ทุกเนื้อหาวิชา ผลของการวิจัยเชิงบุกเบิกมักไม่มีประโยชน์สำหรับการตัดสินใจโดยตัวของมันเอง แต่ในบางสถานการณ์ก็เป็นตัวเอื้อช่วยให้การเจาะลงลึกสู่รายละเอียดของการวิจัยแม่นยำขึ้น และแม้ว่าผลการวิจัยที่เป็นเชิงปริมาณอาจช่วยให้บ่งชี้หรือนิยามได้ชัดในระดับ “ทำไม” “อย่างไร” และ “เมื่อใด” ที่สิ่งนั้นเกิดขึ้น แต่ก็ไม่สามารถบอกผู้วิจัยได้ว่า “บ่อยเพียงใด” หรือ “มากน้อยเท่าใด” การวิจัยเชิงบุกเบิกไม่อาจนำมาใช้ในการเป็นการทั่วไปได้ในด้านประชากรศาสตร.

ดู สังคมศาสตร์และการวิจัยเชิงบุกเบิก

การศึกษาตามแผน

การศึกษาตามแผน หรือ งานศึกษาตามรุ่น"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ "cohort-" ว่า "ตามรุ่น" เช่น "cohort analysis" แปลว่า "การวิเคราะห์ตามรุ่น", และของ "panel analysis" ว่า "การวิเคราะห์ตามบุคคลในรุ่น" (cohort study) หรือ งานศึกษาตามบุคคลในรุ่น เป็นแบบหนึ่งของงานศึกษาแบบสังเกต (observational study) ที่ใช้ในสาขาการแพทย์ สังคมศาสตร์ คณิตศาสตร์ประกันภัย "business analytics" และนิเวศวิทยา ยกตัวอย่างเช่น ในการแพทย์ อาจจะมีงานศึกษาที่วิเคราะห์ปัจจัยความเสี่ยง โดยติดตามกลุ่มประชากรที่ไม่มีโรค แล้วใช้ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยความเสี่ยงกับการติดโรค เพื่อกำหนดความเสี่ยงสัมพัทธ์ ของการติดโรค งานศึกษาตามรุ่นเป็นแบบการศึกษาทางคลินิกชนิดหนึ่ง เป็นงานศึกษาตามยาว (longitudinal study) โดยเทียบกับงานศึกษาตามขวาง (cross-sectional study) คือ เป็นการวัดค่าผลลัพธ์ที่เป็นประเด็นต่าง ๆ ของกลุ่มประชากร และของบุคคลต่าง ๆ ในกลุ่มประชากรนั้น ๆ ตามชั่วระยะเวลาหนึ่ง ๆ โดยเทียบกับการวัดค่าที่เป็นประเด็นเพียงครั้งเดียวในงานศึกษาตามขวาง "cohort" (รุ่น, กลุ่มร่วมรุ่น) เป็นกลุ่มบุคคลที่มีคุณลักษณะหรือประสบการณ์ที่เหมือนกันภายในช่วงเวลาเดียวกัน (เช่น เกิดในช่วงเวลาเดียวกัน มีประวัติได้ยา ฉีดวัคซีน หรือประสบมลพิษภาวะ ช่วงเดียวกัน หรือได้รับการรักษาพยาบาลแบบเดียวกัน) ดังนั้น กลุ่มบุคคลที่เกิดในวันเดียวกันหรือในช่วงเวลาเดียวกัน เช่นในปี..

ดู สังคมศาสตร์และการศึกษาตามแผน

การผังเมือง

การผังเมือง หรือ การวางแผนชุมชนเมือง (Urban planning) เป็นศาสตร์หนึ่ง เกี่ยวข้องกับสหสาขาวิชา เช่น การวางแผน กฎหมาย สถาปัตยกรรม สังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม วิศวกรรมจราจร เพื่อเป็นการกำหนดนโยบาย กฎหมาย เกณฑ์ ระเบียบ การจัดวางผังและแผนการใช้พื้นที่ของเมือง ชุมชน โครงข่ายการจราจร ผู้จัดทำผังเมือง เรียกว่า นักผังเมือง การวางผังเมืองมีหลายระดับ ตั้งแต่ ผังชุมชน ผังเมืองเฉพาะ ผังเมืองรวม ผังภาค จนถึงผังประเทศ โดยมีความละเอียดของการวางแผนที่ต่างกัน จากการออกแบบกายภาพ การใช้ที่ดิน(กำหนดโดยการใช้สี เช่น สีแดง หมายถึงย่านพานิชยกรรม สีเหลือง หมายถึงที่พักอาศัยหนาแน่นน้อย เป็นต้น) ความหนาแน่น โครงข่าย/ระบบจราจรและขนส่ง หรือพื้นที่สีเขียว/สวนสาธารณะ มักมีประกาศกฎเกณฑ์ประกอบแผนในรูปกฎหมายประกอบอยู่ด้วย ในประเทศไทยหน่วยงานของรัฐฯที่เป็นองค์กรหลักในการจัดทำผังเมืองคือ กรมโยธาธิการและผังเมือง ส่วนกรุงเทพมหานครได้รับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น กำหนดให้มีหน่วยงานที่ดูแลจัดทำผังเมืองของตนเอง คือ สำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร ได้มีการกำหนดให้วันที่ 8 พฤศจิกายน ของทุกปี เป็น "วันผังเมืองโลก" (World Town Planning Day) โดยมีองค์กรหลักที่เกี่ยวข้องคือ The International Society of City and Regional Planners (IsoCaRP) ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ และ The America Institute of Certified Planners (AICP) เป็นศูนย์กลางด้านวิชาการวางผังเมืองนานาชาต.

ดู สังคมศาสตร์และการผังเมือง

การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้

การจัดหมู่หนังสือตามระบบทศนิยมของดิวอี้ แบ่งหนังสือออกเป็นหมู่ต่าง ๆ เริ่มจากหมู่ใหญ่คือหลักร้อย ไปหาหมู่ย่อยคือหลักสิบ หลักหน่วย ตามลำดับ (รุ่นที่ 23, พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และการจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้

การจำลอง

การจำลองการเคลื่อนตัวของนักบินอวกาศในอวกาศโดยทดสอบในน้ำแทนที่ การจำลอง หรือ ซีมิวเลชัน (simulation) เป็นการจำลองของสิ่งที่มีอยู่จริง เหตุการณ์ในอดีต หรือขั้นตอนเชิงวิทยาศาสตร์ เพื่อชี้ชัดลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งออกมาให้ชัดเจน บางครั้งจะมีการสร้างแบบจำลองอย่างง่ายขึ้น เพื่อให้จุดเด่นจุดใดจุดหนึ่งชี้ชัดออกม.

ดู สังคมศาสตร์และการจำลอง

การทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม

pmc.

ดู สังคมศาสตร์และการทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม

การทดลองแบบอำพราง

การทดลองแบบอำพราง"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ hemisphere ว่า "doubled blind cross-over study" ว่า "การศึกษาข้ามกลุ่มแบบอำพรางสองฝ่าย" (blind experiment, blinded experiment) เป็นการทดลองที่ปิดข้อมูลเกี่ยวกับการทดลองที่อาจจะทำให้เกิดความเอนเอียงในผลการทดลอง ไม่ให้ผู้ทำการทดลอง หรือผู้รับการทดลอง หรือทั้งสองฝ่าย รับรู้ จนกระทั่งการทดลองได้จบเสร็จสิ้นลงแล้ว ความเอนเอียงที่อาจเกิดขึ้นนั้นเป็นได้ทั้งแบบจงใจหรือแบบไม่จงใจ ส่วนการทดลองที่ทั้งสองฝ่ายไม่รู้เรื่องที่ปิด เรียกว่า การทดลองแบบอำพรางสองฝ่าย (double-blinded experiment) นักวิทยาศาสตร์จะใช้การทดสอบแบบอำพราง.

ดู สังคมศาสตร์และการทดลองแบบอำพราง

การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ

การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (Ordinary National Educational Test) เป็นการวัดผลสัมฤทธิ์รวบยอดของผู้เรียนที่ต้องการวัดผ่านการจัดการทดสอบในระดับชาติ โดยมีสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) เป็นผู้ดำเนินการออกข้อสอบและจัดสอบทั่วประเทศ โดยที่ในอดีตมีการจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นสูงอีกด้วย ซึ่งในปัจจุบันมีการใช้แบบทดสอบความถนัดทั่วไป (GAT) และแบบทดสอบความถนัดทางวิชาการและวิชาชีพ (PAT) มาใช้แทน การทดสอบทางการศึกษาได้รับข้อวิพากษ์วิจารณ์จากหลายภาคส่วนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของแบบทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นสามัญ ซึ่งมีการกล่าวถึงปัญหาข้อสอบที่มีความกำกวม บางข้อเกินกว่าหลักสูตรกำหนด รวมไปถึงปัญหาข้อสอบผิดและไม่ได้มาตรฐาน ซึ่งเป็นปัญหาที่สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) กำลังเร่งแก้ปัญหาอยู่ในปัจจุบัน.

ดู สังคมศาสตร์และการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ

การปฏิเสธการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

การปฏิเสธการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate change denial) หรือ การปฏิเสธปรากฏการณ์โลกร้อน (global warming denial) เป็นการปฏิเสธ การไม่ให้ความสำคัญ หรือการสงสัยอย่างไร้เหตุผล เรื่องมติส่วนใหญ่ของนักวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับอัตราและขอบเขตของปรากฏการณ์โลกร้อน ขอบเขตของปรากฏการณ์ที่มีเหตุมาจากมนุษย์ ผลกระทบของปรากฏการณ์ต่อธรรมชาติและสังคมมนุษย์ และโอกาสที่การกระทำของมนุษย์จะสามารถลดผลกระทบเหล่านั้น ส่วน วิมตินิยมเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate change skepticism) และการปฏิเสธการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เป็นเรื่องที่มีองค์คาบเกี่ยวกัน และมักจะมีคุณลักษณะคล้าย ๆ กัน กล่าวคือ ทั้งสองปฏิเสธมติปัจจุบันส่วนใหญ่ของนักวิทยาศาสตร์ไม่มากก็น้อย การปฏิเสธสามารถทำโดยปริยาย คือเมื่อบุคคลหรือกลุ่มต่าง ๆ ทางสังคมยอมรับวิทยาศาสตร์ แต่หันไปสนใจเรื่องที่ง่าย ๆ กว่า แทนที่จะหาทางแก้ไข มีงานศึกษาทางสังคมศาสตร์หลายงานที่วิเคราะห์จุดยืนต่าง ๆ เหล่านี้ว่าเป็นรูปแบบของ denialism (การเลือกที่จะปฏิเสธความจริง เพื่อหลีกเลี่ยงความจริงที่ทำให้ไม่สบายใจ) ในการโต้เถียงเรื่องปรากฏการณ์โลกร้อน มีการเรียกการรณรงค์เพื่อทำลายความเชื่อถือของมวลชนในวิทยาศาตร์ภูมิอากาศว่า "กลการปฏิเสธ" ของกลุ่มอุตสาหกรรม กลุ่มการเมือง และกลุ่มอุดมคติต่าง ๆ โดยได้การสนับสนุนจากสื่ออนุรักษ์นิยม และนักบล็อกวิมตินิยม เพื่อสร้างความไม่แน่ใจเกี่ยวกับปรากฏการณ์โลกร้อน ในการอภิปรายของชาวตะวันตกในที่สาธารณะ คำเช่นว่า climate skepticism (วิมตินิยมเกี่ยวกับภูมิอากาศ) ใช้โดยความหมายเหมือนกับคำว่า climate denialism (ปฏิเสธนิยมเกี่ยวกับภูมิอากาศ): "Climate scepticism in the sense of climate denialism or contrarianism is not a new phenomenon, but it has recently been very much in the media spotlight.

ดู สังคมศาสตร์และการปฏิเสธการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

การแยกทัศนคติออกเป็นสองขั้ว

การแยกทัศนคติออกเป็นสองขั้ว (Attitude polarization, belief polarization, polarization effect) หรือ ทัศนคติที่สุดโต่งเพิ่มขึ้น เป็นปรากฏการณ์ที่เรื่องที่โต้แย้งกันสุดโต่งมากขึ้นเมื่อฝ่ายต่าง ๆ พิจารณาหลักฐานในประเด็น นี่เป็นผลอย่างหนึ่งของความเอนเอียงเพื่อยืนยัน (confirmation bias) ซึ่งเป็นความโน้มเอียงที่จะหาและตีความหลักฐานตามเลือกเพื่อจะเสริมความเชื่อหรือทัศนคติของตน และถ้าเป็นหลักฐานที่คลุมเครือ แต่ละฝ่ายอาจจะตีความว่าสนับสนุนทัศนคติของตน ทำให้จุดยืนในข้อขัดแย้งห่างกันมากขึ้นแทนที่จะลดลง ปรากฏการณ์นี้พบในประเด็นปัญหาที่เร้าอารมณ์ เช่นประเด็นทางการเมือง แต่ประเด็นต่าง ๆ โดยมากจะไม่มีปัญหานี้ ในประเด็นที่เกิดปัญหานี้ เพียงแค่คิดถึงประเด็นโดยไม่ต้องพิจารณาหลักฐานใหม่ ก็ทำให้เกิดปรากฏการณ์นี้แล้ว มีกระบวนการเปรียบเทียบทางสังคมที่ใช้อธิบายปรากฏการณ์นี้ คือ ความเชื่อจะเพิ่มขึ้นเพราะคนรอบ ๆ ตัวกล่าวซ้ำคำพูดของแต่ละคน ยืนยันกันและกันเอง นี้เป็นประเด็นน่าสนใจในสาขาจิตวิทยา สังคมศาสตร์ และปรัชญ.

ดู สังคมศาสตร์และการแยกทัศนคติออกเป็นสองขั้ว

การเปลี่ยนความถี่ยีนอย่างไม่เจาะจง

ร์วินให้เป็น '''ทฤษฎีวิวัฒนาการสังเคราะห์แบบปัจจุบัน''' (Modern evolutionary synthesis) การเปลี่ยนความถี่ยีนอย่างไม่เจาะจง (Genetic drift, allelic drift, Sewall Wright effect) เป็นการเปลี่ยนความถี่รูปแบบยีน (คือ อัลลีล) ในกลุ่มประชากรเพราะการชักตัวอย่างอัลลีลแบบสุ่มของสิ่งมีชีวิต คือ อัลลีลที่พบในสิ่งมีชีวิตรุ่นลูก จะเป็นตัวอย่างของอัลลีลที่ชักมาจากพ่อแม่ โดยความสุ่มจะมีบทบาทกำหนดว่า สิ่งมีชีวิตรุ่นลูกนั้น ๆ จะรอดชีวิตแล้วสืบพันธุ์ต่อไปหรือไม่ ส่วน ความถี่อัลลีล (allele frequency) ก็คืออัตราที่ยีนหนึ่ง ๆ จะมีรูปแบบเดียวกันในกลุ่มประชากร การเปลี่ยนความถี่ยีนอาจทำให้อัลลีลหายไปโดยสิ้นเชิงและลดความแตกต่างของยีน (genetic variation) เมื่ออัลลีลมีก๊อปปี้น้อย ผลของการเปลี่ยนความถี่จะมีกำลังกว่า และเมื่อมีก๊อปปี้มาก ผลก็จะน้อยกว่า ในคริสต์ทศวรรษที่ 20 มีการอภิปรายอย่างจริงจังว่า การคัดเลือกโดยธรรมชาติสำคัญเทียบกับกระบวนการที่เป็นกลาง ๆ รวมทั้งการเปลี่ยนความถี่ยีนอย่างไม่เจาะจงแค่ไหน.

ดู สังคมศาสตร์และการเปลี่ยนความถี่ยีนอย่างไม่เจาะจง

ฝูงชนวุ่นวาย

220x220px ฝูงชนวุ่นวาย หรือ ม็อบ (mob) หมายถึง การรวมตัวกันของผู้คนอย่างไร้ระเบียบ ซึ่งในทางพฤตินัยมักเกิดขึ้นเพราะความกริ้วโกรธหรือไม่พึงพอใจ และบางครั้งก็เป็นส่วนหนึ่งของการจลาจล อันจะเรียกว่าฝูงชนวุ่นวายได้นั้น มักถือเอาจำนวนผู้รวมตัวกันว่ามากกว่าสิบคนขึ้นไป ในทางสังคมศาสตร์ คำว่า "ฝูงชุนวุ่นวาย" นั้นมีความหมายแค่เพียงตามตัวอักษรเช่นนั้นเท่านั้น แต่คนทั่วไปมักเข้าใจว่าเป็นการรวมตัวกันเพื่อประท้วง เรียกร้อง หรือกระทำการใด ๆ อันไม่ค่อยสงบเรียบร้อยนักเป็นต้น คำว่า "mob" ในภาษาอังกฤษนั้นมาจากศัพท์ภาษาละตินว่า "mobile vulgus" หมายความว่า ฝูงชนวุ่นวาย หมวดหมู่:นิติศาสตร์ หมวดหมู่:รัฐศาสตร์ หมวดหมู่:สังคมศาสตร์ de:Mob (Personen) en:Crowd fr:Foule he:המון hr:Rulja ja:集団 pl:Tłum ru:Толпа sk:Dav sv:Massa (sociologi).

ดู สังคมศาสตร์และฝูงชนวุ่นวาย

ภูมิศาสตร์มนุษย์

350px คาร์ล ริทเทอร์ นักภูมิศาสตร์ชาวเยอรมัน - ถือกันว่าเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกภูมิศาสตร์สมัยใหม่ คู่กับ อเล็กซานเดอร์ ฟอน ฮุมโบลด์ท ภูมิศาสตร์มนุษย์ เป็นหนึ่งในสองสาขาหลักของภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์มนุษย์คือการศึกษาความเข้าใจและการใช้งานผืนโลกของมนุษย์ และกระบวนการที่มีผลกระทบต่อสิ่งนั้น มันเกี่ยวโยงกับทั้งสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ภูมิศาสตร์มนุษย์นั้นโดยทั่วไปแตกต่างอยากมากจากภูมิศาสตร์กายภาพ โดยมันเน้นมากกว่าในการศึกษาแบบแผนที่จับต้องไม่ได้หรือเป็นนามธรรมรอบ ๆ กิจกรรมของมนุษย์ และเปิดรับวิธีวิจัยเชิงคุณภาพมากกว่า ภูมิศาสตร์มนุษย์รวมเอาแง่มุมทางมนุษย์ การเมือง วัฒนธรรม สังคม และเศรษฐกิจของสังคมศาสตร์เอาไว้ ในขณะที่จุดเน้นหลักของภูมิศาสตร์มนุษย์จะไม่ใช่ภูมิทัศน์เชิงกายภาพของโลก แต่มันก็เป็นไปไม่ได้ที่จะคุยเรื่องภูมิศาสตร์มนุษย์ โดยไม่พูดถึงภูมิทัศน์ทางกายภาพที่กิจกรรมของมนุษย์ดำเนินอยู่ในนั้น และโดยไม่พูดถึงภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นตัวเชื่อมสำคัญระหว่างมนุษย์และโลก ภูมิศาสตร์มนุษย์นั้นมีความหลากหลายทั้งในวิธีวิทยาและทฤษฎี ซึ่งรวมถึงวิธีในแบบสตรีนิยม มาร์กซิสม์ หลังโครงสร้างนิยม ฯลฯ และใช้ทั้งระเบียบวิธีเชิงคุณภาพ (เช่น ชาติพันธุ์วรรณาและการสัมภาษณ์) และเชิงปริมาณ (เช่น การสำรวจทางสถิติ, การวิเคราะห์ทางสถิติ, และการสร้างตัวแบบ) สาขาหลักของภูมิศาสตร์มนุษย์ ได้แก่ วัฒนธรรม, การพัฒนา, เศรษฐกิจ, สุขภาพ, ประวัติศาสตร์, การเมือง, ประชากร, การท่องเที่ยว, และเมือง.

