สารบัญ
6 ความสัมพันธ์: รายชื่อภาพยนตร์โดยไฟว์สตาร์โปรดักชั่นรายชื่อถนนในจังหวัดภูเก็ตสะพานสะพานรักสารสินจังหวัดภูเก็ตทางหลวงในประเทศไทย
รายชื่อภาพยนตร์โดยไฟว์สตาร์โปรดักชั่น
ลโก้ไฟว์สตาร์โปรดักชั่น นี่คือ รายชื่อภาพยนตร์โดยไฟว์สตาร์โปรดักชั่น.
ดู สะพานสารสินและรายชื่อภาพยนตร์โดยไฟว์สตาร์โปรดักชั่น
รายชื่อถนนในจังหวัดภูเก็ต
นี่คือ รายชื่อถนนในจังหวัดภูเก็ต.
ดู สะพานสารสินและรายชื่อถนนในจังหวัดภูเก็ต
สะพาน
น Akashi-Kaikyō ในญี่ปุ่นเป็นสะพานแขวนที่ยาวที่สุดในโลก สะพานจากท่อนซุง เชื่อมต่อเพื่อใช้ข้ามแม่น้ำ สะพาน คือโครงสร้างที่เชื่อมต่อระหว่างฝั่งสำหรับข้ามหุบเขา แม่น้ำ ถนน ทางรถไฟ หรือพื้นน้ำต่างๆ การออกแบบความสูงของสะพาน จะขึ้นอยู่กับสิ่งกีดขวางด้านล่าง รวมถึงการจราจรด้านล่าง (เช่น รถ เรือ สามารถผ่านได้) การก่อสร้างสะพานมีจุดประสงค์เพื่อให้การสัญจรมีการต่อเนื่องระหว่างทางที่มีการสร้างไว้แล้ว555.
สะพานรักสารสิน
นรักสารสิน เป็นละครโทรทัศน์แนวดราม่า ผลิตโดย COMEDY LINE โดยผู้จัด บทประพันธ์ (เค้าโครงเรื่อง) ใบยาง บทโทรทัศน์โดย ลลิตา-วิสันต์-มโน กำกับการแสดงโดย สุประวัติ ปัทมสูต ออกอากาศทุกวันจันทร์–อาทิตย์ เวลา 18.00 - 19.30 น.
ดู สะพานสารสินและสะพานรักสารสิน
จังหวัดภูเก็ต
ูเก็ต เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคใต้ของประเทศไทย เป็นเกาะขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อยู่ในทะเลอันดามัน จังหวัดที่ใกล้เคียงทางทิศเหนือ คือ จังหวัดพังงา ทางทิศตะวันออก คือ จังหวัดพังงาและจังหวัดกระบี่ ทั้งเกาะล้อมรอบด้วยมหาสมุทรอินเดีย และยังมีเกาะที่อยู่ในอาณาเขตของจังหวัดภูเก็ตทางทิศใต้และตะวันออก การเดินทางเข้าสู่ภูเก็ตนอกจากทางเรือแล้ว สามารถเดินทางโดยรถยนต์ซึ่งมีเพียงเส้นทางเดียวผ่านทางจังหวัดพังงา โดยข้ามสะพานสารสินและสะพานคู่ขนาน คือ สะพานท้าวเทพกระษัตรีและสะพานท้าวศรีสุนทร เพื่อเข้าสู่ตัวจังหวัด และทางอากาศโดยมีท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ตรองรับ ท่าอากาศยานนี้ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะ คำว่า ภูเก็ต คาดว่าน่าจะเพี้ยนมาจากคำว่า บูกิต (ในภาษามลายูแปลว่าภูเขา) และคำว่า "ภูเขา" ในภาษาอุรักลาโว้ย เรียกว่า "บูเก๊ะ" หรือที่เคยรู้จักแต่โบราณในนาม เมืองถลาง.
ดู สะพานสารสินและจังหวัดภูเก็ต
ทางหลวงในประเทศไทย
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทางหลวงในประเทศไทย เป็นเครือข่ายของทางหลวงที่อยู่ในประเทศไทย โดยปกติมักหมายถึงทางหลวงแผ่นดินซึ่งอยู่ในความควบคุมของกรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม ทางหลวงในประเทศไทย แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ.