เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สหภาพโซเวียต

ดัชนี สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

สารบัญ

  1. 849 ความสัมพันธ์: บลุปบอบบี ฟิชเชอร์บอริส เยลต์ซินบอลเชวิกบากูชาร์ล เดอ โกลชาวยิวในประเทศไทยชาวดุงกานชาวแซกซันบาสเกตบอลบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์บี-1 แลนเซอร์ชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศบีเอ็ม-21 แกรดช็อน ดู-ฮวันฟรานซ์โจเซฟแลนด์ฟรีดา คาห์โลฟาเธอร์แลนด์ (นวนิยาย)ฟุตบอลทีมชาติรัสเซียฟุตบอลทีมชาติอิรักฟุตบอลทีมชาติจอร์เจียฟุตบอลทีมชาติคาซัคสถานฟุตบอลทีมชาติคีร์กีซสถานฟุตบอลโลก 1990ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปีฟีเดล กัสโตรพ.ศ. 2461พ.ศ. 2464พ.ศ. 2474พ.ศ. 2482พ.ศ. 2483พ.ศ. 2484พ.ศ. 2485พ.ศ. 2488พ.ศ. 2493พ.ศ. 2496พ.ศ. 2498พ.ศ. 2499พ.ศ. 2500พ.ศ. 2501พ.ศ. 2503พ.ศ. 2505พ.ศ. 2509พ.ศ. 2512พ.ศ. 2513พ.ศ. 2514พ.ศ. 2515พ.ศ. 2516พ.ศ. 2518พ.ศ. 2521... ขยายดัชนี (799 มากกว่า) »

บลุป

กราฟเสียงของบลุป บลุป (Bloop) เป็นชื่อเรียกของเสียงความถี่ต่ำมากใต้มหาสมุทรซึ่ง องค์การสมุทรและบรรยากาศแห่งชาติ (National Oceanic and Atmospheric Administration หรือ NOAA) ของสหรัฐอเมริกาสามารถตรวจจับได้ในช่วงฤดูร้อนของ พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและบลุป

บอบบี ฟิชเชอร์

อบบี ฟิชเชอร์ หรือ โรเบิร์ต เจมส์ บอบบี ฟิชเชอร์ (Robert James Bobby Fischer; 9 มีนาคม พ.ศ. 2486 — 17 มกราคม พ.ศ. 2551) เป็นนักหมากรุกชาวอเมริกันเชื้อสายยิว-เยอรมัน ฟิชเชอร์เป็นชาวอเมริกันเพียงคนเดียวในประวัติศาสตร์ที่เคยเป็นแชมป์โลกหมากรุกสากล โดยเป็นฝ่ายชนะโบริส สปัสสกี อดีตแชมป์โลกชาวโซเวียตในการแข่งขันที่เรคยาวิก ประเทศไอซ์แลนด์ เขาเป็นแชมป์โลกระหว่างปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและบอบบี ฟิชเชอร์

บอริส เยลต์ซิน

อริส นีโคลาเยวิช เยลต์ซิน (Бори́с Никола́евич Е́льцин, Boris Yeltsin, 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2474 - 23 เมษายน พ.ศ. 2550) เป็นประธานาธิบดีคนแรกของสหพันธรัฐรัสเซีย ดำรงตำแหน่งระหว่าง..

ดู สหภาพโซเวียตและบอริส เยลต์ซิน

บอลเชวิก

การประชุมพรรคบอลเชวิก บอลเชวิก (Bolshevik "บอลเชอวิก"; большеви́к "บาลชือวิก") แผลงมาจากคำว่าБольшинство แปลว่า ส่วนใหญ่ หรือ หมู่มาก บอลเชวิก หมายถึงสมาชิกของกลุ่ม ๆ หนึ่งภายในพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย (RSDLP ย่อมาจาก Russian Social Democratic Labour Party) ซึ่งนิยมลัทธิมากซ์ กลุ่มนี้นำโดยเลนิน ในพรรคนี้ยังมีอีกลุ่มหนึ่งเรียกกันว่า меньшевик เมนเชวิก ซึ่งแผลงมาจากคำในภาษารัสเซีย Меньшинство แปลว่า ส่วนน้อย กลุ่มเมนเชวิกนำโดย จูเลียส มาร์ตอฟ เพื่อนสนิทและเพื่อนร่วมงานที่ใกล้ชิดคนหนึ่งของเลนิน การแตกคอกันมีขึ้นในการประชุมใหญ่ของพรรคครั้งที่ 2 ที่จัดขึ้นที่กรุงบรัสเซลส์และลอนดอน เมื่อปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและบอลเชวิก

บากู

กู บากู หรือ บากี (Bakı หรือ Baky; ซีริลลิก: Бакы) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศอาเซอร์ไบจาน ตั้งอยู่ชายฝั่งทางใต้ของคาบสมุทรเล็ก ๆ ที่ยื่นออกไปในทะเลแคสเปียนชื่ออับชิรอน (Abşeron) กรุงบากูประกอบด้วยพื้นที่สามส่วน ได้แก่ ย่านเมืองเก่า (อิตแชรีแชแฮร์) ตัวเมืองปัจจุบัน และตัวเมืองที่สร้างขึ้นในสมัยโซเวียต รวมแล้วมีประชากร 2,074,300 คน (ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและบากู

ชาร์ล เดอ โกล

ร์ล อ็องเดร โฌแซ็ฟ มารี เดอ โกล (Charles André Joseph Marie de Gaulle) หรือ ชาร์ล เดอ โกล (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2433 – 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513) เป็นนายทหารและรัฐบุรุษชาวฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยเป็นที่รู้จักในนาม นายพลเดอ โกล ก่อนสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นที่รู้จักในฐานะนักยุทธวิธีการรบด้วยรถถัง และผู้นิยมการรบด้วยการใช้ยานเกราะและกองกำลังทางอากาศ เขาเป็นผู้นำการปลดปล่อยฝรั่งเศสในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง และผู้นำรัฐบาลชั่วคราวในช่วงปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและชาร์ล เดอ โกล

ชาวยิวในประเทศไทย

ประวัติศาสตร์ชาวยิวในประเทศไทยนั้นมีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 ด้วยการมาถึงของครอบครัวชาวยิวแบกแดดจำนวนหนึ่ง ถึงแม้ว่าชาวยิวในประเทศไทยปัจจุบันนั้นส่วนใหญ่จะประกอบด้วยชาวยิวอัชเคนาซิ ซึ่งเป็นผู้ลี้ภัยจากรัสเซีย และสหภาพโซเวียตในเวลาต่อมา นอกจากนี้ ยังมีชาวยิวเปอร์เซียอพยพเข้ามาอาศัยอยู่ในประเทศเพื่อหนีการไล่ล่าและสังหารในอิหร่าน ช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 และ 1980 ชาวยิวที่ตั้งรกรากถาวรในประเทศไทยส่วนใหญ่ ซึ่งประกอบด้วยชาวยิวไม่เกิน 1,000 คน อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บริเวณถนนข้าวสาร) ถึงแม้ว่าประชาคมชาวยิวที่มีขนาดเล็กกว่าและมีธรรมศาลายิวจะมีอยู่ในจังหวัดภูเก็ต จังหวัดเชียงใหม่ และเกาะสมุย ในช่วงวันหยุดของชาวยิว จำนวนชาวยิวในบริเวณดังกล่าวเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก (เป็นหลายพัน) เนื่องจากมีชาวยิวเดินทางเข้ามาในช่วงวันหยุดเป็นจำนวนมาก ซึ่งส่วนใหญ่มาจากอิสราเอลและสหรัฐอเมริกา ตามการขอจัดตั้งธรรมศาลายิวสองแห่งขึ้นในกรุงเทพมหานคร เบธ อีลิเชวาและอีเวน เชน, ราไบโยเซฟ ชาอิม คันทอร์ ได้ดำรงตำแหน่งราไบถาวรคนแรกในกรุงเทพมหานคร ใน..

ดู สหภาพโซเวียตและชาวยิวในประเทศไทย

ชาวดุงกาน

งกาน (Дунгане) เป็นคำที่ใช้กันในแถบกลุ่มประเทศอดีตสหภาพโซเวียตที่สื่อความหมายถึงกลุ่มอิสลามิกชนที่มีเชื้อสายจีน หรืออาจใช้ความหมายครอบคลุมไปยังประชาชนที่จัดอยู่กลุ่มภาษาเตอร์กิกแถบเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ในปัจจุบันด้วย อย่างไรก็ตามชาวดุงกานทั้งในจีนและอดีตสหภาพโซเวียตจะเรียกตนเองว่า หุย มีการสำรวจจำนวนประชากรในแถบอดีตสหภาพโซเวียตพบว่ามีชาวดุงกานตั้งถิ่นฐานในประเทศคาซัคสถาน ประมาณ 36,900 คน ในปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและชาวดุงกาน

ชาวแซกซัน

รูปแกะนูนแซกซันของ "irminsul" ที่เชื่อกันว่าเชื่อมระหว่างโลกกับสวรรค์ที่เอ็กซ์เทิร์นชไตเนอ (Externsteine) ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเยอรมนีปัจจุบัน ชาวแซกซัน (Saxon; Sachsen; ละติน: Saxones) คือกลุ่มชนเผ่าเจอร์แมนิก ในปัจจุบันเป็นบรรพบุรุษของชนทางภาคเหนือของประเทศเยอรมนีที่เรียกว่าชาวเยอรมัน, ชนทางภาคตะวันออกของประเทศเนเธอร์แลนด์ที่เรียกว่าชาวดัตช์ และชนทางภาคใต้ของอังกฤษที่เรียกว่าชาวอังกฤษ ที่ตั้งถิ่นฐานเดิมที่สุดเท่าที่ทราบของชาวแซกซันคือบริเวณทางตอนเหนือของอัลบินเจียในบริเวณฮ็อลชไตน์ (Holstein) ทางตอนเหนือสุดของประเทศเยอรมนีปัจจุบัน ชาวแซกซันมีบทบาทสำคัญในการตั้งถิ่นฐานในอังกฤษโดยเฉพาะทางภาคใต้ที่ประชาชนที่อยู่อาศัยในปัจจุบันเชื่อกันว่าสีบเชี้อสายมาจากชาวแซกซันโบราณ ระหว่างสองร้อยปีที่ผ่านมาชาวแซกซันก็ไปตั้งถิ่นฐานในบริเวณต่าง ๆ ทั่วโลกโดยเฉพาะในทวีปอเมริกา ออสเตรเลีย แอฟริกา และในบริเวณที่เป็นสหภาพโซเวียตแต่เดิม ซึ่งในบางชุมชน ชาวแซกซันยังรักษาประเพณีและภาษาของตนที่เรียกกันทั่วไปว่า "ชาวเยอรมัน" และ "ชาวดัตช์" ความมีอิทธิพลทางภาษาและวัฒนธรรมของชาวแซกซันที่มีต่อบริเวณสแกนดิเนเวีย บริเวณบอลติก และต่อชาวโพเลเบียและชาวพอเมอเรเนียซึ่งเป็นชนสลาฟตะวันตก เป็นผลมาจากเส้นทางการค้าในยุคกลางของสันนิบาตฮันเซียติก ทอเลมีเป็นนักภูมิศาสตร์กรึกคนแรกที่กล่าวถึงการตั้งถิ่นฐานของชาวแซกซันยุคก่อนคริสเตียนว่าตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือและบางส่วนทางใต้ของคาบสมุทรจัตแลนด์, แคว้นแซกโซนีเก่า, และบางส่วนทางตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 5 ชาวแซกซันเป็นส่วนหนึ่งของผู้รุกรานมณฑลบริตันนิอา (Britannia) ของจักรวรรดิโรมัน ชนเผ่าหนึ่งของชาวเจอร์แมนิกที่รุกรานคือ ชาวแองเกิล ซึ่งเมื่อรวมกับ "แซกซัน" จึงกลายเป็นคำว่า "แองโกล-แซกซัน" ที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้.

ดู สหภาพโซเวียตและชาวแซกซัน

บาสเกตบอล

การแข่งขันบาสเกตบอลหญิงชิงถ้วยยุโรปของ FIBA ปี พ.ศ. 2548 ไมเคิล จอร์แดน ขณะกระโดดแสลมดังก์ บาสเกตบอล (อังกฤษ: basketball) เป็นกีฬาชนิดหนึ่งซึ่งแบ่งผู้เล่นเป็น 2 ทีม แต่ละทีมประกอบด้วยผู้เล่น 5 คนพยายามทำคะแนนโดยการโยนลูกเข้าห่วงหรือตะกร้า (basket) ภายใต้กติกาการเล่นมาตรฐาน ตั้งแต่ที่คิดค้นขึ้นในปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและบาสเกตบอล

บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

ลแห่งปี (Person of the Year หรือเดิม Man of the Year) เป็นฉบับประจำปีของนิตยสารข่าวไทม์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเสนอและพรรณนาถึงบุคคล กลุ่ม แนวคิดหรือวัตถุซึ่ง "ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม...ได้มีอิทธิพลมากที่สุดต่อเหตุการณ์ในปีนั้น".

ดู สหภาพโซเวียตและบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

บี-1 แลนเซอร์

right บี-1 แลนเซอร์ (B-1 Lancer) เป็นเครื่องบินเจ็ตทิ้งระเบิดยุทธศาสตร์ เพื่อใช้แทนบี-52 สตราโตฟอสเตรส บี-1 มีขนาดเล็กกว่าบี-52 และสามารถบรรทุกอาวุธได้มากกว่า 2 เท่า บินเร็วมากกว่า 2 เท่า โดยใช้ระยะทางบินขึ้นสั้นกว่าบี-52.

ดู สหภาพโซเวียตและบี-1 แลนเซอร์

ชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ

การแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Biology Olympiad: IBO) เป็นการแข่งขันชีววิทยาของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา และเป็นหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการ โดยเริ่มจัดการแข่งขันครั้งแรกที่เมืองโอโลโมอุตส์ ประเทศเชกโกสโลวาเกีย ในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ

บีเอ็ม-21 แกรด

รื่องยิงจรวดบีเอ็ม-21 (БМ-21 "Град"; BM-21 "Grad" launch vehicle; BM ย่อมาจาก boyevaya mashina หรือ ‘combat vehicle’) เป็นเครื่องยิงจรวดหลายลำกล้องแบบติดตั้งท้ายรถบรรทุกของสหภาพโซเวียต ใช้กับจรวด M-21OF ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 122 ม.ม.

ดู สหภาพโซเวียตและบีเอ็ม-21 แกรด

ช็อน ดู-ฮวัน

็อน ดู-ฮวัน (Chun Doo-hwan; เกิด 18 มกราคม พ.ศ. 2474) เคยเป็นทหารของกองทัพสาธารณรัฐเกาหลี และเป็นผู้นำของรัฐบาลเด็จการของประเทศเกาหลีใต้ตั้งแต่ปี..

ดู สหภาพโซเวียตและช็อน ดู-ฮวัน

ฟรานซ์โจเซฟแลนด์

ฟรานซ์โจเซฟแลนด์ (Franz Josef Land, Franz Joseph Land, หรือ Francis Joseph's Land) หรือ ซิมเลียฟรันต์ซาโยซีฟา (Земля Франца-Иосифа, Zemlya Frantsa-Iosifa) เป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรอาร์กติก เป็นส่วนหนึ่งของอาร์คันเกลสค์โอบลาสต์ ในประเทศรัสเซียในส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรป ทางตอนเหนือของเกาะโนวายาเซมเลีย ทางตะวันออกของหมู่เกาะสฟาลบาร์ ประกอบด้วยเกาะที่ปกคลุมด้วยน้ำแข็ง 191 เกาะ มีพื้นที่รวม 16,134 กม2 (6,229 ตร.ไมล์) ตั้งอยู่ละติจูด 80.0° ถึง 81.9° เหนือ จูเลียส ฟอนปาเยอร์ และคาร์ล เวเปรชต์ นักสำรวจจากจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีเป็นผู้ค้นพบใน ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและฟรานซ์โจเซฟแลนด์

ฟรีดา คาห์โล

ฟรีดา คาห์โล (Frida Kahlo) (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2450 – 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2497) จิตรกรชาวเม็กซิโกแนวผสมแบบเหมือนจริง สัญลักษณนิยม และเหนือจริง เป็นผู้สนับสนุนคอมมิวนิสต์ ภรรยาของจิตรกรชาวเม็กซิกัน ดิเอโก ริเวรา (Diego Rivera) ฟรีดา คาห์โล มีลักษณะเด่นเป็นที่สังเกตได้จากไรหนวดและขนคิ้วดกชนกัน ชอบแต่งกายด้วยชุดฟูฟ่องแบบชุดเม็กซิกัน.

ดู สหภาพโซเวียตและฟรีดา คาห์โล

ฟาเธอร์แลนด์ (นวนิยาย)

ฟาเธอร์แลนด์ เป็นนวนิยายขายดีในปี พ.ศ. 2535 มีเนื้อหาแนวสืบสวน-ฆาตกรรม เขียนโดยนักข่าวอังกฤษ รอเบิร์ต แฮร์ริส โดยมีจุดเด่นคือ ประวัติศาสตร์สมมุติว่า หากนาซีเยอรมนีชนะสงครามโลกครั้งที่สอง โลกจะเป็นอย่างไร ผู้จัดพิมพ์ในประเทศไทยคือ ปราดเปรียวสำนักพิม.

ดู สหภาพโซเวียตและฟาเธอร์แลนด์ (นวนิยาย)

ฟุตบอลทีมชาติรัสเซีย

ฟุตบอลทีมชาติรัสเซีย (Сборная России по футболу) เป็นทีมฟุตบอลประจำประเทศรัสเซีย บริหารและควบคุมโดยสหภาพฟุตบอลรัสเซีย และร่วมแข่งขันกับทางยูฟ่า ทีมชาติรัสเซียมีผลงานในฟุตบอลโลก โดยได้ร่วมแข่งขันในฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายสองครั้งใน ฟุตบอลโลก 1994 และ ฟุตบอลโลก 2002 และร่วมแข่งขันในฟุตบอลยูโร สามครั้ง ในปี 1996 2004 และ 2008 ซึ่งผลงานที่ดีที่สุดคือผ่านเข้าสู่รอบสี่ทีมสุดท้ายในปี 2008 ฟีฟ่า ได้พิจารณาให้รัสเซียเป็นทีมชาติที่เป็นทีมต่อมาจากทีมชาติสหภาพโซเวียต และ ทีมชาติเครือรัฐเอกราช ตามลำดั.

ดู สหภาพโซเวียตและฟุตบอลทีมชาติรัสเซีย

ฟุตบอลทีมชาติอิรัก

ฟุตบอลทีมชาติอิรัก (منتخب العراق لكرة القدم) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของสาธารณรัฐอิรัก อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของสมาคมฟุตบอลอิรัก (IFA) ที่ก่อตั้งขึ้นในปี 1948 และได้เข้าร่วมเป็นชาติสมาชิกของฟีฟ่า ในปี 1950 จากนั้นได้เข้าเป็นสมาชิกของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) ในปี 1970 และเป็นสมาชิกของสหพันธ์ฟุตบอลเอเชียตะวันตก (WAFF) ในปี 2000 ทีมชาติอิรักถือว่าเป็นทีมที่ประสบความสำเร็จอย่างมากชาติหนึ่งในกลุ่มประเทศแถบอาหรับ เคยเข้าแข่งขันในกีฬาโอลิมปิก 4 ครั้ง (1980,1984,1988,2004) โดยผลงานดีที่สุดของทีมชาติอิรักในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกคือการคว้าอันดับ 4 ในโอลิมปิก 2004 ที่ประเทศกรีซ และเคยผ่านเข้าไปเล่นฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย 1 ครั้ง ในการแข่งขันฟุตบอลโลก 1986 ที่ประเทศเม็กซิโก สำหรับผลงานในระดับทวีปเอเชียนั้นทีมชาติอิรักเคยได้เหรียญทองในการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ 1982 ที่กรุงนิวเดลี สาธารณรัฐอินเดีย และสามารถสร้างประวัติศาสตร์คว้าแชมป์เอเชียนคัพ ซึ่งเป็นรายการใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชียได้ 1 สมัย ในปี 2007 ส่วนในการแข่งขันในระดับภูมิภาค ทีมชาติอิรักเคยชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์เอเชียตะวันตก ในปี 2002 รวมถึงคว้าแชมป์ฟุตบอลรายการ อาหรับ เนชันส์คัพ ได้ถึง 4 สมัย (ปี 1964,1966,1984,1988) นอกจากนี้ทีมชาติอิรักยังเคยได้รับเลือกจากสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) ให้เป็นทีมชาติยอดเยี่ยมประจำทวีปเอเชียถึง 2 ครั้ง (ปี 2003 และ 2007) โดยเป็นชาติเดียวในเอเชียตะวันตกที่เคยได้รับรางวัลนี้.

ดู สหภาพโซเวียตและฟุตบอลทีมชาติอิรัก

ฟุตบอลทีมชาติจอร์เจีย

ฟุตบอลทีมชาติจอร์เจีย เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศจอร์เจีย อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลจอร์เจีย นัดแรกของทีมชาติจอร์เจียเกิดขึ้นเมื่อ..

ดู สหภาพโซเวียตและฟุตบอลทีมชาติจอร์เจีย

ฟุตบอลทีมชาติคาซัคสถาน

ฟุตบอลทีมชาติคาซัคสถาน เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศคาซัคสถาน ภายใต้การควบคุมของสหภาพฟุตบอลคาซัคสถาน ก่อตั้งขึ้นภายหลังจากการสลายตัวของสหภาพโซเวียต โดยแข่งขันนัดแรกกับทีมชาติเติร์กเมนิสถาน ในปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและฟุตบอลทีมชาติคาซัคสถาน

ฟุตบอลทีมชาติคีร์กีซสถาน

ฟุตบอลทีมชาติคีร์กีซสถาน เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศคีร์กีซสถาน ภายใต้การดูแลของสหพันธ์ฟุตบอลสาธารณรัฐคีร์กีซ ทีมชาติคีร์กีซสถานเริ่มครั้งแรกภายหลังจากที่ ประเทศคีร์กีซสถานได้แยกตัวออกจากสหภาพโซเวียต โดยเกมแรก แข่งกับทีมชาติอุซเบกิสถาน ในวันที่ 23 สิงหาคม 2535 (ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและฟุตบอลทีมชาติคีร์กีซสถาน

ฟุตบอลโลก 1990

ฟุตบอลโลก 1990 เป็นฟุตบอลโลกครั้งที่ 14 จัดขึ้นที่ประเทศอิตาลีตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน ถึง 8 กรกฎาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและฟุตบอลโลก 1990

ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี

ฟุตบอลโลกเยาวชน ยู 20 (FIFA U-20 World Cup หรือชื่อเดิมคือ FIFA World Youth Championship) เป็นการแข่งขันฟุตบอลชายในระดับเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี จัดโดยฟีฟ่า เริ่มจัดครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี

ฟีเดล กัสโตร

ฟีเดล อาเลคันโดร กัสโตร รุซ (Fidel Alejandro Castro Ruz (audio); 13 สิงหาคม ค.ศ. 1926 — 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 2016) เป็นนักปฏิวัติและนักการเมืองคิวบา ซึ่งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคิวบาตั้งแต..

ดู สหภาพโซเวียตและฟีเดล กัสโตร

พ.ศ. 2461

ทธศักราช 2461 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1918 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินจูเลียน.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2461

พ.ศ. 2464

ทธศักราช 2464 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1921 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2464

พ.ศ. 2474

ทธศักราช 2474 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1931 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2474

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2482

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2483

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2484

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2485

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2488

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2493

พ.ศ. 2496

ทธศักราช 2496 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1953 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2496

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2498

พ.ศ. 2499

ทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2499

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2500

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2501

พ.ศ. 2503

ทธศักราช 2503 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1960 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2503

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2505

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2509

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2512

พ.ศ. 2513

ทธศักราช 2513 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1970 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2513

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2514

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2515

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2516

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2518

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2521

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2523

พ.ศ. 2527

ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2527

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2529

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2532

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2533

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สหภาพโซเวียตและพ.ศ. 2534

พรรคฟุนซินเปก

รรคฟุนซินเปก (FUNCINPEC; គណបក្ស ហ្វ៊ុនស៊ិនប៉ិច คณปกฺส หฺวุ̃นซินปิจ) เป็นพรรคการเมืองนิยมเจ้าในกัมพูชา โดยเป็นพรรคร่วมรัฐบาลหลังการเลือกตั้ง..

ดู สหภาพโซเวียตและพรรคฟุนซินเปก

พรรคคอมมิวนิสต์

รรคคอมมิวนิสต์ (Communist party) หมายถึง พรรคที่รณรงค์การนำหลักการทางสังคมของลัทธิคอมมิวนิสต์ไปใช้ ไปจนถึงการนำรูปแบบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์ไปใช้ ชื่อ คอมมิวนิสต์ นั้น มีที่มาจาก คำประกาศพรรคคอมมิวนิสต์ เมื่อ..

ดู สหภาพโซเวียตและพรรคคอมมิวนิสต์

พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (Communist Party of Kampuchea; គណបក្សកុំមុយនីសកម្ពុជា; CPK) หรือพรรคคอมมิวนิสต์เขมร (Khmer Communist Party), เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ซึ่งต่อมา กลุ่มที่ได้ครองอำนาจรัฐใน..

ดู สหภาพโซเวียตและพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต

รรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต (Коммунисти́ческая Па́ртия Сове́тского Сою́за; КПСС) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ที่ปกครองสหภาพโซเวียตและเป็นสถาบันหรือองค์กรที่มีอำนาจและบทบาททั้งทางด้านนิตินัยและพฤตินัยในการกำหนดดำเนินนโยบายต่างประเทศ อำนาจในการบริหารและตัดสินใจมาจากกลุ่มบุคคลชั้นนำในคณะกรรมการการเมือง หรือ 'โปลิตบูโร' (Politburo / Политбюро).

ดู สหภาพโซเวียตและพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต

พรรคประชาชนปาเลสไตน์

รรคประชาชนปาเลสไตน์ (Palestinian People's Party; ภาษาอาหรับ: حزب الشعب الفلسطيني Hizb al-Sha'b al-Filastini) ก่อตั้งเมื่อ..

ดู สหภาพโซเวียตและพรรคประชาชนปาเลสไตน์

พระพุทธรูปแห่งบามียาน

ระพุทธรูปแห่งบามียาน (د بودا بتان په باميانو کې De Buda butan pe bamiyano ke; تندیس‌های بودا در باميان tandis-ha-ye buda dar bamiyaan) เป็นพระพุทธรูปยืนจำนวนสององค์ที่สลักอยู่บนหน้าผาสูงสองพันห้าร้อยเมตรในหุบผาบามียาน ณ จังหวัดบามียาน ในพื้นที่ฮาซาราจัตทางตอนกลางของประเทศอัฟกานิสถาน อันห่างจากกรุงคาบูลไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณสองร้อยสามสิบกิโลเมตร หมู่พระพุทธรูปนี้สถาปนาขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 10 ตามศิลปะแบบกรีกโบราณ หมู่พระพุทธรูปนี้ถูกทำลายด้วยระเบิดไดนาไมต์เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและพระพุทธรูปแห่งบามียาน

พระประศาสน์พิทยายุทธ (วัน ชูถิ่น)

ลตรี พระประศาสน์พิทยายุทธ (วัน ชูถิ่น) เป็นหนึ่งในคณะราษฎร ผู้ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ. 2475 จัดเป็น 1 ใน "4 ทหารเสือ" คือ นายทหารบกชั้นผู้ใหญ่ ระดับเสนาธิการและคุมกำลังพล ซึ่งประกอบด้วย พระยาพหลพลพยุหเสนา, พระยาทรงสุรเดช, พระยาฤทธิอัคเนย์ และพระประศาสน์พิทยายุทธ โดยพระประศาสน์พิทยายุทธ ถือเป็นทหารเสือที่อาวุโสน้อยที่สุด ด้วยวัยวุฒิ, ยศ และบรรดาศักดิ์ พระประศาสน์พิทยายุทธ มีชื่อเดิมว่า วัน ชูถิ่น เกิดเมื่อปี..

ดู สหภาพโซเวียตและพระประศาสน์พิทยายุทธ (วัน ชูถิ่น)

พระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรีย

ระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรีย(30 มกราคม พ.ศ. 2437 - 28 สิงหาคม พ.ศ. 2489)(พระนามเต็ม:บอริส คลีเมนต์ โรเบิร์ต มาเรีย ปิอุส ลุดวิก สตานิสเลาส์ ซาเวียร์)เป็นพระโอรสในพระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรียกับเจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งปาร์มา พระองค์ทรงขึ้นครองราชสมบัติหลังจากพระบิดาทรงสละราชบัลลังก์ในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและพระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรีย

พลูโทเนียม

ลูโทเนียม (Plutonium) เป็นธาตุที่มีเลขอะตอม 94 และสัญลักษณ์ คือ Pu เป็นธาตุโลหะกัมมันตรังสี เป็นโลหะแอกทิไนด์สีขาวเงิน และจะมัวลงเมื่อสัมผัสอากาศซึ่งเกิดจากการรวมตัวกับออกซิเจน โดยปกติ พลูโทเนียมมี 6 ไอโซโทป และ 4 สถานะออกซิเดชัน สามารถเกิดปฏิกิริยาทางเคมีกับคาร์บอน ฮาโลเจน ไนโตรเจน และซิลิกอน เมื่อสัมผัสอากาศชื้นจะสร้างสารประกอบออกไซด์และไฮไดรด์มากกว่า 70 % ของปริมาตรซึ่งจะแตกออกเป็นผงแป้งที่สามารถติดไฟได้เอง พลูโทเนียมมีพิษที่เกิดจากการแผ่รังสีที่จะสะสมที่ไขกระดูก นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติอื่น ๆ ที่ทำให้การจัดการพลูโทเนียมเป็นเรื่องที่อันตรายมาก ไอโซโทปที่สำคัญของพลูโทเนียม คือ พลูโทเนียม-239 ซึ่งมีครึ่งชีวิต 24,100 ปี พลูโทเนียม-239 และ 241 เป็นวัสดุฟิสไซล์ ซึ่งหมายความว่านิวเคลียสของอะตอมสามารถแตกตัว โดยการชนของนิวตรอนความร้อนเคลื่อนที่ช้า ซึ่งจะปลดปล่อยพลังงาน รังสีแกมมา และนิวตรอนจำนวนมาก ด้วยเหตุนี้ จึงสามารถเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ได้ นำไปสู่การประยุกต์สร้างอาวุธนิวเคลียร์และเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ไอโซโทปที่เสถียรที่สุด คือ พลูโทเนียม-244 ซึ่งมีครึ่งชีวิตประมาณ 80 ล้านปี นานพอที่จะสามารถพบได้ในธรรมชาติ พลูโทเนียม-238 มีครึ่งชีวิต 88 ปี และปลดปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมา มันเป็นแหล่งความร้อนของเครื่องผลิตไฟฟ้าด้วยความร้อนจากไอโซโทปรังสี ซึ่งใช้ในการให้พลังงานในยานอวกาศ พลูโทเนียม-240 มีอัตราของการแตกตัวของนิวเคลียสของอะตอมด้วยตัวเองสูง เป็นการเพิ่มอัตรานิวตรอนพื้นฐานของตัวอย่างที่มีไอโซโทปนี้ประกอบอยู่ด้วย การมีอยู่ของ Pu-240 เป็นข้อจำกัดสมรรถภาพของพลูโทเนียมที่ใช้ในอาวุธหรือแหล่งพลังงานและเป็นตัวกำหนดเกรดของพลูโทเนียม: อาวุธ (19%) ธาตุลำดับที่ 94 สังเคราะห์ได้เป็นครั้งแรกในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและพลูโทเนียม

พอล แอร์ดิช

อล แอร์ดิช (Paul Erdős บางครั้งสะกด Erdos หรือ Erdös; Erdős Pál; 26 มี.ค. พ.ศ. 2456 - 20 ก.ย. พ.ศ. 2539) เป็นนักคณิตศาสตร์ผู้โดดเด่น ทั้งในด้านผลงาน และพฤติกรรมอันแปลกประหลาด ผลงานตีพิมพ์ของเขามีจำนวนมหาศาล มีผู้ร่วมตีพิมพ์รวมแล้วนับร้อยคน และเกี่ยวพันกับหลาย ๆ สาขาในคณิตศาสตร์ อาทิ คณิตศาสตร์เชิงการจัด ทฤษฎีกราฟ ทฤษฎีจำนวน การวิเคราะห์แบบคลาสสิก ทฤษฎีการประมาณ ทฤษฎีเซต และ ทฤษฎีความน่าจะเป็น.

ดู สหภาพโซเวียตและพอล แอร์ดิช

พันธมิตรทางการทหารฝรั่งเศส-โปแลนด์

นธิสัญญาพันธมิตรทางการทหารระหว่างฝรั่งเศส-โปแลนด์ มักจะหมายถึง พันธมิตรทางการทหารระหว่างสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สองกับฝรั่งเศส ซึ่งมีผลอยู่ระหว่าง ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและพันธมิตรทางการทหารฝรั่งเศส-โปแลนด์

พันเซอร์ 4

ันเซอร์คัมพฟ์วาเกิน 4 (Panzerkampfwagen (อักษรย่อ Pz.Kpfw. IV)) หรือที่เรียกในอีกชื่อหนึ่งคือ พันเซอร์ 4 เป็นรถถังขนาดกลางซึ่งถูกสร้างขึ้นโดยเยอรมันในช่วงยุคปี..

ดู สหภาพโซเวียตและพันเซอร์ 4

พาราลิมปิกฤดูหนาว 2014

ราลิมปิกฤดูหนาว 2014 (XI Paralympic Winter Games) เป็นการแข่งขันกีฬาพาราลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 11 จัดขึ้น ณ เมืองโซชี ประเทศรัสเซีย ระหว่างวันที่ 7 มีนาคม ถึง 16 มีนาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและพาราลิมปิกฤดูหนาว 2014

พีที-76

ีที-76 เป็นรถถังเบา สะเทินน้ำสะเทินบก ผลิตขึ้นในช่วงต้นทศวรรษที่ 1950 โดยสหภาพโซเวียต และกลายเป็นรถถังหลักของกองทัพโซเวียตและประเทศในกลุ่มสนธิสัญญาวอร์ซอ นอกจากนี้ยังส่งออกให้กับประเทศสังคมนิยมอื่นอีก เช่น อินเดีย อิรัก เกาหลีเหนือ เวียดนามเหนือ และอีกกว่า 25 ประเท.

ดู สหภาพโซเวียตและพีที-76

กฎบัตรสหประชาชาติ

กฎบัตรสหประชาชาติ (Charter of the United Nations)คือ ข้อตกลงที่บรรดาประเทศผู้ก่อตั้งและร่วมเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติได้ให้สัตยาบันเข้าผูกพัน โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และหลักการ ตลอดจนกระบวนการดำเนินงานและบริหารงานต่างๆ ขององค์การสหประชาชาติ ถือเป็นกฎหมายระหว่างประเทศและเป็นตราสารก่อตั้งที่สถาปนาองค์การให้เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ ด้วยเหตุนี้ องค์การสหประชาชาติจึงก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและกฎบัตรสหประชาชาติ

กฎบัตรแอตแลนติก

อร์ชิลล์พบกับรูสเวลต์บนเรือยูเอสเอส ออกัสตาในการประชุมลับนอกฝั่งนิวฟันด์แลนด์ เชอร์ชิลล์พบกับรูสเวลต์บนเรือราชนาวีพรินซ์ออฟเวลส์ ร่างกฎบัตรแก้ไขลายมือเชอร์ชิลล์ กฎบัตรแอตแลนติก (Atlantic Charter) คำประกาศหลักการแห่งนโยบายแห่งชาติโดยประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี.