ดู สังคมศาสตร์และภูมิศาสตร์มนุษย์

มหาวิทยาลัยพระหฤทัยคาทอลิก

ลานมหาวิทยาลัย Cattolica '''มหาวิทยาลัยพระหฤทัยคาทอลิก''' หรือ มหาวิทยาลัยคาทอลิกแห่งมิลาน (Università Cattolica del Sacro Cuore หรือ Università Cattolica di Milano; Catholic University of the Sacred Heart หรือ Catholic University of Milan; ชื่อย่อ: Cattolica หรือ UNICATT หรือ UCSC) โดยทั่วไปถูกเรียกสั้นๆว่า Cattolica (การออกเสียง อังกฤษ: katˈtɔlika; ไทย: กัตโตลีกา) วิทยาเขตหลักตั้งอยู่ในเมืองมิลาน แคว้นลอมบาร์เดีย ประเทศอิตาลี ก่อตั้งขึ้นในปี..

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยพระหฤทัยคาทอลิก

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 1 ใน 5 แห่งแรกในประเทศไทยถูกสถาปนาขึ้นพร้อมกับ วิทยาลัยเกริก วิทยาลัยไทยสุริยะ วิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และวิทยาลัยพัฒนา เริ่มแรกนั้นได้รับการก่อตั้งในชื่อ “วิทยาลัยไทยเทคนิค” เมื่อปี พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยกรุงเทพ

มหาวิทยาลัยกลาสโกว์

มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ (อังกฤษ: The University of Glasgow; ละติน: Universitatis Glasguensis) ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1451 เป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในสามมหาวิทยาลัยในเมืองกลาสโกว์ สกอตแลนด์ สหราชอาณาจักร มีชื่อเสียงในด้านการสอนและการวิจัย และเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยโบราณของสก็อตแลนด์ และเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่ใหญ่และมีชื่อเสียงที่สุดในสหราชอาณาจักร มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ถูกก่อตั้งขึ้นอาณัติจากพระสันตปาปานิโคลัสที่ห้าโดยพระประสงค์ของพระเจ้าเจมส์ที่สอง เพื่อให้สก็อตแลนด์มีมหาวิทยาลัยสองแห่งเช่นเดียวกันกับอังกฤษที่มีอ็อกซฟอร์ดและเคมบริดจ์ ซึ่งทำให้กลาสโกว์เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดอันดับสี่ในสหราชอาณาจักร และยังเป็นมหาวิทยาลัยที่ได้รับเงินบริจาคมากเป็นอันดับสี่ในบริเทนรองจากอ็อกซฟอร์ด เคมบริดจ์ และเอดินเบอระ อีกด้วย มหาวิทยาลัยกลาสโกว์นั้นมีสัดส่วนนักเรียนต่างชาติค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ โดยประมาณครึ่งหนึ่งเป็นคนในกลาสโกว์เอง อีก 40% เป็นนักเรียนจากเมืองต่างๆภายใน UK มีเพียงประมาณ 13 เปอร์เซ็นต์ที่มาจากต่างชาติ มหาวิทยาลัยกลาสโกว์นั้นได้รับการยกย่องว่าเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำของ UK มาหลายศตวรรษ เช่นเดียวกับเอดินเบอระและเซนต์แอนดรูส์ กลาสโกว์เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกใน UK ที่ก่อตั้งภาควิชาวิศวกรรมศาสตร์ และ ปัจจุบันเป็นมหาวิทยาลัยนอกเขตลอนดอนที่มีคณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร เมืองกลาสโกว์นั้นมีอัตราส่วนวิศวกรต่อประชากรสูงมากเป็นอันดับสามของโลก มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ได้ให้กำเนิดนักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงระดับโลกเป็นจำนวนมาก อาทิ ลอร์ดเคลวิน – หนึ่งในผู้พัฒนากฎข้อสองของเทอร์โมไดนามิคส์ และภายหลังได้รับเกียรติให้นำชื่อไปให้เป็นหน่วยวัดอุณหภูมิเคลวิน เจมส์ วัตต์ – ผู้พัฒนากลจักรไอน้ำจนก่อให้เกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมของสหราชอาณาจักร จอห์น โลกี แบรด – ผู้ประดิษฐ์โทรทัศน์ โจเซฟ ลิสเตอร์ – หนึ่งในผู้ริเริ่มการผ่าตัดแบบสมัยใหม่ และ โจเซฟ แบลค – นักเคมีที่มีผลงานมากมายรวมไปถึงการค้นพบก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ยังมีชื่อเสียงทางด้านสังคมศาสตร์ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าด้านวิศวกรรมศาสตร์เลยแม้แต่น้อย กลาสโกว์นั้นถือได้ว่าเป็นจุดกำเนิดของยุคแสงสว่างอย่างแท้จริง ศาสตราจารย์ฟรานซิส ฮัทชิสัน แห่งมหาวิทยาลัยกลาสโกว์เป็นผู้ริเริ่มทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Utilitarian principle) ซึ่งเป็นหนึ่งในทฤษฎีพื้นฐานภายใต้เศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิก (Classical Economics) อดัม สมิธ ศิษย์เก่าที่โด่งดังที่สุดของมหาวิทยาลัยกลาสโกว์นั้นได้ผสมผสานทฤษฎีนี้ผนวกกับแนวคิดของเดวิด ฮูม (นักปรัชญาชาวเอดินเบอระ) ก่อให้เกิดทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์สมัยใหม่ เศรษฐศาสตร์การเมือง และทฤษฎีการค้าเสรี ที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของโลกอย่างมหาศาลมาจนถึงยุคปัจจุบัน.

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยกลาสโกว์

มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ

ทางเข้ามหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ 2 มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ (សាកលវិទ្យាល័យភូមិន្ទភ្នំពេញ สากลวิทฺยาลัยภูมินฺทภฺนํเพญ; Royal University of Phnom Penh หรือ RUPP) เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดและใหญ่ที่สุด มหาวิทยาลัยมีจำนวนนักศึกษา ซึ่งมีอยู่ประมาณ 12,000 คน ทั้งในระดับปริญญาบัณฑิตและบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยตั้งอยู่ที่กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา และยังเป็นสมาชิกของเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน นอกจากหลักสูตรระดับปริญญาที่ครอบคลุมในสาขาต่างๆ อาทิ เช่น วิทยาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ แล้วมหาวิทยาลัยยังมีหลักสูตรวิชาชีพ เปิดสอนในสาขา เทคโนโลยีสารสนเทศ อิเล็กทรอนิกส์ จิตวิทยา และการท่องเที่ยว นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ ยังมีหลักสูตรทางภาษาต่างประเทศที่มีชื่อเสียง เปิดสอนในสถาบันภาษาต่างประเทศ ของมหาวิทยาลัยอีกด้วย มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ มีเจ้าหน้าที่เต็มเวลาอยู่ 420 คน คณาจารย์ 294 คน ซึ่งมีวุฒิระดับปริญญาเอก 15 คน ปริญญาโท 132 คน เจ้าหน้าที่ทางด้านธุรการและซ่อมบำรุง 140 คน นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังเป็นจุดเชือมต่อกันระหว่างบุคลากรจากองค์การพัฒนาเอกชน (NGOs) ทั้งในและต่างประเทศ, ระหว่างมหาวิทยาลัยต่างๆ และ กระทรวงต่างๆ จึงทำให้ทางมหาวิทยาลัยมีบุคลากรแบบไม่เต็มเวลาจากองค์กรเหล่านี้อีกเป็นจำนวนมาก มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญมีค่าเล่าเรียนแต่ละหลักสูตรระดับปริญญาตรีอยู่ที 250 ถึง 450 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อปี แล้วแต่หลักสูตร.

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Mahasarakham University, อักษรย่อ: มมส - MSU) ตั้งอยู่ในจังหวัดมหาสารคาม ก่อกำเนิดจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(มจร.) คือสถาบันการศึกษาพระพุทธศาสนาชั้นสูงในรูปแบบมหาวิทยาลัย ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาขึ้นเพื่อถวายแด่คณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย โดยเริ่มจัดการเรียนการสอนด้านพุทธศาสตร์เป็นสาขาแรก แล้วต่อมาได้ขยายการเรียนการสอนไปยังสาขาวิชาอื่นๆ คล้ายกับรูปแบบการก่อตั้ง มหาวิทยาลัยปารีส ประเทศฝรั่งเศส และมหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด ประเทศอังกฤษ ที่เริ่มต้นจากสาขาด้านศาสนาแล้วขยายไปยังสาขาอื่นอีกมายมาย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือกำเนิดจาก "มหาธาตุวิทยาลัย" ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นภายในวัดมหาธาตุฯ เมื่อปี พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Ramkhamhaeng University; ชื่อย่อ: ม.ร. - RU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยตลาดวิชาแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งรับบุคคลเข้าศึกษาโดยไม่สอบคัดเลือกและไม่จำกัดจำนวน ทำการเรียนการสอนแบบตลาดวิชา คือมีการเรียนการสอนในชั้นเรียนเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยปกติ แต่ไม่บังคับเข้าชั้นเรียน อันเป็นระบบเดียวกันกับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองในอดีต มหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศไทย และมีชื่อเสียงในด้านนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์อย่างมาก.

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยรามคำแหง

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ (Walailak University; อักษรย่อ:มวล.) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐ จัดตั้งตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ..

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน

มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน (University of Wisconsin-Madison) หรือนิยมเรียก มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน เป็นมหาวิทยาลัยรัฐบาลในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมืองแมดิสัน ในรัฐวิสคอนซิน มหาวิทยาลัยก่อตั้งในปี พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน

มหาวิทยาลัยศิลปากร

มหาวิทยาลัยศิลปากร (Silpakorn University; ชื่อย่อ: มศก. – SU) เป็นมหาวิทยาลัยศิลปะแห่งแรกในประเทศไทย มีชื่อเสียงทางด้านศิลปะและการออกแบบ ปัจจุบันเปิดสอนครอบคลุมทุกสาขาวิชา ทั้งกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยสากลอย่างสมบูรณ์ ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัดกรมศิลปากร" ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้พัฒนาขึ้นเป็นลำดับจนเป็น "โรงเรียนศิลปากร" และเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม..

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยศิลปากร

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ศูนย์หาดใหญ่ หรือศูนย์อรรถกระวีสุนทร (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ในปัจจุบัน) ศูนย์ทาง วิทยาเขตหาดใหญ่ เปิดสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ และสาขาเฉพาะ และปัจจุบันได้สอนทางด้านสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ในบางสาขาอีกด้วย และเป็นที่ตั้งกลางของมหาวิทยาลัย ประกอบไปด้วยหน่วยงานสำคัญ คือ สำนักงานอธิการบดี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลทันตกรรม สำนักงานวิจัยและพัฒนา สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง หอสมุดวิทยาศาสตร์สุขภาพ สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ โรงเรียนม.อ.วิทยานุสรณ์ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี เป็นต้น.

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี (เดิมชื่อ ศูนย์ปัตตานี หรือ ศูนย์รูสะมิแล) ดำเนินการมาตั้งแต่ปีงบประมาณ..

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด

ในมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford University อ่านว่า สแตนเฟิร์ด) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า มหาวิทยาลัยลีแลนด์สแตนฟอร์ดจูเนียร์ (Leland Stanford Junior University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ตั้งอยู่ที่เมือง สแตนฟอร์ด รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา อยู่ห่างจากซานฟรานซิสโกประมาณ 60 กม.

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (ม.อบ.) (Ubon Ratchathani University) "ภูมิปัญญาแห่งภูมิภาคลุ่มน้ำโขง" เป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่จัดตั้งในพื้นที่ของจังหวัดอุบลราชธานี ก่อตั้งเมื่อ วันที่ 14 กันยายน พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

มหาวิทยาลัยฮาวาย

The Royal Sala Thai John A. Burns School of Medicine UH 88 - Telescope มหาวิทยาลัยฮาวาย (University of Hawaii at Manoa) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐประจำรัฐฮาวาย ประเทศสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยฮาวาย

มหาวิทยาลัยฮิโตะสึบะชิ

หอนาฬิกามหาวิทยาลัยฮิโตะสึบะชิ มหาวิทยาลัยฮิโตะสึบะชิ หรือย่อว่า เป็นมหาวิทยาลัยในจังหวัดโตเกียวที่เปิดสอนเฉพาะวิชาด้านสังคมศาสตร์ ก่อตั้งเมื่อปี..

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยฮิโตะสึบะชิ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

มหาวิทยาลัยขอนแก่น (อังกฤษ: Khon Kaen University; อักษรย่อ: มข.) เดิมชื่อมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล และเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งอยู่ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น มีจุดประสงค์เพื่อให้การศึกษาชั้นสูงขยายออกไปถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงประกอบพิธีเปิดเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม..

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยขอนแก่น

มหาวิทยาลัยติรานา

มหาวิทยาลัยได้ก่อตั้งขึ้นในปี 1957 ในขณะที่มหาวิทยาลัยแห่งรัฐของติรานา (University of Shtetëror i Tiranes) ผ่านการรวมกันของห้าสถาบันที่มีอยู่ของการศึกษาขั้นสูงที่สำคัญที่สุดของติรานา ซึ่งเป็นสถาบันวิทยาศาสตร์การก่อตั้งขึ้นในปี 1947 ระหว่าง 13 เมษายน 1985 และ 1992 (ในช่วงระบอบคอมมิวนิสต์), มหาวิทยาลัยถูกเรียกว่า Enver Hoxha หลังจากนั้นเมื่อระบอบเผด็จการแอลเบเนีย Enver Hoxha ได้เสียชีวิตเมื่อวันที่ 11 เมษายน 1985 มหาวิทยาลัยจึงได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น มหาวิทยาลัยติรานา (University of Tiranes) ปัจจุบันมหาวิทยาลัยติรานาเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐบาล มีอาจารย์ประมาณ 600 คน มีนักศึกษาประมาณ 14000 กว่าคน มีสีประจำมหาวิทยลัยคือ สีแดงและสีดำ ซึ้งเป็นสีในธงชาติของแอลเบเนียด้วย มีวิทยาเขตมากมาย เช่น urban, decentralized.

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยติรานา

มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ (อังกฤษ: Princess of Naradhiwas University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลำดับที่ 77 ในประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนราธิวาสก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

มหาวิทยาลัยนเรศวร

มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ "มหาวิทยาลัยนเรศวร" นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน มหาวิทยาลัยนเรศวรได้รับการจัดอันดับในด้านการวิจัยให้เป็นมหาวิทยาลัยระดับดีเยี่ยมและเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 9 ของประเทศไทย จากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เมื่อปี พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยนเรศวร

มหาวิทยาลัยแห่งชาติเจิ้งจื้อ

มหาวิทยาลัยแห่งชาติเจิ้งจื้อ มหาวิทยาลัยแห่งชาติเจิ้งจื้อ (國立政治大學; National Chengchi University, National University of Governance; อักษรย่อ: NCCU) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐที่มีชื่อเสียง ตั้งอยู่ที่มณฑลเวินซาน กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน มหาวิทยาลัยนี้เป็นที่รู้จักกันดีในความเข้มข้นของหลักสูตรสังคมศาสตร์, กฎหมาย, พาณิชย์, การสื่อสาร, ศิลปศาสตร์ และบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต.

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยแห่งชาติเจิ้งจื้อ

มหาวิทยาลัยไลพ์ซิช

มหาวิทยาลัยไลพ์ซิช (Universität Leipzig; University of Leipzig) ตั้งอยู่ที่เมืองไลพ์ซิช รัฐซัคเซิน ประเทศเยอรมนี และเป็นมหาวิทยาลัยประจำเมืองไลพ์ซิช มีการเรียนการสอน 14 คณ.

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยไลพ์ซิช

มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียสเตต

มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียสเตต (Pennsylvania State University) หรือรู้จักในชื่อ เพนน์สเตต (Penn State) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐ ตั้งอยู่ในเมือง ยูนิเวอร์ซิตีปาร์ก รัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียสเตต

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อังกฤษ: Kasetsart University; อักษรย่อ: มก.) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรทางด้านการเกษตร ก่อตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศ เดิมเป็นโรงเรียนช่างไหมในปี..

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน

มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน เป็นชื่อของเครือข่ายวิชาการและเว็บไซต์ที่นำเสนอการสนทนาแลกเปลี่ยนจากเครือข่ายวิชาการในชื่อเดียวกัน ก่อตั้งโดยกลุ่มนักวิชาการซึ่งเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เช่น นิธิ เอียวศรีวงศ์ นักประวัติศาสตร์และอดีตอาจารย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มี สมเกียรติ ตั้งนโม เป็น "อธิการบดี" มหาวิทยาลัย เว็บไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนรวบรวมบทความทางวิชาการหลายสาขา ทั้งวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ รวมทั้งมีกระดานข่าวสาธารณะให้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และส่วนสารานุกรมฟรีในเรื่องเกี่ยวกับลัทธิหลังสมัยใหม่ การนำเสนอคำศัพท์ใหม่ ๆ พร้อมคำอธิบายเพื่อทำความเข้าใจโลก และความคิดร่วมสมัย ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม เนื้อหาในเว็บไซต์ไม่สงวนสิทธิ์ในการใช้ประโยชน์ทางวิชาการ โดยระบุไว้ในหน้าแรกของเว็บไซต์ว่า "ผู้ที่นำข้อมูลสารานุกรมฟรีไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการ เผยแพร่ หรืออ้างอิง โดยต้องไม่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ได้รับความยินยอมจากผู้เรียบเรียง สำหรับการนำไปใช้ประโยชน์ตามที่ระบุไว้ กรุณาอ้างอิงแหล่งที่มาตามสมควร โดยระบุถึงเว็บไซต์ และ URL มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน www.midnightuniv.org" โดยมี สมเกียรติ ตั้งนโม ทำหน้าที่เป็นทั้งเว็บมาสเตอร์และบรรณาธิการเว็บไซต.

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน

มหาวิทยาลัยเคียวริอึน

มหาวิทยาลัยเคียวริอึน เป็น มหาวิทยาลัยเอกชน มหาวิทยาลัยก่อตั้งขึ้นเมื่อพ.ศ. 2513.

ดู สังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยเคียวริอึน

มนุษยศาสตร์

นักปรัชญาเพลโต มนุษยศาสตร์ (humanities) เป็นกลุ่มของสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการศึกษาสภาวะแห่งมนุษย์โดยส่วนใหญ่ใช้กรรมวิธีเชิงวิเคราะห์, วิจารณญาณ หรือการคาดการณ์ซึ่งแตกต่างจากการเข้าสู่ปัญหาด้วยกรรมวิธีเชิงประจักษ์ด้วยธรรมชาติ, สังคมศาสตร์ โดยธรรมเนียมทั่วไปมนุษยศาสตร์รวมถึงสาขาวิชาภาษาศาสตร์โบราณและภาษาศาสตร์สมัยใหม่, วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา ทัศนศิลป์ ศิลปะการแสดง และดนตรี บางครั้งมีการรวมเอาสาขาวิชาอื่นเพิ่มเข้าไปด้วย ได้แก่ มานุษยวิทยา ภูมิภาคศึกษา การสื่อสารและวัฒนธรรมศึกษา แม้ว่าสาขาวิชาเหล่านี้มักถูกจัดไว้ในสาขาสังคมศาสตร์ นักวิชาการที่อยู่ในสายของสาขาวิชานี้ บางครั้งอาจเรียกตนเองว่าเป็น "นักมนุษยนิยม" อย่างไรก็ตามคำดังกล่าวก็ได้ใช้เรียกนักปรัชญาสาขามนุษยนิยมแต่ก็ยังไม่เป็นที่ยอมรั.

ดู สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์

รัฐศาสตร์

รัฐศาสตร์ (political science) เป็นสาขาวิชาที่เกิดขึ้นในราวศตวรรษที่ 19 ซึ่งนักรัฐศาสตร์ยุคแรกนั้นพัฒนากระบวนวิชาขึ้นมาให้สอดคล้องกับแนวนิยมทางวิทยาศาสตร์ สารานุกรมบริทานิกา คอนไซส์ (Britanica Concise Encyclopedia) อธิบายรัฐศาสตร์ว่า เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการปกครองและการเมืองด้วยแนวทางประจักษ์นิยม (empiricism) นักรัฐศาสตร์คือนักวิทยาศาสตร์ที่พยายามแสวงหา และทำความเข้าใจธรรมชาติของการเมือง ส่วนพจนานุกรมการเมืองของออกซ์ฟอร์ด (Oxford Dictionary of Politics) นิยามว่า รัฐศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องรัฐ รัฐบาล/การปกครอง (government) หรือการเมือง กล่าวอย่างรวบรัดรัฐศาสตร์เป็นวิชาในสายสังคมศาสตร์ สาขาหนึ่งซึ่งแบ่งการศึกษาออกเป็นสาขาต่างๆ อาทิ ปรัชญาการเมือง ประวัติศาสตร์การเมือง ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง ทฤษฎีการเมือง อุดมการณ์ทางการเมือง การบริหารรัฐกิจ หรือการบริหารจัดการสาธารณะ หรือ รัฐประศาสนศาสตร์ การเมืองเปรียบเทียบ (comparative politics), การพัฒนาการเมือง, สถาบันทางการเมือง, การเมืองระหว่างประเทศ การปกครองและการบริหารรัฐ (national politics), การเมืองการปกครองท้องถิ่น (local politics) เป็นต้น ซึ่งสาขาต่างๆเหล่านี้อาจแปรเปลี่ยนไปตามแต่ละสถาบันว่าจะจัดการเรียนการสอนอย่างไร อย่างไรก็ตามหากจะเรียกว่าการจัดกระบวนวิชาใดนั้นเป็นรัฐศาสตร์หรือไม่ ก็ขึ้นกับว่าการจัดการเรียนการสอนดังกล่าวใช้มโนทัศน์ "การเมือง" เป็นมโนทัศน์หลัก (crucial concept/key concept) หรือไม่ แต่โดยจารีตของกระบวนวิชา(scholar) นั้นรัฐศาสตร์ จะมีสาขาย่อยที่เป็นหลักอย่างน้อย 3 สาขาคือ สาขาการปกครอง (government), สาขาการบริหารกิจการสาธารณะ (public administration) และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ(international relation).

ดู สังคมศาสตร์และรัฐศาสตร์

รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา)

รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (List of fields of doctoral studies) นี้จัดทำขึ้นโดย "ศูนย์วิจัยความเห็นแห่งชาติ" (Opinion Research Center หรือ NORC) ที่ตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยชิคาโก สหรัฐอเมริกาจากการสำรวจปริญญาเอกที่มีผู้จบการศึกษารายปี โดยจัดทำให้กับมูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ และหน่วยงานของรัฐบาลกลางอีกหลายหน่วยงานในสหรัฐฯ ทั้งหมดนี้คือสายวิชาการศึกษาระดับปริญญาเอกที่เน้นการวิจัยที่มุ่งสู่ปริญญาดุษฎีบัณฑิตปรัชญา (Doctor of Philosophy หรือ Ph.D.) และการศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต (Doctor of Education Ed.D 1หรือ D.Ed) ที่เปิดสอนในสหรัฐฯ ซึ่งในปีการศึกษา 2547-2548 พบว่าร้อยละ 90.3 ของปริญญาเอกที่เน้นการวิจัยจำนวน 43,354 ปริญญาในสหรัฐฯ ปริญญาเป็น Ph.D.

ดู สังคมศาสตร์และรายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา)

รายชื่อคณะสังคมศาสตร์ในประเทศไทย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่เปิดสอนวิชาในกลุ่มสังคมศาสตร์ คือ สาขาวิชาที่ใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เพื่อศึกษาโลกในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ หน่วยสังคมต่าง ๆ ของมนุษย์ รวมทั้งพฤติกรรมของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ วิชาในสังคมศาสตร์แตกต่างจากวิชาในกลุ่มมนุษยศาสตร์ เนื่องจากหลาย ๆ สาขาวิชาในสังคมศาสตร์เน้นการหาความรู้และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการดำเนินพฤติกรรมของมนุษย์และปรากฏการณ์ทางสังคมด้วยกระบวนการแบบปฏิฐานและประจักษ์นิยม ทั้งเชิงปริมาณ (quantitative method) และเชิงคุณภาพ (qualitative method) อย่างเป็นวิทยาศาสตร.

ดู สังคมศาสตร์และรายชื่อคณะสังคมศาสตร์ในประเทศไทย

รายชื่อคณะเศรษฐศาสตร์ในประเทศไทย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่เปิดสอนวิชาเศรษฐศาสตร์ เป็นวิชาทางสังคมศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการผลิต การกระจาย การบริโภคสินค้าและบริการ.

ดู สังคมศาสตร์และรายชื่อคณะเศรษฐศาสตร์ในประเทศไทย

รายการสาขาวิชา

รายชื่อสาขาวิชา หรือ สาขาการศึกษา (Field of study) หมายถึงสาขาความรู้ หรือ การวิจัยที่เปิดสอนในวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย คำว่า สาขาวิชา ได้รับการนิยามและยอมรับโดย วารสารวิชาการที่ตีพิมพ์ผลงานวิจัย และโดยสมาคมผู้รู้ (learned societies) และโดยภาควิชาหรือคณะวิชาที่บุคคลผู้อยู่ในสาขาวิชานั้นๆ สังกัด โดยปกติ สาขาการศึกษาต่างๆ มักมีสาขาย่อยหรือแขนงวิชาแตกออกไป เส้นแบ่งระหว่างสาขาย่อยมักยังมีความคลุมเครือและมีกฎเกณฑ์ที่ไม่ชัดเจน ในยุโรปสมัยกลางซึ่งขณะนั้นยังมีการแบ่งคณะวิชาออกเป็น 4 คณะหรือสายวิชา ได้แก่เทววิทยา การแพทย์ ธรรมศาสตร์ นิติศาสตร์ และศิลปะ โดยคณะวิชาหลังมีสถานะไม่สูงเท่า 3 สาขาแรก การแบ่งสาขาวิชาในมหาวิทยาลัยสมัยนั้นมีรากสืบทอดมาจากขบวนการแยกอาณาจักรออกจากศาสนจักร (Secularization) ของมหาวิทยาลัยซึ่งเกิดขึ้นราวสมัยกลาง-ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ประมาณ พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และรายการสาขาวิชา

รายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้

การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้เป็นระบบการจำแนกห้องสมุดประกอบด้วย 10 หมวดใหญ่ (class) แต่ละหมวดใหญ่แบ่งเป็นสิบหมวดย่อย (division) แต่ละหมวดย่อยมีสิบหมู่ย่อย (section) ตัวอย่างเช่น หมวดใหญ่ 600 ("เทคโนโลยี") มีหมวดย่อย 630 ("เกษตรกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง") ซึ่งมีหมู่ย่อย 636 ("การเลี้ยงสัตว์") ในทางปฏิบัติ มีทั้งหมด 99 จาก 100 หมวดย่อยและ 908 จาก 1000 หมู่ย่อย เนื่องจากบางส่วนเลิกใช้แล้วหรือยังไม่กำหน.

ดู สังคมศาสตร์และรายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้

รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.

รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.

ดู สังคมศาสตร์และรายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.

รางวัลอาหารโลก

หรียญนอร์แมน อี. บอร์ล็อก รางวัลพิเศษของมูลนิธิเวิลด์ฟู้ดไพรซ์ รางวัลอาหารโลก (World Food Prize) เป็นรางวัลในระดับนานาชาติซึ่งมอบให้เพื่อสดุดีบุคคลซึ่งทำให้การพัฒนามนุษย์ก้าวหน้าขึ้น โดยการปรับปรุงปริมาณคุณภาพ หรือ ความสะดวกต่อการเข้าถึงแหล่งอาหารของโลก รางวัลนี้ถูกก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และรางวัลอาหารโลก

ลัทธิคอมมิวนิสต์

ในทางรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ลัทธิคอมมิวนิสต์ (communism; communis แปลว่า "ร่วมกัน" หรือ "สากล") คืออุดมการณ์และขบวนการทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ อันเป็นระเบียบทางสังคมบนพื้นฐานของความเป็นเจ้าของร่วมกัน (Common ownership) ของปัจจัยการผลิต (Means of production) และปราศจากชนชั้นทางสังคม เงินตรา และรัฐ ลัทธิคอมมิวนิสต์ปรากฏอยู่ในปรัชญาหรือแนวคิดหลากหลายทฤษฎีที่โดยรวม ๆ แล้วจะรวมถึงลัทธิมากซ์-อนาธิปไตย (ลัทธิคอมมิวนิสต์-อนาธิปไตย) และอุดมการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ ซึ่งเชื่อมโยงกับสองแนวคิดนี้ โดยที่ทั้งหมดนี้มีบทวิเคราะห์สรุปร่วมกันว่าระเบียบทางสังคมในปัจจุบันอันถือกำเนิดถึงจากระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ประกอบไปด้วยชนชั้นทางสังคมสองชนชั้นหลักคือ "ชนชั้นแรงงาน" ผู้ที่ต้องทำงานเพื่ออยู่รอดและถือเป็นกลุ่มคนส่วนมากในสังคม และ "ชนชั้นนายทุน" อันเป็นชนกลุ่มน้อยในสังคม ผู้ถือเอากำไรจากการจ้างวานชนชั้นแรงงานผ่านการครอบครองปัจจัยการผลิตไว้เฉพาะส่วนตน ที่ซึ่งความขัดแย้งระหว่างสองชนชั้นนี้เองที่จะก่อให้เกิดการปฏิวัติ อันเป็นองค์ประกอบตั้งต้นที่จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตร่วมกันของคนในสังคม (Social ownership) ด้วยความที่ลัทธิคอมมิวนิสต์มีอุดมคติที่ตรงกันข้ามกับลัทธิเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ (Economic Liberalism) จึงทำให้เกิดความหวาดกลัวและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างกว้างขวางในช่วงสงครามเย็น ดังจะเห็นได้จากกระแส "ความหวาดกลัวแดง" (Red Scare) หรือ ลัทธิแม็คคาร์ธี ในอเมริกาช่วงต้นสงครามเย็น.

ดู สังคมศาสตร์และลัทธิคอมมิวนิสต์

วัฒนธรรม

วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม แต่ถ้าเป็นในวิชาหน้าที่พลเมืองจะแปลว่าสิ่งที่มนุษย์ เปลี่ยนแปลงเพื่อความเจริญงอกงาม และสืบต่อกันมา วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้าบริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมายรวมถึงกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทำให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ในสายตาของนักมานุษยวิทยาจึงรวมไปถึงเทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีลธรรม วัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ อาจได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกทั้งระบบความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศาสนามีบทบาทในวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมาโดยตลอ.

ดู สังคมศาสตร์และวัฒนธรรม

วัฒนธรรมย่อย

ในการเข้าใจทางสังคมศาสตร์ วัฒนธรรมย่อย (subculture) ใช้เรียกลักษณะของกลุ่มสังคม ที่มีการยึดถือ บรรทัดฐาน และการกำหนดคุณค่าของสิ่งรูปธรรม และสิ่งนามธรรม แตกต่างกัน การพูดคุยในวัฒนธรรมย่อยเดียวกัน จะพูดคุยเรื่องเดียวกัน หรือที่เรียกว่า ภาษาเดียวกัน วัฒนธรรมย่อยแบ่งออกมาจาก วัฒนธรรม โดยแต่ละสังคมจะแตกต่างกันอยู่กับ อายุ ชนชาติ ศาสนา เพศ ความรู้ พื้นฐานทางสังคม และมุมมองต่างๆ อย่างไรก็ตามคำว่า วัฒนธรรมย่อยมีการกำหนดแตกต่างกันไปตามนักทฤษฎีต่างๆ ลักษณะหลักที่เห็นได้ชัดของกลุ่มวัฒนธรรมย่อย จะเห็นได้ว่า ความเชื่อ แนวคิด จะแตกต่างกันตามกลุ่ม อย่างจะเห็นได้ว่า กลุ่มวัยรุ่นมีการแต่งตัว รสนิยมการเลือกฟังเพลง แตกต่างจากกลุ่มผู้ใหญ่ เนื่องจากความเชื่อและการยึดถือแตกต่างกัน เปรียบเทียบ ในมุมมองของวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน ตัวอย่าง การยิ้มให้เพศตรงข้ามที่ไม่สนิท ในวัฒนธรรมเอเชีย ถือว่าเป็นการไม่สุภาพ ในขณะที่การไม่ยิ้มให้เพศตรงข้ามถือว่าเป็นเป็นการไม่สุภาพในบางวัฒนธรรมของสหรัฐอเมริก.

ดู สังคมศาสตร์และวัฒนธรรมย่อย

วัดสามัคคีวราราม

วัดสามัคคีวราราม หรือวัดสมุห์พร้อม ตั้งอยู่เลขที่ ๑๗ หมู่ที่ ๗ บ้านชุมชนสะพาน ๒ ถนนมิตรภาพ ตำบลทับกวาง อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ๑๘๒๖๐ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ตั้งวัด ๑๕ ไร่ ๒ งาน พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบติดริมถนนมิตร.

ดู สังคมศาสตร์และวัดสามัคคีวราราม

วารสารวิชาการ

วารสารวิชาการทางวิทยาศาสตร์นับเป็นวาสารวิชาการสาขาหนึ่ง วารสารวิชาการ (academic / scientific / scholarly journal) หมายถึงวารสารที่ตีพิมพ์เป็นระยะอย่างสม่ำเสมอและจะต้องผ่านการตรวจคุณภาพบทความโดยผู้รู้ในสาขาวิชานั้นๆ หรือที่เรียกวารสารประเภทนี้เป็นการเฉพาะว่าวารสารผ่านการทบทวน (peer-reviewed periodical) วารสารวิชาการเป็นเวทีสำหรับการแนะนำและนำเสนอผลงานค้นคว้าวิจัยใหม่หรือความเห็นทางวิชาการใหม่ๆ เพื่อรับการตรวจสอบและการวิพากษ์วิจารณ์ในหมู่ผู้รู้ด้วยกัน ปกติเนื้อหาสาระในวารสารจะอยู่ในรูปของบทความเสนอ งานวิจัยที่มีความเริ่มแรก บทปริทัศน์ และการวิจารณ์หนังสือ งานตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพที่ไม่มีการตรวจรับคุณภาพเรียกโดยทั่วไปว่า นิตยสารวิชาชีพ (professional magazine) คำ วารสารวิชาการ ใช้กับสิ่งตีพิมพ์วิชาการทุกสาขา วารสารเหล่านี้อภิปรายถึงแง่มุมต่างๆ ในเชิงวิชาการของสาขานั้น.