ดู สหภาพโซเวียตและกฎบัตรแอตแลนติก

กฎบัตรเนือร์นแบร์ก

250px กฎบัตรคณะตุลาการทหารระหว่างประเทศ แนบท้ายความตกลงว่าด้วยการดำเนินคดีและลงโทษอาชญากรสงครามรายใหญ่ในอักษะยุโรป (Charter of the International Military Tribunal – Annex to the Agreement for the prosecution and punishment of the major war criminals of the European Axis) หรือ กฎบัตรลอนดอนว่าด้วยคณะตุลาการทหารระหว่างประเทศ (London Charter of the International Military Tribunal) หรือ ธรรมนูญคณะตุลาการทหารระหว่างประเทศ (Constitution of the International Military Tribunal) มักเรียก กฎบัตรลอนดอน (London Charter) หรือ กฎบัตรเนือร์นแบร์ก (Nuremberg Charter) เป็นกฤษฎีกาที่คณะกรรมการที่ปรึกษาแห่งยุโรป (European Advisory Commission) ออกเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและกฎบัตรเนือร์นแบร์ก

กฎหมายอวกาศ

กฎหมายอวกาศ (อังกฤษ: space law) เป็นของเขตของกฎหมายซึ่งครอบคลุมกฎหมายประเทศและกฎหมายระหว่างประเทศเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมในอวกาศ ทนายความระหว่างประเทศยังไม่สามารถตกลงเพื่อกำหนดคำจำกัดความของ "อวกาศ" ได้ ถึงแม้ว่าทนายความส่วนใหญ่จะเห็นด้วยว่าอวกาศโดยทั่วไปเริ่มต้นจากความสูงที่ต่ำที่สุดที่วัตถุสามารถโคจรรอบโลกได้ คือ ประมาณ 100 กิโลเมตรจากระดับน้ำทะเล การก่อตั้งขอบเขตของกฎหมายอวกาศเริ่มขึ้นเมื่อมีการส่งดาวเทียมดวงแรกของโลก สปุตนิก โดยสหภาพโซเวียตในเดือนตุลาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและกฎหมายอวกาศ

กระสวยอวกาศ

ลัมเบีย STS-1 พ.ศ. 2524 กระสวยอวกาศ (space shuttle) คือ เครื่องบินอวกาศของสหรัฐอเมริกา สร้างขึ้นโดยองค์การนาซ่า (NASA) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า Space Transportation System (STS) ผลิตโดยบริษัท North American Aviation ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของบริษัท Rockwell International สเปซชัทเทิลทะยานขึ้นเหมือนจรวดและไปโคจรรอบโลก มีปีกและตอนกลับสู่โลกจะร่อนลงตามรันเวย์ กระสวยอวกาศสามารถนำมาใช้ได้หลาย ๆ ครั้ง กระสวยอวกาศถูกออกแบบมาให้ใช้งานซ้ำได้ 100 ครั้ง หรือปฏิบัติการได้ 10 ปี โครงการถูกเริ่มขึ้นในท้ายยุค 60 หลังจากนั้นก็มีบทบาทสำคัญในปฏิบัติการที่ต้องใช้คนเข้าร่วมของนาซามาโดยตลอด ส่วนสำคัญของกระสวยอวกาศ เรียกว่า ออร์บิเตอร์ (orbiter หมายถึง ยานโคจร) จะพาลูกเรือและสัมภาระไปยังอวกาศในขณะที่จะส่งกระสวยอวกาศขึ้นไป กระสวยจะอยู่ที่ฐานส่งโดยจะตั้งชี้ขึ้นไปคล้ายจรวด ข้าง ๆ ออร์บิเตอร์จะมีแทงค์น้ำมันขนาดใหญ่ ซึ่งเรียกว่า แทงค์ด้านนอก (External Tank) ซึ่งมันจะเก็บออกซิเจนและไฮโดรเจนในขณะที่มันขึ้นเชื้อเพลิงเหล่านี้จะถูกสูบเข้าไปยังเครื่องยนต์หลัก 3 เครื่อง ของออร์บิเตอร์ นอกจากนี้ยังมีแทงค์ขนาดเล็กที่อยู่ข้าง ๆ ออร์บิเตอร์บนฐานส่งเพื่อให้แรงผลักดันพิเศษในขณะส่งกระสวยขึ้น ซึ่งเรียกว่า Solid Fuel Rocket Booster หรือ SRB ทำงานคล้ายกับจรวดดอกไม้ไฟขนาดใหญ่ เมื่อกระสวยอวกาศทะยานขึ้น หลังจากนั้นประมาณ 2 นาที เชื้อเพลิงในแทงค์เชื้อเพลิง SRB จะหมดลง และตกลงในทะเลกับร่มชูชีพ อัตราความเร็วของกระสวยค่อย ๆ เพิ่มขึ้นจนถึงความเร็วประมาณ 72 ไมล์ จากนั้นเครื่องยนต์หลักจึงหยุดทำงาน และถังเชื้อเพลิงภายนอกซึ่งว่างเปล่าจะถูกปล่อยตกลงสู่ทะเล เครื่องยนต์ของจรวดสองลำจะรับภาระต่อไป ซึ่งเรียกว่า ระบบการยักย้ายการโคจร ในระหว่างการโคจร เมื่อถึงเวลากลับสู่โลก เครื่องยนต์ระบบการยักย้ายการโคจรจะถูกยิงคล้ายกับตอนล่างของจรวด และยานจะหลุดออกจากการโคจร แล้วกลับลงมาสู่บรรยากาศโลกในอัตราความเร็ว 15,900 ไมล์ต่อชั่วโมง (หรือประมาณ 25,700 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) แผ่นกำบังความร้อนข้างใต้กระสวยอวกาศจะเปล่งแสงสีแดงจัดพร้อมกับความร้อนในการกลับเข้ามาสู่โลก แผ่นกระเบื้องพิเศษบนกระสวยอวกาศจะป้องกันลูกเรือและยานอวกาศออร์บิเตอร์จะช้าลงเมื่อเข้ามาถึงบริเวณส่วนล่างของบรรยากาศ จะร่อนลงบนพื้นดินบนรันเวย์ด้วยความเร็วประมาณ 210 ไมล์แล้วภารกิจก็จะจบลง.

ดู สหภาพโซเวียตและกระสวยอวกาศ

กริกอรี เพเรลมาน

กริกอรี ยาคอฟเลวิช เพเรลมาน (риго́рий Я́ковлевич Перельма́н, Grigori Yakovlevich Perelman) หรือที่รู้จักในชื่อ "กริชา เพเรลมาน" เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวรัสเซียผู้อุทิศตนให้กับเรขาคณิตเรแมนเนียน (Riemannian geometry) และ ทอพอโลยีเรขาคณิต มีชื่อเสียงจากการพิสูจน์ปัญหา "การคาดการณ์ของปวงกาเร" ได้เป็นคนแรก เขาได้รับรางวัลฟีลด์สมีดัลในปี 2006 แต่เขาได้ปฏิเสธที่จะรับรางวัลนี้ และในวันที่ 1 กรกฎาคม ปี 2010 เพเรลมานตัดสินใจที่จะไม่รับรางวัลมิลเลนเนียม ไพรซ์ ปัจจุบัน เพเรลมานอาศัยอยู่กับมารดาซึ่งชรามากในเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก เขาเป็นหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ที่ไม่ชอบออกสื่อและหาตัวได้ยาก จึงมีข้อมูลเกี่ยวกับตัวเขาน้อยมาก.

ดู สหภาพโซเวียตและกริกอรี เพเรลมาน

กรณีมุกเดน

ในวันที่ 18 กันยายน ค.ศ. 1931 ใกล้กับเมืองมุกเดน (หรือ เสิ่นหยางในปัจจุบัน) ทางแมนจูเรียตอนใต้ ส่วนหนึ่งของรางรถไฟซึ่งกองทัพญี่ปุ่นยังคงยึดครองอยู่ในขณะนั้นเกิดการระเบิดขึ้น กองทัพญี่ปุ่นจึงได้ใช้ข้ออ้างดังกล่าวในการรุกรานแมนจูเรีย และนำไปสู่การก่อตั้งแมนจูกัวในปีต่อมา ซึ่งเหตุการณ์ครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของการรบในสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง ถึงแม้ว่าสงครามครั้งนี้จะปะทุขึ้นมาในปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและกรณีมุกเดน

กลุ่มภาษาสลาวิก

ประเทศที่มกลุ่มภาษาสลาวิกใต้เป็นภาษาประจำชาติ กลุ่มภาษาสลาวิก เป็นสาขาหนึ่งของกลุ่มภาษาบัลโต-สลาวิก ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน กลุ่มภาษาสลาวิกเป็นภาษาแม่ของชาวสลาฟ ซึ่งส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในยุโรปตะวันออกและคาบสมุทรบอลข่าน แก้ไข กลุ่มภาษาสลาวิก.

ดู สหภาพโซเวียตและกลุ่มภาษาสลาวิก

กลุ่มภาษาอิหร่าน

การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์ของผุ้พูดกลุ่มภาษาอิหร่าน กลุ่มภาษาอิหร่านเป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านที่อยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน ภาษาอเวสตะถือเป็นภาษาที่เก่าที่สุดของกลุ่มนี้ที่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร กลุ่มภาษานี้มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 150 - 200 ล้านคน ภาษาที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษาเปอร์เซีย (ประมาณ 70 ล้านคน) ภาษาพาซตู (ประมาณ 40 ล้านคน) ภาษาเคิร์ด (35 ล้านคน) และภาษาบาโลชิ (ประมาณ 7 ล้านคน).

ดู สหภาพโซเวียตและกลุ่มภาษาอิหร่าน

กลุ่มตะวันออก

นการณ์ทางการเมืองของโลกตะวันออกในยุคสงครามเย็น. โลกตะวันออกในยุคสงครามเย็น คำว่า กลุ่มตะวันออก (Eastern Bloc) เป็นชื่อเรียกที่หมายถึงอดีตรัฐซึ่งปกครองด้วยระบอบสังคมนิยมแบบคอมมิวนิสต์ ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในยุโรปตะวันออก และอาจหมายรวมถึงประเทศที่เข้าร่วมสนธิสัญญาวอร์ซอด้วยเช่นกัน คำว่า "กลุ่มตะวันออก" เป็นชื่อที่ใช้เรียกในยุคสงครามเย็น (ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและกลุ่มตะวันออก

กล้องโทรทรรศน์วิทยุ

กล้องโทรทรรศน์วิทยุ Very Large Array ที่ รัฐนิวเม็กซิโก สหรัฐอเมริกา กล้องโทรทรรศน์วิทยุ เป็นอุปกรณ์ทางดาราศาสตร์ ใช้บันทึกและวัดสัญญาณคลื่นวิทยุจากวัตถุท้องฟ้าต่าง ๆ กล้องโทรทรรศน์วิทยุต่างจากกล้องโทรทรรศน์เชิงแสงตรงที่ปฏิบัติงานในความถี่ของคลื่นวิทยุที่ความยาวคลื่นตั้งแต่ 10 มิลลิเมตร ไปจนถึง 10-20 เมตร โดยทั่วไปจานเสาอากาศของกล้องโทรทรรศน์วิทยุจะมีรูปร่างเป็นพาราโบลา อาจอยู่เดี่ยว ๆ หรือประกอบกันเป็นแถวลำดับ ทำหน้าที่เปรียบเทียบได้กับกระจกของกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง กล้องโทรทรรศน์วิทยุนำไปสู่การค้นพบวัตถุใหม่และปรากฏการณ์ เช่น เควซาร์ พัลซาร์ และไมโครเวฟพื้นหลัง.

ดู สหภาพโซเวียตและกล้องโทรทรรศน์วิทยุ

กวางน้อย...แบมบี้

กวางน้อ...แบมบี้ (อังกฤษ:Bambi) คือภายนตร์การ์ตูนของวอลท์ดิสนีย์ในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและกวางน้อย...แบมบี้

กากรา

กากรา กากรา (กา-กฺรา; გაგრა) เป็นเมืองในสาธารณรัฐปกครองตนเองอับฮาเซีย (Abkhazia) ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศจอร์เจีย เมืองนี้ตั้งอยู่ทางชายฝั่งตะวันออกเฉียงเหนือของทะเลดำ ที่เชิงเทือกเขาคอเคซัส ด้วยความที่เมืองมีภูมิอากาศใกล้เคียงเขตร้อน (subtropical) กากราจึงเป็นที่พักตากอากาศที่ได้รับความนิยมในยุคของสหภาพโซเวียต.

ดู สหภาพโซเวียตและกากรา

การบุกครองนอร์ม็องดี

การรุกรานนอร์ม็องดี คือการรบระหว่างกองทัพฝ่ายอักษะนาซีเยอรมนีที่ประจำการอยู่ในยุโรปตะวันตก กับกองกำลังสัมพันธมิตรกว่า 3 ล้านนายที่ทำการบุกข้ามช่องแคบอังกฤษมาจากฐานที่ตั้งชั่วคราวในแนวรบที่อยู่ทางตอนใต้ของประเทศอังกฤษ (ส่วนใหญ่มาจากเมืองพอร์ทสมัธ) มายังหัวหาดนอร์ม็องดีในฝรั่งเศสที่กองทัพเยอรมันยึดมาได้ ภายใต้ชื่อแผนปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด (Operation Overlord) เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 6 มิถุนายน..

ดู สหภาพโซเวียตและการบุกครองนอร์ม็องดี

การบุกครองโปแลนด์

การบุกครองโปแลนด์ หรือเรียกการทัพกันยายน (Kampania wrześniowa) หรือสงครามตั้งรับปี 1939 (Wojna obronna 1939 roku) ในโปแลนด์ และ การทัพโปแลนด์ (Polenfeldzug) หรือ ฟัลล์ไวสส์ (Fall Weiss) ในเยอรมนี เป็นการบุกครองโปแลนด์ร่วมโดยเยอรมนี สหภาพโซเวียตและสโลวาเกียซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป การบุกครองของเยอรมนีเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน 1939 หนึ่งสัปดาห์ให้หลังการลงนามสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ขณะที่การบุกครองของโซเวียตเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 17 กันยายน 1939 หลังความตกลงโมโลตอฟ-โตโก ซึ่งยุติความเป็นปรปักษ์ระหว่างสหภาพโซเวียตและญี่ปุ่นในภาคตะวันออกเมื่อวันที่ 16 กันยายน การทัพดังกล่าวสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 6 ตุลาคมด้วยเยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแยกและผนวกโปแลนด์ทั้งประเทศตามเงื่อนไขของสนธิสัญญาเขตแดนเยอรมนี–โซเวียต กำลังเยอรมนีบุกครองโปแลนด์จากทิศเหนือ ใต้ และตะวันตกในเช้าหลังเกิดกรณีกลิวิซ ขณะที่เวร์มัคท์รุกคืบ กำลังโปแลนด์ถอนจากฐานปฏิบัติการส่วนหน้าติดกับพรมแดนโปแลนด์–เยอรมนีไปแนวป้องกันที่จัดตั้งดีกว่าทางตะวันออก หลังโปแลนด์แพ้ยุทธการที่บึซราเมื่อกลางเดือนกันยายน ทำให้เยอรมนีได้เปรียบแน่นอน จากนั้นกำลังโปแลนด์ถอนตัวไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ที่ซึ่งพวกเขาเตรียมการป้องกันระยะยาวที่หัวสะพานโรมาเนียและคอยการสนับสนุนและการช่วยเหลือที่คาดจากฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ทั้งสองประเทศมีสนธิสัญญากับโปแลนด์และประกาศสงครามกับเยอรมนีเมื่อวันที่ 3 กันยายน แต่สุดท้ายแล้วทั้งสองช่วยเหลือโปแลนด์แต่เพียงเล็กน้อย การบุกครองโปแลนด์ตะวันออกของกองทัพแดงโซเวียตเมื่อวันที่ 17 กันยายนตามพิธีสารลับในสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ทำให้แผนการตั้งรับของโปแลนด์ต้องเลิกไป เมื่อเผชิญกับแนวรบที่สอง รัฐบาลโปแลนด์สรุปว่าการป้องกันหัวสะพานโรมาเนียเป็นไปไม่ได้อีกต่อไปและสั่งอพยพกำลังพลฉุกเฉินทั้งหมดไปยังประเทศโรมาเนียที่เป็นกลาง วันที่ 6 ตุลาคม หลังโปแลนด์ปราชัยที่ยุทธการที่ค็อก (Kock) กำลังเยอรมนีและโซเวียตก็ควบคุมโปแลนด์อย่างสมบูรณ์ ความสำเร็จของการบุกครองนี้เป็นจุดสิ้นสุดของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง แม้โปแลนด์จะไม่เคยยอมจำนนอย่างเป็นทางการก็ตาม วันที่ 8 ตุลาคม หลังสมัยการบริหารทหารทหารช่วงต้น เยอรมนีได้ผนวกโปแลนด์ตะวันตกและอดีตนครเสรีดันซิกโดยตรง และกำหนดให้ดินแดนส่วนที่เหลืออยู่ภายใต้การบริหารของรัฐบาลทั่วไป (General Government) สหภาพโซเวียตรวมพื้นที่ที่เพิ่งได้มาเข้ากับสาธารณรัฐองค์ประกอบเบลารุสและยูเครนของตน และเริ่มการรณรงค์ปลูกฝังความเป็นโซเวียตทันที หลังการบุกครองดังกล่าว องค์การขัดขืนใต้ดินหลายกลุ่มได้ตั้งรัฐใต้ดินโปแลนด์ขึ้นในดินแดนของอดีตรัฐโปแลนด์ ในเวลาเดียวกับที่ทหารลี้ภัยจำนวนมากซึ่งสามารถหลบหนีออกนอกประเทศได้ก็เข้าร่วมกับกองทัพโปแลนด์ในทิศตะวันตก ซึ่งเป็นกองทัพที่ภักดีต่อรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลน.

ดู สหภาพโซเวียตและการบุกครองโปแลนด์

การบุกครองโปแลนด์ของสหภาพโซเวียต

การบุกครองโปแลนด์ของสหภาพโซเวียต เป็นปฏิบัติการทางทหาร ซึ่งเริ่มขึ้นโดยปราศจากการประกาศสงคราม เมื่อวันที่ 17 กันยายน ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและการบุกครองโปแลนด์ของสหภาพโซเวียต

การพลัดถิ่น

ียนแสดงการอพยพของชาวไอริช ราว ค.ศ. 1868 การพลัดถิ่น (Diaspora) คำว่า “Diaspora” มาจากภาษากรีก “διασπορά” ที่แปลว่า “การหว่าน” เป็นคำที่หมายถึงการโยกย้ายของประชากรที่มีชาติพันธุ์เดียวกันเป็นกลุ่มใหญ่ ที่อาจจะเกิดจากการถูกบังคับให้ทำการโยกย้าย หรือ เลือกที่จะโยกย้ายถิ่นฐานโดยความตั้งใจของตนเองจากถิ่นฐานที่อยู่เดิมไปตั้งถิ่นฐานและเป็นพลเมืองในดินแดนใหม่ที่มักจะไกลจากถิ่นฐานที่ตั้งอยู่เดิม “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากวัฒนธรรมของผู้เร่ร่อน และใกล้เคียงกับการเป็นผู้ลี้ภัย (Refugee) มากกว่า แต่การลี้ภัยอาจจะเป็นการโยกย้ายไปตั้งถิ่นฐานอย่างถาวรในดินแดนใหม่หรือไม่ก็ได้ คำว่า “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากการลี้ภัยที่หมายถึงกลุ่มผู้ที่พลัดจากบ้านเกิดเมืองนอนที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนใหม่อย่างเป็นการถาวร คำนี้นิยมใช้กับการอพยพของชนกลุ่มใหญ่ที่อาจจะมีสาเหตุมาจากการบังคับให้โยกย้าย หรือจากปัญหาทางเศรษฐกิจที่ทำให้มีความจำเป็นต้องไปหาที่ตั้งถิ่นฐานใหม่ก็ได้ ความเปลี่ยนแปลงทางสังคม การวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมของผู้พลัดถิ่นที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนอื่น ก็อาจจะแตกต่างไปจากการวิวัฒนาการของชนกลุ่มเดียวกันในบ้านเกิดเมืองนอนที่ทิ้งมา การรักษาวัฒนธรรม ประเพณี นอกจากนั้นปัจจัยต่างๆ ของแต่ละกลุ่มก็จะต่างระดับกันไป แต่แนวโน้มโดยทั่วไปแล้วความผูกพันทางวัฒนธรรมของกลุ่มผู้พลัดถิ่นมักจะดำเนินไปในรูปของการต่อต้านความเปลี่ยนแปลงของภาษาและในการรักษาประเพณีการปฏิบัติทางศาสนาเช่นที่เคยทำกันมาในประเทศบ้านเกิดอย่างเหนียวแน่นโดยเฉพาะในชั่วคนรุ่นแรก.

ดู สหภาพโซเวียตและการพลัดถิ่น

การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ค

ซึดดอยท์เชอไซทุง (Süddeutsche Zeitung) ลงข่าว "คำพิพากษาในเนือร์นแบร์ค" ในภาพคือ: (แถวจากซ้ายไป - รูปจากบนลงมา) ''แถวที่หนึ่ง'' เกอริง, เฮสส์, ริบเบนทรอพ, โรเซนแบร์ก, ฟรังค์ และฟริก; ''แถวที่สอง'' ฟุงค์, ชไตเชอร์ และชัชท์; ''แถวที่สาม'' เดอนิทซ์, แรเดอร์ และชีรัช; ''แถวที่สี่'' เซาค์เคล, โยเดิล, พาเพิน, ไซซ์-อินควัร์ท, สเปร์, นอยรัท และบอร์มันน์ การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ค (Nuremberg trials) เป็นชุดการพิจารณาคดีทางทหารที่ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะสงครามโลกครั้งที่สองเป็นผู้จัด มีจุดเด่นเป็นการฟ้องสมาชิกชั้นผู้ใหญ่ในคณะผู้นำทางการเมือง การทหาร และเศรษฐกิจของนาซีเยอรมนีซึ่งพ่ายสงคราม การพิจารณาทั้งนี้มีขึ้น ณ ตำหนักยุติธรรม เมืองเนือร์นแบร์ค รัฐบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี โดยชุดแรกเป็น "การพิจารณาผู้กระทำความผิดอาญาสงครามกลุ่มหลัก" ในศาลทหารระหว่างประเทศ (International Military Tribunal) เริ่มในวันที่ 20 พฤศจิกายน..

ดู สหภาพโซเวียตและการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ค

การรุกบูดาเปสต์

การรุกบูดาเปสต์ เป็นการรบโดยทั่วไปของกองทัพแดงแห่งสหภาพโซเวียต เพื่อกวาดล้างกองทัพนาซีเยอรมนีและพันธมิตรฝ่ายอักษะให้ออกไปจากฮังการี การรุกเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่วันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและการรุกบูดาเปสต์

การรุกลวอฟ–ซานโดเมียร์ซ

การรุกลูวอฟ-ซานโดเมียร์ซ (Львівсько-Сандомирська операція, Львовско-Сандомирская стратегическая наступательная операция) เป็นแผนการหลักของกองทัพแดงเพื่อบีบให้กองทัพเยอรมันถอยออกจาก ยูเครน และโปแลนด์ตะวันออก การรบดำเนินไปในช่วงกลางเดือนกรกฎาคม 1944 กองทัพแดงประสบความสำเร็จภายในหนึ่งเดือนของการโจมตี หมวดหมู่:ยุทธการและปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง.

ดู สหภาพโซเวียตและการรุกลวอฟ–ซานโดเมียร์ซ

การล่มสลายของสหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตถูกยุบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2534 ตามปฏิญญาหมายเลข 142-เอชแห่งสภาโซเวียตแห่งสาธารณรัฐ (Soviet of the Republics)Declaration № 142-Н of the Soviet of the Republics of the Supreme Soviet of the Soviet Union, formally establishing the dissolution of the Soviet Union as a state and subject of international law.

ดู สหภาพโซเวียตและการล่มสลายของสหภาพโซเวียต

การสำรวจอวกาศ

การสำรวจอวกาศ คือการใช้วิทยาการด้านดาราศาสตร์และอวกาศเพื่อสำรวจและศึกษาห้วงอวกาศภายนอก การศึกษาอวกาศในทางกายภาพสามารถทำได้ทั้งโดยยานอวกาศที่ควบคุมโดยมนุษย์หรือโดยหุ่นยนต์ การเฝ้าสังเกตการณ์วัตถุท้องฟ้า หรือที่เรียกว่าวิชาดาราศาสตร์ ได้กระทำกันมานานดังปรากฏในบันทึกประวัติศาสตร์ ทว่าการใช้จรวดเชื้อเพลิงเหลวขนาดใหญ่ที่เริ่มขึ้นในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทำให้การสำรวจอวกาศในทางกายภาพมีความเป็นจริงเป็นจังมากขึ้น ความก้าวหน้าในการสำรวจอวกาศเป็นผลจากงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่ล้ำยุครวมถึงการร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อความอยู่รอดในอนาคตของมนุษย์ชาติ ขณะเดียวกันก็เป็นการสร้างประโยชน์ในทางทหารหรือทางกลยุทธ์ที่เหนือกว่าประเทศอื่นๆ ในบางครั้งจึงมีการวิพากษ์วิจารณ์ถึงประโยชน์ของการสำรวจอวกาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นเรื่องค่าใช้จ่ายและความปลอดภัย ครั้งหนึ่งการสำรวจอวกาศเป็นประเด็นการแข่งขันที่สำคัญระหว่างขั้วอำนาจ เช่นในระหว่างสงครามเย็น การสำรวจอวกาศยุคใหม่ช่วงแรกเป็นการแข่งขันกันระหว่างสหภาพโซเวียตกับสหรัฐอเมริกา ได้แก่ การส่งยานที่สร้างด้วยมนุษย์ออกไปโคจรรอบโลกได้เป็นครั้งแรกในดาวเทียมสปุตนิก 1 ของสหภาพโซเวียต เมื่อ 4 ตุลาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและการสำรวจอวกาศ

การสงบศึกมอสโก

การสงบศึกมอสโกลงนามโดยฟินแลนด์ฝ่ายหนึ่ง และสหภาพโซเวียตกับสหราชอาณาจักรอีกฝ่ายหนึ่ง เมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ดู สหภาพโซเวียตและการสงบศึกมอสโก

การผ่อนคลายความตึงเครียด

เลโอนิด เบรจเนฟ แห่งสหภาพโซเวียต (ซ้าย) และริชาร์ด นิกสัน แห่งสหรัฐอเมริกา (ขวา) ระหว่างการเยือนสหรัฐอเมริกาของเบรจเนฟในปี 2516 นับเป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญในช่วงการผ่อนคลายความตึงเครียด การผ่อนคลายความตึงเครียด (Détente) คือ ช่วงเวลาระหว่าง..

ดู สหภาพโซเวียตและการผ่อนคลายความตึงเครียด

การจาริกแสวงบุญ

นักแสวงบุญมุสลิมที่มักกะหฺ การจาริกแสวงบุญ (Pilgrimage) ทางด้านศาสนาและจิตวิญญาณ “การจาริกแสวงบุญ” คือการเดินทางหรือการแสวงหาสิ่งที่มีความสำคัญทางจริยธรรมต่อจิตใจ บางครั้งก็จะเป็นการเดินทางไปยังศาสนสถานที่มีความสำคัญต่อความเชื่อหรือความศรัทธาของผู้นั้น สมาชิกของศาสนาหลักของโลกมักจะร่วมในการเดินทางไปแสวงบุญ ผู้ที่เดินทางไปทำการจาริกแสวงบุญเรียกว่านักแสวงบุญ พระพุทธศาสนามีสังเวชนียสถานที่สำคัญที่สุดที่มีความเกี่ยวข้องกับองค์สมเด็จพระพุทธเจ้าสำหรับนักแสวงบุญอยู่สี่แห่ง: ลุมพินีวันที่ตั้งอยู่ในแคว้นอูธในประเทศเนปาลที่เป็นสถานที่ประสูติ, พุทธคยาที่ตั้งอยู่ในรัฐพิหารในประเทศอินเดียที่เป็นสถานที่ตรัสรู้, สารนาถที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเมืองพาราณสีในรัฐอุตตรประเทศในประเทศอินเดียซึ่งเป็นสถานที่ทรงแสดงปฐมเทศนา และ กุสินาราที่ตั้งอยู่ตำบลมถากัวร์ อำเภอกุสินครในรัฐอุตตรประเทศในประเทศอินเดียเป็นสถานที่เสด็จดับขันธปรินิพพาน ในศาสนาเอบราฮัมที่ประกอบด้วยศาสนายูดาย, ศาสนาคริสต์, ศาสนาอิสลาม และ ศาสนาบาไฮ ถือว่าดินแดนศักดิ์สิทธิ์ในอิสราเอลปัจจุบันเป็นศูนย์กลาง ในราชอาณาจักรอิสราเอล และ ราชอาณาจักรยูดาห์ การเดินทางไปยังศูนย์กลางของสิ่งที่มีความสัมพันธ์กับความเชื่อบางแห่งถูกยกเลิกไปในศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสต์ศักราช เมื่อการสักการะพระเยโฮวาห์จำกัดอยู่แต่เพียงที่วัดแห่งเยรุซาเล็มเท่านั้น “การจาริกแสวงบุญ” บนแผ่นดินใหญ่ของกรีซก็จะเป็นการเดินทางไปยังเดลฟี หรือโหรซูสที่โดโดนา และทุกสี่ปีระหว่างสมัยกีฬาโอลิมปิค เทวสถานซูสก็จะเต็มไปด้วยผู้มาแสวงบุญจากดินแดนต่างๆ ทุกมุมเมืองของกรีซ เมื่ออเล็กซานเดอร์มหาราชไปถึงอียิปต์ พระองค์ก็ทรงหยุดยั้งทุกสิ่งทุกอย่างลงชั่วคราว และทรงนำผู้ติดตามไม่กี่คนลึกเข้าไปในทะเลทรายลิเบียเพื่อไปปรึกษาโหรที่อัมมุน ระหว่างสมัยการปกครองของราชวงศ์ทอเลมีต่อมา ศาสนสถานไอซิสที่ฟิเล (Philae) ก็มักจะได้รับเครื่องสักการะที่มีคำจารึกภาษากรีกจากผู้มีความเกี่ยวพันที่อยู่จากบ้านเมืองเดิมในกรีซ แม้ว่า “การจาริกแสวงบุญ” มักจะอยู่ในบริบทของศาสนา แต่การจาริกแสวงบุญก็แปรเปลี่ยนไปใช้ในกิจการที่ไม่เกี่ยวกับกับศาสนาได้เช่นการเดินทางไปแสดงความเคารพคนสำคัญของลัทธินิยมเช่นในกรณีที่ทำกันในประเทศคอมมิสนิสต์ ตัวอย่างเช่นการเดินทางไปเยี่ยมชมที่บรรจุศพเลนิน (Lenin's Mausoleum) ที่จัตุรัสแดงก่อนที่สหภาพโซเวียตจะแตกแยกออกจากกัน ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่มีลักษณะเดียวกับที่เรียกว่า “การจาริกแสวงบุญ”.

ดู สหภาพโซเวียตและการจาริกแสวงบุญ

การทรยศโดยชาติตะวันตก

แฟรงกลิน โรสเวลต์ และโจเซฟ สตาลิน การทรยศโดยชาติตะวันตก (Western betrayal) หรืออาจใช้ว่า การทรยศที่ยัลตา (Yalta betrayal) เป็นคำที่มักจะใช้กันในกลุ่มประเทศยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโปแลนด์และเช็กเกีย ซึ่งหมายความถึงนโยบายด้านการต่างประเทศของกลุ่มประเทศตะวันตกหลายประเทศ ซึ่งได้ละเลยสนธิสัญญาพันธมิตรและข้อตกลงหลายฉบับนับตั้งแต่สนธิสัญญาแวร์ซาย สมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ไปจนถึงสมัยสงครามเย็น ซึ่งมีสาเหตุมาจากการหลอกลวงและการทรยศ ในการใช้คำว่า "การทรยศ" นี้ เป็นผลมาจากความจริงที่ว่า ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตก ซึ่งแม้ว่าจะได้สนับสนุนให้เกิดระบอบประชาธิปไตยและการวางนโยบายด้วยตนเอง ได้ลงนามในสนธิสัญญาและก่อตั้งพันธมิตรทางการทหารทั้งก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง กระนั้น ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกกลับทรยศพันธมิตรของตนในยุโรปกลางโดยการละเลยที่จะปฏฺบัติตามข้อผูกมัดตามสนธิสัญญานั้น ยกตัวอย่างเช่น ไม่ช่วยป้องกันนาซีเยอรมนีจากการยึดครองเชโกสโลวาเกีย แต่กลับยกให้ในข้อตกลงมิวนิก (ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและการทรยศโดยชาติตะวันตก

การทัพนอร์เวย์

การทัพนอร์เวย์ หรือปฏิบัติการเวแซร์รืบุง (9 เมษายน - 10 มิถุนายน ค.ศ. 1940) นั้นเป็นการเผชิญหน้ากันอย่างเต็มรูปแบบเป็นครั้งแรกของสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรกับนาซีเยอรมนี เยอรมนีนั้นต้องการที่จะครอบครองนอร์เวย์เพื่อเหล็กและโลหะจากสวีเดนอีกต่อหนึ่ง ซึ่งขนส่งทางเรือจากเมืองท่านาร์วิก ด้วยการยึดครองเมืองท่าอย่างสมบูรณ์ ก็จะทำให้การขนส่งทรัพยากรดังกล่าวเพื่อป้อนเข้าสู่โรงงานอุตสาหกรรม แม้ว่าจะถูกขัดขวางด้วยการปิดล้อมทางทะเลจากอังกฤษ นอกจากนั้นแล้ว มันยังทำให้ฝ่ายสัมพันธมิตรและเยอรมนีสามารถรบกันได้ด้วยการรบแบบสนามเพลาะซึ่งทั้งสองฝ่ายหวาดกลัว ต่อมาเมื่อยุทธนาวีมหาสมุทรแอตแลนติกขยายออกไป สนามบินของนอร์เวย์ เช่น สนามบินโซลา ในเมืองสตาแวนเจอร์ ซึ่งเครื่องบินสำรวจเยอรมันใช้เพื่อออกปฏิบัติการในภาคพื้นมหาสมุทรแอตแลนติก.

ดู สหภาพโซเวียตและการทัพนอร์เวย์

การตรวจพิจารณา

การตรวจพิจารณา (censorship) คือ การระงับหรือทำลายซึ่งถ้อยคำหรือวัตถุแห่งการติดต่อสื่อสารอันได้รับการพิจารณาโดยผู้ตรวจแล้วว่า ผิดศีลธรรม ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ ไม่พึงประสงค์ เป็นอันตรายต่อความมั่นคง เป็นหัวข้ออ่อนไหว หรือสร้างความลำบากให้แก่รัฐบาลหรือองค์การสื่อสาร.

ดู สหภาพโซเวียตและการตรวจพิจารณา

การฉาบปูนขาว

การฉาบปูนขาวภาคพันธสัญญาใหม่, มัทธิว, บทที่ 23, ข้อที่ 27:"วิบัติแก่เจ้า พวกธรรมาจารย์และพวกฟาริสี คนหน้าซื่อใจคด เพราะว่า เจ้าเป็นเหมือนอุโมงค์ฝังศพซึ่งฉาบด้วยปูนขาว ข้างนอกดูงดงามจริง ๆ แต่ข้างในเต็มไปด้วยกระดูกคนตาย และการโสโครกสารพัด" "...like whitewashed tombs, which look beautiful on the outside but on the inside are full of dead men's bones." (whitewashing) เป็นคำพังเพยในสังคมตะวันตก หมายถึง "ปกปิดหรือซ่อนเร้นความชั่ว ความผิด หรือความอัปยศ หรือทำให้พ้นข้อครหา โดยใช้วิธีสืบสวนแบบขอไปที หรือนำเสนอข้อมูลข่าวสารอันมากด้วยอคติ""Whitewash",Encyclopedia Britannica, 2003 DVD Ultimate reference suite.