ดู สังคมศาสตร์และวารสารวิชาการ

วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรัน

วิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรัน (விளையனூர் இராமச்சந்திரன் วิลยนูรฺ สุพฺรหฺมณฺยมฺ รามจนฺทรน Vilayanur Subramanian Ramachandran; เกิด พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และวิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรัน

วิศวกรรมอุตสาหการ

วิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering) เป็นวิศวกรรมศาสตร์สาขาที่เกี่ยวกับการออกแบบ พัฒนา วางแผน ควบคุม การวิจัยดำเนินงาน จัดการและประเมินผล ระบบ โดยรวม ซึ่งครอบคลุมปัจจัยทุก ๆ ด้านทั้ง บุคคล สารสนเทศ อุปกรณ์ พลังงาน วัสดุ สถานที่ เวลา รวมไปถึง การเงิน วิศวกรรมอุตสาหการเป็นงานทางด้านการประยุกต์ที่เกี่ยวกับการวิจัยดำเนินงาน ทรัพยากรต่าง ๆ และปฏิสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินงานและทรัพยากร เพื่อบรรลุจุดประสงค์การดำเนินงาน ด้วยทรัพยากรที่มีอยู่ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้หลักการและวิธีการทางด้านการวิเคราะห์และสังเคราะห์ทางวิศวกรรม รวมถึงคณิตศาสตร์ สถิติ ฟิสิกส์ การตลาด การบริหารการจัดการ สารสนเทศ เศรษฐศาสตร์ และ สังคมศาสตร์ จิตวิทยา งานของวิศวกรอุตสาหการ จะเกี่ยวกับ การควบคุมคุณภาพ การประกันคุณภาพ การลดเวลาการปฏิบัติงาน ค่าใช้จ่าย วัสดุ พลังงาน และทรัพยากรอื่น ๆ รวมไปถึงงานแก้ไขและป้องกันปัญหา ของ กระบวนการผลิต หรือ การดำเนินงาน เพื่อให้ผลลัพธ์อยู่ในระดับที่ต้องการ โดยหากลวิธีต่าง ๆ ในการควบคุม พัฒนา ปรับปรุง แก้ไข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานให้คุ้มค่าที่สุด ขณะที่วิศวกรรมสาขาอื่นจะเกี่ยวกับทักษะเฉพาะทาง วิศวกรรมอุตสาหการจะถูกใช้อย่างกว้างขวางทั้งในงานการผลิตและงานอื่นหลาย ๆ ด้าน ทั้งทางอุตสาหกรรมตลอดจนงานบริหารการดำเนินการต่าง ๆ เช่น การจัดการรายได้ เช่น การจองที่นั่งของสายการบิน การจัดการคิวหรือลำดับการบริการของสวนสนุก การวางระเบียบการปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการที่มีขั้นตอนซับซ้อน การบริหารห่วงโซ่อุปทาน การจัดการคลังพัสดุ การบริหารการขนส่งและการกระจายสินค้า ดำเนินการและตรวจสอบการควบคุมคุณภาพการผลิต การปรับปรุงประสิทธิภาพหรือวิธีการปฏิบัติงานในโรงงานเพื่อให้ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นและคุณภาพที่สม่ำเสมอของสินค้าโดยการลด ของเสียทั้ง 7 เช่น การรอคอย การผลิตที่เกินความจำเป็น รวมไปถึงการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการใหม่ ๆ การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน อัตราการคืนทุน ถึงแม้คำว่า “วิศวกรรมอุตสาหการ” จะถูกใช้เพื่อสื่อถึงงานทางด้านการผลิตในโรงงาน แต่ในปัจจุบันขอบข่ายของงานได้ครอบคลุมไปถึงงานด้านอื่นรวมถึง ธุรกิจการให้บริการ สาขาอื่น ๆ ที่ใกล้เคียงกับวิศวกรรมอุตสาหการได้แก่ การวิจัยดำเนินงาน การบริการการจัดการ วิศวกรรมระบบ วิศวกรรมการผลิต วิศวกรรมคุณภาพ การยศาสตร์ วิศวกรรมการบำรุงรักษา วิทยาการบริหารจัดการ วิศวกรรมความปลอดภัย การจัดการวิศวกรรม วิศวกรรมการจัดการและโลจิสติกส์ หมวดหมู่:การวิจัยดำเนินการ อุตสาหการ หมวดหมู่:การผลิต.

ดู สังคมศาสตร์และวิศวกรรมอุตสาหการ

วิทยาการระบาด

วิทยาการระบาด เป็นการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพและความเจ็บป่วยของประชากร และเป็นพื้นฐานและตรรกะที่ทำให้เกิดแนวคิดความสนใจในสาธารณสุขและเวชศาสตร์ป้องกัน สาขาวิชานี้วิธีที่สำคัญพื้นฐานของงานวิจัยด้านสาธารณสุข และเกี่ยวข้องกับเวชศาสตร์อิงหลักฐาน (evidence-based medicine) ในการหาปัจจัยเสี่ยงของโรคและประเมินวิธีการรักษาที่เหมาะสมที่สุด งานของนักวิทยาการระบาดที่เกี่ยวข้องกับโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ มีขอบเขตตั้งแต่การสืบค้นการระบาดของโรค (outbreak investigation) ไปจนถึงการออกแบบการศึกษา การเก็บข้อมูล และการวิเคราะห์ รวมทั้งการพัฒนาแบบจำลองทางสถิติเพื่อทดสอบสมมติฐานและการเตรียมผลการวิจัยเพื่อเสนอผลการวิจัย นักวิทยาการระบาดอาจอาศัยระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์หลายอย่างเช่นชีววิทยาในการทำความเข้าใจการดำเนินโรค และระเบียบวิธีทางสังคมศาสตร๋ เช่นสังคมศาสตร์และปรัชญาเพื่อช่วยในการทำความเข้าใจปัจจัยเสี่ยงใกล้เคียงและไกล.

ดู สังคมศาสตร์และวิทยาการระบาด

วิทยาลัยครูหลวงพระบาง

วิทยาลัยครูหลวงพระบาง (ວິທະຍາໄລຄູຫຼວງພະບາງ) เป็นวิทยาลัยครูแห่งแรกในภาคเหนือของประเทศลาว รับนักเรียนจากแขวงต่าง ๆ ในภาคเหนือ คือ แขวงพงสาลี หลวงน้ำทา บ่อแก้ว อุดมไซ ไชยบุรี และหลวงพระบาง มีสี่แขนงวิชาคือ ประถมศึกษา วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ สังคมศาสตร์ และภาษาต่างประเทศ สอนในระดับปริญญาตรีและปริญญาตรีต่อเนื่อง ในอนาคตจะเปิดการศึกษาในระดับปริญญาโท หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในประเทศลาว.

ดู สังคมศาสตร์และวิทยาลัยครูหลวงพระบาง

วิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ คำว่า "วิทยาศาสตร์" มักถูกใช้เพื่อแทนคำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษ แต่ถ้าจะกล่าวให้ตรงความหมายแล้ว เราใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์" เพื่อหมายถึง "Exact science" ซึ่งไม่รวมสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์เอาไว้ แม้ว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน การแบ่งแยกดังกล่าวมีขึ้นเนื่องจากความแตกต่างในด้านเนื้อหาและธรรมชาติของการศึกษา มิใช่เรื่องของความจริงหรือความถูกต้องแต่อย่างใด คำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษจะมีความหมายเทียบเท่ากับคำว่า "ศาสตร์" หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป.

ดู สังคมศาสตร์และวิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์สุขภาพ

วิทยาศาสตร์สุขภาพ คือ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ที่ศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพของมนุษย์และสัตว์ วิทยาศาสตร์สุขภาพสามารถแบ่งออกได้ 2 ส่วน ส่วนแรก คือ การศึกษา วิจัย และความรู้ที่เกี่ยวกับสุขภาพ ส่วนที่ 2 คือ การนำความรู้ดังกล่าวมาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาสุขภาพ, รักษาโรค และทำความเข้าใจการทำงานของร่างกายมนุษย์และสัตว์ งานวิจัยด้านนี้วางอยู่บนฐานของชีววิทยา, เคมี และฟิสิกส์ รวมไปถึงความรู้ด้านสังคมศาสตร์ เช่น สังคมวิทยาการแพท.

ดู สังคมศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ

วิทิต มันตาภรณ์

ตราจารย์กิตติคุณ วิทิต มันตาภรณ์ (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 - ปัจจุบัน) เป็นนักกฎหมายชาวไทย ผู้เชี่ยวชาญกฎหมายระหว่างประเทศโดยเฉพาะเรื่องสิทธิมนุษยชน ศาสตราจารย์กิตติคุณคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศาสตราภิชานของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู สังคมศาสตร์และวิทิต มันตาภรณ์

ศูนย์วิจัยสังคมศาสตร์เบอร์ลิน

ตราสัญลักษณ์ของศูนย์วิจัยสังคมศาสตร์เบอร์ลิน อาคารศูนย์วิจัยสังคมศาสตร์เบอร์ลิน ศูนย์วิจัยสังคมศาสตร์เบอร์ลิน (Wissenschaftszentrum Berlin für Sozialforschung หรือย่อว่า WZB) เป็นสถาบันวิจัยที่มีชื่อเสียงระดับนานาชาติ ในด้านสังคมศาสตร์ เป็นสถาบันประเภทนี้ที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป ศูนย์วิจัยก่อตั้งใน..

ดู สังคมศาสตร์และศูนย์วิจัยสังคมศาสตร์เบอร์ลิน

สมมติฐานโลกยุติธรรม

มมติฐานโลกยุติธรรม (just-world hypothesis, just-world fallacy) เป็นความเอนเอียงทางประชาน หรือเป็นการสมมุติว่า การกระทำของบุคคลหนึ่ง ๆ มีแนวโน้มที่จะนำผลที่ยุติธรรมโดยศีลธรรมและที่เหมาะสมมายังบุคคลนั้น ๆ คือในที่สุดกรรมดีก็จะได้ผลดี และกรรมชั่วก็จะได้ผลชั่ว กล่าวอีกอย่างก็คือ เป็นแนวโน้มที่จะอ้างหรือคาดหวังว่า ผลที่เห็นมีเหตุเนื่องกับพลังจักรวาลที่ปรับโลกให้สมดุลอย่างยุติธรรม ความเชื่อเช่นนี้ทั่วไปส่องถึงความเชื่อเรื่องความยุติธรรมจักรวาล ชะตากรรม ลิขิตของผู้เป็นเจ้า ความสมดุลทางจักรวาล ระเบียบจักรวาล และมีโอกาสสูงที่จะให้ผลเป็นเหตุผลวิบัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่บุคคลให้เหตุผลความเคราะห์ร้ายของผู้อื่นว่า คน ๆ นั้น ๆ "สมควร" จะได้รับผลเช่นนั้น ในภาษาอังกฤษ สมมติฐานเช่นนี้พบได้ในภาพพจน์ต่าง ๆ ที่แสดงนัยรับประกันที่จะได้ผลร้ายคืน เช่น "You got what was coming to you" (คุณได้สิ่งที่ควรจะมาหาคุณ) "What goes around comes around" (อะไรเวียนไปก็ย่อมจะเวียนมา) "chickens come home to roost" (ไก่ย่อมกลับบ้านเพื่อมานอน) และ "You reap what you sow" (คุณเก็บเกี่ยวสิ่งที่คุณหว่าน) เป็นสมมติฐานที่ศึกษากันอย่างกว้างขวางโดยนักจิตวิทยาสังคม เริ่มต้นที่งานทรงอิทธิพลของ.ดร.เลอร์เนอร์ ในต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 ตั้งแต่นั้น งานวิจัยก็ได้ดำเนินต่อมาเรื่อย ๆ โดยตรวจสอบสมรรถภาพการพยากรณ์ของทฤษฎีนี้ในสถานการณ์ต่าง ๆ และในวัฒนธรรมต่าง ๆ ช่วยให้ความเข้าใจเรื่องนี้ดีขึ้นและขยายกว้างออกไป.

ดู สังคมศาสตร์และสมมติฐานโลกยุติธรรม

สมาคมมักซ์พลังค์

มาคมมักซ์พลังค์ (Max Planck Society) หรือชื่อเต็มคือ สมาคมมักซ์พลังค์เพื่อความก้าวหน้าแห่งศาสตร์ (Max-Planck-Gesellschaft zur Förderung der Wissenschaften e.

ดู สังคมศาสตร์และสมาคมมักซ์พลังค์

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)

มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม เกี่ยว โชคชัย ฉายา อุปเสโณ (11 มกราคม พ.ศ. 2471 - 10 สิงหาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช และประธานสมัชชามหาคณิสสร เป็นพระเถระที่มีอาวุโสโดยสมณศักดิ์สูงสุดของมหาเถรสมาคมเดลินิวส์, 30 ธันวาคม 2547มติชน, 15 ม..

ดู สังคมศาสตร์และสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

สังคมวิทยา

ังคมวิทยา (อังกฤษ: sociology) คือ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับชีวิตทางสังคมของมนุษย์, กลุ่มคน, และสังคม สิ่งที่สาขาวิชานี้สนใจคือ กฎเกณฑ์ และกระบวนการทางสังคม ที่ยึดเหนี่ยวหรือแบ่งแยกผู้คน ทั้งในสภาวะที่เป็นปัจเจก และในฐานะของสมาชิกของสมาคม, กลุ่ม, หรือสถาบัน สังคมวิทยาสนใจพฤติกรรมมนุษย์ ในฐานะที่เป็นสิ่งมีชีวิตทางสังคม ดังนั้นการศึกษาทางด้านนี้ จึงครอบคลุมตั้งแต่การวิเคราะห์การพบปะกันของคนที่ไม่รู้จักกันบนท้องถนน ไปจนถึงการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการทางสังคมในระดับโลก.

ดู สังคมศาสตร์และสังคมวิทยา

สังคมศึกษา

ังคมศึกษา (Social Studies) เป็นศาสตร์บูรณาการทางด้านสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ รวมทั้งประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์และศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยนักการศึกษาชาวอเมริกันเป็นผู้คิดค้นและให้นิยามของสังคมศึกษาเป็นครั้งแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ซึ่งมีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำรงชีวิตของมนุษย์ การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้คนและระหว่างคนกับสิ่งแวกล้อม รวมไปถึงการรู้จัดอดทน อดกลั้น ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล อันจะส่งผลให้ผู้เรียนสามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข เป็นพลเมืองที่ดีของประเทศและโลกต่อไปวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, สำนัก.

ดู สังคมศาสตร์และสังคมศึกษา

สังคมหลังอุตสาหกรรม

accessdate.

ดู สังคมศาสตร์และสังคมหลังอุตสาหกรรม

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.

ดู สังคมศาสตร์และสำนักงานราชบัณฑิตยสภา

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เป็นส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ก่อตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติสภาวิจัยแห่งชาติ พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

สุริชัย หวันแก้ว

ตราจารย์ สุริชัย หวันแก้ว (7 พฤษภาคม พ.ศ. 2492 —) ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสังคม และอาจารย์ประจำภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาการพัฒนาสังคม คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการหลักสูตรการพัฒนาระหว่างประเทศ และปัจจุบันเป็นรองผู้อำนวยการฝ่ายวิจัย สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธาน Asian Rural Sociological Association (ARSA) ที่ปรึกษาโครงการแม่น้ำเพื่อชีวิต เคยเป็นหนึ่งในคณะกรรมการอิสระเพื่อความสมานฉันท์แห่งชาติ (กอส.) ดำรงตำแหน่งเลขานุการของกอ.ในการแก้ปัญหาเหตุการณ์ไม่สงบในภาคใต้ และเป็นอดีตประธานคณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.) ผู้เชี่ยวชาญประเด็นด้าน การพัฒนา คนชายขอบ และโลกาภิวัตน์ อาจารย์สุริชัยเป็นนักวิจัยทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะสังคมวิทยา และการมีส่วนร่วม เป็นอดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสังคม (CUSRI)ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นบุคลากรขององค์กรประชาธิปไตย คนสำคัญของประเทศไทย ในปี พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และสุริชัย หวันแก้ว

สุขุม นวลสกุล

รองศาสตราจารย์ สุขุม นวลสกุล อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง อดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง นักพูด และนักวิชาการทางรัฐศาสตร์ เกิดเมื่อวันที่ 8 เดือนมกราคม พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และสุขุม นวลสกุล

สถาบัน

ัน หมายถึง สิ่งซึ่งคนในส่วนรวม คือ สังคม จัดตั้งให้มีขึ้นเพราะเห็นประโยชน์ว่ามีความต้องการ และจำเป็นแก่วิถีชีวิตของตน เช่น สถาบันครอบครัว สถาบันศาสนา สถาบันการศึกษา สถาบันการเมือง.

ดู สังคมศาสตร์และสถาบัน

สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันอิสระสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบัน เมื่อวันที่ 22 เมษายน..

ดู สังคมศาสตร์และสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นสถาบันวิจัยในสังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีภารกิจหลักคือการศึกษาค้นคว้าเพื่อสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับสังคมไทย การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และการเผยแพร่ความรู้สู่สังคม.

ดู สังคมศาสตร์และสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์

ันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts Institute of Technology, ตัวย่อ เอ็มไอที, เรียกโดยชุมชน MIT ว่า "the Institute แปลว่า สถาบัน") เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ที่มีชื่อเสียงมานานในเรื่องงานวิจัยและการศึกษาในสาขาเคมี ฟิสิกส์ และวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่าง ๆ แล้วเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นต่อ ๆ มาในสาขาชีววิทยา เศรษฐศาสตร์ ภาษาศาสตร์ และการจัดการ MIT ตั้งขึ้นในปี..

ดู สังคมศาสตร์และสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์

สถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริก

ันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริก (Swiss Federal Institute of Technology in Zurich, ชื่อเต็มในภาษาเยอรมันคือ Eidgenössische Technische Hochschule Zürich โดยมีชื่อย่อที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า ETH Zürich) เป็นมหาวิทยาลัยทางด้านวิทยาศาสตร์ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริกเป็นมหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงในระดับนานาชาติเป็นสมาชิกของ IDEA League และ International Alliance of Research Universities IARU.

ดู สังคมศาสตร์และสถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริก

สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

นีวิทยุกระจายเสียงแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกโดยย่อว่า "วิทยุจุฬาฯ" เป็นสถานีวิทยุกระจายเสียงของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ออกอากาศด้วยคลื่นความถี่ 101.5 เมกะเฮิรตซ์ ในระยะแรกสถานีวิทยุแห่งนี้ป็นสถานที่ทดลองส่งคลื่นวิทยุกระจายเสียงที่นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพัฒนาขึ้น โดยทดลองทำเครื่องส่งสัญญาณขึ้นเองจนสามารถใช้งานได้จริงสถานีวิทยุแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU Radio) FM 101.5 MHz.

ดู สังคมศาสตร์และสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หลักสูตร

หลักสูตร (curriculum (เอกพจน์) หรือ curricula (พหูพจน์)) เป็นคำที่เกิดขึ้นมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 และเริ่มใช้คำนี้อย่างแพร่หลายในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยในตำราเรียนเล่มแรกที่เขียนอธิบายเกี่ยวกับหลักสูตรของจอห์น แฟรงคลิน บอบบิทในปี..

ดู สังคมศาสตร์และหลักสูตร

อภิชัย พันธเสน

ตราจารย์ อภิชัย พันธเสน (เกิด ?) อาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต และผู้อำนวยการสถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม หน่วยงานภายใต้มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ รวมทั้งยังร่วมเป็นคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงอีกด้ว.อภิชัย พันธเสน หรือ.ดร.อภิชัย พันธเสน มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็นรูปธรรมทั้งในเชิงวิชาการและเชิงปฏบัติ โดยผลงานทางวิชาการต่างๆของอาจารย์ ได้ถูกหยิบยกไปใช้ในการอ้างอิงเพื่อการศึกษา และนำไปเป็นฐานในการประยุกต์ใช้และส่งเสริมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ชนบท โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานที่เกี่ยวข้องกับพุทธเศรษฐศาสตร์และเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นผลงานที่เปลี่ยนโฉมหน้าการศึกษาทางด้านวิชาการเศรษฐศาสตร์ในประเทศไทย ดังข้อความตอนท้ายช่วงหนึ่งในโมทนพจน์ของพระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต).

ดู สังคมศาสตร์และอภิชัย พันธเสน

อรรฆวิทยา

อรรฆวิทยา, อัคฆวิทยา หรือ คุณวิทยา (axiology) คือสาขาหนึ่งของวิชาปรัชญา เป็นการศึกษาปัญหาที่เกี่ยวกับค่านิยมหรือคุณค่า คุณค่าเป็นนามธรรมอันเกิดจากการประเมินข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติและวิทยาศาสตร์สังคม ข้อเท็จจริงเป็นเพียงปรากฏการณ์หรือพฤติกรรมที่สามารถรับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัส ส่วนคุณค่ามีลักษณะที่อาศัยข้อเท็จจริงว่าควรจะเป็นอย่างไร และทำไมจึงเป็นเช่นนั้น คุณค่าเกิดจากการประเมินไม่ใช่การวัด เพราะคุณค่าเป็นนามธรรม คุณค่าเป็นสิ่งที่กำหนดเองไม่ได้ต้องมติของคนส่วนใหญ่ เป็นที่ยอมรับของคนส่วนมาก แบ่งย่อยเป็น 2 สาขา คือ ค่านิยมตามแนวจริยศาสตร์ และค่านิยมตามแนวสุนทรียศาสตร.

ดู สังคมศาสตร์และอรรฆวิทยา

อันดับมหาวิทยาลัยไทย

อันดับมหาวิทยาลัยไทยจากมุมมองของนานาชาติหลากหลายสำนัก สามารถทำให้เห็นภาพรวมและศักยภาพของมหาวิทยาลัยไทยในสังคมโลกยุคปัจจุบัน ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาเพื่อให้ทัดเทียมนานาอารยประเท.

ดู สังคมศาสตร์และอันดับมหาวิทยาลัยไทย

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยในที่นี้ เป็นการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทยโดยหน่วยงานของไทยเอง และนิตยสารของต่างประเทศ สำหรับหน่วยงานของไทย ในปี พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

การจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

ฮันเตอร์ คอลเลจ

ันเตอร์ คอลเลจ (Hunter College) เป็นหนึ่งในวิทยาลัยที่มีชือเสียงติดอันดับของ โครงการวิทยาลัยสำหรับมหานครนิวยอร์ก Hunter College ยังมีชื่อเสียงในเรื่องการเรียน การสอนทางด้านสังคมศาสตร์ แต่ก็ยังมีโปรแกรมอื่น ๆ อีกมากมายกว่า 100 โปรแกรม พร้อมรองรับนักเรียน นักศึกษาที่สนใจจะศึกษาต่อ ทางวิทยาลัยมีคณะอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญการสอนในด้านนี้โดยตรง ตัววิทยาลัยตั้งอยู่ติดกับสวนสาธารณะ เซ็นทรัล ปาร์ค อีกทั้งยังใกล้กับห้างสรรพสินค้า Bloomingdale’s ที่โด่งดังติดอันดับโลกอีกด้วย ฮันเตอร์ คอลเลจ ก่อตั้งขึ้นเป็นสถานศึกษาตั้งแต่ปีค.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และฮันเตอร์ คอลเลจ

จักษ์ พันธ์ชูเพชร

รองศาสตราจารย์ จักษ์ พันธ์ชูเพชร ชื่อเดิม:ประจักษ์ พันธ์ชูเพชร ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการศึกษาต่อเนื่อง และรักษาการผู้อำนวยการสถานการศึกษาต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นอาจารย์ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยากรให้กับสถาบันพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ บริษัท ทุนมนุษย์ จำกัด อดีตวิทยากรคณะกรรมการการเลือกตั้ง วิทยากรคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน คณะกรรมการการอำนวยการการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับถาวร เป็นผู้ดำเนินรายการ "ชวนพี่น้องมองบ้านเมือง" และรายการ "เวทีประชาคมเพื่อชุมชุนเข้มแข็ง" ทางสถานีโทรทัศน์ NBT นักจัดรายการวิทยุ รายการ "คุยกัยอาจารย์จักษ์" ที่ FM 107.25 MHz.

ดู สังคมศาสตร์และจักษ์ พันธ์ชูเพชร

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

ดู สังคมศาสตร์และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จุดผลิตน้ำมันสูงสุด

กราฟแสดงการผลิตน้ำมันโลก ทั้งข้อมูลตามประวัติและข้อมูลอนาคตตามที่คาดหมาย และตามที่เสนอโดยนักธรณีวิทยา ดร.

ดู สังคมศาสตร์และจุดผลิตน้ำมันสูงสุด

ทฤษฎีหน้าต่างแตก

หน้าต่างที่แตกของตึกร้างในเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ทฤษฎีหน้าต่างแตก (Broken windows theory) คือ ทฤษฎีทางอาชญาวิทยาของการสร้างมาตรฐาน และที่ผลของการก่อกวนและความวุ่นวายในตัวเมืองส่งผลต่อการเพิ่มของอาชญากรรม และพฤติกรรมต่อต้านสังคม ทฤษฎีระบุว่าการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมเมืองโดยการป้องกันอาชญากรรมเบาๆ เช่น การก่อกวน การดื่มในที่สาธารณะ และการไม่จ่ายค่าโดยสาร มีส่วนช่วยในการสร้างบรรยากาศของความถูกต้องทางกฎหมาย ดังนั้นจึงมีส่วนช่วยในการยับยั้งการเกิดขึ้นของอาชญากรรมที่ร้ายแรง ทฤษฎีถูกริเริ่มในปี..

ดู สังคมศาสตร์และทฤษฎีหน้าต่างแตก

ทฤษฎีอติชน

ในสาขารัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ทฤษฎีอติชน หรือ ทฤษฎีอภิชน (elite theory) เป็นทฤษฎีที่มุ่งหมายจะพรรณนาและอธิบายความสัมพันธ์ของกลุ่มอำนาจต่าง ๆ ในสังคมปัจจุบัน โดยอ้างว่า ชนกลุ่มน้อยที่เป็นสมาชิกของอภิสิทธิชนทางเศรษฐกิจหรือของเครือข่ายการกำหนดนโยบาย จะมีอำนาจมากที่สุดในสังคม โดยอำนาจนี้จะเป็นอิสระจากกระบวนการเลือกตั้งของประชาธิปไตย คืออาศัยตำแหน่งในบรรษัทหรือการเป็นสมาชิกคณะกรรมการบริษัท หรืออาศัยตำแหน่งในสถาบันนโยบายหรือกลุ่มอภิปรายนโยบาย หรืออาศัยอิทธิพลเหนือเครือข่ายบุคคลที่วางนโยบายโดยให้การสนับสนุนทางการเงินแก่มูลนิธิ/องค์กรต่าง ๆ สมาชิกของกลุ่มอภิสิทธิชนจะมีอำนาจสำคัญในการตัดสินนโยบายของบริษัทหรือของรัฐบาล ตัวอย่างที่เห็นได้ก็คือ บทความในนิตยสารฟอบส์ ชื่อว่า "ผู้มีอำนาจมากที่สุดในโลก (The World's Most Powerful People)" ที่แสดงรายการบุคคลที่นิตยสารอ้างว่ามีอำนาจมากที่สุดในโลก (โดยแต่ละคนเทียบเท่ากับคน 100,000,000 คนอื่น) ลักษณะทางสังคมที่เข้าข่ายทฤษฎีโดยพื้นฐานก็คือ อำนาจมีการรวมศูนย์ อภิสิทธิชนพร้อมเพรียงกัน คนที่ไม่ใช่อภิสิทธิชนมีหลากหลายและไร้อำนาจ เทียบกับผลประโยชน์/สิ่งที่อภิสิทธิชนสนใจที่มีเอกภาพเนื่องจากมีพื้นเพหรือตำแหน่งที่คล้ายคลึงกัน โดยลักษณะเฉพาะของการมีอำนาจก็คือการมีตำแหน่งในสถาบัน แม้กลุ่มอาจจะไม่ได้อยู่ในเครือข่ายอำนาจธรรมดาของรัฐ (เช่นในประวัติศาสตร์ อาจจะเป็นเพราะเกณฑ์ต่าง ๆ รวมทั้งความป็นขุนนาง เชื้อชาติ เพศ หรือศาสนา) ทฤษฎีก็ยังแสดงว่า "กลุ่มต้านอภิสิทธิชน" (counter-elites) บ่อยครั้งก็จะเกิดภายในกลุ่มที่ถูกยกเว้นเช่นนี้ ดังนั้น การเจรจาต่อรองระหว่างกลุ่มเช่นนี้กับรัฐ จึงมองได้ว่าเป็นการต่อรองระหว่างกลุ่มต่อต้านอภิสิทธิชนกับกลุ่มอภิสิทธิชน ซึ่งก็จะทำให้เห็นปัญหาสำคัญอีกอย่างว่า อภิสิทธิชนสามารถรวบผู้ต่อต้านให้เป็นพวกได้ ทฤษฎีอภิสิทธิชนเป็นเรื่องตรงข้ามกับทฤษฎีพหุนิยมทางการเมือง ซึ่งสมมุติว่า ทุก ๆ คน หรืออย่างน้อยก็กลุ่มสังคมต่าง ๆ จะมีอำนาจเท่ากันและจะถ่วงดุลกันเอง ทำให้ได้ผลลัพธ์ทางการเมืองที่เป็นประชาธิปไตย และที่เป็นตัวแทนผลประโยชน์ของคนทั้งหมดในสังคม เทียบกับทฤษฎีนี้ที่อ้างว่า ประชาธิปไตยเป็นเรื่องเหลวไหลแบบอุตมรัฐ หรือไม่ก็เป็นไม่ไปได้ในกรอบของทุนนิยม ซึ่งเป็นมุมมองปัจจุบันที่เข้ากับลัทธิมากซ์ได้.

ดู สังคมศาสตร์และทฤษฎีอติชน

ทฤษฎีแนววิพากษ์

ทฤษฎีแนววิพากษ์ (critical theory) เป็นสำนักคิดที่เน้นย้ำการประเมินสะท้อนและการวิพากษ์สังคมและวัฒนธรรมโดยการประยุกต์ความรู้จากสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ คำว่า "ทฤษฎีแนววิพากษ์" มีสองความหมาย ที่มีจุดกำเนิดและประวัติศาสตร์ต่างกัน คำแรกกำเนิดในวิชาสังคมวิทยา และอีกคำหนึ่งกำเนิดในวิชาวรรณคดีวิจารณ์ โดยที่มีการใช้และประยุกต์เป็นคำรวม ๆ ที่สามารถอธิบายทฤษฎีที่ตั้งอยู่บนการวิพากษ์ ฉะนั้น นักทฤษฎี มักซ์ ฮอร์คไฮเมอร์ (Max Horkheimer) อธิบายว่าทฤษฎีหนึ่งเป็นแนววิพากษ์ตราบเท่าที่ทฤษฎีนั้นมุ่ง "ปลดปล่อยมนุษย์จากพฤติการณ์ท่ี่ทำให้เป็นทาส" ในวิชาสังคมวิทยาและปรัชญาการเมือง คำว่า "ทฤษฎีแนววิพากษ์" อธิบายปรัชญาลัทธิมากซ์ใหม่ของสำนักแฟรงก์เฟิร์ต ซึ่งมีการพัฒนาในประเทศเยอรมนีในคริสต์ทศวรรษ 1930 การใช้คำนี้ในภาษาอังกฤษจะต้องใช้ตัวใหญ่เป็นวิสามานายาม (Critical Theory) ส่วนทฤษฎีแนววิพากษ์ (a critical theory) อาจมีส่วนประกอบของความคิดคล้ายกัน แต่ไม่เน้นการสืบทางปัญญาโดยเฉพาะจากสำนักแฟรงก์เฟิร์ต นักทฤษฎีสำนักแฟรงก์เฟิร์ตนำวิธีการวิพากษ์จากคาร์ล มากซ์ และซิกมุนด์ ฟรอยด์ ทฤษฎีแนววิพากษ์ยืนยันว่าอุดมการณ์เป็นอุปสรรคหลักของการปลดปล่อยมนุษย์ นักทฤษฎีสำนักแฟรงก์เฟิร์ต เฮอร์เบิร์ต มาร์คูเซอ (Herbert Marcuse), ทีโอดอร์ อะดอร์โน (Theodor Adorno), วัลเทอร์ เบนจามิน (Walter Benjamin), และอีริช ฟรอมม์ (Erich Fromm) เป็นบุคคลหลักในการตั้งทฤษฎีแนววิพากษ์เป็นสำนักคิด ทฤษฎีแนววิพากษ์สมัยใหม่ได้รับอิทธิพลเพิ่มเติมจากจอร์จี ลูกัช (György Lukács) และอันโตนีโอ กรัมชี ตลอดจนนักวิชาการสำนักแฟรงก์เฟิร์ตรุ่นที่สอง คนสำคัญคือ เยือร์เกิน ฮาเบอร์มัส (Jürgen Habermas) ในงานของฮาเบอร์มัส ทฤษฎีแนววิพากษ์ดีกว่าเหง้าทฤษฎีของมันในจิตนิยมเยอรมันและก้าวหน้าใกล้เคียงกับปฏิบัตินิยมอเมริกัน ความกังวลสำหรับ "ฐานและโครงสร้างส่วนบน (superstructure)" ทางสังคมเป็นมโนทัศน์ปรัชญาลัทธิมากซ์ที่ยังเหลืออยู่อันหนึ่งในทฤษฎีแนววิพากษ์ร่วมสมัยจำนวนมาก แม้นักทฤษฎีแนววิพากษ์มักนิยามบ่อยครั้งเป็นปัญญาชนลัทธิมากซ์ แต่แนวโน้มของพวกเขาในการประณามมโนทัศน์บางอย่างของลัทธิมากซ์ และการผสมการวิเคราะห์แบบมากซ์กับขนบธรรมเนียมทางสังคมวิทยาและปรัชญาอย่างอื่นทำให้นักลัทธิมากซ์คลาสสิก ทรรศนะดั้งเดิมและวิเคราะห์ ตลอดจนนักปรัชญาลัทธิมากซ์–เลนินกล่าวหาว่าเป็นลัทธิแก้ มาร์ติน เจย์แถลงว่า ทฤษฎีแนววิพากษ์รุ่นแรกเข้าใจกันดีว่าไม่เป็นการสนับสนุนวาระปรัชญาหรืออุดมการณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง แต่เป็น "เหลือบของระบบอื่น"Jay, Martin (1996) The Dialectical Imagination: A History of the Frankfurt School and the Institute of Social Research, 1923–1950.

ดู สังคมศาสตร์และทฤษฎีแนววิพากษ์

คลาส (แก้ความกำกวม)

ลาส (Class) อาจแปลว่า ชั้น ชุด กลุ่ม โดยอาจหมายถึง.

ดู สังคมศาสตร์และคลาส (แก้ความกำกวม)

ความภูมิใจแห่งตน

ในสังคมวิทยาและจิตวิทยา ความภูมิใจในตน หรือ ความภูมิใจแห่งตน หรือ การเคารพตนเอง หรือ การเห็นคุณค่าในตัวเอง (self-esteem) เป็นการประเมินคุณค่าตนเองโดยทั่วไปที่เป็นอัตวิสัยและอยู่ในใจ เป็นทั้งการตัดสินและทัศนคติต่อตนเอง ความภูมิใจในตนอาจรวมความเชื่อ (เช่น ฉันเก่ง ฉันมีคุณค่า) และอารมณ์ความรู้สึก เช่น การได้ชัยชนะ ความซึมเศร้า ความภูมิใจ และความอับอาย หนังสือปี 2550 ให้คำนิยามว่า "ความภูมิใจในตนเป็นการประเมินในเชิงบวกหรือเชิงลบเกี่ยวกับตัวเอง คือ เรารู้สึกกับตัวเองอย่างไร" เป็นแนวคิดทางจิตวิทยา (psychological construct) ที่น่าสนใจเพราะว่านักวิจัยเชื่อว่ามันเป็นตัวพยากรณ์ที่ทรงอิทธิพลต่อผลบางอย่าง เช่น การเรียนเก่งS.

ดู สังคมศาสตร์และความภูมิใจแห่งตน

ความเอนเอียงของผู้ทดลอง

ในวิทยาศาสตร์เชิงทดลอง ความเอนเอียงของผู้ทดลอง (experimenter's bias) เป็นความเอนเอียงที่เป็นอัตวิสัยที่เกิดขึ้นโดยโน้มน้าวไปทางค่าผลที่คาดหวังโดยผู้ทำการทดลอง ยกตัวอย่างเช่น ความเอนเอียงที่เกิดขึ้นเมื่อนักวิทยาศาสตร์มีอิทธิพลโดยไม่รู้ตัวต่อผู้ร่วมการทดลองหรือสัตว์ทดลอง เช่นในกรณีของม้าคเลเวอร์แฮน.