ดู สหภาพโซเวียตและการฉาบปูนขาว

การปฏิบัติการพิเศษ

การปฏิบัติการพิเศษ (Special Operation) คือ การปฏิบัติอย่างหนึ่งที่ไม่จัดให้มีการปฏิบัติในกรอบการปฏิบัติของหน่วยที่มีอยู่เดิมหรือโดยปกติ เป็นงานที่เกิดขึ้นใหม่ด้วยความริเริ่มในการแก้ไขปัญหา ซึ่งคุกคามและมีผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อหน่วยงาน องค์กร หรือประเทศ โดยริเริ่มการปฏิบัตินับแต่ในขั้นเตรียมการ ปฏิบัติการและขั้นหลังการปฏิบัติ ทั้งนี้ ภัยคุกคามยังมีลักษณะขอบเขตอยู่เพียงความสนใจของผู้นำ ลักษณะขององค์กร และผลกระทบที่เกิดขึ้นมีความรุนแรงอย่างไร ดังนั้น การปฏิบัติการพิเศษจึงปรับเปลี่ยนไปตามรูปแบบขององค์กรและภัยคุกคามเป็นหลัก.

ดู สหภาพโซเวียตและการปฏิบัติการพิเศษ

การปฏิวัติรัสเซีย

การปฏิวัติรัสเซีย (Russian Revolution) คือภาพรวมของระลอกการปฏิวัติในรัสเซียช่วงปี..

ดู สหภาพโซเวียตและการปฏิวัติรัสเซีย

การปฏิวัติทางวัฒนธรรม

การปฏิวัติทางวัฒนธรรมใหญ่ของกรรมาชีพ (Great Proletarian Cultural Revolution) หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า การปฏิวัติวัฒนธรรม (Cultural Revolution) เป็นขบวนการทางสังคม-การเมืองซึ่งเกิดขึ้นในสาธารณรัฐประชาชนจีนตั้งแต่ปี 2509 เหมาเจ๋อตงซึ่งขณะนั้นเป็นประธานพรรคคอมมิวนิสต์จีน เป็นผู้ริเริ่มขับเคลื่อน เป้าหมายที่แถลงไว้ คือ เพื่อบังคับใช้ลัทธิคอมมิวนิสต์ในประเทศโดยการขจัดองค์ประกอบที่เป็นทุนนิยม ประเพณีและวัฒนธรรมจีน ออกจากวัฒนธรรมคอมมิวนิสต์และเพื่อกำหนดแนวทางแบบเหมาภายในพรรค การปฏิวัติดังกล่าวส่งผลให้เหมาเจ๋อตงกลับมามีอำนาจหลังการก้าวกระโดดไกลไปข้างหน้าที่ล้มเหลว ขบวนการดังกล่าวทำให้การเมืองจีนหยุดชะงักและส่งผลกระทบต่อประเทศทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างสำคัญ การปฏิวัติวัฒนธรรมเริ่มขึ้นในเดือนพฤษภาคม 2509 เหมาอ้างว่ากระฎุมพีกำลังแทรกซึมรัฐบาลและสังคมอย่างไม่มีขอบเขต โดยมีเป้าหมายเพื่อฟื้นฟูทุนนิยม เขายืนกรานให้ขจัด "ลัทธิแก้" (revisionist) เหล่านี้ผ่านการต่อสู้ของชนชั้นอย่างรุนแรง เยาวชนจีนสนองตอบการเรียกร้องของเหมาโดยตั้งกลุ่มเรดการ์ดขึ้นทั่วประเทศ ขบวนการดังกล่าวแพร่ไปสู่ทหาร กรรมกรในเมือง และผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์เอง การปฏิวัติส่งผลให้เกิดการต่อสู้ระหว่างกลุ่มแยกอย่างกว้างขวางในทุกย่างก้าวของชีวิต ในหมู่ผู้นำระดับสูง การปฏิวัตินำไปสู่การกวาดล้างข้าราชการอาวุโสที่ถูกกล่าวหาว่าเดิน "ถนนทุนนิยม" คือ ประธานาธิบดีหลิวส้าวฉีและเติ้งเสี่ยวผิง พร้อมด้วยจอมพล หลิวป๋อเฉิง จอมพล เฉินอี้ จอมพล เย่เจี้ยนอิงและจอมพล เผิงเต๋อฮว้าย ในเวลาเดียวกัน ลัทธิมากซ์ ของประธานเหมา เติบโตขึ้นเป็นอันมาก กลุ่มกรรมกรใช้สัญลักษณ์ค้อนกดขี่ข่มเหงชาวนาและกลุ่มเกษตรกรรมอื่นๆ ประชากรจีนจำนวนหลายล้านคนถูกเบียดเบียน ในการต่อสู้อย่างรุนแรง ระหว่างกลุ่มลัทธิแก้ และกลุ่มปลดปล่อยประชาชน ซึ่งเกิดขึ้นทั่วประเทศ อันทำให้เกิดการละเมิดหลายรูปแบบ รวมถึงการประจานในที่สาธารณะ การกักขังตามอำเภอใจ การทรมาน การก่อกวนอยู่เนือง ๆ และการยึดทรัพย์สินของชาวบ้าน หลายภาคส่วนถูกบังคับให้ย้ายถิ่นฐาน ส่วนวัตถุมงคลและสิ่งประดิษฐ์ทางประวัติศาสตร์จีนถูกทำลาย สถานที่ทางวัฒนธรรมและศาสนาถูกปล้นพร้อมกับทำให้เสียหาย ประธานเหมาประกาศให้การปฏิวัติทางวัฒนธรรมสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการในปี 2512 แต่ยังมีผลดำเนินไปกระทั่ง หลินเปียว ตายในปี 2514 หลังเหมาถึงแก่อสัญกรรมและการจับกุมแก๊งออฟโฟร์ในปี 2519 ทำให้คณะปฏิรูปการปกครอง นำโดย เติ้งเสี่ยวผิง ยุติการปฏิวัติของเหมาที่เกี่ยวข้องกับการปฏิวัติทางวัฒนธรรมอย่างเด็ดขาด ต่อมา ในเดือนมิถุนายน 2524 คณะกรรมาธิการกลางประกาศคำตัดสินอย่างเป็นทางการ ดังนี้ " 'การปฏิวัติทางวัฒนธรรม' ซึ่งดำเนินตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2509 ถึงเดือนตุลาคม 2519 เป็นสาเหตุของการเสื่อมอย่างรุนแรงที่สุดและเป็นการสูญเสียอย่างหนักที่สุดที่พรรค รัฐและประชาชนเคยประสบมาแล้ว ตั้งแต่มีการก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชน" จอมพล เผิงเต๋อไหว นักรบผู้กล้าหาญและขวัญกำลังใจของกองทัพชาวนา ครอบครองแผ่นดินประมาณได้ 1 ใน 3 ของพื้นที่ประเทศจีนทั้งหมดในสงครามกลางเมือง แต่ถูกลงโทษทางการเมือง ทำให้ถึงแก่อสัญกรรม เพราะเรียงความหมื่นอักษรในช่วงการปฏิวัติวัฒนธรรม.

ดู สหภาพโซเวียตและการปฏิวัติทางวัฒนธรรม

การประชุมสันติภาพเจนีวา

การประชุมสันติภาพเจนีวา จัดขึ้นเมื่อวันที่ 9 มกราคม..

ดู สหภาพโซเวียตและการประชุมสันติภาพเจนีวา

การประชุมเจนีวา (ค.ศ. 1954)

การประชุมเจนีวา การประชุมเจนีวา ระหว่างวันที่ 26 เมษายน - 21 กรกฎาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและการประชุมเจนีวา (ค.ศ. 1954)

การปล้นธนาคารในติฟลิส ค.ศ. 1907

ัตุรัสเยเรวาน สถานที่เกิดเหตุปล้น ถ่ายในคริสต์ทศวรรษ 1870 การปล้นธนาคารในติฟล..

ดู สหภาพโซเวียตและการปล้นธนาคารในติฟลิส ค.ศ. 1907

การปิดกั้นเบอร์ลิน

วเบอร์ลินกำลังดูเครื่องบิน Douglas C-54 Skymaster ลงจอดที่สนามบิน Tempelhof Airport ในปี 1948 เยอรมนีส่วนที่ปกครองโดยสหภาพโซเวียต การปิดกั้นเบอร์ลิน (Berlin Blockade) เป็นหนึ่งในวิกฤตการณ์หลักของสงครามเย็น ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและการปิดกั้นเบอร์ลิน

การแบ่งแยกนิวเคลียส

prompt gamma rays) ออกมาด่วย (ไม่ได้แสดงในภาพ) การแบ่งแยกนิวเคลียส หรือ นิวเคลียร์ฟิชชัน (nuclear fission) ในสาขาฟิสิกส์นิวเคลียร์และเคมีนิวเคลียร์ เป็นปฏิกิริยานิวเคลียร์หรือกระบวนการการสลายกัมมันตรังสีอย่างหนึ่งที่นิวเคลียสของอะตอม แตกออกเป็นชิ้นขนาดเล็ก (นิวเคลียสที่เบากว่า) กระบวนการฟิชชันมักจะผลิตนิวตรอนและโปรตอนอิสระ (ในรูปของรังสีแกมมา) พร้อมทั้งปลดปล่อยพลังงานออกมาจำนวนมาก แม้ว่าจะเป็นการปลดปล่อยจากการสลายกัมมันตรังสีก็ตาม นิวเคลียร์ฟิชชันของธาตุหนักถูกค้นพบเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 1938 โดยชาวเยอรมัน นายอ็อตโต ฮาห์นและผู้ช่วยของเขา นายฟริตซ์ Strassmann และได้รับการอธิบายในทางทฤษฎีในเดือนมกราคมปี 1939 โดยนาง Lise Meitner และหลานชายของเธอ นายอ็อตโต โรเบิร์ต Frisch.

ดู สหภาพโซเวียตและการแบ่งแยกนิวเคลียส

การเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชน

การเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชนในจักรวรรดิโรมัน ในภาพคริสตชนสตรีถูกสังหารขณะที่จักรพรรดิเนโรชายพระเนตรมาดู การเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชน (ศัพท์โรมันคาทอลิก) หรือ การข่มเหงคริสต์ศาสนิกชน (ศัพท์โปรเตสแตนต์) (Persecution of Christians) หมายถึงการเบียดเบียนศาสนาคริสต์ คริสต์ศาสนิกชนยุคแรกถูกเบียดเบียนทั้งจากชาวยิวและจักรวรรดิโรมันซึ่งปกครองดินแดนรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนอยู่ในขณะนั้น การเบียดเบียนครั้งนี้เกิดขึ้นตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 จนมาสิ้นสุดตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 4 เมื่อจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 และจักรพรรดิลิซิเนียสทรงประกาศพระราชกฤษฎีกาแห่งมิลานเป็นการรับรองเสรีภาพทางศาสนาทั่วทั้งจักรวรรดิโรมัน จนต่อมาศาสนาคริสต์จึงกลายเป็นศาสนาประจำชาติจักรวรรดิโรมันอย่างเป็นทางการ มิชชันนารีและผู้เปลี่ยนมานับถือศาสนาคริสต์ก็มักตกเป็นเป้าของการเบียดเบียน เป็นที่มาให้เกิดมรณสักขีในศาสนาคริสต์เป็นจำนวนมาก แม้แต่ระหว่างนิกายในศาสนาคริสต์เองก็ยังเบียดเบียนกันเพราะกล่าวหาคริสต์ศาสนิกชนนิกายอื่นว่าเป็นพวกนอกรีต เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นมากในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่มีการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 คริสต์ศาสนิกชนยังคงถูกเบียดเบียนจากชาวมุสลิมและกลุ่มรัฐที่เป็นอเทวนิยม เช่น สหภาพโซเวียต ในปัจจุบัน (ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและการเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชน

การเลิกล้มราชาธิปไตย

ในประวัติศาสตร์โลก มีการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ในหลายประเทศทั่วโลก สาเหตุการล่มสลายของราชวงศ์อาจเป็นผลมาจากการปฏิวัติ, การตั้งสาธารณรัฐ, การลงประชามติของประชาชน, การรัฐประหาร หรือจากสงคราม.

ดู สหภาพโซเวียตและการเลิกล้มราชาธิปไตย

การเจรจาจำกัดอาวุธทางยุทธศาสตร์

SALT วันที่ 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1974 การเจรจาจำกัดอาวุธทางยุทธศาสตร์ (Strategic Arms Limitation Talks ย่อว่า SALT) คือ การเจรจาเพื่อจำกัดอาวุธทางยุทธศาสตร์ระหว่างสหรัฐอเมริกาและ สหภาพโซเวียต ที่ต่อมาได้เปลี่ยนมาเป็น START (Strategic Arms Reduction Treaty)การเจรจาเริ่มครั้งแรกในวันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและการเจรจาจำกัดอาวุธทางยุทธศาสตร์

การเดินขบวน

งผ่านคบเพลิงโอลิมปิก ค.ศ. 2008 การเดินขบวนวันจันทร์ในเยอรมนีตะวันออก การเคลื่อนไหวของขบวนการสิทธิพลเมืองอเมริกันใน วอชิงตัน โดยเดินแถวไปสู่อนุสาวรีย์วอชิงตัน เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและการเดินขบวน

การเดินขบวนวันจันทร์ในเยอรมนีตะวันออก

250px การเดินขบวนวันจันทร์ เมื่อ..

ดู สหภาพโซเวียตและการเดินขบวนวันจันทร์ในเยอรมนีตะวันออก

กาเลวาลา

กาเลวาลา (Kalevala, Kalewala) เป็นบทกวีมหากาพย์ ซึ่งนักปรัชญาชาวฟินแลนด์ เอเลียส เลินน์รูต เรียบเรียงขึ้นจากลำนำพื้นบ้านในภาษาฟินแลนด์และภาษาคาเรเลียในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 บทกวีนี้ได้รับยกย่องให้เป็นมหากาพย์แห่งประเทศฟินแลนด์ และเป็นงานวรรณกรรมชิ้นสำคัญที่สุดของประวัติศาสตร์ฟินแลนด์ มีส่วนสำคัญในการกระตุ้นจิตวิญญาณของพลเมือง ทำให้ฟินแลนด์สามารถแยกตัวเป็นเอกราชจากรัสเซียได้สำเร็จในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและกาเลวาลา

กำแพงเบอร์ลิน

กำแพงเบอร์ลิน ภาพถ่ายจากฝั่งเบอร์ลินตะวันตก เมื่อปี พ.ศ. 2529 กำแพงเบอร์ลิน (Berlin Wall; Berliner Mauer) เป็นกำแพงที่สร้างขึ้นช่วงสงครามเย็น มีวัตถุประสงค์เพื่อปิดกั้นพรมแดนระหว่างเบอร์ลินตะวันตกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนีตะวันตก กับเยอรมนีตะวันออกที่โอบอยู่โดยรอบ มีความยาวทั้งสิ้น 155 กิโลเมตร เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและกำแพงเบอร์ลิน

กิ่งจังหวัดเนมูโระ

กิ่งจังหวัดเนมูโระ (ไอนุ: ニムオロ นีมูโอโร) เป็น 1 ใน 14 กิ่งจังหวัดของฮกไกโด จัดตั้งขึ้นในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและกิ่งจังหวัดเนมูโระ

กีฬามหาวิทยาลัยโลก

กีฬามหาวิทยาลัยโลก (Universiade) เป็นชื่อการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระหว่างนักศึกษามหาวิทยาลัยจากนานาชาติทั่วโลก อยู่ในการกำกับดูแลของ สหพันธ์กีฬามหาวิทยาลัยโลก (Federation of International University Sports - FISU) โดยชื่อ Universiade เป็นการนำศัพท์ภาษาอังกฤษ 2 คำ คือ university (มหาวิทยาลัย) และ olympiad (โอลิมปิก) มาสนธิกัน การจัดการแข่งขันจะจัดขึ้นทุกสองปี โดยมีกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูหนาวและกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน ซึ่งทั้งสองมหกรรมกีฬานี้จะจัดแข่งขันในปีเดียวกัน แต่ต่างเวลาและสถานที่ การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกเริ่มจัดครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและกีฬามหาวิทยาลัยโลก

กีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 1973

กีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 1973 (1973 Summer Universiade) หรือการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อนครั้งที่ 7 เป็นการแข่งขันกีฬาของนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยทั่วโลกที่มีการแข่งขันกีฬาหลายชนิด จัดขึ้นที่มอสโก สหภาพโซเวียต ระหว่างวันที่ 15 สิงหาคม ถึง 25 สิงหาคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 1973

กีฬาวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาวอลเลย์บอล (Volleyball) ในกีฬาโอลิมปิกนั้น องค์กรที่ควบคุมดูแลการแข่งขันคือ สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (Federation Internationale De Volleyball - FIVB) ในปี 1949 คณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee-IOC) ได้ประกาศรับรองกีฬาชนิดนี้ แต่ยังอยู่ในฐานะกีฬาที่ไม่ได้มีการแข่งขันในกีฬาโอลิมปิก และในปีเดียวกันนั้นเองก็ได้มีการจัดการแข่งขันวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลกขึ้นเป็นครั้งแรก ส่วนประเภทหญิงนั้นเกิดขึ้นอีก 3 ปีต่อมา และโซเวียตก็ครองความเป็นจ้าว ในปี 1964 วอลเลย์บอลได้รับการบรรจุในโอลิมปิกเป็นครั้งแรก ญี่ปุ่นซึ่งเป็นเจ้าภาพได้เหรียญทองประเภทหญิง ทั้งโซเวียตและญี่ปุ่นก็ครองดับอันดับต้นๆมาตลอดจนถึงทศวรรษที่ 80 อเมริกาเริ่มทวงความเป็นจ้าวกลับคืนมาด้วยการคว้าเหรียญทองวอลเลย์บอลประเภทชายในโอลิมปิก 2 สมัยติดต่อกัน ในปี 1984 ที่ลอสแอนเจลิส และในปี 1988 ที่โซล ส่วนวอลเลย์บอลชายหาดมีการแข่งขันครั้งแรกในโอลิมปิก ที่แอตแลนตา สหรัฐอเมริกา ในปี 1996.

ดู สหภาพโซเวียตและกีฬาวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน

กติกาสัญญาวอร์ซอ

กติกาสัญญาวอร์ซอ (Warsaw Pact) หรือชื่อทางการว่า สนธิสัญญาแห่งไมตรี ความร่วมมือ และการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน (Treaty of Friendship, Co-operation, and Mutual Assistance; Договор о дружбе, сотрудничестве и взаимной помощи) บางครั้งเรียกขานอย่างไม่เป็นทางการว่า วอร์แพ็ก (WarPac) เป็นกติกาสัญญาด้านความมั่นคงร่วมกันระหว่างสหภาพโซเวียตกับรัฐบริวารของตนอีกเจ็ดแห่งในยุโรปตอนกลางและตะวันออกระหว่างช่วงสงครามเย็น กติกาสัญญาวอร์ซอเป็นส่วนเพิ่มด้านการทหารของคณะกรรมาธิการเพื่อการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจระหว่างกันหรือ โคเมคอน (Council for Mutual Economic Assistance; CoMEcon) ซึ่งเป็นองค์การทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคสำหรับรัฐคอมมิวนิสต์ในยุโรปตอนกลางและตะวันออก ทั้งนี้กติกาสัญญาวอร์ซอก่อตั้งขึ้นเพื่อตอบโต้การที่เยอรมนีตะวันตกเข้าร่วมกับองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (เนโท)"In reaction to West Germany’s NATO accession, the Soviet Union and its Eastern European client states formed the Warsaw Pact in 1955." Citation from: ในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและกติกาสัญญาวอร์ซอ

กติกาสัญญาความเป็นกลางโซเวียต–ญี่ปุ่น

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของญี่ปุ่น นายมัสซูโอกะ กำลังลงนามในกติกาสัญญาความเป็นกลางโซเวียต-ญี่ปุ่น กติกาสัญญาความเป็นกลางโซเวียต-ญี่ปุ่น (Soviet–Japanese Neutrality Pact) คือสนธิสัญญาระหว่าง สหภาพโซเวียตและจักรวรรดิญี่ปุ่น ลงนามกันเมื่อปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและกติกาสัญญาความเป็นกลางโซเวียต–ญี่ปุ่น

กติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น

กติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น (Anti-Comintern Pact) คือ สนธิสัญญาเกิดจากความร่วมมือระหว่างนาซีเยอรมนีและจักรวรรดิญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและกติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น

ญิฮาด

ญิฮาด (جهاد, Jihad) มาจากคำกริยา ญะฮะดะ ในภาษาอาหรับหมายถึง การดิ้นรนต่อสู้หรือความพยายาม ในทางศาสนาหมายถึง ความพยายามที่จะเพิ่มศรัทธาในพระเจ้ารวมทั้งการทำความดี การเผยแพร่ศาสนา ผู้ทำการญิฮาดเรียกว่ามุญาฮิด พหูพจน์เรียกว่ามุญาฮิดีน ในทางศาสนาอิสลามแล้ว คำนี้ไม่ได้หมายถึงสงครามศักดิ์สิทธิ์ดังที่ผู้มิใช่มุสลิมเข้าใจ และเป็นศัพท์ทางศาสนาคำหนึ่งที่ถูกเข้าใจผิดบ่อยครั้ง คำว่าญิฮาดนี้มีปรากฏทั้งในอัลกุรอ่านและหะดิษต่าง.

ดู สหภาพโซเวียตและญิฮาด

ฝันอเมริกัน

งชาติของสหรัฐฯ ในวอชิงตัน ดี.ซี. ธงแบบเบสซี รอสที่แขวนลงเป็นธงคลาสสิก “โอลด์กลอรี” รุ่น 50 รัฐ ความหมายโดยทั่วๆ ไปแต่เดิมของ “ความฝันอเมริกัน” อาจนิยามได้ว่าเป็น “ความเท่าเทียมทางโอกาสและเสรีภาพที่เอื้อให้พลเมืองบรรลุถึงเป้าหมายในชีวิตด้วยการทำงานหนักและด้วยความมุ่งมั่น ปัจจุบัน ความหมายโดยทั่วไปได้ปรับเปลี่ยนเป็นว่า ความมั่งคั่งของบุคคลขึ้นอยู่กับขีดความสามารถและการทำงานหนัก ไม่ขึ้นอยู่กับโครงสร้างระดับชั้นที่ตายตัวของสังคม ซึ่งความหมายนี้ไปเปลี่ยนไปตามเวลาของประวัติศาสตร์ สำหรับบางคน อาจหมายถึงโอกาสที่จะบรรลุความมั่งคั่งได้มากกว่าที่เคยได้ในประเทศเดิมที่ตนย้ายถิ่นมา บางคนอาจหมายถึงโอกาสที่บุตรหลานที่จะเจริญเติบโตในสิ่งแวดล้อมที่ดีและได้รับการศึกษาที่สูงขึ้นในสหรัฐฯ รวมทั้งโอกาสการได้งานที่ดี สำหรับบางคนอาจเป็นการได้โอกาสที่จะเป็นปัจจเกชนที่ปราศจากการกีดกันด้วยชนชั้นทางสังคม จากวรรณะ เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ หรือชาติพันธุ์ นิยามของความฝันอเมริกันดังกล่าว ณ ปัจจุบันยังคงเป็นหัวข้อที่ยังถกเถียงอภิปรายกันมากอยู่ และเช่นกันที่ “ชุดของความเชื่อ การตั้งข้อสมมุติฐานและรูปแบบของการประพฤติปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับความฝันอเมริกันที่เกาะตัวกันอย่างหลวมๆ ในขณะนี้ ซึ่งประกอบด้วย (1) เสรีภาพของบุคคลในการเลือกวิถีการดำเนินชีวิต (2) โอกาสที่จะเข้าถึงความมั่งคั่งได้โดยเสรี และ (3) การเสาะแสวงหาและการแลกเปลี่ยนเป้าประสงค์ร่วมระหว่างบุคคลกับสังคมของตน” Zangrando, Joanna Schneider and Zangrando, Robert L.

ดู สหภาพโซเวียตและฝันอเมริกัน

ฝั่ม วัน ด่ง

ฝั่ม วัน ด่ง (Phạm Văn Đồng ฝั่มวันโด่ง) เป็นนายกรัฐมนตรีของเวียดนามเหนือตั้งแต..

ดู สหภาพโซเวียตและฝั่ม วัน ด่ง

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": (ซ้าย) โจเซฟ สตาลิน แห่งโซเวียต(กลาง) แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ แห่งสหรัฐ(ขวา) วินสตัน เชอร์ชิล แห่งสหราชอาณาจักรในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

ฝ่ายอักษะ

ฝ่ายอักษะ (Axis Powers; Achsenmächte; Potenze dell'Asse; Suujikukoku.) หรือชื่อ อักษะ โรม-เบอร์ลิน-โตเกียว (Rome-Berlin-Tokyo Axis) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางการทหารซึ่งสู้รบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยสามประเทศหลัก คือ นาซีเยอรมนี อิตาลีและจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งทั้งสามร่วมลงนามกติกาสัญญาไตรภาคี เมื่อเดือนกันยายน..

ดู สหภาพโซเวียตและฝ่ายอักษะ

ภัยพิบัติเชียร์โนบีล

รงไฟฟ้าเชียร์โนบีลในปัจจุบัน แผนที่แสดงที่ตั้งของโรงไฟฟ้าเชียร์โนบีล เมือง Pripyat ที่ถูกทิ้งร้าง จะเห็นโรงไฟฟ้าเชียร์โนบีลอยู่ไกล ๆ ภัยพิบัติเชียร์โนบีล (Чорнобильська катастрофа, Čornobyľśka katastrofa; Chernobyl disaster) เป็นอุบัติเหตุทางนิวเคลียร์ขั้นร้ายแรงที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 26 เมษายน ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและภัยพิบัติเชียร์โนบีล

ภาษามารี

ษามารี (марий йылме) เป็นภาษากลุ่มฟินโน-อูกริก สาขาวอลกานิก มีผู้พูดราว 600,000 คนในประเทศรัสเซีย ส่วนใหญ่อยุ่ในสาธารณรัฐมารีอิเอล และบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำโวลกาซึ่งอยู่ทางตะวันออกของเทือกเขายูรัลและในตาตาร์สถาน อุดมูร์ต และเปียร์ม มีสำเนียงหลักสองสำเนียงคือ สำเนียงมารีตะวันตกหรือฮิลกับสำเนียงตะวันออกหรือเมียดาว มีความแตกต่างกันมากและสำเนียงตะวันออกใช้แพร่หลายกว่า เป็นภาษาราชการคู่กับภาษารัสเซียในสาธารณรัฐมารีอิเอล.

ดู สหภาพโซเวียตและภาษามารี

ภาษามุนจี

ษามุนจี เป็นภาษากลุ่มปามีร์ใช้พูดในบาดักสถานในอัฟกานิสถาน ใก้เคียงกับภาษายิดคาที่ใช้พูดในปากีสถาน บริเวณนี้มีความสำคัญในการรุกรานอัฟกานิสถานของโซเวียต เพราะโซเวียตไม่อาจหยุดการการเคลื่อนย้ายกำลังคนและอาวุธผ่านช่องแคบโดราห์ที่เชื่อมระหว่างบาดักสถานกับชิตรัลในปากีสถานได้ ผู้พูดภาษามุนจีส่วนใหญ่อพยพข้ามแดนเข้าสู่ชิตรัลในระหว่างสงครามในอัฟกานิสถาน.

ดู สหภาพโซเวียตและภาษามุนจี

ภาษายิดดิช

ษายิดดิช (ภาษายิดดิช: ייִדיש, Yiddish,.

ดู สหภาพโซเวียตและภาษายิดดิช

ภาษายูฮูรี

ษายูฮูรี(Juhuri) หรือภาษาตัตของชาวยิว (Judæo-Tat) หรือ ภาษายูวูรี (Juwuri; çuhuri / жугьури / ז'אוּהאוּראִ) เป็นรูปแบบหนึ่งของภาษาตัต และเป็นภาษาพื้นเมืองในบริเวณตะวันออกของเทือกเขาคอเคซัสโดยเฉพาะอาเซอร์ไบจานและดาเกสถาน รวมทั้งในอิสราเอล ภาษานี้ใกล้เคียงกับภาษาเปอร์เซีย อยู่ในกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงใต้ ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน ภาษาที่ใกล้เคียงกันคือภาษาตัตของชาวมุสลิมในอาเซอร์ไบจาน คำว่ายูฮูรีและยูฮูโรแปลตรงตัวหมายถึงของยิว และชาวยิว ภาษายูฮูรีนี้มีลักษณะของกลุ่มภาษาเซมิติกปนอยู่มาก มีเสียง "ayin" (ע) ซึ่งภาษาในบริเวณนั้นไม่มีเสียงนี้.

ดู สหภาพโซเวียตและภาษายูฮูรี

ภาษารัสเซีย

ษารัสเซีย (русский язык) เป็นภาษากลุ่มสลาวิกที่ใช้เป็นภาษาพูดอย่างกว้างขวางที่สุด ภาษารัสเซียจัดอยู่ในกลุ่มอินโด-ยูโรเปียน ดังนั้นจึงมีความสัมพันธ์กับภาษาสันสกฤต ภาษากรีก และภาษาละติน รวมไปถึงภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก โรมานซ์ และเคลติก (หรือเซลติก) ยุคใหม่ ตัวอย่างของภาษาทั้งสามกลุ่มนี้ได้แก่ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาไอริชตามลำดับ ส่วนภาษาเขียนนั้นมีหลักฐานยืนยันปรากฏอยู่เริ่มจากคริสต์ศตวรรษที่ 10 ในปัจจุบัน ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีการใช้นอกประเทศรัสเซียด้วย มีเอกสารทางวิทยาศาสตร์จำนวนหนึ่งตีพิมพ์เป็นภาษารัสเซีย รวมทั้งความรู้ในระดับมหาวิทยาลัยจำนวนหนึ่ง ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีความสำคัญทางการเมืองในยุคที่สหภาพโซเวียตเรืองอำนาจและยังเป็นภาษาราชการภาษาหนึ่งของสหประชาชาต.

ดู สหภาพโซเวียตและภาษารัสเซีย

ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์

ษาศาสตร์คอมพิวเตอร์ หรือ ภาษาศาสตร์เชิงคำนวณ (computational linguistics) เป็นสหวิทยาการที่ว่าด้วยการสร้างแบบจำลองเชิงตรรกะของภาษาธรรมชาติ จากมุมมองในเชิงคำนวณ แบบจำลองนี้ ไม่ได้จำกัดอยู่แค่ในสาขาในสาขาหนึ่งของภาษาศาสตร์ เดิมทีเดียว นักภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์มักจะเป็นนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ซึ่งเชี่ยวชาญในด้านการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผลภาษาธรรมชาติ (natural language) แต่งานวิจัยในช่วงหลัง ได้แสดงให้เห็นว่า ภาษานั้นซับซ้อนเกินกว่าที่คาดคิดไว้ ดังนั้นกลุ่มศึกษาภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์จึงกลายสภาพเป็นกลุ่มสหวิทยาการไป โดยจะต้องมีอย่างน้อยหนึ่งคนที่เป็นนักภาษาศาสตร์​ (นั่นคือ ฝึกฝนมาทางด้านภาษาศาสตร์โดยเฉพาะ) ส่วนคนอื่น ๆ อาจจะเชี่ยวชาญในสาขา วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ปัญญาประดิษฐ์ จิตวิทยาปริชาน (en:cognitive psychology) ตรรกวิทยา และอื่น.

ดู สหภาพโซเวียตและภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์

ภาษาอาหรับเอเชียกลาง

ษาอาหรับเอเชียกลาง (Central Asian Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในอุซเบกิสถานและทาจิกิสถาน ปัจจุบันเป็นภาษาที่ใกล้ตายแล้ว เคยใช้พูดระหว่างชุมชนชาวอาหรับและเผ่าต่างๆในเอเชียกลาง ที่อยู่ในซามาร์คันด์ บูคารา กิซกวาดัรยา สุรคันดัรยา (ปัจจุบันอยู่ในอุซเบกิสถาน) และคัตลอน (ปัจจุบันอยู่ในทาจิกิสถาน) รวมไปถึงอัฟกานิสถาน การอพยพเข้าสู่เอเชียกลางของชาวอาหรับครั้งแรกเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 13 ซึ่งเป็นช่วงที่มีการแพร่ขยายของศาสนาอิสลามภาษาอาหรับกลายเป็นภาษาทั่วไปทางด้านวิทยาศาสตร์และวรรณคดีอย่างรวดเร็วด้วยอิทธิพลของศาสนาอิสลาม ชาวอาหรับในเอเชียกลางส่วนใหญ่จะแยกตัวอยู่อย่างโดดเดี่วและไม่แต่งงานข้ามเผ่า ทำให้ภาษาของพวกเขายังคงอยู่มาจนถึงพุทธศตวรรษที่ 25 เมื่อราว..

ดู สหภาพโซเวียตและภาษาอาหรับเอเชียกลาง

ภาษาอุยกูร์

ษาอุยกูร์ เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก พูดโดยชาวอุยกูร์ในเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ ประเทศจีน.

ดู สหภาพโซเวียตและภาษาอุยกูร์

ภาษาอุซเบก

ษาอุซเบก (อักษรละติน: O'zbek tili ออซเบก ติลี; อักษรซีริลลิก: Ўзбек) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่พูดโดยชาว อุซเบกในประเทศอุซเบกิสถานและพื้นที่อื่น ๆ ในเอเชียกลาง ภาษาที่ใกล้เคียงที่สุดในเชิงคำและไวยากรณ์คือภาษาอุยกูร์ ภาษาเปอร์เซียและภาษารัสเซียได้มีอิทธิพลสำคัญต่อภาษาอุซเบก ภาษาอุซเบกเป็นภาษาราชการของประเทศอุซเบกิสถาน และมีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 18.5 ล้านคน ภาษาอุซเบกก่อนปีพ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและภาษาอุซเบก

ภาษาทาจิก

ษาทาจิก (Tajik Persian หรือ Tajik language หรือ Tajiki;Tadjik หรือ Tadzhik;,อักษรอาหรับเปอร์เซีย تاجیکی‎, tojikī โทจิกิ),тоҷикӣ) เป็นรูปแบบสมัยใหม่แบบหนึ่งของภาษาเปอร์เซีย ที่พูดในเอเชียกลาง เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ใน กลุ่มภาษาอิเรเนียน คนที่พูดภาษาทาจิกส่วนใหญ่อาศัยในประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอุซเบกิสถาน ประเทศอัฟกานิสถาน และตะวันตกของปากีสถาน แต่ผู้พูดภาษาทาจิกประมาณ 30,000 คน ใกล้ชายแดนประเทศทาจิกิสถานในประเทศจีน) เป็นภาษาราชการของประเทศทาจิกิสถาน ภาษาทาจิก ที่เป็นภาษาราชการของทาจิกิสถาน ต่างจากภาษาเปอร์เซียที่ใช้พูดในอิหร่านและอัฟกานิสถาน ซึ่งเป็นผลมาจากการแบ่งแยกดินแดนทางการเมือง การแบ่งแยกทางภูมิศาสตร์และการจัดมาตรฐานทางภาษา รวมทั้งอิทธิพลของภาษารัสเซียและภาษากลุ่มเตอร์กิกที่อยู่รอบๆ มาตรฐานของภาษานี้ยึดตามสำเนียงตะวันตกเฉียงเหนือของทาจิกิสถานซึ่งเป็นเมืองเก่าของซามาร์คันฑ์ และได้รับอิทธิพลจากภาษาอุซเบกด้วย ภาษาทาจิกมีหน่วยคำในคำศัพท์ การออกเสียงและไวยากรณ์ซึ่งไม่มีในภาษาเปอร์เซียที่พูดในที่อื่น ซึ่งน่าจะเป็นมาจากการที่ถูกแบ่งแยกโดยภูมิศาสตร์เขตเทือกเขาของเอเชียกลาง.

ดู สหภาพโซเวียตและภาษาทาจิก

ภาษาของชาวยิว

งานเขียนอายุราวพุทธศตวรรษที่ 21 ของ Elia Levita แสดงจากซ้ายไปขวา ภาษายิดดิช - ภาษาฮีบรู - ภาษาละติน - ภาษาเยอรมัน ภาษาของชาวยิว (Jewish languages) เป็นกลุ่มของภาษาและสำเนียงที่พัฒนาในชุมชนชาวยิวทั่วโลกทั้งในยุโรป เอเชียและแอฟริกาเหนือ พัฒนาการของภาษาเหล่านี้เกิดขึ้นโดยการเพิ่มศัพท์ภาษาฮีบรูเพื่อใช้อธิบายแนวคิดเฉพาะของชาวยิวเข้าสู่ภาษาท้องถิ่น ส่วนใหญ่เขียนด้วยอักษรฮีบรู การอยู่เป็นกลุ่มก้อนอย่างเป็นเอกเทศของชาวยิว ทำให้ภาษาเหล่านี้รักษาคำศัพท์และลักษณะดั้งเดิมของภาษาที่เป็นภาษาต้นกำเนิดได้ภาษาของชาวยิวที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษายิดดิช ซึ่งเคยมีผู้พูดมากที่สุดในอดีต ภาษาลาดิโนที่เป็นภาษาของชาวยิวเซฟาร์ดีมากว่า 5 ศตวรรษและภาษาอาหรับของชาวยิวที่ใช้พูดในบริเวณที่มีผู้พูดภาษาอาหรับมากว่าพันปี ภาษาฮีบรูเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนายูดาย และเคยใช้เป็นภาษาพูดมาก่อน จนราว..

ดู สหภาพโซเวียตและภาษาของชาวยิว

ภาษาคัลมึค

ษาคัลมึค (Kalmyk language; Хальмг келн) จัดอยู่ในกลุ่มย่อยโอยรัต-คัลมึค-ดาร์คัต ของภาษากลุ่มมองโกล มีลักษณะบางส่วนคล้ายกับภาษากลุ่มยูราลิกและภาษาอุยกูร์ จนอาจจัดให้อยู่ในตระกูลตระกูลภาษาอัลไตอิกหรือยูราล-ตระกูลภาษาอัลไตอิกได้ มีผู้พูด 500,000 คนในสาธารณรัฐคัลมืยคียา (ระหว่างวอลกาและแม่น้ำดอน) ของรัสเซีย ในภาคตะวันตกของจีน และภาคตะวันตกของมองโกเลีย วรรณคดีพื้นบ้านของภาษาคัลมึคย้อนหลังไปได้ถึงพุทธศตวรรษที่ 16 ภาษาคัลมึคเขียนด้วยอักษรอุยกูร์เมื่อพุทธศตวรรษที่ 16 ต่อมาใน..

ดู สหภาพโซเวียตและภาษาคัลมึค

ภาษาตันกัต

漢合時掌中珠 ภาษาตันกัต หรือภาษาซิเซีย เป็นตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าโบราณใช้พูดในจักรวรรดิตันกัต มีความใกล้เคียงกับภาษาทิเบต ภาษาพม่า และอาจมีความใกล้เคียงกับภาษาจีนด้วย เป็นภาษาราชการในจักรวรรดิตันกัต (ภาษาจีนเรียก ซิเซีย 西夏) ซึ่งเป็นอิสระในสมัยราชวงศ์ซ้องเมื่อราว..

ดู สหภาพโซเวียตและภาษาตันกัต

ภาษาโนไก

ษาโนไก หรือภาษาตาตาร์ โนไก เป็นภาษาที่ใช้พูดทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัสเซีย แบ่งได้เป็นสำเนียงหลักสามสำเนียงคือ Qara-Nogay (โนไกเหนือหรือโนไกดำ), ใช้พูดในดาเกสถาน Nogai Proper, ใช้พูดใน Stavropol; และ Aqnogay (โนไกตะวันตกหรือโนไกขาว), ใช้พูดในบริเวณแม่น้ำกูบัน Qara-Nogay และNogai Proper มีลักษณะทางภาษาศาสตร์ใกล้เคียงกันแต่ Aqnogay มีลักษณะที่ต่างออกไป จัดอยู่ในภาษากลุ่มเคียปชัก-โนไก ของภาษากลุ่มเตอร์กิก สาขาเคียปชัก เช่นเดียวกับภาษาตาตาร์ ไครเมีย ภาษาการากัลปัก และภาษาคีร์กีซ.

ดู สหภาพโซเวียตและภาษาโนไก

ภาษาเกาหลี

ษาเกาหลี (한국어 หรือ 조선말, ดูในส่วนชื่อ) เป็นภาษาที่ส่วนใหญ่พูดใน ประเทศเกาหลีใต้ และ ประเทศเกาหลีเหนือ ซึ่งใช้เป็นภาษาราชการ และมีคนชนเผ่าเกาหลีที่อาศัยอยู่ในประเทศจีนพูดโดยทั่วไป(ในจังหวัดปกครองตนเองชนชาติเกาหลีเหยียนเปียน มณฑลจี๋หลิน ซึ่งมีพรมแดนติดกับเกาหลีเหนือ) ทั่วโลกมีคนพูดภาษาเกาหลี 78 ล้านคน รวมถึงกลุ่มคนในอดีตสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล ญี่ปุ่น และเมื่อเร็ว ๆ นี้ก็มีผู้พูดใน ฟิลิปปินส์ ด้วย การจัดตระกูลของภาษาเกาหลีไม่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป แต่คนส่วนมากมักจะถือเป็นภาษาเอกเทศ นักภาษาศาสตร์บางคนได้จัดกลุ่มให้อยู่ใน ตระกูลภาษาอัลไตอิกด้วย ทั้งนี้เนื่องจากภาษาเกาหลีมีวจีวิภาคแบบภาษาคำติดต่อ ส่วนวากยสัมพันธ์หรือโครงสร้างประโยคนั้น เป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา (SOV) อักษรเกาหลี เรียกว่าอักษรฮันกึล ใช้แทนเสียงของแต่ละพยางค์ นอกจากนี้ใช้ยังตัวอักขระแบบจีนเรียกว่าอักษรฮันจา ในการเขียนด้วย ในขณะที่คำศัพท์ที่ใช้กันส่วนใหญ่เป็นคำภาษาเกาหลีแท้ โดยที่มีคำศัพท์มากกว่า 50% มาจากภาษาจีนทั้งทางตรงและทางอ้อม.

ดู สหภาพโซเวียตและภาษาเกาหลี

ภาษาเครียมชาก

ษาเครียมชาก (Krymchak language) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่ใช้พูดในไครเมียโดยชาวเครียมชาก บางครั้งจัดเป็นสำเนียงของภาษาตาตาร์ไครเมียเรียกภาษาตาตาร์ไครเมียของชาวยิว ภาษานี้มีคำยืมจากภาษาฮีบรูมาก ก่อนยุคสหภาพโซเวียต เคยเขียนด้วยอักษรฮีบรู จนถึงยุคของสหภาพโซเวียตเมื่อราว..

ดู สหภาพโซเวียตและภาษาเครียมชาก

ภาษาเคิร์ดเหนือ

ษาเคิร์ดเหนือ หรือ ภาษากุรมันชี (Kurmanji, ภาษากุรมันชี: Bahdînî) เป็นสำเนียงของภาษาเคิร์ดที่มีผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในตุรกีและซีเรีย รวมทั้งประเทศในอดีตสหภาพโซเวียตและเลบานอน มีในอิรักและอิหร่านเป็นส่วนน้อ.

ดู สหภาพโซเวียตและภาษาเคิร์ดเหนือ

มหาวิทยาลัยมอสโก

'มหาวิทยาลัยมอสโก มหาวิทยาลัยมอสโก หรือ มหาวิทยาลัยโลโมโนซอฟ (Моско́вский госуда́рственный университе́т и́мени М. В. Ломоно́сова: МГУ) เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดและมีชื่อเสียงที่สุดในประเทศรัสเซีย ก่อตั้งขึ้นในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและมหาวิทยาลัยมอสโก

มหาวิทยาลัยเสรีแห่งเบอร์ลิน

มหาวิทยาลัยเสรีแห่งเบอร์ลิน (FU Berlin; เยอรมัน: Freie Universität Berlin; อังกฤษ: The Free University of Berlin) เป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ก่อตั้งใน ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและมหาวิทยาลัยเสรีแห่งเบอร์ลิน

มอสโก

มอสโก (Moscow; Москва́, มะสฺกฺวา) เป็นเมืองหลวงของประเทศรัสเซีย เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน การศึกษา และ การเดินทางของประเทศ โดยตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำมัสกวา ซึ่งในตัวเมืองมีประชากรอยู่อาศัยกว่า 1 ใน 10 ของประเทศ ทำให้เป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในยุโรป และเมื่อสมัยครั้งที่สหภาพโซเวียตยังไม่ล่มสลาย กรุงมอสโกก็ยังเป็นเมืองหลวงของสหภาพโซเวียตอีกด้วย ในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและมอสโก

มารัต ซาฟิน

มารัต มิไฮโลวิช ซาฟิน (อังกฤษ:Marat Safin) อดีตนักเทนนิสมือ 1 ของโลกชาวรัสเซีย เกิดเมื่อวันที่ 27 มกราคม ค.ศ. 1980 ที่กรุงมอสโก สหภาพโซเวียต เป็นพี่ชายของดินารา ซาฟินา อดีตนักเทนนิสอาชีพหญิงมือ 1 ของโลก ซึ่งมารัตและดินาราถือเป็นคู่พี่ชาย-น้องสาวคู่แรกในประวัติศาสตร์เทนนิสอาชีพที่ครองอันดับ 1 ของโลก หมวดหมู่:นักเทนนิสชาวรัสเซีย หมวดหมู่:นักกีฬาจากมอสโก หมวดหมู่:นักกีฬาโอลิมปิกทีมชาติรัสเซีย หมวดหมู่:นักเทนนิสในโอลิมปิกฤดูร้อน 2004.

ดู สหภาพโซเวียตและมารัต ซาฟิน

มาริอินสกีบัลเลต์

ัลเลต์รอบปฐมทัศน์เรื่อง ''เจ้าหญิงนิทรา'' (Sleeping Beauty) แสดงเมื่อ พ.ศ. 2433 คณะบัลเลต์มาริอินสกี (Mariinsky Ballet) หรือ อิมพีเรียลบัลเลต์ (Imperial Ballet) เป็นคณะบัลเลต์ที่มีชื่อเสียงในประวัติศาสตร์ แสดงประจำอยู่ที่ โรงละครมาริอินสกี เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ประเทศรัสเซีย คณะบัลเลต์มาริอินสกี ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและมาริอินสกีบัลเลต์

มาริเนอร์ 9

มาริเนอร์ 9 (Mariner 9 / Mariner Mars '71 / Mariner-I) เป็นยานสำรวจอวกาศขององค์การนาซาในโครงการมาริเนอร์ที่ช่วยในภารกิจการสำรวจดาวอังคาร ยานออกเดินทางสู่ดาวอังคารเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและมาริเนอร์ 9

มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์

มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์ (Margaret Bourke-White; 14 มิถุนายน ค.ศ. 1904 – 27 สิงหาคม ค.ศ. 1971) เป็นช่างภาพหญิงชาวอเมริกันที่ถ่ายภาพแนวสารคดี (en:Photojournalism) ซึ่งเป็นที่รู้จักในฐานะช่างภาพชาวต่างชาติคนแรกที่ได้รับอนุญาตให้ถ่ายภาพโรงงานอุตสาหกรรมในสหภาพโซเวียต ทั้งยังเป็นช่างภาพและนักข่าวสงคราม (War photographer) คนแรกที่เป็นผู้หญิงที่ได้รับอนุญาตให้ทำงานในสมรภูมิรบ และนอกจากนี้ยังเป็นช่างภาพหญิงคนแรกของนิตยสารไลฟ์ (en:Life Magazine) ภาพถ่ายของมาร์กาเร็ตปรากฏบนปกนิตยสารดังกล่าวในฉบับปฐมฤกษ์ เธอเสียชีวิตด้วยโรคพาร์กินสันเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 1971 ณ รัฐคอนเนตทิคัต หลังจากเริ่มมีอาการของโรคดังกล่าวเมื่อ 8 ปีก่อนหน้านั้น มาร์กาเร็ต นับเป็นช่างภาพหญิงคนสำคัญคนหนึ่งของวงการถ่ายภาพของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในวงการภาพถ่ายสารคดีและภาพข่าว.

ดู สหภาพโซเวียตและมาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์

มาร์ธา เบียทริซ พอตเตอร์ เวบบ์

มาร์ทา เบียทริซ พอตเตอร์ เวบบ์ มาร์ธา เบียทริซ พอตเตอร์ เวบบ์ (พ.ศ. 2401 - พ.ศ. 2486) เป็นนักสังคมนิยม นักเศรษฐศาสตร์ชาวอังกฤษ ทั้งยังได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นนักปฏิรูปด้วย และเป็นสมาชิกคนสำคัญของสมาคมเฟเบียน (Fabian Society) ซึ่งเป็นองค์กรที่ทำหน้าที่เป็นปากเป็นเสียงคุ้มครองผลประโยชน์ให้กับชนชั้นกรรมาชีพโดยตรง.

ดู สหภาพโซเวียตและมาร์ธา เบียทริซ พอตเตอร์ เวบบ์

มิลลา โยโววิช

มิลลา โยโววิช (Milla Jovovich; เกิด 17 ธันวาคม ค.ศ. 1975) เป็นนักแสดง นางแบบ นักดนตรี และนักออกแบบแฟชั่นชาวอเมริกัน เกิดในเคียฟ ในอาชีพการทำงานของเธอ เธอมีผลงานแสดงในภาพยนตร์แนวนวนิยายวิทยาศาสตร์และแอ็กชันหลายเรื่อง ในทางดนตรีช่องวีเอชวัน เรียกเธอว่า "ราชินีผู้ครองความเจ๋ง" โยโววิช เริ่มอาชีพนางแบบเมื่ออายุ 11 ปี เมื่อริชาร์ด เอเวดอนเลือกให้เธอเป็น 1 ในโฆษณาของเรฟลอน ใน "ผู้หญิงที่ไม่น่าลืมเลือนที่สุดในโลก" เธอยังทำงานในโฆษณาที่เป็นที่สร้างชื่ออื่นอย่าง เครื่องสำอางค์โลรีอัล, บานานารีพับบลิก, คริสเตียนดิออร์, ดอนนาคาแรน และเวอร์ซาเช ในปี 1988 เธอเริ่มงานแสดงอาชีพครั้งแรกในภาพยนตร์โทรทัศน์เรื่อง The Night Train to Kathmandu และถัดมาปีเดียวกันเธอแสดงภาพยนตร์เรื่องแรกคือเรื่อง Two Moon Junction หลังจากนั้นก็ปรากฏตัวเล็กน้อยในโทรทัศน์อย่างเช่น "Fair Exchange" (1989) และรับบทเป็นสาวฝรั่งเศส (ตอนเธออายุ 14 ปีในเวลานั้น) ใน Married with Children เธอเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นจากการแสดงภาพยนตร์รักเรื่อง Return to the Blue Lagoon (1991) ภาคต่อของภาพยนตร์ The Blue Lagoon เธอแสดงในภาพยนตร์เรื่อง Dazed and Confused ในปี 1993 แสดงร่วมกับเบน แอฟเฟล็ก และแมทธิว แม็คคอนาเฮย์ โยโววิชยังแสดงร่วมกับบรูซ วิลลิสในภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์เรื่อง The Fifth Element (1997) และต่อมารับบทใน The Messenger: The Story of Joan of Arc (1999) ในปี 2002 เธอแสดงในภาพยนตร์ดัดแปลงจากวิดีโอเกมเรื่อง Resident Evil ที่ต่อมามีภาคต่ออีก 3 ภาคคือ Resident Evil: Apocalypse (2004), Resident Evil: Extinction (2007), Resident Evil: Afterlife (2010) และ Resident Evil: Retribution (2012) นอกจากการเป็นนางแบบและนักแสดง โยโววิชออกผลงานอัลบั้มที่ได้รับเสียงวิจารณ์ที่ดี ชุด The Divine Comedy ในปี 1994 เธอยังคงออกเดโม่ของเพลงหลายเพลงในเว็บไซต์อย่างเป็นทางการและทำเพลงประกอบภาพยนตร์หลายเพลง โยโววิชยังไม่ได้ออกผลงานอัลบั้มถัดมา ในปี 2003 เธอและนางแบบที่ชื่อคาร์เมน ฮอว์ก ออกไลน์เสื้อผ้าที่ชื่อ โยโววิช-ฮอว์ก ที่หยุดดำเนินงานในต้นปี 2008 ในฤดูกาลที่ 3 ของการทำไลน์เสื้อผ้านี้ก่อนเลิกไป มีวางขายในเฟรด ซีกอลในลอสแอนเจลิส, ในฮาร์วีย์ นิโคลส์ และมากกว่า 50 ร้านค้าทั่วโลก โยโควิชยังมีบริษัทผลิตงานของเธอที่ชื่อ ครีเอเจอร์เอนเตอร์เทนเมนต.

ดู สหภาพโซเวียตและมิลลา โยโววิช

มิลา โรดิโน

ลงชาติบัลแกเรียในปัจจุบันมีชื่อว่า เพลง "มิลา โรดิโน" (Мила Родино) แปลว่า มาตุภูมิที่รัก เพลงนี้มีที่มาจากเนื้อร้องและทำนองของเพลง "กอร์ดา สตารา พลานินา" ("Gorda Stara Planina") ซึ่งประพันธ์โดย สเวตาน ราโดสลาวอฟ (Tsvetan Radoslavov) ในปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและมิลา โรดิโน

มิคาอิล เพลตเนฟ

มิคาอิล วาซิลเยวิช เพลตเนฟ (Михаил Васильевич Плетнёв - Mikhail Vasil'evič Pletnëv; Mikhail Vasilievich Pletnev) เป็นนักเปียโน วาทยกร และนักประพันธ์ดนตรีคลาสสิกชาวรัสเซีย เพลตเนฟเกิดในครอบครัวนักดนตรีคลาสสิกจากเมืองอาร์กแองเจล ทางตอนเหนือของรัสเซีย บิดาเป็นนักแอคคอร์เดียน มารดาเป็นนักเปียโน เขาเริ่มเล่นดนตรีตั้งแต่เด็ก และเข้าแข่งขันได้รับรางวัลเหรียญทองจากการแข่งขันนานาชาติไชคอฟสกี้ ตั้งแต่อายุ 21 ปี เมื่อ..

ดู สหภาพโซเวียตและมิคาอิล เพลตเนฟ

มิโคยัน

ริษัทผลิตอากาศยานรัสเซียมิก หรือ อาร์เอสเค มิก (Russian Aircraft Corporation MiG, RSK MiG) เป็นบริษัทของรัสเซีย เดิมทีเคยเป็นมิโคยัน หรือ สำนักงานออกแบบมิโคยัน-กูเรวิชค์ (Mikoyan, Mikoyan-i-Gurevich Design Bureau (Микоян и Гуревич, МиГ) มันเป็นสำนักงานออกแบบอากาศยานทางทหารซึ่งเน้นไปที่เครื่องบินขับไล่ ในอดีตเคยเป็นสำนักงานออกแบบของสหภาพโซเวียตและก่อตั้งขึ้นโดยอาร์เทม มิโคยันและมิไคล์ กูเรวิชค์จึงเป็นที่มาของคำว่ามิก (MiG) เมื่อมิโคยันเสียชีวิตลงในปีพ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและมิโคยัน

มิโคยัน มิก-27

มิโคยัน มิก-27 (Mikoyan MiG-27 Flogger-D/J, Микоян и Гуревич МиГ-27) (นาโต้ ใช้ชื่อรหัสว่าฟลอกเกอร์-ดี/เจ) เป็นเครื่องบินโจมตีภาคพื้นดินที่สร้างโดยสำนักงานออกแบบมิโคยันของสหภาพโซเวียตและต่อมาถูกผลิตใต้ใบอนุญาตโดยอินเดียใช้ชื่อว่า บาฮาดูร (Bahadur) แปลว่าผู้กล้า อย่างไรก็ตามมันไม่เหมือนมิก-23 มิก-27 นั้นไม่ถูกใช้อย่างแพร่หลายนักนอกจากรัสเซีย ประเทศส่วนมากใช้กลับใช้มิก-23บีเอ็นและซุคฮอย ซู-25 แทน ในปัจจุบันมันประจำการอยู่ในอินเดียและศรีลังกาเท่านั้น ส่วนของรัสเซียและยูเครนนั้นได้ปลดประจำการแล้ว.

ดู สหภาพโซเวียตและมิโคยัน มิก-27

มิโคยัน มิก-29

มิก-29 (MiG-29, МиГ-29) เป็นเครื่องบินขับไล่รุ่นที่สี่ซึ่งถูกออกแบบโดยสหภาพโซเวียตสำหรับบทบาทครองความเป็นเจ้าอากาศ มันถูกสร้างขึ้นในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและมิโคยัน มิก-29

มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-21

มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-21 (Mikoyan-Gurevich MiG-21 Fishbed, Микоян и Гуревич МиГ-21) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าฟิชเบด) เป็นเครื่องบินขับไล่พลังไอพ่นเร็วเหนือเสียงที่ออกแบบและสร้างขึ้นโดยมิโคยัน-กูเรวิชค์ของสหภาพโซเวียต มันมีชื่อเล่นว่า"บาลาไลก้า" (balalaika) ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีของรัสเซีย หรือ ołówek (แปลว่าดินสอ) โดยนักบินโปแลนด์ รุ่นแรกๆ ถูกจัดว่าเป็นเครื่องบินเครื่องยนต์ไอพ่นรุ่นที่สอง ในขณะที่รุ่นต่อมาถูกจัดว่าเป็นรุ่นที่สาม มีประมาณ 60 ประเทศ ในกว่า 4 ทวีปที่ใช้ Mig-21 และมันยังคงประจำการอยู่ในหลายประเทศมากว่าครึ่งศตวรรษตั้งแต่ที่มันบินครั้งแรก Mig-21 ได้ทำสถิติไว้มากมายในประวัติศาสตร์การบินยุคใหม่ รวมทั้งมันยังเป็นเครื่องบินไอพ่นที่ผลิตออกมามากที่สุดในประวัติศาสตร์การบิน เป็นเครื่องบินรบที่มีมากที่สุดตั้งแต่สงครามเวียดนาม และเป็นการผลิตที่ยาวนานที่สุดของเครื่องบินรบ (1959 - 1985).

ดู สหภาพโซเวียตและมิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-21

มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-23

มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-23 (Mikoyan-Gurevich MiG-23 Flogger, Микоян и Гуревич МиГ-23) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าฟลอกเกอร์) เป็นเครื่องบินขับไล่ปีกพับได้ที่ออกแบบโดยมิโคยัน-กูเรวิชค์ของสหภาพโซเวียต มันถูกจัดว่าเป็นเครื่องบินรุ่นที่สามของโซเวียตพร้อมกับมิก-25 มันเป็นเครื่องบินขับไล่แบบแรกของโซเวียตที่มีระบบเรดาร์ติดตามเป้าหมายและขีปนาวุธเกินระยะมองเห็น และเป็นผลิตภัณฑ์แรกของมิกที่มีช่องรับลมอยู่ที่ด้านข้างลำตัว การผลิตเริ่มขึ้นในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและมิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-23

มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-25

มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-25 (Mikoyan-Gurevich MiG-25 Foxbat) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าฟอกซ์แบท) เป็นเครื่องบินสกัดกั้น ทิ้งระเบิด และลาดตระเวนความเร็วเหนือเสียงที่ออกแบบโดยมิโคยัน-กูเรวิชค์ของสหภาพโซเวียต ต้นบบได้ทำการบินครั้งแรกในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและมิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-25

มุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์

อัลคอวาริซมีย์ บนแสตมป์ของสหภาพโซเวียต ในโอกาสระลึกถึงชาตกาลครบรอบ 1,200 ปี อะบู อับดัลลาหฺ มุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์ (Abū ʿAbdallāh Muḥammad ibn Mūsā al-Khwārizmī) (ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและมุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์

มีฮาอิล กอร์บาชอฟ

มีฮาอิล เซียร์เกเยวิช กอร์บาชอฟ (Михаи́л Серге́евич Горбачёв, Mikhail Sergeyevich Gorbachyov) เป็นอดีตประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต ทั้งยังเคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตอีกด้วย ความพยายามปฏิรูปสหภาพของกอร์บาชอฟได้นำไปสู่การล่มสลายของสหภาพโซเวียต และการยุติสงครามเย็น เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพประจำปี..

ดู สหภาพโซเวียตและมีฮาอิล กอร์บาชอฟ

มีเคอิล ซาคัชวีลี

มีเคอิล ซาคัชวีลี (จอร์เจีย: მიხეილ სააკაშვილი, Mikheil Saakashvili) เป็นนักการเมืองชาวยูเครนและอดีตนักการเมืองชาวจอร์เจียเขาเป็นอดีตประธานาธิบดีของสาธารณรัฐจอร์เจีย ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 25 มกราคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและมีเคอิล ซาคัชวีลี

ยอซีป บรอซ ตีโต

อซีป บรอซ (Јосип Броз/Josip Broz) หรือ ตีโต (Тито/Tito, พ.ศ. 2435-2523) เป็นรัฐบุรุษและประธานาธิบดีของประเทศยูโกสลาเวีย (พ.ศ. 2496-2523) เกิดที่เมืองคุมรอเวตส์ อาณาจักรโครเอเชีย-สลาโวเนียซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี (ปัจจุบันเมืองนี้อยู่ในประเทศโครเอเชีย) คำว่า "ตีโต" แปลว่า "นั่น-นี่" เป็นสมญานามที่ได้มาจากการชอบสั่งนั่นสั่งนี่เป็นประจำของเขาเมื่อมีอำนาจ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 ตีโตเข้าประจำการเป็นทหารในกองทัพบกออสเตรีย-ฮังการี ถูกจับเป็นเชลยโดยกองทัพรัสเซียและได้กลายเป็นคอมมิวนิสต์ในเวลาต่อมา ตีโตถูกจองจำเนื่องจากการสมรู้ร่วมคิดต่อต้านระบอบการปกครองในยูโกสลาเวีย (..

ดู สหภาพโซเวียตและยอซีป บรอซ ตีโต

ยาส 39

39 กริพเพน (JAS 39 Gripen) (อ่านในภาษาสวีเดนว่า "ยอซ แทร็กตี้นิโยะ กรีเผ่น") เป็นเครื่องบินขับไล่หลากบทบาทที่ผลิตโดยบริษัทซ้าบของประเทศสวีเดน โดยมีกริพเพน อินเตอร์เนชั่นแนล (Gripen International) ทำหน้าที่เป็นองค์กรหลักในการทำสัญญาซึ่งจะรับผิดชอบต่อการตลาด การขาย และการสนับสนุนเครื่องบินขับไล่กริพเพนทั่วโลก ปัจจุบันมันอยู่ในประจำการของกองทัพอากาศสวีเดน กองทัพอากาศเช็ก กองทัพอากาศฮังการี และกองทัพอากาศแอฟริกาใต้ และยังถูกสั่งซื้อโดยกองทัพอากาศไทยอีกด้วย มีกริพเพนทั้งหมด 236 ลำที่ถูกสั่งซื้อในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและยาส 39

ยาคอฟ สเมอร์นอฟฟ์

อฟ สเมอร์นอฟฟ์ ยาคอฟ สเมอร์นอฟฟ์ (Yakov Smirnoff (6 ธันวาคม ค.ศ. 1951) หรือ Yakov Naumovich Pokhis; Яков Наумович Похис) เป็นนักแสดงตลก นักวาด และอาจารย์ ชาวอเมริกันเชื้อสายยูเครน เขาเป็นที่รู้จักในการเล่นตลกเสียดสีชีวิตของเขาภายใต้การปกครองของโซเวียตเปรียบเทียบกับชีวิตที่อยู่ในสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันเขามีโรงละครในเมืองแบรนสัน รัฐมิสซูรี ในขณะเดียวกันเขาเป็นอาจารย์อยู่ที่มหาวิทยาลัยมิสซูรีสเตต และมหาวิทยาลัยดรูรี ในด้านการแสดง.

ดู สหภาพโซเวียตและยาคอฟ สเมอร์นอฟฟ์

ยาโกเลฟ ยัค-28

กเลฟ ยัค-28 (Yakovlev Yak-28) ยาโกเลฟ ยัค-28 เป็นเครื่องบินความเร็วเหนือเสียงเอนกประสงค์ องค์การนาโตกำหนดรหัสว่า ไฟร์บาร์ บริวเวอร์ และ เมสโตร บินครั้งแรกในวันที่ 5 มีนาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและยาโกเลฟ ยัค-28

ยาโกเลฟ ยัค-38

กเลฟ ยัค-38 (Yakovlev Yak-38 Forger) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าฟอร์จเจอร์) เป็นเครื่องบินรบขึ้นลงแนวดิ่ง (VTOL-Vertical Take Off and landing) แบบแรกของสหภาพโซเวียต เครื่องต้นแบบเริ่มบินครั้งแรกในปีพ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและยาโกเลฟ ยัค-38

ยาโกเลฟ ยัค-40

right ยาโกเลฟ ยัค-40 (Yakovlev Yak-40) ยัค-40 เป็นเครื่องบินที่โดยสารขนาดเล็กที่สร้างขึ้นเพื่ดใช้แทน ไลซูนอฟ ไล-2 หรือ ดักลาส ดีซี-3 ที่สร้างในสหภาพโซเวียต เครื่องต้นแบบ ยัค-40 บินเป็นครั้งแรกในวันที่ 21 ตุลาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและยาโกเลฟ ยัค-40

ยาโกเลฟ ยัค-42

right ยาโกเลฟ ยัค-42 (Yakovlev Yak-42) เครื่องบินโดยสาร ยัค-42 พัฒนาขึ้นมาจากยาโกเลฟ ยัค-40 โดยแผนแบบสร้างโดย อเล็กซานเดอร์ ยาโกเลฟ แห่งสำนักยาโกเลฟ โดยมีโครงสร้างง่ายๆ ประหยัด สามารถใช้งานได้ดีในภูมิประเทศที่ห่างไกล เครื่องต้นแบบ ยัค-42 เริ่มบินเป็นครั้งแรกในวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและยาโกเลฟ ยัค-42

ยุทธการทะเลสาบคาซาน

ทธการทะเลสาบคาซาน (Battle of Lake Khasan) หรือ เหตุการณ์ชางกูเฟิง (จีนและญี่ปุ่น: 張鼓峰事件, พินอิน: Zhānggǔfēng Shìjiàn, การออกเสียงแบบญี่ปุ่น: Chōkohō Jiken) ซึ่งเป็นความขัดแย้งทางทหารระหว่าง แมนจูกัว ซึ่งเป็นดินแดนยึดครองของจักรวรรดิญี่ปุ่นได้รุกล้ำอาณาเขตเข้าไปยังดินแดนของสหภาพโซเวียต การรุกล้ำอาณาเขตดังกล่าวนั้นเกิดจากความเชื่อของฝ่ายญี่ปุ่นที่ว่าสหภาพโซเวียตตีความตามสนธิสัญญาปักกิ่งผิดไป ซึ่งเป็นสนธิสัญญาที่ได้รับการลงนามมาตั้งแต่สมัยจักรวรรดิรัสเซีย และประเทศจีนสมัยราชวงศ์ชิงแล้ว และนอกเหนือจากนั้น เครื่องหมายกั้นอาณาเขตของทั้งสองฝ่ายก็ไม่มีความแน่นอน.

ดู สหภาพโซเวียตและยุทธการทะเลสาบคาซาน

ยุทธการที่บริเตน

ยุทธการบริเตน (Battle of Britain) คือการรบทางอากาศที่กองทัพอากาศเยอรมันหรือลุฟท์วัฟเฟอ (Luftwaffe) เปิดการโจมตีทางอากาศเพื่อชิงความได้เปรียบกับกองทัพอากาศหลวงของสหราชอาณาจักร ก่อนที่จะดำเนินการบุกทางทะเลและการทิ้งทหารพลร่มจากอากาศในปฏิบัติการสิงโตทะเล (Unternehmen Seelöwe) ที่ทางเยอรมันได้วางแผนไว้ก่อนหน้า ต้นเหตุของการรบครั้งนี้มาจากความคิดของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และนายทหารในกองทัพบกเยอรมันที่เชื่อว่าการบุกหมู่เกาะบริเตนข้ามทะเลจะไม่สามารถทำได้โดยง่ายถ้ากองทัพอากาศหลวงไม่ถูกทำลายเสียก่อน เป้าหมายหลักของลุฟวาฟเฟิลในการเปิดศึกทางอากาศคือเพื่อบั่นทอนหรือทำลายกองกำลังทางอากาศของอังกฤษจนอ่อนแอกว่าที่จะยับยั้งการบุกได้ ส่วนเป้าหมายรองก็คือทำลายโรงงานผลิตเครื่องบินและสาธารณูปโภคต่างๆ รวมทั้งทิ้งระเบิดใส่พื้นที่ที่มีความสำคัญทางการเมือง เพื่อข่มขู่ชาวบริเตนให้ยอมแพ้หรือยอมสงบศึกด้วย กระนั้น แม้เยอรมนีจะมีเครื่องบินรบที่ดีกว่าและนักบินที่มีประสบการณ์มากกว่า (สืบเนื่องจากการบุกครองโปแลนด์ก่อนหน้านี้) แต่ความเด็ดขาดของกองทัพอากาศหลวงและจำนวนเครื่องบินที่มากกว่า ทำให้ฝ่ายเยอรมันประสบกับความล้มเหลวในการทำลาย หรือแม้แต่จะบั่นทอนกำลังของกองทัพอากาศหลวงของอังกฤษ (หรือแม้แต่จะทำลายขวัญกำลังใจของชาวบริเตน)และพ่ายแพ้ไปในที่สุดซึ่งความพ่ายแพ้ครั้งนี้ของเยอรมันถือเป็นหนึ่งในความพ่ายแพ่ครั้งสำคัญของเยอรมันที่จะนำไปสู่ชัยชนะเหนือฝ่ายอักษะของฝ่ายสัมพันธมิตรในที่สุดเพราะเวลาต่อมานาซีเยอรมันได้หันเหไปโจมตีสหภาพโซเวียตแทนทำให้อังกฤษสามารถตั้งตัวได้และได้พันธมิตรใหม่เข้าร่วมต่อสู้กับนาซีเยอรมันคือ สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต ยุทธการบริเตนถือเป็นการรบครั้งแรกที่สู้กันทางอากาศตลอดทั้งศึก รวมถึงเป็นศึกที่มีปฏิบัติการณ์ทิ้งระเบิดที่ยาวนานและสูญเสียมากที่สุดเท่าที่เคยมีมาจนถึงปัจจุบัน และเป็นศึกที่มีการทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์ (ที่มีจุดประสงค์เพื่อทำลายเศรษฐกิจ หรือการผลิตของศัตรู ไม่ใช่การทำลายข้าศึกโดยตรง) ที่ถูกคิดค้นขึ้นตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง แต่ยังไม่ได้ถูกนำมาใช้จริง หมวดหมู่:แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง) หมวดหมู่:ยุทธการและปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:ปฏิบัติการและยุทธการทางอากาศ.