ดู สังคมศาสตร์และความเอนเอียงของผู้ทดลอง

ความเอนเอียงในการตีพิมพ์

วามเอนเอียงในการตีพิมพ์ (ผลงานวิจัย) (Publication bias) เป็นความเอนเอียง (bias) ในประเด็นว่า ผลงานวิจัยอะไรมีโอกาสมากกว่าที่จะได้รับการตีพิมพ์ ในบรรดางานทั้งหมดที่ได้ทำ ความเอนเอียงโดยธรรมชาติแล้วไม่ได้เป็นปัญหาทั้งหมด ยกตัวอย่างเช่น ความเอนเอียงในการที่จะไม่ตีพิมพ์เรื่องไม่จริงเป็นความเอนเอียงที่พึงปรารถนา แต่ความเอนเอียงที่เป็นปัญหาก็คือความโน้มน้าวที่นักวิจัย บรรณาธิการ และบริษัทผลิตยา มักจะมีความประพฤติกับผลงานทดลองที่เป็น "ผลบวก" (คือ แสดงว่าประเด็นการทดลองมีความสัมพันธ์กับผลอย่างมีนัยสำคัญ) แตกต่างจากงานทดลองที่เป็น "ผลลบ" (null result หรือผลว่าง คือ ประเด็นการทดลองไม่มีความสัมพันธ์กับผลอย่างมีนัยสำคัญ) หรือว่าไม่มีความชัดเจน ซึ่งนำไปสู่ความเอนเอียงที่ทำให้เกิดความเข้าใจผิดในเรื่องนั้น ที่มีในบรรดางานที่ได้รับการตีพิมพ์ทั้งหมด ความเอนเอียงนี้มักจะเป็นไปในทางการรายงานผลที่มีนัยสำคัญ แม้ว่าจริง ๆ แล้วงานทดลองที่แสดงนัยสำคัญไม่ได้มีคุณภาพการออกแบบการทดลองที่ดีกว่างานทดลองที่แสดงผลว่าง คือ ได้เกิดการพบว่า ผลที่มีนัยสำคัญมีโอกาสที่จะได้รับการตีพิมพ์มากกว่าผลที่แสดงผลว่างมากกว่าถึง 3 เท่า และก็มีการพบด้วยว่า เหตุผลสามัญที่สุดของการไม่ตีพิมพ์ผลงานก็คือผู้ทำงานวิจัยปฏิเสธที่จะเสนอผลงานเพื่อพิมพ์ (เพราะว่า ผู้ทำงานวิจัยหมดความสนใจในประเด็นนั้น หรือว่าคิดว่า ผู้อื่นจะไม่สนใจในผลว่าง หรือเหตุผลอื่น ๆ) ซึ่งเป็นข้อมูลที่แสดงถึงบทบาทของนักวิจัยในปรากฏการณ์ความเอนเอียงในการตีพิมพ์นี้ เพื่อที่จะพยายามลดปัญหานี้ วารสารแพทย์ที่สำคัญบางวารสารเริ่มมีการกำหนดให้ลงทะเบียนงานทดลองก่อนที่จะเริ่มทำเพื่อว่า ผลที่ไม่แสดงความสัมพันธ์ของประเด็นงานวิจัยกับผลจะไม่ถูกกักไว้ไม่ให้พิมพ์ มีองค์กรการลงทะเบียนเช่นนี้หลายองค์กร แต่นักวิจัยมักจะไม่รู้จัก นอกจากนั้นแล้ว ความพยายามที่ผ่านมาที่จะระบุหางานทดลองที่ไม่ได้รับการพิมพ์ปรากฏว่า เป็นเรื่องที่ยากและมักจะไม่เพียงพอ อีกกลยุทธ์หนึ่งที่เสนอโดยผู้ทำการวิเคราะห์งานวิจัยต่าง ๆ ก็คือให้ระวังการใช้ผลงานทดลองทางคลินิกที่ไม่ใช่แบบสุ่ม (non-randomised) และมีตัวอย่างทางสถิติน้อย เพราะว่า เป็นงานที่มีความเสี่ยงสูงต่อข้อผิดพลาดและความเอนเอียง.

ดู สังคมศาสตร์และความเอนเอียงในการตีพิมพ์

คุรุสภา

รุสภา (Khurusapha) มีชื่อทางการว่า สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา (The Teachers’ Council of Thailand) เป็นสภาในกระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษ..

ดู สังคมศาสตร์และคุรุสภา

คณะ

ณะ สามารถหมายถึง.

ดู สังคมศาสตร์และคณะ

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2514 โดยเป็นหนึ่งในสี่คณะที่กำเนิดขึ้นพร้อมกับการจัดตั้งมหาวิทยาลัยรามคำแหง เมื่อแรกเริ่มมีทำหน้าที่สอนวิชาพื้นฐานด้านมนุษยศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้แก่คณะอื่น ๆ ต่อมาได้มีการพัฒนาเรื่อยๆมาจนเปิดหลักสูตร ทางด้านสายสังคมศาสตร์, วิทยาศาสตร์ และครอบคลุมไปยังด้านสาขามานุษยวิทยา, สังคมวิทยา รวมไปถึงภาษาต่างประเทศ ในปัจจุบันคณะมนุษยศาสตร์เปิดสอนหลักสูตรทั้งระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก.

ดู สังคมศาสตร์และคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2507 พร้อมกับมหาวิทยาลัย โดยเป็นหนึ่งในสามคณะแรกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เช่นเดียวกับคณะสังคมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์สังกัดอยู่ในกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร.

ดู สังคมศาสตร์และคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นคณะแรกเริ่มที่อนุมัติให้มีการจัดตั้งคณะขึ้นภายใต้การดูแลของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตมหาสารคาม เป็นคณะที่จัดตั้งขึ้นโดยการยุบรวมกันระหว่าง 2 คณะ คือ คณะมนุษยศาสตร์กับคณะสังคมศาสตร์ภายหลังจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาสารคาม เปลี่ยนสถานะภาพเป็นมหาวิทยาลัยมหาสารคามในปี 2537 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีการบริหารจัดการและแบ่งส่วนราชการแยกเป็นภาควิชาและสำนักงานเลขานุการ ในส่วนภาควิชาแบ่งเป็น 5 ภาควิชา คือ.

ดู สังคมศาสตร์และคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Faculty of Political Science, Thammasat University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ จัดเป็น 1 ใน 4 คณะวิชาก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเป็นคณะวิชาลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลั.

ดู สังคมศาสตร์และคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คณะรัฐศาสตร์ในประเทศไทย

ณะรัฐศาสตร์ เปิดสอนศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการบริการรัฐ การเมืองการปกครอง รวมไปถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ซึ่งการศึกษาวิชารัฐศาสตร์นั้น เป็นการศึกษาในลักษณะของสหวิทยาการ กล่าวคือ ต้องอาศัยศาสตร์หลาย ๆ ศาสตร์เข้ามาประกอบการศึกษา อธิบายภาวะต่าง ๆ ทางสังคม ที่เกิดขึ้นได้.

ดู สังคมศาสตร์และคณะรัฐศาสตร์ในประเทศไทย

คณะวิชา

ณะวิชา หรือเรียกอย่างสั้น ๆ ว่า คณะ เป็นองค์กรในสถาบันอุดมศึกษาที่มีหน้าที่จัดการเรียนการสอนและให้บริการความรู้เกี่ยวกับวิชาการสาขาที่อยู่ในประเภทเดียวกัน มีหัวหน้าองค์กรเรียก "คณบดี" บางแห่งเรียก "สำนักวิชา" "สาขาวิชา" หรือ "วิทยาลัย" แทน.

ดู สังคมศาสตร์และคณะวิชา

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดรับนักศึกษารุ่นแรกจำนวน 48 คน ในปี พ.ศ. 2519 เดิมนั้นคณะวิทยาการจัดการมีชื่อว่า คณะสังคมศาสตร์ ซึ่งได้รับอนุมัติให้จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Faculty of Liberal Arts, Thammasat University) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ดู สังคมศาสตร์และคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นคณะลำดับที่ 13 ของมหาวิทยาลัย สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ริเวณหน้าคณะสังคมศาสตร์ ตึกคณะสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เป็นหน่วยงานการศึกษาหนึ่งในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเปิดทำการสอนในระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษ.

ดู สังคมศาสตร์และคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นคณะที่เน้นงานวิจัยทั้งด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศึกษาศาสตร์ มีสำนักงานคณบดีที่ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา คณะนี้เป็นคณะที่มีความโดดเด่นในด้านการเรียนการสอนและการวิจัยสังคมศาสตร์เชิงบูรณาการชั้นนำของประเทศไท.

ดู สังคมศาสตร์และคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ก่อตั้งเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน..

ดู สังคมศาสตร์และคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

คณะประสานเสียงเด็กชายแห่งเวียนนา

ณะประสานเสียงเด็กชายแห่งเวียนนาในเครื่องแบบ "ชุดเดินทาง" ในงานคอนเสิร์ตปี พ.ศ. 2546 ที่ห้องโถง Wiener Musikverein ในนครเวียนนา ซิมโฟนีของคนนับพัน'' ของกุสตาฟ มาห์เลอร์ ร่วมกับคณะประสานเสียง Wiener Singverein แห่งเวียนนา, วงศ์ดุริยางค์ Slovenský filharmonický zbor และ Staatskapelle Berlin, มีผู้ควบคุม คือ Pierre Boulez ในเดือนเมษายน พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และคณะประสานเสียงเด็กชายแห่งเวียนนา

คณิตศาสตร์

ยูคลิด (กำลังถือคาลิเปอร์) นักคณิตศาสตร์ชาวกรีก ในสมัย 300 ปีก่อนคริสตกาล ภาพวาดของราฟาเอลในชื่อ ''โรงเรียนแห่งเอเธนส์''No likeness or description of Euclid's physical appearance made during his lifetime survived antiquity.

ดู สังคมศาสตร์และคณิตศาสตร์

คณิตศาสตร์ประยุกต์

คณิตศาสตร์ประยุกต์ (applied mathematics) แตกต่างจากคณิตศาสตร์บริสุทธิ์ (pure mathematics) ตรงที่ จะเริ่มต้นพิจารณาปัญหาในชีวิตจริงก่อน ไม่ว่าปัญหานั้นจะอยู่ในเรื่องของวิชา หรือ สาขาใดๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา ธรณีวิทยา แพทยศาสตร์ ทันตแพทย์ศาสตร์ เภสัชศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ คอมพิวเตอร์ฯลฯ หรือแม้แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นในสาขาวิชาคณิตศาสตร์เอง แล้วจากนั้น จะนำความรู้ในวิชาคณิตศาสตร์ที่มีอยู่แล้ว หรืออาจจำเป็นจะต้องสร้างใหม่ขึ้นมา เพื่อจะใช้แก้ปัญหาเหล่านั้น คณิตศาสตร์ประยุกต์.

ดู สังคมศาสตร์และคณิตศาสตร์ประยุกต์

งานศึกษามีกลุ่มควบคุม

การศึกษาย้อนหลัง (retrospective cohort) จะศึกษาการเกิดของโรคที่มีแล้ว งานศึกษามีกลุ่มควบคุม (page, case history study, case referent study, retrospective study) เป็นแบบการศึกษาอย่างหนึ่งที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในวงการแพทย์ ที่มีการพัฒนาในยุคแรก ๆ ในสาขาวิทยาการระบาด แม้ว่าต่อ ๆ มาก็มีการสนับสนุนให้ใช้ในการศึกษาสาขาต่าง ๆ ของสังคมศาสตร์ เป็นงานศึกษาแบบสังเกต (observational study) ประเภทหนึ่ง ที่จะกำหนดกลุ่มสองกลุ่มที่มีผลต่างกัน แล้วเปรียบเทียบเพื่อตรวจสอบสมมุติฐานว่าอะไรเป็นเหตุของผลที่ต่างกันนั้น เป็นแบบงานที่มักจะใช้เพื่อกำหนดองค์ประกอบที่มีผลต่ออาการของโรค โดยเปรียบเทียบคนไข้ที่มีอาการ/โรค (case) กับผู้ที่ไม่มีอาการ/โรค (control) ที่มีลักษณะอย่างอื่น ๆ เหมือน ๆ กัน เป็นแบบงานที่ใช้ทรัพยากรน้อยกว่า แต่ว่าให้หลักฐานความเป็นเหตุผลได้อ่อนกว่าการทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม (randomized controlled trial).

ดู สังคมศาสตร์และงานศึกษามีกลุ่มควบคุม

งานศึกษาตามยาว

งานศึกษาตามยาว"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ longitudinal ว่า "-ตามยาว" และของ longitudinal study ว่า "วิธีศึกษาระยะยาว" หรือ วิธีศึกษาระยะยาว (longitudinal study) เป็นการศึกษาวิจัยโดยสหสัมพันธ์ที่สังเกตวัดค่าตัวแปรเดียวกัน ๆ เป็นระยะเวลายาว บ่อยครั้งเป็นทศวรรษ ๆ เป็นการศึกษาแบบสังเกตประเภทหนึ่ง มักใช้ในสาขาจิตวิทยาเพื่อศึกษาพัฒนาการต่าง ๆ ตลอดชั่วชีวิต และในสาขาสังคมศาสตร์เพื่อศึกษาเหตุการณ์ต่าง ๆ ทั้งชีวิตหรือหลายชั่วชีวิต เป็นการศึกษาที่ไม่เหมือนกับการศึกษาตามขวาง (cross-sectional study) เพราะการศึกษาตามขวางเปรียบเทียบลักษณะเดียวกันของบุคคลต่าง ๆ แต่การศึกษาตามยาวติดตามบุคคลเดียวกัน ดังนั้น ค่าต่าง ๆ ที่พบในบุคคลเหล่านั้น มีโอกาสน้อยกว่าที่จะเป็นความแตกต่างทางวัฒนธรรมระหว่างชั่วคน การศึกษาตามยาวจึงสามารถแสดงความเปลี่ยนแปลงที่แม่นยำกว่า และจึงมีการประยุกต์ใช้ในการศึกษาสาขาต่าง ๆ ในการแพทย์ การศึกษาแบบนี้ใช้เพื่อค้นหาตัวทำนาย (predictor) ของโรค ส่วนในการโฆษณา ใช้เพื่อตรวจความเปลี่ยนแปลงทางทัศนคติและพฤติกรรมของผู้ชมโฆษณา เนื่องจากการศึกษาแบบนี้เป็นแบบสังเกต คือสังเกตดูสภาพความจริงโดยที่ไม่เข้าไปจัดการ จึงมีการอ้างว่า มีกำลังที่จะตรวจจับความเป็นเหตุผลน้อยกว่าการศึกษาเชิงทดลอง แต่เพราะว่า เป็นการสังเกตลักษณะในระดับบุคคลอย่างซ้ำ ๆ กัน จึงมีกำลังกว่าการศึกษาตามขวาง (cross-sectional study) เพราะสามารถแยกออกซึ่งความแตกต่างระหว่างบุคคลที่ไม่ได้ขึ้นกับเวลา และสามารถติดตามเหตุการณ์ตามลำดับเวลา ข้อเสียของการศึกษาตามยาวก็คือใช้เวลามากและมีค่าใช้จ่ายสูง ดังนั้น จึงไม่ค่อยสะดวกที่จะทำ การศึกษาแบบนี้ช่วยให้นักสังคมศาสตร์แยกแยะระหว่างปรากฏการณ์ระยะสั้นกับปรากฏการณ์ระยะยาว เช่นความยากจน คือ ถ้าอัตราความยากจนอยู่ที่ 10% ที่เวลาหนึ่ง ก็อาจจะหมายความว่า มีประชากร 10% พวกเดียวกันที่เป็นคนยากจนตลอด หรือว่า ในประชากรทั้งหมด ณ เวลาหนึ่ง จะมีประชากร 10% ที่เป็นคนยากจน ซึ่งไม่สามารถจะแยกแยะได้โดยใช้การศึกษาตามขวางซึ่งวัดค่าต่าง ๆ เพียงครั้งเดียว ประเภทต่าง ๆ ของการศึกษาตามยาวรวมทั้งงานศึกษาตามรุ่น (cohort study) และ panel study งานแบบแรกสุ่มตัวอย่างจากคนในรุ่น ซึ่งกำหนดเป็นกลุ่มบุคคลที่ประสบเหตุการณ์อย่างหนึ่ง (ปกติคือการเกิด) ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง แล้วติดตามศึกษาเป็นระยะ ๆ ส่วนงานแบบที่สองสุ่มตัวอย่างตามขวาง คือจากทั้งกลุ่มประชากร แล้วสำรวจข้อมูลต่าง ๆ เป็นระยะ ๆ ส่วนการศึกษาย้อนหลัง (retrospective study) เป็นการศึกษาตามยาวที่ตรวจข้อมูลย้อนหลัง ยกตัวอย่างเช่น อาจจะตรวจดูบันทึกทางการแพทย์ของปีที่แล้วเพื่อตรวจหาแนวโน้ม.

ดู สังคมศาสตร์และงานศึกษาตามยาว

งานศึกษาตามขวาง

ในงานวิจัยทางการแพทย์และสังคมศาสตร์ งานศึกษาตามขวาง"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ cross sectional analysis ว่า "การวิเคราะห์ตามขวาง" และของ cross-sectional study ว่า "วิธีศึกษาแบบตัดขวาง" หรือ งานศึกษาแบบตัดขวาง หรือ งานวิเคราะห์ตามขวาง (cross-sectional study, cross-sectional analysis, transversal study, prevalence study) เป็นการศึกษาแบบสังเกตประเภทหนึ่งที่วิเคราะห์ข้อมูลของประชากร หรือของกลุ่มตัวแทนประชากร ที่เวลาใดเวลาหนึ่ง (คือวิเคราะห์ cross-sectional data) ในสาขาเศรษฐศาสตร์ งานประเภทนี้มักจะใช้วิธีวิเคราะห์ทางสถิติแบบ cross-sectional regression เพื่อตรวจสอบตัวแปรอิสระ (independent variable) หนึ่งตัวหรือมากกว่านั้น ว่าเป็นเหตุของตัวแปรตาม (dependent variable) คือผลหรือไม่ และเหตุนั้นมีอิทธิพลต่อผลขนาดไหน ที่เวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งต่างจากการวิเคราะห์แบบ time series analysis ซึ่งติดตามดูความเป็นไปของข้อมูลรวม (aggregate data) อย่างน้อยหนึ่งตัว เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่ง ในงานวิจัยทางการแพทย์ งานประเภทนี้ต่างจากงานศึกษามีกลุ่มควบคุม (case-control studies) โดยที่งานประเภทนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อหาข้อมูลที่เป็นประเด็นศึกษา ของประชากรทั้งกลุ่ม เทียบกับงานศึกษามีกลุ่มควบคุม ที่มักจะศึกษากลุ่มบุคคลที่มีลักษณะเฉพาะอย่างหนึ่ง ซึ่งจะเป็นแต่ชนกลุ่มน้อยในประชากรทั้งหมด งานประเภทนี้เป็นงานเชิงพรรณนา (descriptive) ไม่ใช่งานตามยาว (longitudinal) ไม่ใช่งานเชิงทดลอง (experimental) เป็นงานที่สามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับ odds ratio, ความเสี่ยงสัมบูรณ์ (absolute risk), และความเสี่ยงสัมพัทธ์ (relative risk) จากความชุกของโรค (prevalence) เป็นงานที่สามารถให้ข้อมูลบางอย่างเกี่ยวกับกลุ่มประชากร เช่น ความชุกของโรค หรือแม้แต่ให้หลักฐานเบื้องต้น ในการอนุมานความสัมพันธ์ระหว่างเหตุกับผล เป็นงานที่ต่างจากงานศึกษาตามยาว (longitudinal studies) เพราะงานตามยาวตรวจสอบข้อมูลจากลุ่มประชากรมากกว่าครั้งเดียว เป็นระยะ ๆ เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่ง.

ดู สังคมศาสตร์และงานศึกษาตามขวาง

งานศึกษาแบบสังเกต

ในสาขาวิทยาการระบาดและสถิติศาสตร์ งานศึกษาแบบสังเกต"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ observational methods ว่า "วิธีวิจัยแบบสังเกต" และ study ว่า "งานศึกษา, การศึกษา" (observational study) เป็นการศึกษาที่อนุมานผลของวิธีการรักษาที่เป็นประเด็นการศึกษาต่อคนไข้ ใช้เมื่อการจัดคนไข้เข้ากับกลุ่มทดลองหรือกลุ่มควบคุมไม่สามารถที่จะควบคุมได้ ซึ่งแตกต่างจากการทดลองเช่นการทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม ที่สามารถจัดผู้ร่วมการทดลองแต่ละคนให้อยู่ในกลุ่มทดลองหรือกลุ่มควบคุมโดยสุ่มได้.

ดู สังคมศาสตร์และงานศึกษาแบบสังเกต

ตัวแบบนอร์ดิก

งของประเทศนอร์ดิก ตัวแบบนอร์ดิก หรือ ทุนนิยมแบบนอร์ดิก หรือ ประชาธิปไตยสังคมนิยมแบบนอร์ดิก (Nordic model, Nordic capitalismThe Nordic Way, Klas Eklund, Henrik Berggren and Lars Trägårdh.) หมายถึงนโยบายทางเศรษฐกิจและสังคมที่สามัญในประเทศกลุ่มนอร์ดิก รวมทั้งเดนมาร์ก ฟินแลนด์ นอร์เวย์ ไอซ์แลนด์ และสวีเดน ซึ่งรวมระบบทุนนิยมตลาดเสรี กับรัฐสวัสดิการและการร่วมเจรจาต่อรองของแรงงานในระดับประเทศ เป็นตัวแบบที่เริ่มได้ความสนใจหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 แม้ประเทศต่าง ๆ จะต่างกันอย่างสำคัญ แต่ก็มีลักษณะบางอย่างเหมือนกัน รวมทั้ง.

ดู สังคมศาสตร์และตัวแบบนอร์ดิก

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา

ตราจารย์ฉัตรทิพย์ นาถสุภาขณะดูงานด้านเศรษฐกิจชาวนาที่ประเทศเปรู เพื่อเปรียบเทียบกับชาวนาไทยเมื่อ พ.ศ. 2540 ศาสตราจารย์กิตติคุณ ฉัตรทิพย์ นาถสุภา (5 กันยายน พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และฉัตรทิพย์ นาถสุภา

ปฏิวัติ

ำว่าปฏิวัติในภาษาอังกฤษ (revolution) มีรากศัพท์จากภาษาละตินคือ revolutio และ revolvere แปลว่า หมุนกลับ (to turn around) คำนี้มีใช้ทั่วไปในทางสังคมศาสตร์ แต่ก็มีใช้ในทางวิทยาศาสตร์เช่นกัน เช่น การปฏิวัติวิทยาศาสตร์ เป็นต้น สารานุกรมเมอร์เรียม-เวบสเตอร์ (Merriam-Webster Encyclopedia) อธิบายว่า ปฏิวัติทางการเมืองคือการเปลี่ยนแปลงการตัดรูปแบบของการเมืองการปกครองในระดับฐานราก (fundamentally) สารานุกรมบริทานิกา คอนไซส์ (Briyanica Concise Encyclopedia) อธิบายว่าปฏิวัติในทางสังคมศาสตร์ และการเมือง คือการกระทำความรุนแรงต่อโครงสร้าง ระบบ สถาบัน ฯลฯ ทางสังคมการเมือง ปฏิวัติทางสังคมการเมืองจะเป็นการเปลี่ยนแปลงไปจากมาตรฐานต่าง ๆ ที่สังคมการเมืองเป็นอยู่เดิม เพิ่มจัดตั้ง หรือสถานามาตรฐานของสังคมการเมืองแบบใหม่ให้เกิดขึ้น อาริสโตเติลอธิบายการปฏิวัติทางการเมืองไว้สองประเภท ดังนี้.

ดู สังคมศาสตร์และปฏิวัติ

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

ัณฑิตจากมหาวิทยาลัยแมคกิลล์สวมชุดครุยระดับปริญญาเอก กลุ่มบัณฑิตที่ได้รับปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกับอาจารย์ของพวกเขา ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (Philosophiae doctor, Doctor of Philosophy, อักษรย่อ ปร.ด., PhD, Ph.D.

ดู สังคมศาสตร์และปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

ปอบ

ปอบ เป็นผีจำพวกหนึ่ง ที่อยู่ในความเชื่อพื้นบ้านของไทย โดยเฉพาะในภาคอีสาน โดยเชื่อกันว่าเป็นผีที่กินของดิบ ๆ สด ๆ กินเท่าไหร่ก็ไม่อิ่ม โดยมีความเชื่อว่า ผู้ที่จะกลายเป็นปอบนั้น มักจะเป็นผู้เล่นคาถาอาคม หรือคุณไสย พอรักษาคาถาอาคมที่มีอยู่กับตัวไม่ได้ หรือกระทำผิดข้อห้าม ซึ่งในภาษาอีสานจะเรียกว่า "คะลำ" ซึ่งผู้ที่เป็นปอบจะเป็นได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ปอบ เป็นผีที่ไม่มีตัวตนเหมือนกระสือหรือกองกอย แต่ปอบคือจิตวิญญาณมิจฉาทิฏฐิ จะเข้าแฝงร่างสิงสู่คนที่เป็นสื่อให้ และใช้ร่างหรือรูปลักษณ์ของคนๆนั้น ไปกระทำการไม่ดีต่างๆ และเชื่อด้วยว่า หากวิญญาณปอบเข้าสิงสู่ผู้ใด จะกินตับไตไส้พุงของผู้ที่โดนสิงจนกระทั่งตาย ผู้ที่โดนกินจะนอนตายเหมือนกับนอนหลับธรรมดา ๆ ไม่มีบาดแผล ซึ่งเรียกกันว่า "ใหลตาย" ในทางมานุษยวิทยาและสังคมศาสตร์ อธิบายว่า ความเชื่อเรื่องปอบนั้นเป็นกลไกการสร้างความเชื่อของคนในชุมชน เนื่องจากไม่วางใจบุคคลแปลกหน้าหรือแม้แต่กระทั่งคนในชุมชนเดียวกันเอง ที่มีพฤติกรรมแปลกออกไป ซึ่งในสมัยโบราณ บุคคลที่โดนกล่าวหาว่าเป็นปอบ จะถึงกับถูกขับไล่ให้ออกชุมชนเลยทีเดียว ปอบ เป็นผีที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีในสังคมไทย มีการนำไปอ้างอิงถึงในวัฒนธรรมร่วมสมัยหลายประการ อาทิ ภาพยนตร์ชุด บ้านผีปอบ เป็นต้น ตามตำนานของทางพระพุทธศาสนาเล่าว่า ผีปอบ คือ ผีสายยักษ์ อยู่ในสายการปกครอง ของท้าวเวสสุวัณ ที่เข้าสิงร่างมนุษย์ ก็เพื่ออาศัยร่างมนุษย์กินอาหาร โดยเฉพาะอาหารสดคาว หรือ สัตว์เป็นๆ เช่น ไปหักคอเป็ด ไก่ ในเล้ากิน หรืออาศัยร่าง เหมือนเป็นร่างทรง จะเข้าสิงร่างมนุษย์ที่มีวิบากกรรมทางนี้ คือ อดีตเคยนับถือผีเป็นที่พึ่ง ที่ระลึกยามมีทุกข์ จนเป็นประเพณีธรรมเนียมปฏิบัติสืบต่อกันมา มีจิตผูกพันกับผี และกรรมทำปาณาติบาต ฆ่าสัตว์เซ่นไหว้ผี บางทีก็ฆ่าสัตว์เล็ก เช่น เป็ด ไก่ บางทีก็ฆ่าสัตว์ใหญ่ เช่น วัว ควาย เป็นต้น.

ดู สังคมศาสตร์และปอบ

ปองกูล สืบซึ้ง

ปองกูล สืบซึ้ง เป็นนักร้องชาวไทย ซึ่งมีชื่อเสียงจากรายการ "เฟิร์สต์สเตจโชว์" (First Stage Show) ประจำปี..

ดู สังคมศาสตร์และปองกูล สืบซึ้ง

ปัจจัยกระทบ

ปัจจัยกระทบ (impact factor) ปกติใช้คำย่อว่า IF หมายถึงการวัดการได้รับการอ้างอิงของวารสารวิชาการสาขาวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ เพื่อใช้เป็นตัวแทนที่บ่งชี้ความสำคัญและความน่าเชื่อถือของวารสารในสาขาวิชาการนั้น.

ดู สังคมศาสตร์และปัจจัยกระทบ

ปีแยร์ กีโยม เฟรเดริก เลอ แปล

รูปปั้นของปีแยร์ กีโยม เฟรเดริก เลอ แปล ปีแยร์ กีโยม เฟรเดริก เลอ แปล (Pierre Guillaume Frédéric le Play; 11 เมษายน พ.ศ. 2349 - 5 เมษายน พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และปีแยร์ กีโยม เฟรเดริก เลอ แปล

ปีเตอร์ ดรักเกอร์

ปีเตอร์ เฟอร์ดินานด์ ดรักเกอร์ (Peter Ferdinand Drucker) เป็นทั้งนักเขียน ที่ปรึกษาด้านการจัดการ และเป็นผู้บรรยายด้าน "นักนิเวศน์สังคม" หนังสือของเขาเป็นแนวทางและแหล่งค้นคว้าด้านมนุษย์ที่จัดตั้งธุรกิจ, องค์กร, รัฐบาล และหน่วยงานไม่แสวงหาผลกำไรเพื่อสังคม งานเขียนของเขาได้ทำนายถึงการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในช่วงปลายศตวรรษที่ยี่สิบ รวมทั้งความเป็นเอกชน และการกระจายอำนาจ, ความรุ่งโรจน์ของญี่ปุ่นที่จะเป็นมหาอำนาจทางเศรษฐกิจในยุคนั้น, ความเห็นทางการตลาดที่สำคัญ ความเร่งด่วนของสังคมข้อมูลข่าวสาร ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ใน..

ดู สังคมศาสตร์และปีเตอร์ ดรักเกอร์

นวัตกรรม

รูปปั้น เดอะ สปิริต ออฟ อินโนเวชัน เป็นรูปปั้นเชิงสัญลักษณ์ สร้างขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของนวัตกรรม ตั้งอยู่ที่ ดิ อเมริกัน แอดเวนเจอร์ นวัตกรรม หมายถึงการทำสิ่งต่างๆด้วยวิธีใหม่ๆ และยังอาจหมายถึงการเปลี่ยนแปลงทางความคิด การผลิต กระบวนการ หรือองค์กร ไม่ว่าการเปลี่ยนนั้นจะเกิดขึ้นจากการปฏิวัติ การเปลี่ยนอย่างถอนรากถอนโคน หรือการพัฒนาต่อยอด ทั้งนี้ มักมีการแยกแยะความแตกต่างอย่างชัดเจน ระหว่างการประดิษฐ์คิดค้น ความคิดริเริ่ม และนวัตกรรม อันหมายถึงความคิดริเริ่มที่นำมาประยุกต์ใช้อย่างสัมฤทธิ์ผล (Mckeown, 2008) และในหลายสาขา เชื่อกันว่าการที่สิ่งใดสิ่งหนึ่งจะเป็นนวัตกรรมได้นั้น จะต้องมีความแปลกใหม่อย่างเห็นได้ชัด และไม่เป็นแค่เพียงการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ เป็นต้นว่า ในด้านศิลปะ เศรษฐศาสตร์ เศรษฐกิจ และนโยบายของรัฐ ในเชิงเศรษฐศาสตร์นั้น การเปลี่ยนแปลงนั้นจะต้องเพิ่มมูลค่า มูลค่าของลูกค้า หรือมูลค่าของผู้ผลิต เป้าหมายของนวัตกรรมคือการเปลี่ยนแปลงในเชิงบวก เพื่อทำให้สิ่งต่างๆเกิดเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น นวัตกรรมก่อให้ได้ผลิตผลเพิ่มขึ้น และเป็นที่มาสำคัญของความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ นวัตกรรมเป็นหัวข้อหลักในการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ เทคโนโลยี สังคมศาสตร์ และวิศวกรรม และหากพูดกันแบบภาษาชาวบ้านแล้ว คำว่า 'นวัตกรรม' มักจะหมายถึงผลลัพธ์ของกระบวนการ และในฐานะที่นวัตกรรมมักจะได้รับการยกย่องว่าเป็นกลไกสำคัญในการผลักดันเศรษฐกิจ ปัจจัยที่นำไปสู่นวัตกรรม มักได้รับความสำคัญจากผู้ออกนโยบายว่าเป็นเรื่องวิกฤติ ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการนำนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในสาขาใดสาขาหนึ่ง มักจะเรียกว่าเป็นผู้บุกเบิกในสาขานั้น ไม่ว่าจะเป็นในนามบุคคล หรือองค์กร.

ดู สังคมศาสตร์และนวัตกรรม

นักสถิติ

นักสถิติ เป็นบุคคลซึ่งทำงานกับสถิติทางทฤษฎีหรือประยุกต์ วิชาชีพนี้มีทั้งในภาคเอกชนและรัฐบาล แก่นของงานคือการวัด ตีความและอธิบายรูปแบบโลกและกิจกรรมมนุษย์ในสถิตินั้น สาขานี้มีประวัติศาสตร์ร่วมกันกับสังคมศาสตร์ปฏิฐานนิยมอย่างมาก แต่บ่อยครั้งเน้นกับวิธีทางคณิตศาสตร์ขั้นสูงมากกว่า การรวมความรู้ทางสถิติกับความชำนาญในวิชาอื่นมีทั่วไป การนำไปใช้ก็หลากหลาย นักสถิติสามารถใช้ความรู้ของตนกับการผลิต วิจัย การเงิน การแพทย์ สิ่งแวดล้อมที่สร้างขึ้นและตามธรรมชาติ การประกันภัยและรัฐบาล พวกเขามักถูกว่าจ้างให้สนับสนุนการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการหรือดูแลการควบคุมคุณภาพในการผลิต.

ดู สังคมศาสตร์และนักสถิติ

แบบจำลองทางคณิตศาสตร์

แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ (Mathematical model) เป็นการใช้คณิตศาสตร์ในการอธิบายระบบ แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ได้ถูกใช้ทั้งในสายงานวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และ เศรษฐศาสตร์ แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ยังถูกนิยามว่าเป็นการแสดงผลของส่วนสำคัญของระบบที่มีอยู่ หรือระบบที่กำลังจะถูกสร้าง เพื่อแสดงความรู้ของระบบในรูปแบบที่สามารถนำมาใช้งานได้.

ดู สังคมศาสตร์และแบบจำลองทางคณิตศาสตร์

แบลซ ปัสกาล

แบลซ ปัสกาล แบลซ ปาสกาล (Blaise Pascal) เกิดเมื่อ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2166 (ค.ศ. 1623) ที่เมืองแกลร์มง (ปัจจุบันคือเมืองแกลร์มง-แฟร็อง) ประเทศฝรั่งเศส เสียชีวิตเมื่อ 19 สิงหาคม พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และแบลซ ปัสกาล

แคลคูลัส

แคลคูลัส เป็นสาขาหลักของคณิตศาสตร์ และสังคมศาสตร์ แคลคูลัสมีต้นกำเนิดจากสองแนวคิดหลัก ดังนี้ แนวคิดแรกคือ แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ (Differential Calculus) เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยอัตราการเปลี่ยนแปลง และเกี่ยวข้องกับการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ ตัวอย่างเช่น การหา ความเร็ว, ความเร่ง หรือความชันของเส้นโค้ง บนจุดที่กำหนดให้.

ดู สังคมศาสตร์และแคลคูลัส

โรคใคร่เด็ก

รคใคร่เด็ก หรือ ความใคร่เด็ก (Pedophilia, paedophilia) เป็นความผิดปกติทางจิตที่ผู้ใหญ่หรือวัยรุ่นตอนปลายมีความต้องการทางเพศเป็นหลักหรืออย่างจำกัดเฉพาะ ต่อเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพัน.

ดู สังคมศาสตร์และโรคใคร่เด็ก

โรงเรียนบาลีเตรียมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

รงเรียนบาลีเตรียมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดการเรียนการสอนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในความดูแลของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ตั้งอยู่ที่ อาคารสังฆิกเสนาสน์ราชวิทยาลัย วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โรงเรียนบาลีเตรียมอุดมศึกษาฯ เปิดทำการเรียนการสอนครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และโรงเรียนบาลีเตรียมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า

รงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (ชื่อย่อ: รร.จปร.) เป็นสถาบันการศึกษาทางทหาร ในระดับอุดมศึกษาในสังกัดกรมยุทธศึกษาทหารบก กองทัพบก ตั้งอยู่ที่ อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก ผู้ที่ศึกษาในโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า เรียกว่า นักเรียนนายร้อย (นนร.) ต้นไม้สัญลักษณ์ประจำโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า คือ จำปีสิรินธร.