ดู สหภาพโซเวียตและยุทธการที่บริเตน

ยุทธการที่มอสโก

ทธการมอสโก เป็นชื่อที่นักประวัติศาสตร์โซเวียตตั้งโดยหมายถึงการสู้รบที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์สองช่วงบนพื้นที่ 600 กิโลเมตรบนแนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างเดือนตุลาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและยุทธการที่มอสโก

ยุทธการที่สตาลินกราด

ทธการสตาลินกราด เป็นยุทธการใหญ่ของสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งนาซีเยอรมนีและพันธมิตรฝ่ายหนึ่ง สู้รบกับสหภาพโซเวียตอีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อแย่งชิงการควบคุมนครสตาลินกราด (ปัจจุบันคือ วอลโกกราด ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหพันธรัฐรัสเซีย) ยุทธการดำเนินไประหว่างวันที่ 21 สิงหาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและยุทธการที่สตาลินกราด

ยุทธการที่คูสค์

ทธการที่คูสค์ (Курская битва, Битва на Курской дуге) เกิดขึ้นเมื่อกำลังเยอรมนีและโซเวียตเผชิญหน้ากันในแนวรบด้านตะวันออกระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง บริเวณย่านชานนครคูสค์ (Kursk) ห่างจากกรุงมอสโกไปทางใต้ 450 กิโลเมตร ในสหภาพโซเวียต ช่วงเดือนกรกฎาคมและสิงหาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและยุทธการที่คูสค์

ยุทธการที่เดียนเบียนฟู

ทธการที่เดียนเบียนฟู (Bataille de Diên Biên Phu; Chiến dịch Điện Biên Phủ) เป็นการเผชิญหน้าครั้งสำคัญสุดยอดในสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง ระหว่างกองทัพรบนอกประเทศภาคพื้นตะวันออกไกลของสหภาพฝรั่งเศสและนักปฏิวัติคอมมิวนิสต์-ชาตินิยมเวียดมินห์ ยุทธการนี้เกิดขึ้นระหว่างเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและยุทธการที่เดียนเบียนฟู

ยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง

นแดนทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของเยอรมนีและพันธมิตรฝ่ายอักษะ (ในสีน้ำเงิน) ราว ค.ศ. 1942 การยึดครองยุโรปของเยอรมนี หมายถึง ดินแดนส่วนที่อยู่ภายใต้การยึดครองโดยกำลังทหารของนาซีเยอรมนี ในช่วงเวลาที่แตกต่างกันระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง (ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง

ยุโรปตะวันออก

แผนที่ยุโรปตะวันออก ยุโรปตะวันออก (Eastern Europe) มีพื้นที่อยู่ระหว่างละติจูดที่ 40 - 53 องศาเหนือ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวสลาฟ สภาพความเป็นอยู่เป็นแบบชนบท ประกอบไปด้วยประเทศที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต, อดีตเช็กโกสโลวาเกีย (ปัจจุบันคือเช็กเกียและสโลวาเกีย), โปแลนด์, ฮังการี, โรมาเนีย, บัลแกเรีย และอดีตยูโกสลาเวีย ประเทศส่วนใหญ่ในยุโรปตะวันออกในอดีต ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ แต่ในปัจจุบันนี้ได้มีการพัฒนาเป็นประชาธิปไตยบ้างแล้ว ศาสนาที่นับถือส่วนใหญ่ในภูมิภาคนี้คือศาสนาคริสต์ ภาษาที่ใช้เป็นภาษากลุ่มโรแมนซ์และกลุ่มสลาวอนิก.

ดู สหภาพโซเวียตและยุโรปตะวันออก

ยูริ กาการิน

นาวาอากาศเอก ยูริ อะเลคเซเยวิช กาการิน (Юрий Алексеевич Гагарин; อักษรโรมัน: Yuri Alekseyevich Gagarin) ชาวโซเวียต เป็นนักบินอวกาศคนแรกของโลกที่สามารถเดินทางกลับโลกอย่างปลอดภัย เกิดเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและยูริ กาการิน

ยูรี อันโดรปอฟ

ยูรี วลาดีมีโรวิช อันโดรปอฟ (Ю́рий Влади́мирович Андро́пов) เป็นผู้นำสหภาพโซเวียตคนที่ 4 เลขาธิการกลางคณะกรรมาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต ประธานคณะผู้บริหารสูงสุดแห่งสภาโซเวียตสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียต เอกอัครทูตสหภาพโซเวียตประจำสาธารณรัฐประชาชนฮังการีระหว่างปี 1954 ถึงปี 1957 และ ประธานคณะกรรมาธิการเพื่อความมั่นคงแห่งรัฐ ระหว่างปี 1967 ถึงปี 1982 อันโดรปอฟเป็นผู้นำหัวปฏิรูปที่มีบทบาทสำคัญต่อการเมืองของสหภาพโซเวียต เพราะเป็นคนที่พยายามจัตระเบียบ และ ยกระดับคุณภาพการทำงานในวงราชการ ความเป็นผู้นำของเขาทำให้ อันโดรปอฟ ได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกของโปลิตบูโร ในปี 1973 และเป็นผู้สืบทอดอำนาจต่อจากเลโอนิด เบรจเนฟ ในปี 1982 หมวดหมู่:ผู้นำในสงครามเย็น หมวดหมู่:บุคคลจากสตัฟโรปอล หมวดหมู่:นักการเมืองโซเวียต.

ดู สหภาพโซเวียตและยูรี อันโดรปอฟ

ยูล บรีนเนอร์

ูล บอริสโซวิช บรีนเนอร์ (11 กรกฎาคม ค.ศ. 1911 - 10 ตุลาคม ค.ศ. 1985) นักแสดงละครบรอดเวย์และภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดชาวรัสเซีย ที่มีชื่อเสียงในสหรัฐอเมริกา เป็นที่จดจำจากบทบาทการแสดงเป็นคิงมงกุฏ ในละครบรอดเวย์ และภาพยนตร์ ของริชาร์ด ร็อดเจอร์ส และออสการ์ แฮมเมอร์สไตน์ที่ 2 เรื่อง เดอะคิงแอนด์ไอ บทฟาโรห์รามเสสที่สอง ในภาพยนตร์ บัญญัติสิบประการ และบทคาวบอย ในภาพยนตร์ เจ็ดสิงห์แดนเสือ ยูล บรีนเนอร์ เกิดที่วลาดิวอสต็อก รัสเซีย มีชื่อจริงว่า Yuliy Borisovich Brynner (รัสเซีย: Юлий Бори́сович Бри́ннер) บิดาเป็นชาวสวิส มารดาเป็นชาวรัสเซีย หลังจากบิดามารดาแยกทางกัน ยูลและน้องสาวอยู่กับมารดา และย้ายไปอยู่ที่เมืองฮาร์บิน ประเทศจีน และย้ายไปอยู่ที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและยูล บรีนเนอร์

ยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ูโกสลาเวีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ยูโรคอมมิวนิสต์

ูโรคอมมิวนิสต์ เป็นการรวมกลุ่มของพรรคคอมมิวนิสต์ต่างๆในประเทศยุโรปตะวันตกที่มีพรรคคอมมิวนิสต์ อิตาลี ฝรั่งเศส และสเปนเป็นแกนนำ มีบทบาททางการเมืองอย่างมากในช่วง..

ดู สหภาพโซเวียตและยูโรคอมมิวนิสต์

รพินทรนาถ ฐากุร

รพินทรนาถ ฐากุร (রবীন্দ্রনাথ ঠাকুর, Robindronath Ţhakur) (7 พฤษภาคม 2404 - 7 สิงหาคม 2484) มีสมัญญานามว่า "คุรุเทพ" เป็นนักปรัชญาพรหโมสมัช นักธรรมชาตินิยม และกวีภาษาเบงกาลี เขาเริ่มเขียนบทกวีครั้งแรกตั้งแต่อายุเพียง 8 ปี ครั้นอายุได้ 16 ปี ก็ได้ตีพิมพ์เผยแพร่งานกวีนิพนธ์ภายใต้นามปากกา ภาณุสิงโห และเริ่มเขียนเรื่องสั้นกับบทละครในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและรพินทรนาถ ฐากุร

รอบิยะห์ กอดีร์

รอบิยะห์ กอดีร์ (อุยกูร์: رابىيه قادىر, Rabiyä Qadir, อ่านออกเสียง) (เกิด 21 มกราคม ค.ศ. 1947) เป็นนักธุรกิจหญิงชาวมุสลิมอุยกูร์ และเป็นผู้นำการประท้วงทางการเมือง ในเขตตะวันตกเฉียงเหนือของเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ ของประเทศจีน เธอได้รับเลือกเป็นประธานองค์กรชาวอุยกูร์ลี้ภัย (World Uyghur Congress) ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน..

ดู สหภาพโซเวียตและรอบิยะห์ กอดีร์

ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก

วาดแสดงดาวเทียม NAVSTAR ของสหรัฐ เครื่องรับสัญญาณจีพีเอส KAMAZ NAAV450 เครื่องรับสัญญาณจีพีเอส แมเกลลัน เบลเซอร์ ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก เรียกย่อว่า จีพีเอส (Global Positioning System: GPS) หรือรู้จักในชื่อ นาฟสตาร์ (Navstar) คือระบบดาวเทียมนำร่องโลก (์Global Navigation Satellite System: GNSS) เพื่อระบุข้อมูลของตำแหน่งและเวลาโดยอาศัยการคำนวณจากความถี่สัญญาณนาฬิกาที่ส่งมาจากตำแหน่งของดาวเทียมต่างๆ ที่โคจรอยู่รอบโลกทำให้สามารถระบุตำแหน่ง ณ จุดที่สามารถรับสัญญาณได้ทั่วโลกและในทุกสภาพอากาศ รวมถึงสามารถคำนวณความเร็วและทิศทางเพื่อนำมาใช้ร่วมกับแผนที่ในการนำทางได้.

ดู สหภาพโซเวียตและระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก

ระบบสุริยะ

ระบบสุริยะ (Solar System) ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่น ๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์เนื่องจากแรงโน้มถ่วง ได้แก่ ดาวเคราะห์ 8 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 166 ดวง ดาวเคราะห์แคระ 5 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 4 ดวง กับวัตถุขนาดเล็กอื่น ๆ อีกนับล้านชิ้น ซึ่งรวมถึง ดาวเคราะห์น้อย วัตถุในแถบไคเปอร์ ดาวหาง สะเก็ดดาว และฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์ โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งย่านต่าง ๆ ของระบบสุริยะ นับจากดวงอาทิตย์ออกมาดังนี้คือ ดาวเคราะห์ชั้นในจำนวน 4 ดวง แถบดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่รอบนอกจำนวน 4 ดวง และแถบไคเปอร์ซึ่งประกอบด้วยวัตถุที่เย็นจัดเป็นน้ำแข็ง พ้นจากแถบไคเปอร์ออกไปเป็นเขตแถบจานกระจาย ขอบเขตเฮลิโอพอส (เขตแดนตามทฤษฎีที่ซึ่งลมสุริยะสิ้นกำลังลงเนื่องจากมวลสารระหว่างดวงดาว) และพ้นไปจากนั้นคือย่านของเมฆออร์ต กระแสพลาสมาที่ไหลออกจากดวงอาทิตย์ (หรือลมสุริยะ) จะแผ่ตัวไปทั่วระบบสุริยะ สร้างโพรงขนาดใหญ่ขึ้นในสสารระหว่างดาวเรียกกันว่า เฮลิโอสเฟียร์ ซึ่งขยายออกไปจากใจกลางของแถบจานกระจาย ดาวเคราะห์ชั้นเอกทั้ง 8 ดวงในระบบสุริยะ เรียงลำดับจากใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดออกไป มีดังนี้คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน นับถึงกลางปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและระบบสุริยะ

ระบบขนส่งมวลชนเร็ว

รถไฟฟ้าใต้ดินในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ระบบขนส่งมวลชนเร็ว (rapid transit) หรือที่มักเรียกว่า รถไฟฟ้า รถไฟใต้ดิน (subway, underground) รถไฟในเมือง (metro) รถไฟรางหนัก (heavy rail) มักจะมีในเมืองใหญ่ที่สำคัญทั่วโลก รถไฟฟ้าใต้ดินที่เก่าแก่ที่สุดในโลกอยู่ที่กรุงลอนดอน เปิดใช้เมื่อ พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและระบบขนส่งมวลชนเร็ว

ระเบิดมือ

ระเบิดเอฟ 1 ที่นิยมใช้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ระเบิดเอฟ 1 ที่นิยมใช้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ระเบิดเอฟ 1 ที่นิยมใช้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ระเบิดมือ เป็นวัตถุระเบิดที่มีขนาดพอเหมาะกับฝ่ามือ ใช้โดยการจุดชนวนและขว้างไปยังเป้าหมาย เพื่อให้เป้าหมายได้รับแรง, การติดเพลิง, หรือสะเก็ดจากการระเบิด เกิดเป็นความเสียหายของเป้าหมาย เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ระเบิดขว้าง ระเบิดมือบางรุ่นสามารถใช้ติดกับปากกระบอกปืนเล็กยาวเพื่อการยิงได้ หรือใช้กับเครื่องยิงระเบิดมือที่สร้างขึ้นมาเป็นพิเศษก็ได้ ตัวอย่างเช่น ระเบิดก๊าซน้ำตา ที่ใช้ควบคุมจลาจล และเครื่องยิงระเบิดมือแบบ เอ็ม 203 (M203) ที่ติดไว้ใต้ปืนเล็กยาวรุ่นใหม.

ดู สหภาพโซเวียตและระเบิดมือ

รัฐบริวาร

รัฐบริวาร (Client state หรือ Satellite state) เป็นคำศัพท์ทางการเมือง หมายถึง ประเทศที่มีเอกราชอย่างเป็นทางการ แต่อยู่ภายใต้อิทธิพลอย่างมาก หรือถูกควบคุมโดยอีกประเทศหนึ่ง โดยเป็นคำที่ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อโดยเปรียบเทียบกับดาวบริวาร ซึ่งโคจรรอบดาวดวงอื่น และคำว่า รัฐบริวาร มักจะใช้หมายความถึง รัฐในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออกที่อยู่ภายใต้อิทธิพลของสหภาพโซเวียต ระหว่างสงครามเย็น รัฐบริวารอาจหมายถึงประเทศที่ถูกครอบงำทางการเมืองและทางเศรษฐกิจโดยอีกประเทศหนึ่ง ในเวลาสงคราม รัฐบริวารบางครั้งทำหน้าที่เป็นรัฐกันชนระหว่างประเทศฝ่ายศัตรูกับประเทศที่มีอิทธิพลอยู่เหนือรัฐบริวารนั้น คำว่า "รัฐบริวาร" เป็นหนึ่งในคำที่ใช้อธิบายถึงสภาพที่รัฐหนึ่งตกอยู่ใต้อำนาจของอีกรัฐหนึ่งซึ่งคล้ายกับ รัฐหุ่นเชิด โดยทั่วไปแล้ว คำว่า "รัฐบริวาร" แสดงให้เห็นถึงความสวามิภักดิ์ทางความคิดให้กับอำนาจความเป็นประมุขอย่างลึกซึ้ง.

ดู สหภาพโซเวียตและรัฐบริวาร

รัฐบอลติก

รัฐบอลติก (Baltic states) เป็นชื่อรวมเรียกสามประเทศทางตะวันออกเฉียงเหนือของทะเลบอลติก คือลิทัวเนีย ลัตเวีย และเอสโตเนีย ในระหว่างปี 1918-1920 ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศเหล่านี้ได้รับเอกราชปกครองตนเองแบบสาธารณรัฐระหว่าง..

ดู สหภาพโซเวียตและรัฐบอลติก

รัฐกันชน

รัฐกันชน (Buffer state) คือประเทศที่ตั้งอยู่ระหว่างรัฐมหาอำนาจคู่แข่งหรือเป็นปรปักษ์ระหว่างกัน ซึ่งสาเหตุของการคงอยู่มีเพื่อเป็นการป้องกันความขัดแย้งระหว่างรัฐมหาอำนาจด้วยกัน รัฐกันชนที่มีเอกราชอย่างแท้จริง มักจะดำเนินนโยบายต่างประเทศสายกลาง ซึ่งเป็นการป้องกันตนเองจากการตกเป็นรัฐบริวาร ความร่วมมือกันระหว่างรัฐกันชนเป็นส่วนหนึ่งของทฤษฎีการถ่วงดุลอำนาจ ซึ่งเข้าสู่ยุทธศาสตร์และการคิดในเชิงการทูตของยุโรปในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 บ่อยครั้งที่การรุกรานรัฐกันชนโดยหนึ่งในมหาอำนาจที่รายล้อมมันอยู่มักจะก่อให้เกิดสงครามระหว่างประเทศ อย่างเช่น การรุกรานเบลเยียมของเยอรมนี ทำให้สหราชอาณาจักรตัดสินใจเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ดู สหภาพโซเวียตและรัฐกันชน

รัฐหุ่นเชิด

รัฐหุ่นเชิด (Puppet state) หรือ รัฐบาลหุ่นเชิด (Puppet government หรือ Marionette government) ใช้อธิบายถึงสภาพของรัฐที่มีเอกราชแต่เพียงในนาม แต่ถูกควบคุมโดยอำนาจต่างชาติหรือกองทัพอย่างชัดเจน คำว่า รัฐหุ่นเชิด หมายความถึง รัฐบาลที่ถูกควบคุมโดยอีกรัฐบาลหนึ่ง เหมือนกับการเชิดหุ่นกระบอก และยังใช้ในความหมายที่รัฐขาดความเป็นเอกราช หรือมีการปกป้องเอกราชในสิ่งที่เป็นอิทธิพลจากต่างชาติหรือกองทั.

ดู สหภาพโซเวียตและรัฐหุ่นเชิด

รัฐคูเวตในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รัฐคูเวต เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและรัฐคูเวตในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รัฐประหารในประเทศกัมพูชา พ.ศ. 2513

้าหน้าที่ของสหรัฐและกัมพูชาในการเฉลิมฉลองในโอกาสที่กองทัพแห่งชาติกัมพูชาเสร็จสิ้นการฝึกจากประเทศไทยใน พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและรัฐประหารในประเทศกัมพูชา พ.ศ. 2513

รัสเซีย (แก้ความกำกวม)

รัสเซีย (Russia) เป็นประเทศในทวีปยุโรปและเอเชีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย รัสเซีย ยังอาจหมายถึง.

ดู สหภาพโซเวียตและรัสเซีย (แก้ความกำกวม)

ราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ราชรัฐลักเซมเบิร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ราชรัฐอันดอร์ราในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ราชรัฐอันดอร์รา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและราชรัฐอันดอร์ราในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ราชวงศ์ปาห์ลาวี

ราชวงศ์ปาห์ลาวี (دودمان پهلوی) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองอิหร่านในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและราชวงศ์ปาห์ลาวี

ราชอาณาจักรกรีซ

ราชอาณาจักรกรีซ (Βασίλειον τῆς Ἑλλάδος, Vasíleion tīs Elládos; Kingdom of Greece) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรเฮลเลนิก (Kingdom of Hellenic) สถาปนาขึ้นในปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและราชอาณาจักรกรีซ

ราชอาณาจักรกัมพูชา (พ.ศ. 2497–2513)

ราชอาณาจักรกัมพูชา ในช่วง..

ดู สหภาพโซเวียตและราชอาณาจักรกัมพูชา (พ.ศ. 2497–2513)

ราชอาณาจักรอิตาลี

ราชอาณาจักรอิตาลี (Regno d'Italia) เป็นราชอาณาจักรบนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งได้มีการสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1861 จากการรวมตัวกันของรัฐอิตาลีหลาย ๆ รัฐภายใต้การนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย และดำรงอยู่ตราบจนถึงปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและราชอาณาจักรอิตาลี

ราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ราชอาณาจักรเลโซโทในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ราชอาณาจักรเลโซโท เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและราชอาณาจักรเลโซโทในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ราชอาณาจักรเนปาลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ราชอาณาจักรเนปาล เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและราชอาณาจักรเนปาลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รายชื่อพรรคคอมมิวนิสต์

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อพรรคคอมมิวนิสต์ทั่วโลก.

ดู สหภาพโซเวียตและรายชื่อพรรคคอมมิวนิสต์

รายชื่อรางวัลทางการศึกษานานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะ

นี้คือรางวัลทางการศึกษานานาชาติของ ดร.

ดู สหภาพโซเวียตและรายชื่อรางวัลทางการศึกษานานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะ

รายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ

มาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ประกอบไปด้วยสมาชิกถาวร 5 ประเทศ และประเทศสมาชิกไม่ถาวร 10 ประเทศ มาจากการเลือก.

ดู สหภาพโซเวียตและรายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ดู สหภาพโซเวียตและรายชื่อสนธิสัญญา

รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาล

ในหลายสังคมได้มีการห้ามหนังสือบางเล่ม รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลที่ปรากฏข้างล่างนี้เป็นเพียงบางส่วนของรายชื่อหนังสือทั้งหมดที่ถูกสั่งห้ามโดยรัฐบาลด้วยเหตุผลใดเหตุผลหนึ่ง การห้ามอาจจะเป็นการห้ามระดับชาติหรือระดับรองและบางครั้งอาจจะมีโทษทางกฎหมายถ้าละเมิด นอกจากการห้ามทางกฎหมายแล้วก็อาจจะเป็นการห้ามโดยสถาบันศาสนาโดยการห้ามไม่ให้ผู้นับถือศาสนาอ่านหนังสือที่ห้าม แต่โดยปราศจากโทษทางอาญา แต่บางครั้งการห้ามก็อาจจะได้รับการยกเลิกเมื่อมีการท้าทายกันในศาล และศาลมีคำสั่งให้ยกเลิกการห้ามเพราะเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องตามกฎหม.

ดู สหภาพโซเวียตและรายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาล

รายชื่อธงในกองทัพเรือสหภาพโซเวียต

ตารางข้างล่างนี้แสดงธงราชการกองทัพเรือของสหภาพโซเวียต โดยแบ่งชนิดของธง ตามส่วนราชการของกองทัพเรือสหภาพโซเวียต.

ดู สหภาพโซเวียตและรายชื่อธงในกองทัพเรือสหภาพโซเวียต

รายชื่อธงในสหภาพโซเวียต

ตารางเบื้องล่างต่อไปนี้คือข้อมูลเกี่ยวกับธงต่างๆ ที่ใช้อยู่ในสหภาพโซเวียตอย่างสังเขป.

ดู สหภาพโซเวียตและรายชื่อธงในสหภาพโซเวียต

รายชื่อธงในประเทศรัสเซีย

ตารางเบื้องล่างต่อไปนี้คือข้อมูลเกี่ยวกับธงต่างๆ ที่ใช้อยู่ในสหพันธรัฐรัสเซียอย่างสังเขป.

ดู สหภาพโซเวียตและรายชื่อธงในประเทศรัสเซีย

รายชื่อธงในประเทศลิทัวเนีย

ตารางเบื้องล่างนี้ แสดงภาพและข้อมูลธงต่างๆ ที่ปรากฏการใช้ในประเทศลิทัวเนียอย่างสังเขป.

ดู สหภาพโซเวียตและรายชื่อธงในประเทศลิทัวเนีย

รายชื่อทุพภิกขภัย

แสดงผู้ประสบกับทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1845 ถึงปี ค.ศ. 1849 รายชื่อทุพภิกขภัยข้างล่างเป็นรายการที่ไม่สมบูรณ์ เป็นรายชื่อของเหตุการณ์ทุพภิกขภัยที่ถือว่าเป็นครั้งสำคัญๆ ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์เท่านั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและรายชื่อทุพภิกขภัย

รายชื่อประเทศจำแนกตามระบบกฎหมาย

ระบบกฎหมายทั่วโลก รายชื่อประเทศจำแนกตามระบบกฎหมาย ปัจจุบันระบบกฎหมายทั่วโลกอยู่บนพื้นฐานของระบบกฎหมายสำคัญหนึ่งในสามระบบได้แก่ ระบบซีวิลลอว์ ระบบคอมมอนลอว์ และกฎศาสนา หรือผสมกันมากกว่าสองระบบขึ้นไป อย่างไรก็ดีแต่ละประเทศอาจมีระบบกฎหมายที่มีลักษณะจำเพาะไปที่แตกต่างกันไปตามประวัติศาสตร์ของตน.

ดู สหภาพโซเวียตและรายชื่อประเทศจำแนกตามระบบกฎหมาย

รายพระนามพระมหากษัตริย์ปรัสเซีย

ตราอาร์มของราชอาณาจักรปรัสเซีย รายพระนามพระมหากษัตริย์ปรัสเซีย (List of monarchs of Prussia) เป็นรายนามและรายพระนามของประมุขของอดีตรัฐเยอรมันแห่งปรัสเซีย ที่เดิมเป็นรัฐอัศวินทิวทอนิก บนฝั่งทะเลบอลติกที่อัศวินทิวทอนิกพิชิตได้มาจากโปแลนด์และลิทัวเนีย ต่อมาเป็นดัชชีภายใต้การปกครองของราชอาณาจักรโปแลนด์ ดัชชีปรัสเซีย ราชอาณาจักรปรัสเซียอิสระ ราชอาณาจักรภายในจักรวรรดิเยอรมัน และเสรีรัฐปรัสเซียของเยอรมนีในที่สุด ประวัติศาสตร์ของปรัสเซียตั้งแต่ปี..

ดู สหภาพโซเวียตและรายพระนามพระมหากษัตริย์ปรัสเซีย

รายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลีย

นี่คือ รายชื่อของตัวละครในการ์ตูนชุด พลังอักษะ เฮตาเลี.

ดู สหภาพโซเวียตและรายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลีย

รางวัลสันติภาพขงจื๊อ

รางวัลสันติภาพขงจื๊อ (孔子和平獎; Confucius Peace Prize) ริเริ่มขึ้นใน..

ดู สหภาพโซเวียตและรางวัลสันติภาพขงจื๊อ

ริชาร์ด นิกสัน

ริชาร์ด มิลเฮาส์ นิกสัน (ภาษาอังกฤษ: Richard Milhous Nixon) (9 มกราคม พ.ศ. 2456 - 22 เมษายน พ.ศ. 2537) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 37 ของสหรัฐอเมริกา ระหว่าง พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและริชาร์ด นิกสัน

รูดอล์ฟ นูเรเยฟ

รูดอล์ฟ คาเมโทวิช นูเรเยฟ (Rudolf Xämät ulı Nuriev, Рудо́льф Хаме́тович Нуре́ев, Rudolf Khametovich Nureyev) นักเต้นบัลเลต์ชาวรัสเซียเชื้อสายตาตาร์ เป็นนักเต้นชายที่มีชื่อเสียงของคณะคิรอฟบัลเล่ต์ของสหภาพโซเวียต เป็นผู้ริเริ่มการนำเสนอบทบาทเด่นให้กับนักเต้นบัลเลต์ชาย จากแบบแผนเดิมที่เป็นเพียงนักเต้นสนับสนุนนักเต้นหญิง นูเรเยฟมีชื่อเสียงจากการหลบหนีจากสหภาพโซเวียตเข้าสู่โลกตะวันตกผ่านทางท่าอากาศยานนานาชาติปารีส ฝรั่งเศสในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและรูดอล์ฟ นูเรเยฟ

รูเบิล

เงินรูเบิล (рубль, รูบิ) เป็นสกุลเงินของประเทศ รัสเซีย, เบลารุส, อับฮาเซีย, โอเซตเตียใต้, ทรานนิสเตรียใต้ สกุลเงินนี้เคยใช้ในหลายประเทศที่อยู่ใต้อิทธิพลของรัสเซียและสหภาพโซเวียตหนึ่งรูเบิลสามารถแลกเป็นเงินได้ 100 โคเปกส์ (ภาษารัสเซีย: копейка, คาเปียก้า) และหนึ่งร้อย ฮีฟย์เยียยูเครน หมวดหมู่:สกุลเงิน.

ดู สหภาพโซเวียตและรูเบิล

รูเบิลรัสเซีย

รูเบิล เป็นสกุลเงินตราของสหพันธรัฐรัสเซีย อับฮาเซีย และออสเซเตียใต้ รูเบิลเคยเป็นสกุลเงินตราของจักรวรรดิรัสเซียและสหภาพโซเวียตตามลำดับ หน่วยย่อยของรูเบิลคือโคเปค โดยที่หนึ่งรูเบิลมีมูลค่าเท่ากับหนึ่งร้อยโคเปค รหัส ISO 4217 ของสกุลเงินนี้คือ RUB โดยก่อนที่จะมีการปรับค่าเงินในปีค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและรูเบิลรัสเซีย

รถถัง

รถถัง Mark IV รถถัง เป็นยานพาหนะต่อสู้หุ้มเกราะติดตีนตะขาบที่ถูกออกแบบมาเพื่อใช้ในการรบที่แนวหน้าซึ่งเป็นการผสมผสานระหว่างความคล่องตัว การรุก และการป้องกัน อำนาจการยิงของมันมาจากปืนหลักขนาดใหญ่ของมันที่ติดตั้งอยู่บนป้อมส่วนบนที่หมุนได้พรัอมกับมีปืนกลติดตั้งอยู่เพื่อเป็นอาวุธรอง ในขณะที่เกราะขนาดหนักและความสามารถในการเคลื่อนที่ของมันเป็นสิ่งที่คอยปกป้องชีวิตของพลประจำรถ นั่นทำให้มันสามารถทำงานหลักของทหารราบยานเกราะได้ทั้งหมดในสมรภูมิ รถถังเริ่มนำมาใช้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ครั้งแรกโดยอังกฤษ ได้แก่ Mark IV tank เพื่อใช้มันสนับสนุนทหารราบในการฝ่าทะลุแนวสนามเพลาะ พวกมันถูกใช้ในยุทธการซอมม์ในจำนวนน้อยมาก ในช่วงที่มันถูกสร้างขึ้นมันถูกเรียกว่ายานลำเลียงน้ำเพื่อปกปิดวัตถุประสงค์การใช้งานจริงของมัน คำว่า"แท็งค์" (tank) นั้นมาจากคำว่า "Water tank" ที่แปลว่าถังน้ำ ด้วยวัตถุประสงค์หลักเพื่อสนับสนุนทหารราบมันจึงทำความเร็วสูงสุดได้เพียง 5-6 กิโลเมตรต่อชั่วโมง การมาของ Mark IV tank ทำให้ฝ่ายเยอรมันพัฒนารถถังของตนเอง ได้แก่ A7V เพื่อตอบโต้ฝ่ายอังกฤษ รถถัง A7V ฝรั่งเศสเป็นชาติแรกในโลกที่พัฒนารถถังที่ติดตั้งปืนบนป้อมซึ่งหมุนได้ 360 องศาได้แก่ Renault FT และใช้พลรถถังเพียง 2 คน ในการควบคุมรถถัง ต่างจาก Mark IV tank ของอังกฤษที่ต้องใช้พลรถถังถึง 8 คนในการควบคุม และ A7V ของเยอรมนีที่ใช้พลรถถัง 18 คน การพัฒนาในสงครามของมันเกิดขึ้นในสงครามโลกครั้งที่สองทำให้มันเป็นแนวคิดหลักของสงครามยานเกราะซึ่งอยู่มาจนถึงทุกวันนี้ และเป็นบทบาทหลักในสงครามโลกครั้งที่ 2 สหภาพโซเวียตได้นำรถถังที-34 มาใช้ มันเป็นหนึ่งในรถถังที่ดีที่สุดในสงครามและเป็นต้นตำรับของรถถังหลัก เยอรมนีใช้การโจมตีสายฟ้าแลบ ซึ่งเป็นยุทธวิธีในการใช้กองกำลังรถถังเป็นหลักโดยมีปืนใหญ่และการยิงทางอากาศเข้าสนับสนุนเพื่อเจาะทะลุแนวป้องกันของศัตรู ปัจจุบันรถถังนั้นไม่ปฏิบัติการเพียงลำพังนัก พวกมันจะรวมกันเป็นหน่วยซึ่งจะมีทหารราบให้การสนับสนุน ทหารเหล่านั้นจะทำงานร่วมกับรถสายพานลำเลียงพลหรือยานพาหนะต่อสู้ทหารราบ รถถังยังถูกใช้ร่วมกับการสอดแนมหรือการโจมตีภาคพื้นดินทางอากาศอีกด้วย เนื่องมาจากความสามารถและความหลากประโยชน์ของรถถังประจัญบานที่ถูกมองว่าเป็นกุญแจสำคัญของกองทัพยุคใหม่ อย่างไรก็ตามในสงครามนอกกรอบได้นำข้อสงสัยมาสู่กองพลยานเกราะ ไจโรสโคปถูกนำมาใช้เพื่อสร้างความเสถียรให้กับปืนใหญ่ ทำให้มันเล็งได้อย่างแม่นยำและยิงได้ในขณะเคลื่อนที่ ปืนรถถังยุคใหม่ยังมีตัวลดความร้อนเพื่อลดการกระจายความร้อนที่เกิดจากการยิง มันจะช่วยลดควันที่เข้าไปในรถถังและบางครั้งก็ลดแรงถีบซึ่งจะเพิ่มความแม่นยำและอัตราการยิงให้มากขึ้น โดยทั่วไปแล้วการตรวจจับเป้าหมายจะใช้สายตามองเอาผ่านทางกล้องโทรทรรศน์ อย่างไรก็ตามมีบางครั้งที่ผู้บัญชาการรถถังจะเปิดฝาครอบด้านบนออกเพื่อมองไปรอบๆ ตัว ซึ่งจะเป็นการเพิ่มความระมัดระวังต่อสถานการณ์แต่ก็ทำให้เขาตกเป็นเป้าของพลซุ่มยิงได้ โดยเฉพาะเมื่อยู่ในป่าหรือเมือง แม้ว่าการพัฒนามากมายในการตรวจหาเป้าหมายจะเกิดขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้ แต่ข้อปฏิบัติดังกล่าวก็ยังถูกใช้กันอยู่ ในบางกรณีปืนกลเคียงที่อยู่ข้างปืนใหญ่ก็ถูกใช้เพื่อหาวิถีโค้งและระยะของเป้าหมาย ปืนกลนี้จะถูกติดตั้งบนแกนเดียวกับปืนใหญ่รถถัง และยิงกระสุนไปที่เป้าหมายเดียวกัน พลปืนจะติดตามการเคลื่อนไหวของกระสุนติดตามเมื่อมันพุ่งชนเป้าหมาย และเมื่อมันชนเป้าหมาย มันก็จะปล่อยแสงออกมาพร้อมกับควันหลังจากที่ปืนใหญ่ยิงออกไปแล้ว อย่างไรก็ตามมันก็มักถูกแทนที่ด้วยเลเซอร์หาระยะแทน รถถังยุคใหม่ยังมีกล้องมองกลางคืนและกล้องจับถวามร้อนเพื่อเพิ่มความสามารถในการทำงานในตอนกลางคืน ในสภาพอากาศที่เลวร้าย และในกลุ่มควัน ความแม่นยำของรถถังยุคใหม่ได้ก้าวไปสู่จุดสูงสุดโดยระบบควบคุมการยิง ระบบนี้ใช้เลเซอร์หาระยะเพื่อระบุความห่างจากเป้าหมาย มันยังมีตัววัดแรงลมและตัวควบคุมความร้อนที่ปากกระบอก การที่เลเซอร์หาระยะสามารถมองหาเป้าหมายสองเป้าได้พร้อมกับทำให้มันสามารถคำนวณการเคลื่อนไหวของเป้าหมายได้ ข้อมูลเหล่านี้จะถูกรวบรวมเข้ากับการเคลื่อนไหวของรถถังและการเคลื่อนที่ของวัตถุในอากาศเพื่อคำนวณการไต่ระดับและจุดเล็งที่มันจะเข้าชนเป้าหมาย โดยปกติแล้วรถถังจะมีปืนขนาดเล็กกว่าเพื่อป้องกันตัวในระยะใกล้ซึ่งการยิงด้วยปืนใหญ่นั้นจะไร้ประสิทธิภาพ อย่างการจัดการกับทหารราบ ยานพาหนะขนาดเบา หรือเครื่องบิน อาวุธรองมักจะเป็นปืนกลเอนกประสงค์ที่อยู่ข้างปืนใหญ่และปืนกลต่อต้านอากาศยานที่อยู่ด้านบนสุดของป้อมปืน อาวุธเหล่านี้มักถูกดัดแปลงเพื่อใช้โดยทหารราบ และใช้กระสุนที่เหมือนๆ กัน.

ดู สหภาพโซเวียตและรถถัง

รถถังพันเทอร์

right พันเทอร์ (Panther) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า พันเซอร์ 5 (Panzer V) ชื่ออย่างเป็นทางการคือ Panzerkampfwagen V Panther เป็นรถถังขนาดกลางของนาซีเยอรมนีที่ถูกใช้ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง โดยถูกออกแบบในช่วงปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและรถถังพันเทอร์

รถถังที-10

ที-10.

ดู สหภาพโซเวียตและรถถังที-10

รถถังคลีเมนต์ โวโรชีลอฟ

วี-1 หรือชื่อเต็มๆว่า คลีเมนต์ โวโรชีลอฟ เป็นรถถังขนาดหนักที่ผลิตโดยสหภาพโซเวียต ใช้งานในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ประมาณปี..

ดู สหภาพโซเวียตและรถถังคลีเมนต์ โวโรชีลอฟ

ลัทธิสตาลิน

ลัทธิสตาลิน (Stalinism) หรือ สังคมนิยมในประเทศเดียว เป็นการตีความทางทฤษฎีและการประยุกต์ ในทางปฏิบัติของหลักนิยมมาร์กซิสต์ส่วนที่เป็นคุณูปการโดยโจเซฟ สตาลิน (Josef Stalin) ซึ่งเป็นผู้มีอำนาจครอบงำพรรคคอมมิวนิสต์และกลไกของรัฐบาลในสหภาพโซเวียต ตั้งแต่ช่วงกลางทศวรรษหลังปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและลัทธิสตาลิน

ลัทธิคอมมิวนิสต์

ในทางรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ลัทธิคอมมิวนิสต์ (communism; communis แปลว่า "ร่วมกัน" หรือ "สากล") คืออุดมการณ์และขบวนการทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ อันเป็นระเบียบทางสังคมบนพื้นฐานของความเป็นเจ้าของร่วมกัน (Common ownership) ของปัจจัยการผลิต (Means of production) และปราศจากชนชั้นทางสังคม เงินตรา และรัฐ ลัทธิคอมมิวนิสต์ปรากฏอยู่ในปรัชญาหรือแนวคิดหลากหลายทฤษฎีที่โดยรวม ๆ แล้วจะรวมถึงลัทธิมากซ์-อนาธิปไตย (ลัทธิคอมมิวนิสต์-อนาธิปไตย) และอุดมการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ ซึ่งเชื่อมโยงกับสองแนวคิดนี้ โดยที่ทั้งหมดนี้มีบทวิเคราะห์สรุปร่วมกันว่าระเบียบทางสังคมในปัจจุบันอันถือกำเนิดถึงจากระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ประกอบไปด้วยชนชั้นทางสังคมสองชนชั้นหลักคือ "ชนชั้นแรงงาน" ผู้ที่ต้องทำงานเพื่ออยู่รอดและถือเป็นกลุ่มคนส่วนมากในสังคม และ "ชนชั้นนายทุน" อันเป็นชนกลุ่มน้อยในสังคม ผู้ถือเอากำไรจากการจ้างวานชนชั้นแรงงานผ่านการครอบครองปัจจัยการผลิตไว้เฉพาะส่วนตน ที่ซึ่งความขัดแย้งระหว่างสองชนชั้นนี้เองที่จะก่อให้เกิดการปฏิวัติ อันเป็นองค์ประกอบตั้งต้นที่จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตร่วมกันของคนในสังคม (Social ownership) ด้วยความที่ลัทธิคอมมิวนิสต์มีอุดมคติที่ตรงกันข้ามกับลัทธิเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ (Economic Liberalism) จึงทำให้เกิดความหวาดกลัวและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างกว้างขวางในช่วงสงครามเย็น ดังจะเห็นได้จากกระแส "ความหวาดกลัวแดง" (Red Scare) หรือ ลัทธิแม็คคาร์ธี ในอเมริกาช่วงต้นสงครามเย็น.

ดู สหภาพโซเวียตและลัทธิคอมมิวนิสต์

ลัทธิเลนิน

ในปรัชญาลัทธิมากซ์ ลัทธิเลนิน (Leninism) เป็นทฤษฎีการเมืองส่วนสำหรับการจัดระเบียบพรรคการเมืองแนวหน้าปฏิวัติอย่างเป็นประชาธิปไตย และการบรรลุลัทธิเผด็จการโดยชนกรรมาชีพซึ่งเป็นประชาธิปไตยทางตรง เช่นเดียวกับสังคมนิยม เลนินเป็นผู้พัฒนา และเป็นชื่อของลัทธิเลนิน ประกอบด้วยทฤษฎีการเมืองและเศรษฐกิจสังคมนิยม พัฒนามาจากลัทธิมากซ์ และการตีความทฤษฎีลัทธิมากซ์ของเลนิน เพื่อการประยุกต์ปฏิบัติเข้ากับสภาพทางสังคมและการเมืองของจักรวรรดิรัสเซียซึ่งเป็นประเทศเกษตรกรรมในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในเดือนกุมภาพันธ์ 1917 เป็นเวลาห้าปี ลัทธิเลนินเป็นการประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจและการเมืองลัทธิมากซ์ของรัสเซีย ผู้นำไปปฏิบัติ คือ พรรคบอลเชวิก ในการนำไปปฏิบัติ พรรคแนวหน้าแบบลัทธิเลนินให้ความสำนึกทางการเมือง (การศึกษาและการจัดระเบียบ) แก่ชนชั้นกรรมกร และผู้นำปฏิบัติที่จำเป็นต่อการโค่นทุนนิยมในจักรวรดิรัสเซีย หลังการปฏิวัติตุลาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและลัทธิเลนิน

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1939)

นี่คือ ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 1939 ถึง 31 ธันวาคม 1939.

ดู สหภาพโซเวียตและลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1939)

ลึกมฤตยู นิวเคลียร์ล้างโลก

K-19: The Widowmaker ฉายในไทยใช้ชื่อว่า ลึกมฤตยู นิวเคลียร์ล้างโลก เป็นภาพยนตร์เกี่ยวกับเรือดำน้ำพลังงานนิวเคลียร์ของโซเวียต ที่ประสบอุบัติเหตุกัมมันตภาพรังสีรั่วไหล เนื่องจากระบบหล่อเย็นชำรุด ขณะปฏิบัติการอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ดัดแปลงจากเรื่องจริงที่เกิดขึ้นกับเรือดำน้ำชั้นโฮเทล หมายเลข K-19 ที่ประสบอุบัติเหตุเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและลึกมฤตยู นิวเคลียร์ล้างโลก

ลี ฮาร์วีย์ ออสวอลด์

ลี ฮาร์วีย์ ออสวอลด์ (Lee Harvey Oswald, 18 ตุลาคม ค.ศ. 1939 – 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1963) เป็นมือปืนผู้สังหารจอห์น เอฟ. เคนเนดี้ ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 35 ในดัลลาส รัฐเทกซัส เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน..

ดู สหภาพโซเวียตและลี ฮาร์วีย์ ออสวอลด์

ลน นน

ลน นน (Lon Non; เอกสารภาษาไทยบางฉบับใช้ลอน โนน) เป็นทหารและนักการเมืองชาวกัมพูชาที่มีอำนาจในสมัยสาธารณรัฐเขมร เกิดเมื่อ 18 เมษายน..

ดู สหภาพโซเวียตและลน นน

ล็อกฮีด ยู-2

ล็อกฮีด ยู-2 (Lockheed U-2) ยู-2 เป็นเครื่องบินที่ออกแบบมาให้บินในระดับสูงกว่า 21,000 เมตร ขึ้นไป มีลักษณะเหมือนเครื่องร่อนติดเครื่องยนต์ ปีกยาวลำตัวเล็กบางเพื่อลดน้ำหนัก และ เครื่องยนต์สามารถทำงานในทีมีอากาศเบาบางได้ ยู-2 เป็นเครื่องบินจรกรรมที่ออกแบบมาเพื่อบินสูงเป็นพิเศษ และ เป็นเครื่องบินที่เป็นความลับสุดยอดแบบหนึ่งของสหรัฐอเมริกา ยู-2 ถูกเปิดเผยต่อชาวโลกเป็นครั้งแรกเมื่อถูกยิงตกในสหภาพโซเวียต ในวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและล็อกฮีด ยู-2

วลาดิเมียร์ คอซลอฟ

อเลจ โอเลกซานโดรวิจ พริวดิอูส (Oleg Aleksandrovich Prudius), (Олег Александрович Прудиус; Олег Олександрович Прудіус, Oleh Oleksandrovych Prudius) เป็นนักมวยปล้ำอาชีพและนักแสดงชาวอเมริกันเชื้อสายรัสเซีย อดีตสังกัดWWEปล้ำในนาม วลาดิเมียร์ คอซลอฟ (Vladimir Kozlov) เขาได้รับการฝึกในมวยปล้ำฟรีสไตล์, รักบี้, อเมริกันฟุตบอล, แซมโบ, คิกบ็อกซิ่ง, ยูโด และศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวแบบผสม ปัจจุบันได้เลิกปล้ำแล้ว ในเซอร์ไวเวอร์ซีรีส์ (2008) คอซลอฟได้ชิงแชมป์ WWE ทริปเปิลเอช และเจฟฟ์ ฮาร์ดี ในแมตช์ 3 เส้า โดยก่อนแมตช์ปล้ำ เจฟฟ์ถูกลอบทำร้าย ทำให้กลายเป็นปล้ำเดี่ยว แต่กลายเป็นเอดจ์ที่ฉวยโอกาสในระหว่างปล้ำและถูกเปลี่ยนเป็นแมตช์สามเส้าแบบเดิม สุดท้ายเอดจ์เป็นฝ่ายคว้าแชมป์ไปได้ ในโนเวย์เอาท์ (2009) คอซลอฟได้ปล้ำแมตช์อิลิมิเนชั่น แชมเบอร์ ชิงแชมป์ WWE สุดท้ายทริปเปิลเอชคว้าแชมป์ไปได้ ในรอว์ คอซลอฟกับซานติโนได้คว้าแชมป์แทกทีม WWEสมัยแรก โดยเอาชนะจัสติน เกเบรียล และฮีท สเลเตอร์ สมาชิกของกลุ่มเดอะเน็กซัส ในแมตช์แทกทีม 4 เส้า ในอิลิมิเนชั่น แชมเบอร์ (2011) คอซลอฟกับซานติโนเสียแชมป์แทกทีมคืนให้กับเกเบรียลและสเลเตอร์ ในสแมคดาวน์ (5 สิงหาคม 2011) คอซลอฟได้แพ้ให้กับมาร์ก เฮนรี หลังแมตช์เฮนรีได้เอาเก้าอี้มาหนีบขาคอซลอฟ และกระโดดจากเชือกทับใส่ขาเต็มๆ ก่อนจะถูกไล่ออกจาก WWE ในเวลาต่อม.

ดู สหภาพโซเวียตและวลาดิเมียร์ คอซลอฟ

วลาดีมีร์ คลิทช์โก

วลาดีมีร์ คลิทช์โก (อังกฤษ: Wladimir Klitschko) นักมวยรุ่นเฮฟวี่เวทชาวยูเครน มีชื่อเต็มว่า วลาดีมีร์ โวโลดีมีโลวิช คลิทช์โก (Volodymyr Volodymyrovych Klychko, ยูเครน: Володимир Володимирович Кличко) เกิดเมื่อวันที่ 25 มีนาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและวลาดีมีร์ คลิทช์โก

วลาดีมีร์ ปูติน

วลาดีมีร์ วลาดีมีโรวิช ปูติน (Владимир Владимирович Путин; Vladimir Vladimirovich Putinr) เป็นนักการเมืองชาวรัสเซียผู้ดำรงตำแหน่ง ประธานาธิบดีรัสเซียคนที่สี่และคนปัจจุบัน เช่นเดียวกับประธานพรรคยูไนเต็ดรัสเซียและประธานสภารัฐมนตรีสหภาพรัสเซียและเบลารุส เขารักษาการตำแหน่งประธานาธิบดีเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและวลาดีมีร์ ปูติน

วลาดีมีร์ เลนิน

วลาดีมีร์ เลนิน (Vladimir Lenin) มีชื่อเต็มว่า วลาดีมีร์ อิลลิช อุลยานอฟ (Vladimir Ilyich Ulyanov, Владимир Ильич Ульянов) เป็นผู้นำนักปฏิวัติมาร์กซิส คนแรกของสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตที่สถาปนาเมื่อ..

ดู สหภาพโซเวียตและวลาดีมีร์ เลนิน

วัวทะเลชเตลเลอร์

วัวทะเลชเตลเลอร์ (Steller's sea cow, Great northern sea cow) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเลขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งในอันดับพะยูน (Sirenia) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Hydrodamalis วัวทะเลชเตลเลอร์จัดเป็นพะยูนที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกที่เคยปรากฏมา มีความยาวเต็มที่ได้ถึง 8 เมตร น้ำหนักมากถึง 3 ตัน นับได้ว่ามีขนาดพอ ๆ กับวาฬเพชฌฆาต อาศัยอยู่เป็นฝูงเล็ก ๆ ในเขตอาร์กติกและช่องแคบเบริง ซึ่งอยู่ระหว่างสหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียต เมื่อกลางปี..

ดู สหภาพโซเวียตและวัวทะเลชเตลเลอร์

วันเอกราช

วันประกาศเอกราช หรือ วันได้รับเอกราช เป็นวันเฉลิมฉลองเพื่อระลึกถึงสถานภาพความเป็นรัฐของชาติ โดยทั่วไปเกิดขึ้นหลังจากรอดพ้นจากการตกเป็นอาณานิคมของรัฐอื่น ส่วนใหญ่กำหนดให้เป็นวันหยุดของชาต.

ดู สหภาพโซเวียตและวันเอกราช

วาเลนตินา มัตวิเยนโก

วาเลนตินา มัตวิเยนโกใน ค.ศ. 2007 วาเลนตินา อีวานอฟนา มัตวิเยนโก (Валенти́на Ива́новна Матвие́нко, เกิด 7 เมษายน ค.ศ. 1949 ในสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน) ปัจจุบันเป็นนักการเมืองสตรีตำแหน่งสูงสุดในรัสเซีย อดีตผู้ว่าการเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก และประธานสภาสหพันธ์แห่งรัสเซีย เกิดในยูเครน มัตวิเยนโกเริ่มอาชีพการเมืองในคริสต์ทศวรรษ 1980 ในเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก (สมัยนั้นเรียก เลนินกราด) และเลขานุการเอกพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตเขตครัสนอกวาร์เดย์สกี ของนคร ตั้งแต..

ดู สหภาพโซเวียตและวาเลนตินา มัตวิเยนโก

วาเลนตีนา เตเรชโควา

วาเลนตีนา วลาดีมีรอฟนา เตเรชโควา (Валенти́на Влади́мировна Терешко́ва; 6 มีนาคม 2479 -) นักบินอวกาศรัสเซียเกษียณอายุ นักบินอวกาศสตรีคนแรกของโลกขึ้นสู่วงโคจรกับยานอวกาศชื่อ "ยานวอสตอค 6" เมื่อปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและวาเลนตีนา เตเรชโควา

วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา

ประธานาธิบดีเคนเนดี พบปะกับเอกอัครราชทูตโซเวียต อังเดร โกรมิโก ที่ทำเนียบขาว เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม ก่อนเกิดการเผชิญหน้า แผนที่แสดงรัศมีของการใช้ขีปนาวุธที่คิวบา วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา (Cuban Missle Crisis) คือการเผชิญหน้าทางทหารระหว่างสหรัฐอเมริกาฝ่ายหนึ่ง กับสหภาพโซเวียตและประเทศคิวบาอีกฝ่ายหนึ่ง ในช่วงเวลาที่สงครามเย็นอยู่ในช่วงความตึงเครียดจนเกือบจะกลายไปเป็นสงครามปรมาณู ชาวรัสเซียเรียกเหตุการณ์นี้ว่าวิกฤตการณ์แคริบเบียน ส่วนชาวคิวบาเรียกมันว่าวิกฤตการณ์เดือนตุลาคม เหตุการณ์ครั้งนี้ถือเป็นหนึ่งในการเผชิญหน้าครั้งสำคัญในสงครามเย็นนอกจากการปิดล้อมเบอร์ลิน การเผชิญหน้าเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและวิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา

วิกิลีกส์

วิกิลีกส์ (Wikileaks) เป็นเว็บไซต์ที่นำข้อมูลเอกสารของรัฐบาลและบริษัท ซึ่งอนุญาตให้ผู้ใช้สามารถเผยแพร่ เพื่อการกล่าวหาได้ โดยไม่ถูกผลกระทบทางลบกลับจากองค์กรเหล่านั้น เว็บไซต์วิกิลีกส์อ้างว่าการส่งข้อความต่าง ๆ นั้นจะไม่สามารถถูกติดตามได้ ไม่ว่าจากใครก็ตาม เว็บไซต์ทำงานโดยใช้รุ่นดัดแปลงของซอฟต์แวร์มีเดียวิก.

ดู สหภาพโซเวียตและวิกิลีกส์

วิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอช. นิทซ์

SAIS - วอชิงตัน ดี.ซี. วิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอ.

ดู สหภาพโซเวียตและวิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอช. นิทซ์

วิคตอเรีย อซาเรนกา

วิคตอเรีย ฟิโอดาเรานา อซาเรนกา (Вікторыя Фёдараўна Азаранка) เป็นนักเทนนิสหญิงชาวเบลารุส เธอขึ้นถึงตำแหน่งมือวางอันดับหนึ่งของโลก จากการจัดอันดับเมื่อวันที่ 30 มกราคม..2012 ปัจจุบันเป็นมือวางอันดับสองของโลก อซาเรนกาเกิดวันที่ 31 กรกฎาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและวิคตอเรีย อซาเรนกา

วิตาลี คลิทช์โก

วิตาลี คลิทช์โก (อังกฤษ: Vitali Klitschko) นักมวยรุ่นเฮฟวี่เวทชาวยูเครน มีชื่อเต็มว่า วิตาลี โวโลดีมีโลวิช คลิทช์โก (Vitalii Volodymyrovych Klychko, ยูเครน: Віта́лій Володи́мирович Кличко́) เกิดเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและวิตาลี คลิทช์โก

วินสตัน เชอร์ชิล

ซอร์วินสตัน ลีโอนาร์ด สเปนเซอร์-เชอร์ชิล (Winston Leonard Spencer-Churchill) เป็นรัฐบุรุษชาวอังกฤษผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัย ระหว่างปี 1940 ถึง 1945 และปี 1951 ถึง 1955 ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้นำที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคสงครามของศตวรรษที่ 20 นอกจากนี้ วินสตันยังเป็นทหารในกองทัพอังกฤษ, นักประวัติศาสตร์, นักเขียน, ตลอดจนศิลปิน เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาอักษรศาสตร์ และยังเป็นบุคคลแรกที่ได้เป็น พลเมืองเกียรติยศแห่งสหรัฐอเมริกา ผู้คนมักนิยมเรียกเขาด้วยชื่อ "วินสตัน" แทนที่จะเรียกด้วยนามสกุล วินสตันเกิดในตระกูลชนชั้นสูงที่สืบเชื้อสายมาจากดยุกแห่งมาร์ลบะระ สาขาหนึ่งของตระกูลสเปนเซอร์ บิดาของเขาคือ ลอร์ดรันดอล์ฟ เชอร์ชิล นักการเมืองผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีคลัง ส่วนมารดาของเขาคือ เจนนี จีโรม นักสังคมสงเคราะห์ชาวอเมริกัน ในขณะที่ยังเป็นทหารหนุ่ม เขาได้ปฏิบัติภารกิจในบริติชอินเดีย และซูดาน และในสงครามโบเออร์ครั้งที่สอง เขามีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเป็นนักข่าวสงครามและเขียนหนังสือเกี่ยวกับปฏิบัติการของเขา เขาเป็นผู้มีบทบาททางการเมืองแถวหน้ามาตลอดห้าสิบปี ได้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีมากมาย ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเขาเป็นหัวหน้ากรรมการการค้า, รัฐมนตรีปิตุภูมิ, และรัฐมนตรียุติธรรม ระหว่างสงคราม เขายังคงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรียุติธรรม จนกระทั่งความพ่ายแพ้ของอังกฤษในการทัพกัลลิโพลี ทำให้เขาต้องออกจากคณะรัฐบาลและไปประจำการราชการทหารอยู่ที่แนวหน้าภาคตะวันตกในตำแหน่งผู้บัญชาการกองพันลูกเสือที่ 6 จนกระทั่งเขาได้กลับคืนคณะรัฐบาลในตำแหน่งรัฐมนตรียุทธภัณฑ์ รัฐมนตรีว่าการสงคราม และ รัฐมนตรีน่านฟ้า และในปี 1921-1922 เป็นรัฐมนตรีว่าการอาณานิคม และต่อมาในปี 1924-1929 เป็นรัฐมนตรีคลังหลวง โดยเขาได้กำหนดให้สกุลเงินปอนด์กลับไปอิงค่าทองคำเหมือนกับยุคก่อนสงคราม ซึ่งทำให้เกิดภาวะเงินฝืดแพร่ไปทั้งเศรษฐกิจของสหราชอาณาจักร ภายหลังห่างหายจากงานการเมืองไปในทศวรรษที่ 1930 วินสตันก็ได้กลับมาทำงานการเมืองอีกครั้งเมื่อนาซีเยอรมนีเริ่มที่จะสั่งสมกำลังทหารและดูจะเป็นภัยคุกคามต่ออังกฤษ และแล้วการอุบัติขึ้นอย่างฉับพลันของสงครามโลกครั้งที่สอง ก็ทำให้เขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรียุติธรรมอีกครั้ง และภายหลังการลาออกของนายกรัฐมนตรี เนวิล เชมเบอร์ลิน ในวันที่ 10 พฤษภาคม 1940 วินสตันก็กลายเป็นนายกรัฐมนตรี คำประกาศหนักแน่นของเขาที่จะไม่เป็นผู้ยอมแพ้ได้ช่วยกระตุ้นให้ชาวอังกฤษหันมาต่อต้านนาซีเยอรมนี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงต้นสงครามซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ยากเย็นเมื่อสหราชอาณาจักรและอาณานิคมอังกฤษเป็นเพียงฝ่ายเดียวที่ลุกขึ้นอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ วินสตันได้กล่าวสุนทรพจน์ของเขาผ่านวิทยุกระจายเสียงปลุกขวัญกำลังใจชาวอังกฤษ เขาเป็นผู้นำของอังกฤษไปจนกระทั่งสามารถมีชัยเหนือนาซีเยอรมนีได้ แต่ทว่าการได้รับชัยชนะมาต้องแลกกับการสูญเสียการเป็นอภิมหาอำนาจของโลกให้กับสหรัฐอเมริกาไป เหล่าประเทศอาณานิคมที่ยึดครองได้แก่ อินเดีย มาเลเซีย พม่า เป็นต้นต่างก็ได้เรียกร้องเอกราชจนจำใจต้องยอมเป็นเหตุทำให้จักรวรรดิอังกฤษล่มสลายและกลายเป็นเครือจักรภพแห่งชาติแทน ภายหลังพรรคอนุรักษนิยมพ่ายการเลือกตั้งในปี 1945 เขาก็ทำหน้าที่เป็นผู้นำฝ่ายค้านต่อรัฐบาลพรรคแรงงาน เขาได้ออกมาเตือนอย่างเปิดเผยถึงอิทธิพลของโซเวียตในยุโรปผ่านมาตรการ "ม่านเหล็ก" และยังส่งเสริมความเป็นหนึ่งเดียวของยุโรป ภายหลังชนะเลือกตั้งในปี 1951 วินสตันก็กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง ในช่วงการดำรงตำแหน่งครั้งที่สองนี้ รัฐบาลของเขาเต็มไปด้วยข้อราชการต่างประเทศ ทั้งวิกฤตการณ์มาลายา, กบฎมาอูมาอูในเคนยา, สงครามเกาหลี ตลอดจนสนับสนุนการรัฐประหารในอิหร่าน ในปี 1953 เขาเริ่มเจ็บป่วยจากภาวะขาดเลือดในสมอง และลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 1955 แต่เขายังคงเป็นสมาชิกสภาสามัญชนไปจนถึงปี 1964 วินสตันถึงแก่อสัญกรรมด้วยวัย 90 ปีในปี 1965 โดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระราชทานรัฐพิธีศพให้เป็นเกียรติ เขายังคงได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นหนึ่งในกลุ่มคนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติอังกฤษ ชื่อของเขาอยู่ในลำดับที่ 1 ของทำเนียบชาวอังกฤษผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาลจากการจัดอันดับในปี 2002.

ดู สหภาพโซเวียตและวินสตัน เชอร์ชิล

วุลเวอรีน

ำหรับตัวละครในมาร์เวลคอมิกส์ ดูที่ วูล์ฟเวอรีน (ตัวละคร) วุลเวอรีน (wolverine)Wozencraft, W. C. (16 November 2005).

ดู สหภาพโซเวียตและวุลเวอรีน

ศัตรูของประชาชน

ัตรูของประชาชน (public enemy หรือ enemy of the people) เป็นคำที่ใช้เรียกคู่แข่งทางการเมืองหรือทางชนชั้น การใช้คำดังกล่าวเป็นความเสียหาย และแสดงให้เห็นโดยนัยว่าบุคคลกลุ่มนั้นเป็นศัตรูกับรูปแบบสังคมทั้งหมด คำดังกล่าวมีประวัติมาอย่างยาวนาน ซึ่งพบว่าได้มีการใช้ครั้งแรกในสมัยจักรวรรดิโรมัน ซึ่งสภาซีเนตได้ใช้เป็นข้ออ้างในการจับกุมจักรพรรดินีโร นับตั้งแต่นั้นมา มีบุคคลหลายกลุ่มที่ถูกตราหน้าว่าเป็นศัตรูของประชาชน.

ดู สหภาพโซเวียตและศัตรูของประชาชน

ศาสนาพุทธในเกาหลี

ระพุทธศาสนาเริ่มเข้าสู่ประเทศเกาหลีเมื่อ พ.ศ. 915 โดยสมณทูตซุนเตา เดินทางจากประเทศจีนแผ่นดินใหญ่เข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในอาณาจักรโคกูรยอ คือ ประเทศเกาหลีในปัจจุบัน พระพุทธศาสนาได้ขยายเข้ามาในเกาหลีอย่างรวดเร็ว เพียงระยะเวลา 20 ปี ก็มีการสร้างวัดขึ้นมากมาย เฉพาะเมืองหลวงแห่งเดียว 9 วัด ประเทศเกาหลีในสมัยก่อนนั้นประกอบด้วย 3 อาณาจักรคือ โคกูรยอ แพ็กเจ และชิลลา แต่ผู้นำทั้ง 3 อาณาจักรก็นับถือพระพุทธศาสนา และให้การสนับสนุนกิจการต่าง ๆ อันที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาเสมอ และที่สำคัญได้ทรงถือว่าพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ เพราะคำสอนของพระพุทธศาสนาเป็นสิ่งที่ส่งเสริม และให้การศึกษาแก่ประชาชน และเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชน พร้อมทั้งสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นในชาติ พระพุทธศาสนาจึงมีความเจริญรุ่งเรืองตลอดม.

ดู สหภาพโซเวียตและศาสนาพุทธในเกาหลี

ศูนย์กระจายเสียงแพร่ภาพนานาชาติ

ทางเข้าไอบีซีในฟุตบอลโลก 2010 ศูนย์กระจายเสียงแพร่ภาพนานาชาติ (International Broadcasting Center; อักษรย่อ: IBC) เป็นศูนย์กลางสำหรับการกระจายเสียงและการแพร่ภาพ ซึ่งรวมเรียกว่าวิทยุโทรทัศน์ ซึ่งในช่วงระหว่างการแข่งขันกีฬารายการสำคัญ มักจะเปิดทำการควบคู่ไปกับ ศูนย์สื่อมวลชนหลัก (Main Press Center; อักษรย่อ: MPC) ซึ่งเป็นศูนย์กลางสำหรับข่าวสารต่าง ๆ เกี่ยวกับการแข่งขันครั้งนั้น เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับผู้สื่อข่าว ในสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อประสม สื่อดิจิตอล และสื่อประเภทอื่น.

ดู สหภาพโซเวียตและศูนย์กระจายเสียงแพร่ภาพนานาชาติ

สกั๊ด

รวด R-17 (SS-1c Scud-B) ของโปแลนด์ รถยิงขีปนาวุธ MAZ-543 ที่ใช้ยิงสกั๊ด (R-300 Elbrus / SS-1c Scud-B) สกั๊ด (Scud) เป็นชื่อที่ใช้เรียกขีปนาวุธทางยุทธศาสตร์ของสหภาพโซเวียต ที่ผลิตขึ้นระหว่างสงครามเย็น และมีใช้อย่างแพร่หลายไปทั่วโลก มาจากชื่อที่นาโตใช้เรียกขีปนาวุธ R-11, R-17 และ R-300 เอลบรูส ของโซเวียต ว่า SS-1 Scud ปัจจุบันชื่อนี้ใช้เป็นชื่อรวมๆ ที่เรียกขีปนาวุธทั้งหลายที่พัฒนามาจากขีปนาวุธต้นแบบของโซเวียต ทั้งตระกูล Al-Hussein, Al-Abbas ที่พัฒนาโดยอิรัก ตระกูล Shahab ที่พัฒนาโดยอิหร่าน และ Hwasong, Rodong ที่พัฒนาโดยเกาหลีเหนือ.

ดู สหภาพโซเวียตและสกั๊ด

สภาแห่งชาติลาว

แห่งชาติลาว (ສະພາແຫ່ງຊາດລາວ; The National Assembly of The Lao PDR) เป็นสถาบันทางการเมืองที่มีความสำคัญของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวปกครองตามระบอบประชาธิปไตยประชาชน (สังคมนิยม - คอมมิวนิสต์) แบบรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง มีองค์กรแห่งสิทธิอำนาจสูงสุด คือ “พรรคประชาชนปฏิวัติลาว” “สภาแห่งชาติ” เป็น “องค์กรนิติบัญญัติ” และเป็นองค์กรบริหารอำนาจสูงสุด ฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการต่างขึ้นตรง ได้รับแต่งตั้ง และต้องรายงานผลการปฏิบัติงานต่อสภาแห่งชาติ โดยอำนาจสูงสุดในการบริหารงานของประเทศ (อำนาจในการเลือกตั้ง) ยังเป็นของประชาชน ดังนั้นจึงเป็นการปกครองของประชาชน โดยประชาชน และ เพื่อประชาชน.

ดู สหภาพโซเวียตและสภาแห่งชาติลาว

สมรภูมิบ้านร่มเกล้า

มรภูมิบ้านร่มเกล้า หรือ ยุทธการบ้านร่มเกล้า เป็นการรบระหว่างประเทศไทยและประเทศลาว ณ บริเวณบ้านร่มเกล้า ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและสมรภูมิบ้านร่มเกล้า

สมองไหล

สมองไหล (brain drain หรือ human capital flight) หรือ การสูญเสียคนชั้นมันสมอง เป็นการอพยพออกจากประเทศขนานใหญ่ของบุคคลซึ่งมีทักษะหรือความรู้เฉพาะด้าน; ส่วนใหญ่เกิดขึ้นเพราะความขัดแย้ง การขาดโอกาส ความไร้เสถียรภาพทางการเมือง หรือความเสี่ยงด้านสุขภาพ "สมองไหล" มักได้รับพิจารณาว่าเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจ เนื่องจากผู้อพยพมักจะนำบางส่วนของการฝึกซึ่งได้รับการสนับสนุนของรัฐบาลไปด้วย คู่ขนานกับการโยกย้ายทุน ซึ่งหมายถึงการเคลื่อนไหวในแนวเดียวกันของทุนทางการเงิน สมองไหลมักเกี่ยวข้องกับการลดทักษะการทำงานของผู้อพยพในประเทศจุดหมายของพวกเขา ในขณะที่ประเทศซึ่งอพยพออกนั้นสูญเสียประสบการณ์ของผู้มีทักษะ คำว่า brain drain ประดิษฐ์ขึ้นโดยราชสมาคมเพื่อธิบายถึงการอพยพ "นักวิทยาศาสตร์และผู้เชี่ยวชาญทางเทคโนโลยี" จากทวีปยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่สองไปยังทวีปอเมริกาเหนือ ปรากฏการณ์ตรงกันข้าม คือ "การได้คนชั้นมันสมอง" ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อมีการอพยพเข้ามาขนานใหญ่ของบุคคลที่มีคุณวุติทางเทคนิค ตามทฤษฎีแล้ว ภาวะ "สมองไหล" สามารถยุติได้ด้วยการให้โอกาสทางอาชีพแก่บุคคลผู้มีความชำนาญและให้โอกาสในการพิสูจน์ความสามารถของตนเอง สมองไหลเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นทั่วไปในประเทศกำลังพัฒนา อย่างเช่น อดีตอาณานิคมในทวีปแอฟริกา กลุ่มประเทศหมู่เกาะในแคริบเบียน และโดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศซึ่งมีเศรษฐกิจที่วางแผนมาจากศูนย์กลาง อย่างเช่น ในอดีตเยอรมนีตะวันออกและสหภาพโซเวียต ที่ซึ่งทักษะทางการค้าไม่ได้รับผลตอบแทนทางการเงิน หมวดหมู่:การอพยพของมนุษย์.

ดู สหภาพโซเวียตและสมองไหล

สมาคมเขมรอิสระ

งของสมาคมเขมรอิสระ ต่อมาถูกปรับใช้เป็นธงชาติของสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชาKiernan, Ben. ''How Pol Pot Came to Power''. London: Verso, 1985. p. 80 สังเกตที่รูปปราสาทนครวัดมีห้ายอด ส่วนธงของเขมรอิสระที่ไม่ได้ร่วมมือกับเวียดมิญจะมีสามยอด (ซึ่งต่อมาถูกปรับมาใช้เป็นธงของกัมพูชาประชาธิปไตย) สมาคมเขมรอิสระ (United Issarak Front; សមាគមខ្មែរ​ឥស្សរៈ) เป็นขบวนการต่อต้านการปกครองแบบอาณานิคมของฝรั่งเศสในกัมพูชาระหว่าง..

ดู สหภาพโซเวียตและสมาคมเขมรอิสระ

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2

มเด็จพระสันตะปาปา นักบุญจอห์น ปอลที่ 2 มีพระนามเดิมว่า การอล ยูแซฟ วอยตือวา (ในภาษาโปแลนด์) เกิดเมื่อ 18 พฤษภาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16

มเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 (Benedictus XVI, Benedict XVI) พระสันตะปาปากิตติคุณ อดีตประมุขคริสตจักรโรมันคาทอลิก เป็นชาวเยอรมัน มีพระนามเดิมว่า โยเซฟ รัทซิงเงอร์ (Joseph Ratzinger) เกิดเมื่อ 16 เมษายน พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16

สมเด็จพระเจ้าศรีสว่างวัฒนา

มเด็จพระเจ้าศรีสว่างวัฒนา มีพระนามเต็มว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าเชษฐาขัติยวงศา พระมหาศรีสว่างวัฒนา (ພຣະບາດສົມເດັດພຣະເຈົ້າເຊດຖາຂັດຕິຍະວົງສາ ພຣະມະຫາສີສະຫວ່າງວັດທະນາ) หรือ เจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวัฒนา (ເຈົ້າມະຫາຊີວິດສີສະຫວ່າງວັດທະນາ)สะกดด้วยอักขรวิธีเก่าว่า ພຣະບາທສົມເດັຈພຣະເຈົ້າເຊສຖາຂັຕິຍວົງສາ ພຣະມຫາສຣີສວ່າງວັທນາ ปริวรรต: พระบาทสมเด็จพระเจ้าเชสถาขัติยวงสา พระมหาสรีสว่างวัทนา และ ເຈົ້າມຫາຊີວິຕສຣີສວ່າງວັທນາ ปริวรรต: เจ้ามหาชีวิตสรีสว่างวัทนา ตามลำดับ (ສົມຈິຕ ພັນລັກ.