ดู สังคมศาสตร์และโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า

โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์

รงเรียนเบญจมราชานุสรณ์ (Benjamarachanusorn School) อักษรย่อว่า ".." เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบสหศึกษาขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (นนทบุรี-พระนครศรีอยุธยา) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดยความสำนึกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในปี พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และโรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า อุตรดิตถ์

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า อุตรดิตถ์ (เดิมชื่อ โรงเรียนอุตรดิตถ์วิทยา) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ประเภทสหวิทยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1 ตั้งอยู่ที่ ตำบลผาจุก อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ บนพื้นที่ราชพัสดุ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้าอุตรดิตถ์ เป็นโรงเรียนในเครือข่ายเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า แห่งที่ 7 เดิมโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้าอุตรดิตถ์ มีชื่อว่า โรงเรียนอุตรดิตถ์วิทยา (ก่อตั้ง พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า อุตรดิตถ์

โลกาภิวัตน์

ลกาภิวัตน์ (มักเขียนผิดเป็น โลกาภิวัฒน์) หรือ โลกานุวัตร (globalization) คือ ผลจากการพัฒนาการติดต่อสื่อสาร การคมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยีสารสนเทศ อันแสดงให้เห็นถึงการเจริญเติบโตของความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงระหว่างปัจเจกบุคคล ชุมชน หน่วยธุรกิจ และรัฐบาล ทั่วทั้งโลก โลกาภิวัตน์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และโลกาภิวัตน์

โหราศาสตร์กับวิทยาศาสตร์

หราศาสตร์เป็นระบบความเชื่อต่าง ๆ ที่ถือว่า ปรากฏการณ์ในท้องฟ้า (คือปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์) สัมพันธ์กับเหตุการณ์และบุคลิกภาพในโลกมนุษย์ นักวิทยาศาสตร์ได้ปฏิเสธโหราศาสตร์เพราะว่า ไม่สามารถอธิบายความเป็นไปในจักรวาลได้จริง มีการทดสอบหลักวิชาโหราศาสตร์ตะวันตกตามหลักวิทยาศาสตร์แล้ว แต่ไม่พบหลักฐานใด ๆ ที่สนับสนุนเหตุหรือผลที่กล่าวไว้ในหลักโหราศาสตร์ต่าง ๆ เมื่อไรก็ตามที่โหราศาสตร์พยากรณ์เหตุการณ์ที่พิสูจน์ว่าเท็จได้ ข้อทำนายเหล่านั้นล้วนแต่ถูกพิสูจน์ว่าเท็จแล้วทั้งสิ้น งานทดสอบที่มีชื่อเสียงที่สุดทำโดยนักฟิสิกส์ ดร.

ดู สังคมศาสตร์และโหราศาสตร์กับวิทยาศาสตร์

โครงสร้าง (แก้ความกำกวม)

รงสร้าง โดยทั่วไปแล้วหมายถึง องค์ประกอบหลักที่สำคัญ ซึ่งนำประกอบเข้ากันเป็นรูปร่าง แต่ก็อาจะหมายถึง.

ดู สังคมศาสตร์และโครงสร้าง (แก้ความกำกวม)

โครงสร้างส่วนบน

ในสาขาสังคมศาสตร์ โครงสร้างส่วนบน คือกลุ่มของกรอบควบคุมเชิงสังคมและจิตวิทยาที่รักษาโครงสร้างที่เป็นเอกภาพ และมีความหมายภายในสังคม โครงสร้างนี้รวมถึงวัฒนธรรม, สถาบัน, โครงสร้างของอำนาจ, บทบาทและหน้าที่ของสมาชิกในสังคม, รวมไปถึงขนบต่างๆ โครงสร้างดังกล่าวนี้สามารถกำหนดกฎเกณฑ์และแนวปฏิบัติของกิจกรรมต่างๆ ผ่านทางรูปแบบของพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ หมวดหมู่:สังคมศาสตร์ it:Sovrastruttura pl:Nadbudowa społeczeństwa.

ดู สังคมศาสตร์และโครงสร้างส่วนบน

ไลก์ซัมวันอินเลิฟ

ลก์ซัมวันอินเลิฟ (อังกฤษ: Like Someone in Love) คือภาพยนตร์ผลงานกำกับและเขียนบทเรื่องสุดท้ายของอับบาส เคียรอสตามี เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับความสัมพันธ์ ความรัก และความเป็นครอบครัวผ่านตัวละคร 3 ตัวที่พบกันเพียงชั่วข้ามคืน นำแสดงโดยริง ทะกะนะชิ ทะดะชิ โอะกุโนะ และเรียว คะเสะ ภาพยนตร์เรื่องนี้ร่วมทุนสร้างโดยบริษัทโปรดักชั่นของฝรั่งเศสและญี่ปุ่น โดยถ่ายทำในกรุงโตเกียวและนครโยะโกะฮะมะ ประเทศญี่ปุ่น ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลปาล์มทองคำ ในเทศกาลภาพยนตร์กาน ประจำปี พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และไลก์ซัมวันอินเลิฟ

เชื้อชาติ

ื้อชาติ (race) คือ ระบบการจำแนกมนุษย์เป็นประชากรหรือกลุ่มขนาดใหญ่และแตกต่างกันชัดเจน โดยลักษณะจีโนไทป์และฟีโนไทป์ที่สืบทอดได้ บรรพบุรุษทางภูมิศาสตร์ รูปลักษณ์ทางกาย ความเป็นชาติพันธุ์ (ethnicity) และสถานภาพสังคม ช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คำนี้มักใช้กันแพร่หลาย ในความหมายทางอนุกรมวิธาน เพื่อแสดงการแยกความแตกต่างทางพันธุกรรมของประชากรมนุษย์ที่นิยามโดยฟีโนไทป์ดู.

ดู สังคมศาสตร์และเชื้อชาติ

เพศวิทยา

ตร์ หรือ เพศวิทยา เป็นสหสาขาวิชาประกอบด้วยจิตวิทยา แพทยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และเพศศึกษา เพศศาสตร์จะมีเนื้อหาเชิงสังคมและจิตวิทยามาก ตัวอย่างเช่น การให้คำปรึกษาทางด้านเพศ ปัญหาเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ปัญหาผู้หญิงที่ถูกข่มขืน ผู้หญิงที่ถูกทารุณกรรมทางเพศ โดยผู้ที่เรียนสาขานี้ต้องผ่านการคัดเลือก วิชาชีววิทยา, สถิติ, คุณธรรมและจริยธรรม, การให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา และทัศนคติทางด้านเพศศาสตร์ ในประเทศไทยมีการสอนสาขาวิชานี้ในระดับปริญญาโท ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู สังคมศาสตร์และเพศวิทยา

เศรษฐยาธิปไตย

รษฐยาธิปไตย หรือ ธนาธิปไตย (πλοῦτος,, 'ความมั่งคั่ง' + κράτος,, 'ปกครอง' - plutocracy, plutarchy) เป็นระบอบการปกครองที่คนมีเงินเป็นผู้ถือครองอำนาจทางการเมือง โดยเป็นรูปแบบหนึ่งของคณาธิปไตย และสามารถนิยามด้วยว่า เป็นสังคมที่ปกครองหรือควบคุมโดยประชาชนที่มั่งคั่งที่สุดส่วนน้อย เป็นการเมืองเพื่ออำนาจ เพื่อผลประโยชน์ และสิทธิพิเศษ ของกลุ่มคนที่มีอำนาจทางการเมือง โดยต้องใช้เงินเป็นองค์ประกอบหลัก มีการใช้คำทำนองนี้เป็นครั้งแรกในปี..

ดู สังคมศาสตร์และเศรษฐยาธิปไตย

เศรษฐศาสตร์

รษฐศาสตร์ (economics) เป็นวิชาทางสังคมศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการผลิต การกระจาย การบริโภคสินค้าและการให้บริการ ตามคำจำกัดความของนักเศรษฐศาสตร์และนักการเมือง เรย์มอนด์ บารร์ แล้ว "เศรษฐศาสตร์คือศาสตร์แห่งการจัดการทรัพยากรอันมีจำกัด เศรษฐศาสตร์พิจารณาถึงรูปแบบที่พฤติกรรมมนุษย์ได้เลือกในการบริหารทรัพยากรเหล่านี้ อีกทั้งวิเคราะห์และอธิบายวิถีที่บุคคลหรือบริษัททำการจัดสรรทรัพยากรอันจำกัดเพื่อตอบสนองความต้องการมากมายและไม่จำกัด" คำว่า เศรษฐศาสตร์ มาจากคำภาษากรีก oikonomia ่ซึ่งแปลว่าการจัดการครัวเรือน (oikos แปลว่าบ้านและ nomos แปลว่า จารีตประเพณีหรือกฎหมาย ซึ่งรวมกันหมายความว่ากฎเกณฑ์ของครัวเรือน) แบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ปัจจุบันแยกออกมาจากขอบเขตที่กว้างของวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองเมื่อปลายศตวรรษที่ 19 การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ถูกประยุกต์ใช้ครอบคลุมทั้งสังคมในด้าน ธุรกิจ, การเงิน และรัฐบาล แม้แต่ทั้งด้านอาชญากรรม, การศึกษา, ครอบครัว, สุขภาพ, กฎหมาย, การเมือง, ศาสนา, สถาบันสังคม, สงคราม และวิทยาศาสตร์ ภาพแสดงผู้ซื้อและผู้ขายกำลังต่อรองราคาอยู่หน้าตลาดชิชิคาสเทนานโก ในประเทศกัวเตมาลา วิชาเศรษฐศาสตร์จัดเป็นวิชาเชิงปทัสฐาน (เศรษฐศาสตร์ที่ควรจะเป็น) เมื่อเศรษฐศาสตร์ได้ถูกใช้เพื่อเลือกทางเลือกอันหนึ่งอันใด หรือเมื่อมีการตัดสินคุณค่าบางสิ่งบางอย่างแบบอัตวิสัย ในทางตรงข้ามเราจะเรียกเศรษฐศาสตร์ว่าเป็นวิชาเชิงบรรทัดฐาน (เศรษฐศาสตร์ตามที่เป็นจริง) เมื่อเศรษฐศาสตร์นั้นได้ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการทำนายและอธิบายถึงผลลัพธ์ที่ตามมาเมื่อมีการเลือกเกิดขึ้น โดยพิจารณาจากสมมติฐาน และชุดของข้อมูลสังเกตการณ์ ทางเลือกใดก็ตามที่เกิดจากการใช้สมมติฐานสร้างเป็นแบบจำลอง หรือเกิดจากชุดข้อมูลสังเกตการณ์ที่สัมพันธ์กันนั้น ก็เป็นข้อมูลเชิงบรรทัดฐานด้วยเช่นเดียวกัน เศรษฐศาสตร์จะให้ความสนใจกับตัวแปรที่สามารถวัดค่าได้เท่านั้น โดยสาขาของวิชาเศรษฐศาสตร์จะถูกจำแนกออกตามเนื้อหาเป็นสองสาขาใหญ่ ๆ คือ.

ดู สังคมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์

เอสพีเอสเอส

อสพีเอสเอส (SPSS) เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้เพื่อการวิเคราะห์ทางสถิติ บริษัทจัดจำหน่าย SPSS ถูกซื้อโดย IBM เมื่อเดือนมิถุนายน 2552 และปัจจุบันใช้ชื่อบริษัทว่า "SPSS: An IBM Company" SPSS เดิมชื่อว่า "Statistical Package for the Social Sciences" (ชุดโปรแกรมสถิติเพื่อสังคมศาสตร์) ออกเผยแพร่ครั้งแรกในปี 2511 หลังจากถูกพัฒนาโดย Norman H.

ดู สังคมศาสตร์และเอสพีเอสเอส

เทคโนโลยีสังคม

ทคโนโลยีสังคมถูกใช้ครั้งแรกเป็นชื่อของหนังสือ Social Technology โดย โอลาฟ เฮลเมอร์, เบอร์นิซ บราวน์ และเธโอดอร์ กอร์ดอน จากบริษัท Rand Corporation อันเป็นผลมาจากการขยายตัวของสังคมออนไลน์ สังคมสาธารณูปโภคและอื่น ๆ ในการใช้งานปัจจุบัน เทคโนโลยีสังคมเป็นเทคโนโลยีที่เป็นไปเพื่อจุดประสงค์ของสังคม ซึ่งแต่เดิมมันหมายถึงการประยุกต์สังคมศาสตร์เพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเลือกและการใช้ประโยชน์จากผู้เชี่ยวชาญในการตัดสินใจ สังคมเทคโนโลยียังหมายถึงซอฟต์แวร์ที่ไม่ได้จำกัดอยู่แต่เพียงเรื่องของซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ แต่ยังรวมถึงกระบวนการในการติดต่อสื่อสารทางสังคม ซึ่งรวมถึงการสื่อสารทางสังคมที่เริ่มต้นด้วยโทรเลขและโทรศัพท์นานก่อนที่ผู้คนจะใช้คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสังคมยังรวมไปถึงเทคโนโลยีเก่า ๆ เช่นระบบไปรษณีย์และวิธีการอื่นๆ ในการสื่อสารระหว่างบุคคล.

ดู สังคมศาสตร์และเทคโนโลยีสังคม

เขมรแดง

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) เขมรแดง (เขมร: ខ្មែរក្រហម; แขฺมรกฺรหม; อ่านว่า คแมร์กรอฮอม /ฝรั่งเศสและอังกฤษ: Khmer Rouge) หรือที่รู้จักกันในชื่อ “กองทัพแห่งชาติกัมพูชาประชาธิปไตย” (Armée nationale du Kampuchéa démocratique) คือ กองกำลังคอมมิวนิสต์กัมพูชา ที่เคยปกครองราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งในขณะนั้นถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกัมพูชาประชาธิปไตย ตั้งแต่ พ.ศ.

ดู สังคมศาสตร์และเขมรแดง

เดอะนิวสคูล

ูเนียนสแควร์ จตุรัสที่มักถือว่าเป็นใจกลางของมหาวิทยาลัย เดอะนิวสคูล (The New School) เป็นมหาวิทยาลัยในนครนิวยอร์ก อาคารเกือบทั้งหมดตั้งอยู่ในย่านชุมชน Greenwich Village ตั้งแต่ก่อตั้งใน..

ดู สังคมศาสตร์และเดอะนิวสคูล

เปลือยรัก อารมณ์พิลึก

ปลือยรัก อารมณ์พิลึก (Secretary) ภาพยนตร์สัญชาติอเมริกันแนวตลกร้าย ออกฉายเมื่อวันที่ 11 มกราคม ค.ศ. 2002 นำแสดงโดย เจมส์ สเปเดอร์, แม็กกี้ จิลเลนฮอล กำกับการแสดงโดย สตีเวน เชนเบิร์ก.

ดู สังคมศาสตร์และเปลือยรัก อารมณ์พิลึก

Representativeness heuristic

Representativeness heuristic (ฮิวริสติกโดยความเป็นตัวแทน) เป็นฮิวริสติกที่ใช้ประเมินความน่าจะเป็นของเหตุการณ์หนึ่งเมื่อมีความไม่แน่ใจ เป็นหลักการโดยทั่วไปที่เราตัดสินโอกาสเป็นไปได้ของเหตุการณ์ โดยพิจารณาว่าสมมุติฐานของเรานั้น เหมือนกับข้อมูลที่มีอยู่มากแค่ไหน การประเมินโดยวิธีนี้อาจจะทำให้เราละเลยอัตราพื้นฐาน (base rate) และ/หรือเกิดความเอนเอียงทางประชาน (cognitive bias) ฮิวริสติกโดยความเป็นตัวแทนเป็นหนึ่งในกลุ่มฮิวริสติก (คือกฎที่ใช้เพื่อทำการประเมินและการตัดสินใจ) ที่เสนอโดยนักจิตวิทยา แดเนียล คาฮ์นะมัน และอะมอส ทเวอร์สกี้ ในต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 มีการพรรณนาถึงฮิวริสติกว่าเป็น "ทางลัดในการประเมิน ที่โดยทั่วไปช่วยให้เราไปถึงที่หมายได้ และอย่างรวดเร็ว แต่มีราคาคือบางครั้งส่งเราไปผิดที่" ฮิวริสติกมีประโยชน์เพราะว่าช่วยทำการตัดสินใจให้ง่ายขึ้นและไม่ต้องใช้ทรัพยากรทางสมองมาก คำว่า "ความเป็นตัวแทน" (Representativeness) ในบทความนี้ใช้โดยสามารถหมายถึง.

ดู สังคมศาสตร์และRepresentativeness heuristic

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Social SciencesSocial scienceวิชาสังคมศึกษาวิทยาศาสตร์สังคมนักวิทยาศาสตร์สังคม

มนุษยศาสตร์รัฐศาสตร์รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา)รายชื่อคณะสังคมศาสตร์ในประเทศไทยรายชื่อคณะเศรษฐศาสตร์ในประเทศไทยรายการสาขาวิชารายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.รางวัลอาหารโลกลัทธิคอมมิวนิสต์วัฒนธรรมวัฒนธรรมย่อยวัดสามัคคีวรารามวารสารวิชาการวิลยนอร์ สุพรหมัณยัม รามจันทรันวิศวกรรมอุตสาหการวิทยาการระบาดวิทยาลัยครูหลวงพระบางวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์สุขภาพวิทิต มันตาภรณ์ศูนย์วิจัยสังคมศาสตร์เบอร์ลินสมมติฐานโลกยุติธรรมสมาคมมักซ์พลังค์สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสังคมวิทยาสังคมศึกษาสังคมหลังอุตสาหกรรมสำนักงานราชบัณฑิตยสภาสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติสุริชัย หวันแก้วสุขุม นวลสกุลสถาบันสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์สถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริกสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยหลักสูตรอภิชัย พันธเสนอรรฆวิทยาอันดับมหาวิทยาลัยไทยอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาฮันเตอร์ คอลเลจจักษ์ พันธ์ชูเพชรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจุดผลิตน้ำมันสูงสุดทฤษฎีหน้าต่างแตกทฤษฎีอติชนทฤษฎีแนววิพากษ์คลาส (แก้ความกำกวม)ความภูมิใจแห่งตนความเอนเอียงของผู้ทดลองความเอนเอียงในการตีพิมพ์คุรุสภาคณะคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะรัฐศาสตร์ในประเทศไทยคณะวิชาคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังคณะประสานเสียงเด็กชายแห่งเวียนนาคณิตศาสตร์คณิตศาสตร์ประยุกต์งานศึกษามีกลุ่มควบคุมงานศึกษาตามยาวงานศึกษาตามขวางงานศึกษาแบบสังเกตตัวแบบนอร์ดิกฉัตรทิพย์ นาถสุภาปฏิวัติปรัชญาดุษฎีบัณฑิตปอบปองกูล สืบซึ้งปัจจัยกระทบปีแยร์ กีโยม เฟรเดริก เลอ แปลปีเตอร์ ดรักเกอร์นวัตกรรมนักสถิติแบบจำลองทางคณิตศาสตร์แบลซ ปัสกาลแคลคูลัสโรคใคร่เด็กโรงเรียนบาลีเตรียมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าโรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า อุตรดิตถ์โลกาภิวัตน์โหราศาสตร์กับวิทยาศาสตร์โครงสร้าง (แก้ความกำกวม)โครงสร้างส่วนบนไลก์ซัมวันอินเลิฟเชื้อชาติเพศวิทยาเศรษฐยาธิปไตยเศรษฐศาสตร์เอสพีเอสเอสเทคโนโลยีสังคมเขมรแดงเดอะนิวสคูลเปลือยรัก อารมณ์พิลึกRepresentativeness heuristic