ดู สหภาพโซเวียตและสมเด็จพระเจ้าศรีสว่างวัฒนา

สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 6 (George VI of the United Kingdom; 14 ธันวาคม ค.ศ. 1895 — 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในราชวงศ์วินด์เซอร์ และเครือจักรภพอังกฤษระหว่างปี..

ดู สหภาพโซเวียตและสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร

สมเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมริน

มเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมริน จอมพล สมเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมริน (ស​ម្តេ​ច​អគ្គ​មហា​ពញា​ចក្រី​ ​ហេង​ ​សំ​រិ​ន​ ส​มฺเต​จ​อคฺค​มหา​พญา​จกฺรี​ ​เหง​ ​สํ​ริ​น​; เกิด ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและสมเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมริน

สหพันธรัฐ

แผนที่ประเทศสหพันธรัฐอย่างเป็นทางการ รัฐเดี่ยว สหพันธรัฐ (federation) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า รัฐสหพันธ์ เป็นรัฐอธิปไตยประเภทหนึ่งซึ่งมีลักษณะของสหภาพรัฐหรือภูมิภาคที่ปกครองตนเองบางส่วน ที่รวมเข้าด้วยกันโดยรัฐบาลกลาง หรือรัฐบาลสหพันธ์ ในสหพันธรัฐ สถานะการปกครองตนเองของรัฐองค์ประกอบนั้นตามแบบได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญและไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้โดยการตัดสินใจฝ่ายเดียวของรัฐบาลกลาง ระบอบการปกครองหรือโครงสร้างตามรัฐธรรมนูญที่พบในสหพันธรัฐนั้นทราบกันในชื่อ ระบอบสหพันธรัฐ เป็นระบอบการปกครองที่ตรงข้ามกับรูปแบบรัฐอีกประเภทหนึ่ง คือ รัฐเดี่ยว ตัวอย่างสหพันธรัฐ เช่น ประเทศเยอรมนี ซึ่งประกอบด้วยสิบหกรัฐ (Länder) ที่รวมเข้ากันเป็นสหพันธ์ สหพันธรัฐนั้นอาจประกอบไปด้วยประชาชนที่หลากหลายทางเชื้อชาติ และมีพื้นที่กว้างใหญ่ (ดังเช่น ความหลากหลายอย่างที่สุดในอินเดีย) แม้สหพันธรัฐจะไม่จำเป็นต้องประกอบด้วยทั้งสองประการที่กล่าวมาก็ตาม สหพันธรัฐนั้นส่วนมากก่อตั้งขึ้นจากความตกลงแต่เดิมระหว่างรัฐอธิปไตยจำนวนหนึ่งโดยตั้งอยู่บนความกังวลหรือผลประโยชน์ร่วมกัน ความตกลงแรกเริ่มได้สร้างเสถียรภาพซึ่งเกื้อหนุนผลประโยชน์ร่วมกันข้ออื่น นำดินแดนที่แตกต่างกันสิ้นเชิงมาใกล้ชิดกัน และให้ดินแดนทั้งหมดมีหลักความเห็น (common ground) กว่าแต่ก่อน ในขณะเดียวกัน ความตกลงนี้ได้รับการรับรองและมีการจัดขบวนการเพื่อผสานรวมกันให้ใกล้ชิดยิ่งขึ้น แต่ก็มีบางช่วง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อปัจจัยวัฒนธรรมร่วมเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น เชื้อชาติหรือภาษา บางขั้นตอนในแบบนี้ถูกเร่งให้เร็วขึ้นหรือบีบอัด องค์การระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศสหพันธรัฐ คือ องค์ประชุมกลุ่มประเทศสหพันธรัฐ (Forum of Federations) มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงออตตาวา รัฐออนตาริโอ ประเทศแคนาดา ซึ่งมีจุดประสงค์ในการแบ่งปันแนวคิดและแนวปฏิบัติในการจัดการระบบการปกครองแบบสหพันธ์ ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 9 ประเท.

ดู สหภาพโซเวียตและสหพันธรัฐ

สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย

หพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (Socialist Federal Republic of Yugoslavia, SFR Yugoslavia, SFRY) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมในคาบสมุทรบอลข่านและล่มสลายหลังจากสงครามยูโกสลาเวีย ในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย

สหพันธ์สาธารณรัฐอิรักในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

หพันธ์สาธารณรัฐอิรัก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสหพันธ์สาธารณรัฐอิรักในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

หพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ดู สหภาพโซเวียตและสหภาพโซเวียต

สหภาพโซเวียตในโอลิมปิก

หภาพโซเวียต เข้าร่วมกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในปี ค.ศ. 1952.

ดู สหภาพโซเวียตและสหภาพโซเวียตในโอลิมปิก

สหภาพโซเวียตในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

หภาพโซเวียต เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสหภาพโซเวียตในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สหประชาชาติ

หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..

ดู สหภาพโซเวียตและสหประชาชาติ

สังคมนิยมประเทศเดียว

ังคมนิยมประเทศเดียว (อังกฤษ: Socialism in One Country) เป็นทฤษฎีหลักในการดำเนินการนโยบายต่าง ๆ ในสมัยการเตรียมรุกแบบสังคมนิยม (New Socialist Offensive) ภายใต้การปกครองของ โจเซฟ สตาลิน แห่งสหภาพโซเวียต โดยมุ่งเปลี่ยนสหภาพโซเวียตจากการเป็นประเทศเกษตรกรรมมาเป็นประเทศอุตสาหกรรม สตาลินนั้นได้ขึ้นมามีอำนาจต่อจากเลนิน ซึ่งถึงแก่กรรมในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและสังคมนิยมประเทศเดียว

สันติ-วีณา

ันติ-วีณา (Santi-Vina) เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อปี..

ดู สหภาพโซเวียตและสันติ-วีณา

สาธารณรัฐ

รณรัฐ (Republic) เป็นระบอบการปกครองที่ประเทศถูกพิจารณาว่าเป็น "กิจสาธารณะ" (res publica) มิใช่ธุระหรือทรัพย์สินส่วนตัวของผู้ปกครอง และที่ตำแหน่งหน้าที่ของรัฐได้รับเลือกตั้งโดยตรงหรือโดยอ้อม หรือได้รับแต่งตั้ง มิใช่ได้รับทอด ในสมัยใหม่ นิยามทั่วไปที่เข้าใจง่ายของสาธารณรัฐ คือ ระบอบการปกครองที่ประมุขแห่งรัฐมิใช่พระมหากษัตริย์ ปัจจุบัน รัฐเอกราช 135 จาก 206 รัฐใช้คำว่า "สาธารณรัฐ" เป็นส่วนหนึ่งชื่ออย่างเป็นทางการ ทั้งสาธารณรัฐสมัยใหม่และสมัยโบราณแตกต่างกันอย่างมากทั้งในอุดมการณ์และองค์ประกอบ ในสมัยคลาสสิกและสมัยกลาง ต้นแบบของทุกสาธารณรัฐ คือ สาธารณรัฐโรมัน ซึ่งหมายถึงกรุงโรมในระหว่างสมัยที่มีพระมหากษัตริย์กับสมัยที่มีจักรพรรดิ ประเพณีการเมืองสมัยกลางและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลีปัจจุบันที่เรียกว่า "มนุษยนิยมพลเมือง" (civic humanism) นั้น บางครั้งถูกมองว่าได้รับมาจากนักสาธารณรัฐนิยมโรมันโดยตรง อย่างไรก็ดี นักประพันธ์โรมันที่ได้รับอิทธิพลจากกรีก อย่างพอลิเบียสและคิเคโร บางครั้งใช้คำดังกล่าวเป็นคำแปลของคำภาษากรีกว่า politeia ซึ่งอาจหมายถึงระบอบโดยทั่วไป แต่ยังสามารถใช้กับระบอบบางประเภทโดยเจาะจงซึ่งมิได้สอดคล้องพอดีกับสาธารณรัฐโรมัน สาธารณรัฐมิได้เทียบเท่ากับประชาธิปไตยคลาสสิก เช่น เอเธนส์ แต่มีลักษณะความเป็นประชาธิปไตย ในสาธารณรัฐสมัยใหม่ เช่น สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส รัสเซีย และอินเดีย ฝ่ายบริหารมีความชอบธรรมจากทั้งโดยรัฐธรรมนูญและการออกเสียงเลือกตั้งของประชาชน มงแต็สกีเยอรวมประชาธิปไตยทั้งสองแบบ ซึ่งประชาชนทุกคนมีส่วนร่วมในการปกครอง และอภิชนาธิปไตยหรือคณาธิปไตย ซึ่งมีคนเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่ปกครอง เป็นระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ ส่วนใหญ่สาธารณรัฐมักเป็นรัฐเอกราช แต่ยังมีหน่วยต่ำกว่ารัฐที่เรียกว่า สาธารณรัฐ หรือมีการปกครองที่ถูกอธิบายว่า "เป็นสาธารณรัฐ" โดยธรรมชาติเช่นกัน ตัวอย่างเช่น มาตรา 4 ของรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกา "ประกันว่าทุกรัฐในสหภาพนี้มีระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ" เขตการปกครองของสหภาพโซเวียตถูกอธิบายว่าเป็นสาธารณรัฐ และสองในนั้น คือ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนและเบลารุส มีที่นั่งของตนในสหประชาชาติ ขณะที่รัฐธรรมนูญแห่งสหภาพโซเวียตอธิบายสหภาพว่าเป็น "รัฐเดี่ยว สหพันธ์และพหุชาติ" ที่จริงแล้วเป็นรัฐเดี่ยวเพราะพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตใช้อำนาจในรูปรวมศูนย์เหนือสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตซึ่งปกครองตนเองแต่ในนาม.

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐ

สาธารณรัฐบอตสวานาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐบอตสวานา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐบอตสวานาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐกัวเตมาลาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐกัวเตมาลา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐกัวเตมาลาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐกินีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐกินี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐกินีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐมอลตาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐมอลตา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐมอลตาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐมาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐมาลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐมาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐมาดากัสการ์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐมาดากัสการ์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐมาดากัสการ์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐยูกันดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐยูกันดา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐยูกันดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐสหกรณ์กายอานาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐสหกรณ์กายอานา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐสหกรณ์กายอานาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย

รณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย (Հայկական Սովետական Սոցիալիստական Հանրապետություն, Армя́нская Сове́тская Социалисти́ческая Респу́блика) เป็นสาธารณรัฐหนึ่งในจำนวนสิบห้าสาธารณรัฐของสหภาพโซเวียต สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนียก่อตั้งขึ้นในเดือนพฤศจิกายน..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตจอร์เจีย

รณรัฐสังคมนิยมโซเวียตจอร์เจีย คือหนึ่งในสาธารณรัฐที่ประกอบเป็นประเทศสหภาพโซเวียต ปัจจุบันคือประเทศจอร์เจีย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตจอร์เจีย

สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐอาหรับซีเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐอาหรับซีเรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐอาหรับซีเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถานในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถานในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐคอสตาริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐคอสตาริกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐคอสตาริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐคองโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐคองโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐคองโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐคาเรเลีย

รณรัฐคาเรเลีย (Republic of Karelia) หรือ สาธารณรัฐคาเรลียา (Респу́блика Каре́лия, Respublika Kareliya; Karjalan tasavalta) เป็นสาธารณรัฐในประเทศรัสเซีย ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรป มีเมืองหลวงคือ เปโตรซาวอดสค์ มีประชากร 643,548 คน (ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐคาเรเลีย

สาธารณรัฐซานมารีโนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐซานมารีโน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐซานมารีโนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐซิมบับเวในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐซิมบับเว เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐซิมบับเวในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐปกครองตนเองไครเมีย

รเมีย (Crimea) หรือมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐปกครองตนเองไครเมีย (Крим, Автономна Республіка Крим; Крым, Автономная Республика Крым, Avtonomnaja Respublika Krym; Къырым, Къырым Мухтар Джумхуриети, Qırım, Qırım Muhtar Cumhuriyeti) เป็นสาธารณรัฐปกครองตนเอง ภายใต้สหพันธรัฐรัสเซีย ตั้งอยู่ทางชายฝั่งด้านเหนือของทะเลดำ ที่รวมถึงแหลมไครเมีย มีเมืองหลวงชื่อซิมเฟโรปอล (Simferopol) ตั้งอยู่กลางแหลม ไครเมียมีพื้นที่ 26,200 ตร.กม.

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐปกครองตนเองไครเมีย

สาธารณรัฐประชาชนมองโกเลีย

รณรัฐประชาชนมองโกเลีย (50px, Bügd Nairamdakh Mongol Ard Uls (BNMAU)) คือรัฐคอมมิวนิสต์ในเอเชียตะวันออกระหว่าง พ.ศ. 2464 ถึง พ.ศ. 2535 หลังจากมองโกเลียได้รับเอกราชจากจีน จากการช่วยเหลือของสหภาพโซเวียตแต่ต้องสถาปนาการปกครองเป็นระบอบคอมมิวนิสต์ตามแบบประเทศเพื่อนบ้าน ลัทธิคอมมิวนิสต์สิ้นสุดลงจากมองโกเลียเมื่อปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐประชาชนมองโกเลีย

สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา

รณรัฐประชามานิตกัมพูชา หรือในภาษาไทยคือ สาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา (សាធារណរដ្ឋប្រជាមានិតកម្ពុជា สาธารณรฎฺฐบฺรชามานิตกมฺพุชา; People's Republic of Kampuchea: PRK) เป็นรัฐบาลที่จัดตั้งในกัมพูชาโดยแนวร่วมปลดปล่อย ซึ่งเป็นกลุ่มของกัมพูชาฝ่ายซ้ายที่อยู่ตรงข้ามกับกลุ่มของเขมรแดง ล้มล้างรัฐบาลกัมพูชาประชาธิปไตยของพล พต โดยร่วมมือกับกองทัพของเวียดนาม ทำให้เกิดการรุกรานเวียดนามของกัมพูชา เพื่อผลักดันกองทัพเขมรแดงออกไปจากพนมเปญ มีเวียดนามและสหภาพโซเวียตเป็นพันธมิตรที่สำคัญ สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาไม่ได้เป็นสมาชิกของสหประชาชาติเพราะไม่ได้รับการสนับสนุนจากจีน อังกฤษและสหรัฐอเมริกา ที่นั่งในสหประชาชาติของประเทศกัมพูชาในขณะนั้นเป็นของแนวร่วมเขมรสามฝ่ายที่จัดตั้งรัฐบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตย ซึ่งกลุ่มเขมรแดงของพล พตเข้าร่วมกับกลุ่มที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์อีก 2 กลุ่ม คือ กลุ่มของนโรดม สีหนุ และซอน ซาน อย่างไรก็ตาม สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาได้ประกาศเป็นรัฐบาลของกัมพูชาระหว่าง..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐนิการากัวในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐนิการากัว เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐนิการากัวในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐแองโกลาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐแองโกลา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐแองโกลาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐแคเมอรูนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐแคเมอรูน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐแคเมอรูนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐแซมเบียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐแซมเบีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐแซมเบียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐโมซัมบิกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐโมซัมบิก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐโมซัมบิกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐโดมินิกันในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐโดมินิกัน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐโดมินิกันในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐโคลอมเบียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐโคลอมเบีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐโคลอมเบียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐโปรตุเกส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐไลบีเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐไลบีเรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐไลบีเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐไอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐไอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐไอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐไซปรัสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐไซปรัส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐไซปรัสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐเบนินในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐเบนิน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐเบนินในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐเอกวาดอร์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐเอกวาดอร์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐเอกวาดอร์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐเซียร์ราลีโอนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐเซียร์ราลีโอน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐเซียร์ราลีโอนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐเซเชลส์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐเซเชลส์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐเซเชลส์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สาธารณรัฐเซเนกัลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐเซเนกัล เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐเซเนกัลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

สำนักข่าวกรองกลาง

ำนักข่าวกรองกลาง (Central Intelligence Agency) หรือย่อว่า ซีไอเอ (CIA) เป็นหน่วยงานราชการด้านข่าวกรองต่างชาติพลเรือนของ รัฐบาลกลางสหรัฐ มีหน้าที่รวบรวม ประมวลผล และวิเคราะห์ข้อมูลที่เป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติจากทั่วโลก โดยผ่านการข่าวกรองทางมนุษย์ (Human Intelligence; HUMINT) เป็นส่วนใหญ่ ในฐานะที่เป็นหนึ่งในสมาชิกหลักของชุมชนข่าวกรองสหรัฐ (U.S.

ดู สหภาพโซเวียตและสำนักข่าวกรองกลาง

สื่อลามกอนาจารเด็ก

ื่อลามกอนาจารเด็ก (Child pornography) คือสื่อลามกอนาจารที่ฉวยประโยชน์จากเด็ก (รวมทั้งวัยรุ่น) มีจุดประสงค์เพื่อเร้าอารมณ์ทางเพศ ซึ่งอาจจะผลิตโดยทำร้ายเด็กทางเพศ (เช่น ภาพทารุณเด็กทางเพศ) หรืออาจจะเป็นสื่อแบบเทียมคือเป็นสื่อแต่ง ใช้ผู้ใหญ่ที่แต่งให้เหมือนเด็ก หรือเป็นภาพสร้างขึ้นโดยใช้คอมพิวเตอร์ล้วน ๆ โดยบางทีแม้ภาพวาดหรือแอนิเมชัน ก็สามารถพิจารณาว่าเป็นสื่อเทียมได้เหมือนกัน ทารุณกรรมต่อเด็กเกิดขึ้นเมื่อมีกิจกรรมทางเพศกับเด็ก หรือให้เด็กแสดงบริเวณอวัยวะเพศหรือบริเวณหัวหน่าวเพื่อเร้าอารมณ์ แล้วบันทึกลงในสื่อ สื่อที่ใช้อาจมีหลายแบบ รวมทั้งวรรณกรรม นิตยสาร ภาพถ่าย ประติมากรรม จิตรกรรม การ์ตูน แอนิเมชัน บันทึกเสียง วิดีโอ และวิดีโอเกม กฎหมายเกี่ยวกับสื่อลามกอนาจารเด็กมักจะรวมภาพทางเพศที่เกี่ยวกับเด็กก่อนวัยเจริญพันธุ์ เด็กวัยเจริญพันธุ์ ผู้เยาว์หลังวัยเจริญพันธุ์ และภาพเด็กที่สร้างโดยคอมพิวเตอร์ ผู้ทำผิดเกี่ยวกับสื่อลามกอนาจารเด็กที่ถูกจับโดยมากจะมีรูปเด็กก่อนวัยเจริญพันธุ์ ในประเทศสหรัฐอเมริกา ผู้ที่มีภาพเด็กหลังวัยเจริญพันธุ์มีโอกาสน้อยกว่าที่จะถูกดำเนินคดี แม้ว่าจะผิดกฎหมายเช่นกัน ผู้ผลิตสื่อนาจารเด็กพยายามจะหลีกเลี่ยงการถูกดำเนินคดีโดยขายสื่อนอกประเทศ แต่ก็มีการจับกุมผู้ทำผิดเช่นนี้เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในประเทศต่าง ๆ คนใคร่เด็กดูและเก็บสะสมสื่อเด็กก่อนวัยเจริญพันธุ์มีจุดประสงค์หลายอย่าง เริ่มตั้งแต่การใช้เพื่อประโยชน์ทางเพศส่วนตัว การแลกเปลี่ยนกับคนใคร่เด็กอื่น ๆ การเตรียมเด็กเพื่อทารุณกรรมทางเพศ หรือการหลอกล่อเด็กให้ติดกับเพื่อฉวยประโยชน์ทางเพศ เช่น เพื่อทำสื่อลามกหรือเพื่อการค้าประเวณี เด็กบางครั้งก็ผลิตสื่อลามกเองหรือเพราะถูกบีบบังคับโดยผู้ใหญ่ สื่อลามกอนาจารเด็กผิดกฎหมายและจะถูกตรวจพิจารณาในที่ต่าง ๆ โดยมากในโลก รวมทั้งประเทศไทยที่นิยามคำว่า "เด็ก" ว่าหมายถึงบุคคลที่มีอายุไม่เกิน 18 ปี ประเทศสมาชิกขององค์การตำรวจอาชญากรรมระหว่างประเทศ (Interpol) 94 ประเทศจาก 187 มีกฎหมายโดยเฉพาะในเรื่องนี้โดยปี 2551 และนี่ยังไม่ได้รวมประเทศที่ห้ามสื่อลามกทุกอย่าง ในบรรดา 94 ประเทศเหล่านี้ การมีสื่อลามกอนาจารเด็กจัดเป็นอาชญากรรมใน 58 ประเทศไม่ว่าตั้งใจจะขายหรือเผยแพร่หรือไม่ รวมทั้งประเทศไทย ทั้งการเผยแพร่และการมี จัดเป็นอาชญากรรมในประเทศตะวันตกโดยมาก มีขบวนการที่ขับเคลื่อนให้สื่อลามกอนาจารเด็กเป็นสิ่งผิดกฎหมายทั่วโลก รวมทั้งองค์กรเช่นสหประชาชาติและคณะกรรมาธิการยุโรป เหตุผลที่ต้องมีกฎหมายสื่อลามกเด็กเป็นการเฉพาะ เหตุผลที่ประเทศต่างๆ มีกฎหมายสื่อลามกเด็กโดยเฉพาะแยกต่างหากจากกฎหมายสื่อลามกผู้ใหญ่ เนื่องจากแนวคิดควบคุมสื่อลามกทั้งสองประเภทต่างกัน เหตุผลหลักในการกำหนดโทษอาญากับการกระทำที่เกี่ยวกับสื่อลามกผู้ใหญ่ตั้งอยู่บนแนวคิดเรื่องการปกป้องศีลธรรมโดยรวมของสังคม กล่าวคือ ภาครัฐเชื่อว่าการปล่อยให้มีการผลิต จำหน่าย หรือ เผยแพร่สื่อลามกผู้ใหญ่อย่างเสรีอาจก่อให้เกิดความเสื่อมทรามต่อศีลธรรมทางเพศของคนในสังคมได้  การกำหนดโทษอาญาเพื่อควบคุมและปราบปรามสื่อลามกเด็กมีเหตุผลพื้นฐานที่ต่างออกไป กล่าวคือ เพื่อปกป้องคุ้มครองเด็กจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ เพราะการผลิตสื่อลามกเด็ก (โดยเฉพาะที่ใช้เด็กจริงๆ แสดง) เป็นรูปแบบหนึ่งของการล่วงละเมิดทางเพศจากเด็ก ในด้านร่างกาย เด็กยังไม่เจริญเติบโตเต็มที่ การให้เด็กมีกิจกรรมทางเพศอาจก่อให้เกิดการบาดเจ็บในด้านจิตใจ เนื่องจากการเรียนรู้ของเด็กยังไม่พัฒนาเพียงพอที่จะเข้าใจในเรื่องความเหมาะสมของเรื่องเพศ การบังคับหรือล่อลวงให้เด็กมีกิจกรรมทางเพศหรือการถ่ายภาพยั่วยุทางเพศต่างๆ ถือได้ว่าเป็นการทำร้ายจิตใจเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อเด็กพบว่าสิ่งที่ตนกระทำไปเป็นเรื่องไม่เหมาะสมสำหรับวัยตัวเอง ก็อาจเกิดความอับอายกลายเป็นบาดแผลทางจิตใจซึ่งอาจจะฝังลึกในใจเด็กไปตลอดชีวิต นอกจากนี้ ในหลายๆ กรณี การที่เด็กเข้าร่วมกิจกรรมทางเพศโดยไม่สมัครใจหรือเกิดจากการล่อลวง บังคับข่มขู่ หรือความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นการแสวงหาประโยชน์อันมิชอบจากความเยาว์วัยของเด็กที่ยังไม่มีความสามารถในการตัดสินใจเพียงพอเกี่ยวกับความเหมาะสมของการมีเพศสัมพันธ์ ยิ่งในกรณีของสื่อลามกเด็กบนอินเทอร์เน็ต ผลกระทบร้ายแรงต่อตัวเด็กอาจขยายเป็นวงกว้างกว่า กล่าวคือ ภาพหรือคลิปวิดีโอบันทึกการล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็กดังกล่าวจะถูกส่งผ่านต่อกันไปและหมุนเวียนอยู่ในโลกไซเบอร์ไม่มีวันสิ้นสุด สิ่งนี้ยิ่งสร้างบาดแผลทางใจให้กับเด็กผู้ปรากฏในสื่อลามกอย่างไม่มีทางเยียวยาหรือลบเลือนออกไปได้.

ดู สหภาพโซเวียตและสื่อลามกอนาจารเด็ก

สุภา ศิริมานนท์

ริมานนท์ (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 — 15 มีนาคม พ.ศ. 2529) นามปากกา จิตติน ธรรมชาติ เป็นนักคิด นักประพันธ์ นักหนังสือพิมพ์และนักวารสารศาสตร์คนสำคัญของประเทศไทย และผู้สื่อข่าวสงครามคนแรกของประเทศไทย (ในสงครามจีนญี่ปุ่น) เคยเป็นบรรณาธิการ “นิกรวันอาทิตย์” และ “อักษรสาส์น” เข้าร่วมขบวนการเสรีไทย รับราชการในกระทรวงการต่างประเทศ เป็นเลขานุการฝ่ายหนังสือพิมพ์ประจำสถานทูตไทย ณ ประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป คือ สหภาพโซเวียต สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ และฝรั่งเศส เป็นผู้บริหารและฝ่ายวิชาการของบริษัทอาคเนย์ประกันภัย และเป็นอาจารย์พิเศษที่ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ดู สหภาพโซเวียตและสุภา ศิริมานนท์

สุภาษ จันทระ โพส

ษ จันทระ โพส สุภาษ จันทระ โพส (Subhash Chandra Bose; सुभाष चन्द्र बोस; 23 มกราคม ค.ศ. 1897 – 18 สิงหาคม ค.ศ. 1945) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ เนตาชี (Netaji; नेता जी; "ท่านผู้นำ") เป็นผู้นำกลุ่มอิสระชาวอินเดียที่ต้องการการปลดปล่อยประเทศอินเดียให้เป็นเอกราชจากการปกครองของอังกฤษในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2.

ดู สหภาพโซเวียตและสุภาษ จันทระ โพส

สุรสีห์ ผาธรรม

รสีห์ ผาธรรม เกิดเมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2491 ที่จังหวัดอุบลราชธานี จบการศึกษาสาขา นิเทศศาสตร์ ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ไทย นักแสดงในบางครั้ง ยังเป็นผู้ผลิตและจำหน่ายภาพยนตร์และวิซีดี ชื่อ สุรสีห์ผาธรรมฟิล์ม ในสมัยเด็กด้วยความเป็นคนชอบภาพยนตร์ จึงละทิ้งไปเป็นนักพากย์หนัง ซึ่งทำให้ได้รู้จักกับคุณกมล กุลตังวัฒนา ซึ่งภายหลังได้มาเปิดบริษัทหนังในกรุงเทพ ซื้อหนังอินเดียเข้ามาฉายในประเทศไทย จนภายหลังสุรสีห์เกิดความคิดที่จะลองเป็นผู้กำกับเอง จึงชวนคุณกมล กุลตังวัฒนา มาทำหนัง โดยมีหนังเรื่องแรกที่กำกับคือ มนต์รักแม่น้ำมูล สุรสีห์รับหน้าที่เป็นผู้ช่วย ผู้กำกับ และผู้อำนวยการสร้าง ภาพยนตร์ประสบความสำเร็จไม่น้อย ทำรายได้ถึงล้านบาท จากนั้นคุณกมลเห็นถึงความสามารถจึงเลื่อนให้มาเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ มีภาพยนตร์กำกับเรื่องแรกคือ ครูบ้านนอก ซึ่งสร้างชื่อเสียงอย่างมาก คว้ารางวัลผู้กำกับหนังยอดเยี่ยมและภาพยนตร์สร้างสรรค์เยาวชนดีเด่น ในงานมหกรรมภาพยนตร์ที่นครทัชเคนท์ สหภาพโซเวียต รัสเซีย นอกจากนั้นยังมีผลงานกำกับภาพยนตร์อย่าง หนองหมาว้อ (2522), ลูกแม่มูล (2523), ครูวิบาก (2524), ครูดอย (2525), สวรรค์บ้านนา (2526), ผู้แทนนอกสภา (2526), ราชินีดอกหญ้า (2529), บ๊าย บาย ไทยแลนด์ (2530) และล่าสุดนำภาพยนตร์ ครูบ้านนอก มาทำใหม่ ในชื่อ ครูบ้านนอก บ้านหนองฮีใหญ่ (2553).

ดู สหภาพโซเวียตและสุรสีห์ ผาธรรม

สถานีวอสตอค

นีวอสตอค (Станция Восток) เป็นสถานีวิจัยในทวีปแอนตาร์กติกาของรัสเซีย (อดีตสหภาพโซเวียต) ที่ซึ่งสามารถตรวจวัดอุณหภูมิที่ต่ำที่สุดบนโลกเท่าที่เคยบันทึก โดยวัดได้ -89.2 °ซ (เมื่อ 21 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและสถานีวอสตอค

สถานีอวกาศมีร์

นีอวกาศมีร์ (Мир; โลก และ สันติภาพ) เป็นสถานีอวกาศที่ประสบความสำเร็จสูงสุดของรัสเซีย และนับเป็นสถานีวิจัยถาวรระยะยาวแห่งแรกในอวกาศของมนุษยชาติ นักบินอวกาศจากหลายชาติได้ใช้งานสถานีอวกาศแห่งนี้ผ่านความร่วมมือระหว่างประเทศ สถานีประกอบด้วยมอดูลต่าง ๆ หลายมอดูล แต่ละส่วนถูกทะยอยนำขึ้นสู่อวกาศ เริ่มจากส่วนแรกในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและสถานีอวกาศมีร์

สถานีอวกาศสกายแล็บ

กายแล็บ (Skylab) เป็นสถานีอวกาศแห่งแรกของสหรัฐอเมริกา และเป็นสถานีอวกาศแห่งที่สองของโลกที่มีลูกเรืออยู่ปฏิบัติงาน ถัดจากสถานีอวกาศซัลยุตของสหภาพโซเวียต สกายแล็บโคจรอยู่ในวงโคจรของโลกตั้งแต่ ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและสถานีอวกาศสกายแล็บ

สถานีอวกาศเมียร์-2

นีโมดูลหลัก "เมียร์-2" กับยานขนส่งเสบียงพรอเกรสระหว่างภารกิจ "Progress М1-3" สถานีอวกาศเมียร์-2 (Mir-2) เป็นโครงการสถานีอวกาศของสหภาพโซเวียต เริ่มต้นขึ้นเมื่อเดือนกุมภาพัน..

ดู สหภาพโซเวียตและสถานีอวกาศเมียร์-2

สงครามกลางเมืองรัสเซีย

งครามกลางเมืองรัสเซีย (Grazhdanskaya voyna v Rossiyi)Mawdsley, pp.

ดู สหภาพโซเวียตและสงครามกลางเมืองรัสเซีย

สงครามกลางเมืองลาว

งครามกลางเมืองลาว (พ.ศ. 2496-2518) เป็นการสู้รบระหว่างฝ่ายคอมมิวนิสต์ (ปะเทดลาว) ซึ่งส่วนใหญ่มีเชื้อสายมาจากชาวลาวในประเทศเวียดนามเหนือ กับรัฐบาลราชอาณาจักรลาว โดยทั้งฝ่ายขวาและฝ่ายซ้ายต่างก็ได้รับการสนับสนุนจากมหาอำนาจแห่งสงครามเย็น ในหมู่ทหารอเมริกันจากกองกิจการพิเศษ หน่วยสืบราชการลับกลางแห่งสหรัฐอเมริกา และทหารผ่านศึกชาวม้งเรียกสงครามนี้ว่า สงครามลับ (Secret War) ราชอาณาจักรลาวกลายเป็นสมรภูมิลับระหว่างฝ่ายต่างๆ ในสงครามเวียดนาม สนธิสัญญาไมตรีและสมาคมฝรั่งเศส-ลาวที่ลงนามในวันที่ 22 ตุลาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและสงครามกลางเมืองลาว

สงครามกลางเมืองสเปน

งครามกลางเมืองสเปน (Spanish Civil War) เป็นการรบในประเทศสเปนที่เกิดจากความขัดแย้งระหว่างฝ่ายสนับสนุนกับฝ่ายต่อต้านสาธารณรัฐสเปนที่ 2 ได้แก่ "ฝ่ายนิยมสาธารณรัฐ" ประกอบด้วยกลุ่มมัชฌิมา กลุ่มสังคมนิยม กลุ่มคอมมิวนิสต์ รวมทั้งชาวกาตาลาและชาวบาสก์ที่หัวรักถิ่นและเป็นอนาธิปไตย กับ "ฝ่ายชาตินิยม" ที่เป็นฝ่ายก่อการกบฏ รวมถึงพวกนิยมกษัตริย์ พวกการ์ลิสต์ พวกคาทอลิกหัวเก่า และพวกฟาสซิสต์ฟรังกิสต์ ซึ่งกองทัพสเปนเองก็ได้แตกแยกออกเป็นสองฝ่าย แต่ละฝ่ายก็พยายามระดมหาพันธมิตรต่างประเทศมาช่วยรบ ฝ่ายนิยมสาธารณรัฐดึงสหภาพโซเวียตและเม็กซิโก ส่วนฝ่ายชาตินิยมดึงพวกฟาสซิสต์จากอิตาลีและนาซีเยอรมนี สงครามดังกล่าวนับว่าเป็นการเร่งความขัดแย้งที่นำไปสู่สงครามโลกครั้งที่สอง และถูกมองว่าเป็นสงครามตัวแทนระหว่างสองลัทธิ คือ คอมมิวนิสต์ สหภาพโซเวียตและฟาสซิสต์ ฝ่ายอักษะ สงครามดังกล่าวได้มีการนำรถถังและการทิ้งระเบิดทางอากาศมาใช้ และถูกกล่าวขานถึงความโหดร้ายของสงครามและความแตกแยกทางการเมืองจากนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่หลายคน อย่างเช่น เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์, มาร์ธา เกลฮอร์น, จอร์จ ออร์เวลล์, และโรเบิร์ต คาป.

ดู สหภาพโซเวียตและสงครามกลางเมืองสเปน

สงครามกลางเมืองจีน

งครามกลางเมืองจีน (ค.ศ. 1927-1950) เป็นสงครามกลางเมือง สู้รบกันระหว่างพรรคก๊กมินตั๋ง พรรคปกครองสาธารณรัฐจีน ฝ่ายหนึ่ง กับพรรคคอมมิวนิสต์จีนอีกฝ่ายหนึ่งGay, Kathlyn.

ดู สหภาพโซเวียตและสงครามกลางเมืองจีน

สงครามกัมพูชา–เวียดนาม

งครามกัมพูชา-เวียดนามเป็นความขัดแย้งด้วยอาวุธระหว่างสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามและกัมพูชาประชาธิปไตย สงครามเริ่มขึ้นด้วยการปะทะตามพรมแดนทางบกและทางทะเลของเวียดนามและกัมพูชาระหว่าง..

ดู สหภาพโซเวียตและสงครามกัมพูชา–เวียดนาม

สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น

งครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น (Russo-Japanese War) เป็น สงครามครั้งใหญ่ครั้งแรกในศตวรรษที่ 20 อันเนื่องมาจากลัทธิจักรวรรดินิยมของจักรวรรดิรัสเซียและจักรวรรดิญี่ปุ่น ในบริเวณทางใต้ของแมนจูเรียในพื้นที่คาบสมุทรเหลียวตง, เสิ่นหยาง และบริเวณเกาหลีในพื้นที่คาบสมุทรเกาหลี, ทะเลเหลือง รัสเซียได้ร้องขอท่าเรือน้ำอุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิกไว้ เพื่อใช้งานด้านกองทัพเรือและการค้าทางทะเลของรัสเซีย เนื่องจากนครวลาดิวอสต็อกของรัสเซียสามารถเปิดดำเนินการได้อย่างเต็มที่เฉพาะในฤดูร้อนเท่านั้น แต่เมืองพอร์ตอาเธอร์ (ลวี่ชุนเกาในปัจจุบัน) สามารถเปิดดำเนินการได้ตลอดทั้งปี ซึ่งตั้งแต่สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 1 ยุติลง ในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น

สงครามรัสเซีย-จอร์เจีย

งครามรัสเซีย-จอร์เจีย หรือสงครามเซาท์ออสซีเชีย (ในรัสเซียมีอีกชื่อหนึ่งว่า สงครามห้าวัน) เป็นความขัดแย้งด้วยอาวุธในเดือนสิงหาคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและสงครามรัสเซีย-จอร์เจีย

สงครามฤดูหนาว

ทหารสกีของฟินแลนด์ในสงครามฤดูหนาว ทิศทางการโจมตีของกองทัพแดงและการวางกำลังหลักของสองฝ่าย สงครามฤดูหนาว (อังกฤษ: Winter War, ฟินแลนด์: talvisota, สวีเดน: vinterkriget, รัสเซีย: Советско-финская война, และอาจรู้จักกันในชื่อ สงครามโซเวียต-ฟินแลนด์ หรือ สงครามรัสเซีย-ฟินแลนด์) เป็นสงครามระหว่างสหภาพโซเวียตกับประเทศฟินแลนด์ เกิดในช่วงต้น ๆ ของสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อฟินแลนด์ปฏิเสธไม่ยอมยกดินแดนบางส่วนและไม่ยอมให้โซเวียตสร้างฐานทัพเรือในดินแดนของตน การโจมตีเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและสงครามฤดูหนาว

สงครามอิรัก–อิหร่าน

งครามอิรัก–อิหร่าน (Iran–Iraq War) เป็นความขัดแย้งระหว่างประเทศอิหร่านและประเทศอิรัก ซึ่งเริ่มตั้งแต่เดือนกันยายน 1980 ถึงสิงหาคม 1988 มีการประเมินว่าสงครามครั้งนี้สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจรวมกันกว่า 1.2 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ (30.6 ล้านล้านบาท) สงครามอิรัก–อิหร่านเริ่มขึ้นเมื่ออิรักทำการรุกรานอิหร่านในวันที่ 22 กันยายน 1980 อันเนื่องมาจากข้อพิพาททางชายแดนที่ดำเนินมาอย่างยาวนาน หลังการปฏิวัติอิหร่านในปี 1979 รูฮุลลอฮ์ โคมัยนี ได้ขึ้นเป็นผู้นำสูงสุดของอิหร่านและประกาศตนเป็นผู้นำอิสลามนิกายชีอะห์ ทำให้มุสลิมชีอะฮ์อันเป็นคนส่วนมากในอิรักขึ้นมาก่อจลาจลต่อต้านการปกครองของรัฐบาลนิกายซุนนี ขณะเดียวกัน อิรักก็มีความพยายามจะขึ้นมามีอิทธิพลครอบงำภูมิภาคอ่าวเปอร์เซียแทนที่อิหร่าน แม้ว่าอิรักจะใช้โอกาสที่อิหร่านกำลังวุ่นวายนี้เข้าโจมตีอิหร่านโดยไม่ประกาศก่อน แต่เข้ายึดครองยังได้ไม่มากก็ถูกโต้กลับอย่างรวดเร็ว อิหร่านสามารถชิงดินแดนที่สูญเสียไปทั้งหมดคืนมาได้ภายในเดือนมิถุนายน 1982 และตลอดหกปีจากนี้ อิหร่านก็กลายเป็นฝ่ายรุกไล่เข้าไปในดินแดนอิรัก แม้คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติได้ร้องให้มีการหยุดยิงนับสิบๆครั้ง แต่การสู้รบก็ดำเนินไปจนถึงวันที่ 20 สิงหาคม 1988 และสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการตามมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 598 ที่ทั้งสองฝ่ายยอมรับคำขอหยุดยิง ซึ่งภายหลังข้อสรุปนี้ กองทัพอิหร่านต้องใช้เวลาหลายสัปดาห์ในการถอนกำลังออกจากดินแดนอิรักโดยยึดเอาหลักเขตแดนก่อนสงคราม เชลยสงครามคนสุดท้ายของสงครามนี้ถูกส่งตัวกลับประเทศตนในปี 2003 สงครามครั้งนี้ทำให้มีผู้เสียชีวิตรวมกันกว่าหนึ่งล้านคนแต่กลับไม่มีฝ่ายใดได้หรือสูญเสียดินแดนเลย สงครามครั้งนี้ถูกนำไปเปรียบเทียบกับสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในแง่ของกลยุทธ ทั้งการใช้แท่นปืนกล, การโจมตีแบบคลื่นมนุษย์, การใช้อาวุธเคมีจำนวนมากโดยกองทัพอิรัก ประเทศอิสลามจำนวนมากอยู่ฝ่ายเดียวกับชาติตะวันตกในสงครามครั้งนี้ นั่นคือการสนับสนุนอิรักโดยการให้เงินกู้, ยุทโธปกรณ์ และภาพถ่ายดาวเทียมในช่วงที่อิรักโจมตีอิหร่าน ซึ่งในระหว่างสงคราม มีการวิจารณ์จากสื่อว่า "ประชาคมโลกต่างพากันเงียบกริบตอนอิรักใช้อาวุธอานุภาพทำลายล้างสูงต่ออิหร่านและชาวเคิร์ด" และกว่าคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติจะประกาศให้อิรักเป็นผู้ก่อสงครามก็จนกระทั่ง 11 ธันวาคม 1991 สิบสองปีให้หลังจากที่อิรักทำการรุกรานอิหร่าน และเป็นเวลาสิบหกเดือนหลังอิรักรุกรานคูเวต ซึ่งบานปลายเป็นสงครามอ่าว.

ดู สหภาพโซเวียตและสงครามอิรัก–อิหร่าน

สงครามอินโดจีน

งครามอินโดจีน (Indochina Wars, Chiến tranh Đông Dương) เป็นสงครามย่อยหลายสงครามที่เกิดขึ้นทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่ปีค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและสงครามอินโดจีน

สงครามอ่าวเปอร์เซีย

งครามอ่าวเปอร์เซีย หรือ สงครามอ่าว (Gulf War, 2 สิงหาคม 2533 – 28 กุมภาพันธ์ 2534) ชื่อรหัสปฏิบัติการโล่ทะเลทราย (Operation Desert Shield, 2 สิงหาคม 2533 – 17 มกราคม 2534) เป็นปฏิบัติการนำสู่การสั่งสมกำลังและการป้องกันของซาอุดีอาระเบียและปฏิบัติการพายุทะเลทราย (Operation Desert Storm, 17 มกราคม 2534 – 28 กุมภาพันธ์ 2534) ในระยะสู้รบ เป็นสงครามในภูมิภาคอ่าวเปอร์เซียระหว่างกำลังผสมจาก 34 ชาตินำโดยสหรัฐอเมริกาต่อประเทศอิรักหลังการบุกครองและผนวกคูเวตของอิรัก สงครามนี้มีชื่ออื่น เช่น สงครามอ่าวเปอร์เซีย, สงครามอ่าวครั้งที่หนึ่ง, สงครามคูเวต, สงครามอิรัก ซึ่งคำว่า "สงครามอิรัก" ต่อมาใช้เรียกการบุกครองอิรักเมื่อปี 2546 แทน การยึดครองคูเวตของกองทัพอิรักซึ่งเริ่มเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2533 นั้นถูกนานาชาติประณาม และสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติพลันใช้วิธีการบังคับทางเศรษฐกิจต่ออิรัก ประธานาธิบดี จอร์จ เอช.

ดู สหภาพโซเวียตและสงครามอ่าวเปอร์เซีย

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย

งครามต่อต้านการก่อการร้าย (War on Terror) เป็นคำที่ใช้ทั่วไปกับการทัพทางทหารระหว่างประเทศซึ่งเริ่มต้นอันเป็นผลมาจากวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและสงครามต่อต้านการก่อการร้าย

สงครามแปซิฟิก

งครามแปซิฟิก (Pacific War) หรือ สงครามมหาเอเชียบูรพา (Greater East Asia War; 大東亜戦争, Dai Tō-A Sensō) เป็นเขตสงครามหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง สู้รบกันในมหาสมุทรแปซิฟิกและเอเชียตะวันออกเป็นหลัก มีการยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าสงครามแปซิฟิกเริ่มตั้งแต่วันที่ 7 หรือ 8 ธันวาคม 1941 เมื่อญี่ปุ่นบุกครองประเทศไทยและโจมตีอาณานิคมของบริติช ได้แก่ มาลายา สิงคโปร์และฮ่องกง ตลอดจนฐานทัพสหรัฐในหมู่เกาะฮาวาย หมู่เกาะเวก เกาะกวมและฟิลิปปินส์ ทว่า สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สองระหว่างจักรวรรดิญี่ปุ่นและสาธารณรัฐจีนมีมาต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม 1937 โดยมีความเป็นปรปักษ์ย้อนหลังไปถึงวันที่ 19 กันยายน 1931 เมื่อประเทศญี่ปุ่นบุกครองแมนจูเรีย จักรวรรดิญี่ปุ่นเริ่มนโยบายชาตินิยมโดยใช้คำขวัญที่ว่า "เอเชียเพื่อชาวเอเชีย" (Asia for Asiatics) วันที่ 3 พฤศจิกายน..

ดู สหภาพโซเวียตและสงครามแปซิฟิก

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.

ดู สหภาพโซเวียตและสงครามโลกครั้งที่สอง

สงครามเย็น

กำแพงเบอร์ลินจากฝั่งตะวันตก กำแพงถูกสร้างใน ค.ศ. 1961 เพื่อป้องกันมิให้ชาวเยอรมันตะวันออกหนีและหยุดการหลั่งไหลของแรงงานซึ่งเป็นภัยพิบัติทางเศรษฐกิจ มันเป็นสัญลักษณ์ของสงครามเย็นและการทลายกำแพงใน ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและสงครามเย็น

สงครามเวียดนาม

งครามเวียดนาม หรือ สงครามอินโดจีนครั้งที่สอง หรือที่ชาวเวียดนามรู้จักกันในชื่อ สงครามอเมริกา เป็นสงครามตัวแทนสมัยสงครามเย็นที่เกิดขึ้นในประเทศเวียดนาม ลาวและกัมพูชาตั้งแต่เดือนธันวาคม 2498 กระทั่งกรุงไซ่ง่อนแตกเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2518 สงครามเวียดนามนี้เกิดขึ้นหลังสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง และมีเวียดนามเหนือซึ่งได้รับการสนับสนุนจากจีน สหภาพโซเวียตและพันธมิตรคอมมิวนิสต์อื่นเป็นคู่สงครามฝ่ายหนึ่ง กับรัฐบาลเวียดนามใต้ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐและประเทศที่ต่อต้านคอมมิวนิสต์อื่นเป็นคู่สงครามอีกฝ่ายหนึ่ง เวียดกง (หรือ แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติ) เป็นแนวร่วมประชาชนคอมมิวนิสต์เวียดนามใต้ที่ติดอาวุธเบาซึ่งมีเวียดนามเหนือสั่งการ สู้รบในสงครามกองโจรต่อกำลังต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค กองทัพประชาชนเวียดนาม (กองทัพเวียดนามเหนือ) ต่อสู้ในสงครามตามแบบมากกว่า และบางครั้งส่งหน่วยขนาดใหญ่เข้าสู่ยุทธการ เมื่อสงครามดำเนินไป ส่วนการต่อสู้ของเวียดกงลดลงขณะที่บทบาทของกองทัพประชาชนเวียดนามเพิ่มขึ้น กำลังสหรัฐและเวียดนามใต้อาศัยความเป็นเจ้าเวหาและอำนาจการยิงที่เหนือกว่าเพื่อดำเนินปฏิบัติการค้นหาและทำลาย ซึ่งรวมถึงกำลังภาคพื้นดิน ปืนใหญ่และการโจมตีทางอากาศ ตลอดห้วงสงคราม สหรัฐดำเนินการทัพทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์ขนานใหญ่ต่อเวียดนามเหนือ และต่อมาน่านฟ้าเวียดนามเหนือกลายเป็นน่านฟ้าที่มีการป้องกันหนาแน่นที่สุดในโลก รัฐบาลสหรัฐมองว่าการเข้ามามีส่วนในสงครามของตนเป็นหนทางป้องกันการยึดเวียดนามใต้ของคอมมิวนิสต์อันเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์การจำกัดการขยายตัวของลัทธิที่ไม่พึงปรารถนาที่ใหญ่กว่า โดยมีเป้าหมายที่แถลงไว้เพื่อหยุดการแพร่ของคอมมิวนิสต์ ตามทฤษฎีโดมิโนของสหรัฐ หากรัฐหนึ่งกลายเป็นคอมมิวนิสต์ รัฐอื่นในภูมิภาคก็จะเป็นไปด้วย ฉะนั้น นโยบายของสหรัฐจึงถือว่าการผ่อนปรนการแพร่ของคอมมิวนิสต์ทั่วประเทศเวียดนามนั้นยอมรับไม่ได้ รัฐบาลเวียดนามเหนือและเวียดกงต่อสู้เพื่อรวมเวียดนามอยู่ในการปกครองคอมมิวนิสต์ ทั้งสองมองข้อพิพาทนี้เป็นสงครามอาณานิคม ซึ่งเริ่มแรกสู้กับฝรั่งเศส โดยได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐ แล้วต่อมาสู้กับเวียดนามใต้ ซึ่งถูกมองว่าเป็นรัฐหุ่นเชิดของสหรัฐ ที่ปรึกษาทางทหารชาวอเมริกันมาถึงอินโดจีนขณะนั้นเริ่มตั้งแต่ปี 2493 การเข้ามามีส่วนของสหรัฐเพิ่มขึ้นในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 โดยมีระดับทหารเพิ่มเป็นสามเท่าในปี 2494 และเพิ่มอีกสามเท่าในปีต่อมา การเข้ามามีส่วนของสหรัฐทวีขึ้นอีกหลังเหตุการณ์อ่าวตังเกี๋ย ปี 2507 ซึ่งเรือพิฆาตของสหรัฐปะทะกับเรือโจมตีเร็วของเวียดนามเหนือ ซึ่งตามติดด้วยข้อมติอ่าวตังเกี๋ยซึ่งอนุญาตให้ประธานาธิบดีสหรัฐเพิ่มทหารในพื้นที่ หน่วยรบปกติของสหรัฐถูกจัดวางเริ่มตั้งแต่ปี 2498 ปฏิบัติการข้ามพรมแดนระหว่างประเทศ โดยพื้นที่ติดต่อกับประเทศลาวและกัมพูชาถูกกองทัพสหรัฐทิ้งระเบิดอย่างหนักขณะที่การเข้ามามีส่วนในสงครามของสหรัฐเพิ่มขึ้นสูงสุดในปี 2511 ปีเดียวกัน ฝ่ายคอมมิวนิสต์เปิดฉากการรุกตรุษญวน การรุกตรุษญวนไม่สัมฤทธิ์ผลในการโค่นรัฐบาลเวียดนามใต้ แต่ได้กลายเป็นจุดพลิกผันของสงคราม เพราะได้แสดงว่าเวียดนามใต้ไม่อาจป้องกันตัวเองจากเวียดนามเหนือได้ แม้สหรัฐจะทุ่มความช่วยเหลือทางทหารอย่างมหาศาลหลายปี ด้วยจุดชัยชนะของสหรัฐนั้นไม่ชัดเจน จึงค่อย ๆ มีการถอนกำลังภาคพื้นดินของสหรัฐโดยเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายเรียก การแผลงเป็นเวียดนาม (Vietnamization) ซึ่งมุ่งยุติการเข้ามามีส่วนในสงครามของสหรัฐขณะที่โอนภารกิจต่อสู้กับคอมมิวนิสต์ให้เวียดนามใต้เอง แม้ภาคีทุกฝ่ายลงนามข้อตกลงสันติภาพปารีสในเดือนมกราคม 2516 แล้วก็ตาม แต่การสู้รบยังดำเนินต่อไป ในสหรัฐและโลกตะวันตก มีการพัฒนาขบวนการต่อต้านสงครามเวียดนามขนาดใหญ่ขึ้น ขบวนการนี้ทั้งเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมต่อต้าน (Counterculture) แห่งคริสต์ทศวรรษ 1960 และเป็นปัจจัยหนึ่งของมัน การมีส่วนร่วมทางทหารของสหรัฐยุติลงเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2516 อันเป็นผลมาจากคำแปรญัตติเคส–เชิร์ช (Case–Church Amendment) ที่รัฐสภาสหรัฐผ่าน การยึดกรุงไซ่ง่อนโดยกองทัพประชาชนเวียดนามในเดือนเมษายน 2518 เป็นจุดสิ้นสุดของสงคราม และมีการรวมชาติเวียดนามเหนือกับเวียดนามใต้ในปีต่อมา สงครามนี้คร่าชีวิตมนุษย์ไปมหาศาล ประเมินตัวเลขทหารและพลเรือนชาวเวียดนามที่ถูกสังหารมีตั้งแต่น้อยกว่า 1 ล้านคนเล็กน้อย ไปถึงกว่า 3 ล้านคน ชาวกัมพูชาเสียชีวิตราว 2-3 แสนคนHeuveline, Patrick (2001).

ดู สหภาพโซเวียตและสงครามเวียดนาม

สตรืย

ตรืย (Стрий, Stryj, Stryi) เป็นเมืองบนริมฝั่งซ้ายของแม่น้ำสตรืย ในเขตปกครองย่อยลวิฟ ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศยูเครน ห่างจากเมืองอีวาโน-ฟรันคิฟสค์ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 71 กิโลเมตร แยกจากโปแลนด์มารวมกับออสเตรียใน ปี..

ดู สหภาพโซเวียตและสตรืย

สตานิสลาฟ เปตรอฟ

ตานิสลาฟ เยฟกราโฟวิช เปตรอฟ (Станислав Евграфович Петров) เป็นนาวาอากาศโทเกษียณของกองกำลังป้องกันทางอากาศโซเวียต ผู้เบี่ยงเบนไปจากระเบียบการของโซเวียตตามปกติโดยสามารถระบุการเตือนภัยการโจมตีด้วยขีปนาวุธว่าเป็นสัญญาณหลอกได้อย่างถูกต้องเมื่อวันที่ 26 กันยายน..

ดู สหภาพโซเวียตและสตานิสลาฟ เปตรอฟ

สปุตนิก 5

หลังจากการส่งสปุตนิก 2 โซเวียตก็ได้ส่งหมาขึ้นไปในอวกาศอีกครั้ง กับยานอวกาศสปุตนิก 5 เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและสปุตนิก 5

สนธิสัญญาการก่อตั้งสหภาพโซเวียต

นธิสัญญาการก่อตั้งสหภาพโซเวียต หรือชื่อเต็มว่า สนธิสัญญาการก่อตั้งสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต เป็นเอกสารซึ่งทำให้การสร้างสหภาพอันเกิดจากการวมตัวของสาธารณรัฐโซเวียตในรูปแบบของสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเป็นไปอย่างถูกต้องตามกฎหมาย นอกจากนี้ยังมีการตรา คำประกาศก่อตั้งสหภาพโซเวียต ด้วย ซึ่งอาจพิจารณาได้ว่าเป็นอารัมภกถาของสนธิสัญญาดังกล่าว วันที่ 29 ธันวาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและสนธิสัญญาการก่อตั้งสหภาพโซเวียต

สนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี

นธิสัญญาการในการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี หรือเรียกว่า สนธิสัญญาสองบวกสี่ (Zwei-plus-Vier-Vertrag) มีการเจรจาขึ้นในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและสนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี

สนธิสัญญาว่าด้วยความช่วยเหลือซึ่งกันและกันฝรั่งเศส-โซเวียต

นธิสัญญาให้ความช่วยเหลือระหว่างกันระหว่างฝรั่งเศส-โซเวียต (Franco-Soviet Treaty of Mutual Assistance) เป็นสนธิสัญญาสองฝ่ายระหว่างทั้งสองประเทศ มีเป้าหมายที่จะจำกัดวงของการรุกรานจากเยอรมนีในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและสนธิสัญญาว่าด้วยความช่วยเหลือซึ่งกันและกันฝรั่งเศส-โซเวียต

สนธิสัญญาสฟาลบาร์

นธิสัญญาเกี่ยวข้องกับสปิตส์เบอร์เกน หรือ สนธิสัญญาสฟาลบาร์ มีการลงนามเมื่อวันที่ 9 กุมภาพัน..

ดู สหภาพโซเวียตและสนธิสัญญาสฟาลบาร์

สนธิสัญญาสันติภาพมอสโก

นแดนที่ฟินแลนด์ต้องยกให้แก่สหภาพโซเวียต สนธิสัญญาสันติภาพมอสโก ได้รับการลงนามโดยฟินแลนด์และสหภาพโซเวียต เมื่อวันที่ 12 มีนาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและสนธิสัญญาสันติภาพมอสโก

สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร

ลงชื่อในสนธิสัญญา แต่ยังไม่ได้ให้สัตยาบัน สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร (Seabed Arms Control Treaty) หรือ สนธิสัญญาพื้นสมุทร (Seabed Treaty) เป็นความตกลงพหุภาคีระหว่างสหรัฐอเมริกา สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และอีก 84 ประเทศ ซึ่งห้ามจัดวางอาวุธนิวเคลียร์ หรือ "อาวุธอานุภาพทำลายล้างสูง" บนพื้นสมุทร (seabed) ใกล้จากแนวชายฝั่ง 12 ไมล์ (22.2 กม.) สนธิสัญญาดังกล่าวเปิดโอกาสให้ประเทศผู้ลงนามสังเกตการณ์ "กิจกรรม" พื้นสมุทรทั้งหมดของประเทศผู้ลงนามรายอื่นที่อยู่นอกเหนือเขต 12 ไมล์ เพื่อยืนยันการปฏิบัติตาม สนธิสัญญาดังกล่าวมีชื่อเต็มว่า "สนธิสัญญา ว่าด้วยการห้ามจัดวางอาวุธนิวเคลียร์และอาวุธอานุภาพทำลายล้างสูงอื่น บนพื้นสมุทร และพื้นมหาสุมทร กับทั้งใต้ดินแห่งพื้นสมุทรและพื้นมหาสุทรดังกล่าว" (Treaty on the Prohibition of the Emplacement of Nuclear Weapons and other Weapons of Mass Destruction on the Sea-Bed and the Ocean Floor and in the Subsoil Thereof) เช่นเดียวกับสนธิสัญญาแอนตาร์กติก สนธิสัญญาอวกาศ และสนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทรนี้มุ่งห้ามนำความขัดแย้งระหว่างประเทศและอาวุธนิวเคลียร์เข้าสู่ดินแดนที่ปลอดสิ่งดังกล่าวอยู่ตราบบัดนี้ อย่างไรก็ตาม การบรรลุความตกลงเกี่ยวกับพื้นท้องทะเลนี้ได้เกี่ยวข้องกับปัญหาที่ไม่ได้เจรจากันในการวางกรอบอีกสองความตกลงข้างต้น สนธิสัญญาดังกล่าวเปิดให้ลงนามในวอชิงตัน ดี.ซี., ลอนดอน และมอสโก เมื่อวันที่ 11 กุมภาพัน..

ดู สหภาพโซเวียตและสนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร

สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก

โยชิดะ ชิเกรุ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น ลงนามในสนธิสัญญาซานฟรานซิสโก สนธิสัญญาสันติภาพกับญี่ปุ่น หรือ สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก (Treaty of San Francisco; Traité de paix avec le Japon; ญี่ปุ่น: 日本国との平和条約, 日本国との平和条約, โรมะจิ Nihon-koku tono Heiwa-Jōyaku, นิฮงโกะกุโทะโนะเฮวะโจยะกุ) (8 กันยายน พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและสนธิสัญญาซานฟรานซิสโก

สนธิสัญญาโลคาร์โน

นธิสัญญาโลคาร์โน คือ ข้อตกลงเจ็ดประการซึ่งได้เจรจากันที่เมืองโลคาร์โน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ตั้งแต่วันที่ 5 ตุลาคม - 16 ตุลาคม 1925 และได้รับการลงนามอย่างเป็นทางการที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ซึ่งมีจุดประสงค์ที่จะให้ประเทศฝ่ายพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และกลุ่มประเทศเกิดใหม่ในยุโรปตอนกลางและตะวันออกธำรงรักษาเขตแดนของประเทศเหล่านั้น รวมไปถึงการคืนความสัมพันธ์ทางการทูตกับเยอรมนี สนธิสัญญาดังกล่าวได้แบ่งทวีปยุโรปออกเป็นสองหมวด ก็คือ ยุโรปตะวันตก ซึ่งได้รับการรับรองจากสนธิสัญญาโลคาร์โน และยุโรปตะวันออกได้รับการพิจารณาใหม่อีกครั้ง.

ดู สหภาพโซเวียตและสนธิสัญญาโลคาร์โน

สนธิสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างจีน-โซเวียต

นธิสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างจีน-โซเวียต (Sino-Soviet Non-Aggression Pact 中蘇互不侵犯條約) ได้มีการลงนามเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม ค.ศ. 1937 ระหว่างสาธารณรัฐจีนและสหภาพโซเวียต ระหว่าง สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง เครื่องบินไอ-16 ซึ่งเป็นเครื่องบินรบหลักที่ใช้กันในกองทัพอากาศจีน และอาสาสมัครนักบินชาวโซเวียต สนธิสัญญาดังกล่าวเป็นการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างสาธารณรัฐจีน ซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของพรรคก๊กมินตั๋ง กับสหภาพโซเวียต หลังจากการเซ็นสัญญาเรียบร้อยแล้ว สหภาพโซเวียตได้ส่งเครื่องบินรบให้แก่รัฐบาลชาตินิยมจีนในปฏิบัติการเซท และให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจเพื่อลดปัญหาที่เกิดขึ้นจากการยึดครองของญี่ปุ่น ผู้นำจีน นายพลเจียงไคเช็คเชื่อว่านี่จะเป็นตัวบ่งชี้ว่าสหภาพโซเวียตเตรียมตัวจะมทำสงคราม อย่างไรก็ตาม เมื่อเวลาผ่านไป เขาก็รู้สึกตัวว่าสหภาพโซเวียตนั้นได้จำกัดการให้ความช่วยเหลือของตัวเอง รวมไปถึงไม่ได้เตือนจีนในกรณีการตกลงเป็นพันธมิตรกันอย่างเงียบๆ กับอังกฤษ ฝรั่งเศส และในภายหลัง คือ สหรัฐอเมริกา ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อจีน ซึ่งจีนและญี่ปุ่นจะอ่อนแอลงกันทั้งคู่ สนธิสัญญาดังกล่าวยังเป็นการมุ่งความสนใจของสหภาพโซเวียตมาสนใจทางด้านแนวชายแดนตะวันออก ขณะที่นาซีเยอรมนีเตรียมทำสงครามกับสหภาพโซเวียต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หลังจากที่สนธิสัญญาความเป็นกลางโซเวียต-ญี่ปุ่นได้ลงนามไปแล้ว ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างจีนและนาซีเยอรมนีเลวร้ายลงไป และในที่สุดเยอรมนีก็ยุติ ความร่วมมือทางการทหารกับจีน ที่มีมาตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและสนธิสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างจีน-โซเวียต

สนธิสัญญาเขตแดนเยอรมนี–สหภาพโซเวียต

แผนที่แนบกับสนธิสัญญาซึ่งแบ่งโปแลนด์ออกเป็นเขตยึดครองของเยอรมนีและสหภาพโซเวียต สนธิสัญญาเยอรมนี–สหภาพโซเวียตว่าด้วยมิตรภาพ ความร่วมมือ และการกำหนดเขตแดน (หรือในชื่อว่า สนธิสัญญาเยอรมนี–สหภาพโซเวียตว่าด้วยพรมแดนและมิตรภาพ) เป็นสนธิสัญญาซึ่งลงนามโดยนาซีเยอรมนีกับสหภาพโซเวียต เมื่อวันที่ 28 กันยายน..

ดู สหภาพโซเวียตและสนธิสัญญาเขตแดนเยอรมนี–สหภาพโซเวียต

สเปซนาซ

หน่วยสเปซนาซเตรียมตัวในภารกิจในอัฟกานิสถานปี 1988 สเปซนาซ (รัสเซีย: Спецназ) มาจากการสนธิคำในภาษารัสเซียสองคำ คือ สเปซซีอาลโนโว กับคำว่า นาซนาเชนียา หมายถึง หน่วยปฏิบัติการพิเศษหรือหน่วยรบพิเศษ ของรัฐในอดีตสหภาพโซเวียตและประเทศรัสเซีย สามารถจำแนกจากภารกิจหลักร่วมกับต้นสังกัดได้คร่าว ๆ ดังนี้ คือ.

ดู สหภาพโซเวียตและสเปซนาซ

หมา

หมา หรือคำสุภาพว่า สุนัข (ชื่อวิทยาศาสตร์: malie suimak หรือ Canis familiaris)Wang, Xiaoming; Tedford, Richard H.; Dogs: Their Fossil Relatives and Evolutionary History.

ดู สหภาพโซเวียตและหมา

หลักนิยมทางทหาร

หลักนิยมทางทหาร (Military doctrine) หมายถึง การจัดการกำลังทหารในการมีส่วนร่วมในการทัพ ปฏิบัติการทางทหาร ยุทธการและยุทธนาการต่าง ๆ โดยจะต้องมีส่วนเกี่ยวข้องกับทฤษฎี ประวัติศาสตร์ การทดลองและการปฏิบัติ และมีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์อีกด้วย หลักนิยมทางทหารเป็นแนวทางสำหรับการดำเนินการ โดยเป็นการวางโครงร่างให้กับกำลังทหารทั้งหมด ซึ่งเป็นประโยชน์ในการจัดมาตรฐานของปฏิบัติการ สร้างรูปแบบทั่วไปในการบรรลุเป้าหมายทางการทหาร เพื่อให้เกิดความง่ายและความคล่องแคล่ว และยังเป็นการวางพื้นฐานของการกำหนดรูปแบบการดำเนินการของปฏิบัติการทางทหาร สำหรับนักวางแผนทางการทหาร.

ดู สหภาพโซเวียตและหลักนิยมทางทหาร

หัวสะพานโรมาเนีย

แผนที่โปแลนด์เมื่อปี 1939 เขตฝั่งโรมาเนียอยู่ในสีน้ำตาลเข้ม เขตฝั่งโรมาเนีย (Romanian Bridgehead, Przedmoście rumuńskie) เป็นดินแดนที่อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของยูเครน ระหว่างการบุกครองโปแลนด์ ในวันที่ 14 กันยายน ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและหัวสะพานโรมาเนีย

หน่วยวิมเพล

หน่วยวิมเพล(อังกฤษ:Vympel,รัสเซีย:Вымпел) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2524 โดย ยูริ อันโดรโปฟ ผู้อำนวยการของ เคจีบี ในขณะนั้น เป็นหน่วยสเปซนาซในสังกัดกองบัญชาการที่1ของเคจีบี ซึ่งรับผิดชอบการข่าวกรองนอกประเทศ วัตถุประสงค์ในการก่อตั้งคือ การปฏิบัติการพิเศษภายนอกประเทศเพื่อรักษาผลประโยชน์ของสหภาพโซเวียต ปัจจุบันสังกัดสำนักงานรักษาความมั่นคงภายในหรือเอฟเอสบี(FSB) วิมเพล.

ดู สหภาพโซเวียตและหน่วยวิมเพล

หน่วยอัลฟา

หน่วยอัลฟา เป็นหน่วยสเปซนาซสังกัดคณะกรรมาธิการกิจการความมั่นคงแห่งรัฐ หรือ เคจีบี ก่อตั้งในช่วงฤดูร้อนของปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและหน่วยอัลฟา

ห้องอำพัน

ห้องอำพันที่สร้างใหม่ ห้องอำพัน (Amber Room หรือ Amber Chamber, Янтарная комната Yantarnaya komnata, Bernsteinzimmer) ตั้งอยู่ภายในพระราชวังแคทเธอรีนที่หมู่บ้านซาร์สโคเยอเซโลไม่ไกลจากเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก เป็นห้องที่ผนังที่ทำด้วยอำพันทั้งห้องตกแต่งด้วยทองคำเปลวและกระจก ความงามของห้องนี้ทำให้บางครั้งได้รับสมญาว่าเป็น “สิ่งมหัศจรรย์ที่แปดของโลก” ห้องอำพันเดิมเป็นความร่วมมือระหว่างช่างฝีมือชาวเยอรมันและชาวรัสเซีย การก่อสร้างห้องเริ่มขึ้นในปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและห้องอำพัน

อภิมหาอำนาจ

แผนที่อภิมหาอำนาจในปีค.ศ. 1945 สหรัฐอเมริกา (น้ำเงิน), สหภาพโซเวียต (แดง), และ จักรวรรดิอังกฤษ (เขียวน้ำเงิน) รัสเซีย อภิมหาอำนาจ (superpower) คือ รัฐซึ่งเป็นผู้นำในระบบระหว่างประเทศและความสามารถในการใช้อำนาจชักจูงให้เกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ และก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนและวางแผนใช้อำนาจในระดับทั่วโลกเพื่อปกป้องผลประโยชน์เหล่านี้ รัฐ "อภิมหาอำนาจ" ถูกพิจารณาว่ามีความเหนือกว่ารัฐ "มหาอำนาจ" อลิซ ไลแมน มิลเลอร์ ศาสตราจารย์แห่งกิจการความมั่นคงแห่งชาติ ณ บัณฑิตวิทยาลัยกองทัพเรือ ให้คำจำกัดความของอภิมหาอำนาจว่า "ประเทศซึ่งมีความสามารถจะรักษาอำนาจครอบงำและส่งอิทธิพลได้ในทุกพื้นที่ในโลก และในบางครั้ง ในมากกว่าหนึ่งภูมิภาคของโลกในเวลาใดเวลาหนึ่ง และอาจกล่าวได้ว่าบรรลุสถานะความเป็นเจ้าโลก คำดังกล่าวเริ่มถูกใช้เป็นครั้งแรกในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและอภิมหาอำนาจ

ออลกา คอร์บุต

ออลกา คอร์บุต บนแสตมป์ ออลกา วาเลนตีนอฟนา คอร์บุต (Вольга Валянцінаўна Корбут, Volha Valancinaŭna Korbut; Ольга Валентиновна Корбут; Olga Valentinovna Korbut) เกิดเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและออลกา คอร์บุต

ออปอแล

ออปอแล (Opole) หรือ อ็อพเพิล์น (Oppeln) เป็นเมืองทางตอนใต้ของประเทศโปแลนด์ บนฝั่งแม่น้ำโอเดอร์ เป็นเมืองหลักของจังหวัดชื่อเดียวกัน มีประชากร 125,992 คน (มิถุนายน ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและออปอแล

อะเลคเซย์ เลโอนอฟ

อะเลคเซย์ อาร์ฮีโปวิช เลโอนอฟ (p เป็นทหารอากาศโซเวียตที่ปลดประจำการแล้ว เขาเป็นบุคคลคนแรกของโลกที่เดินบนอวกาศ หมวดหมู่:นักบินอวกาศชาวโซเวียต หมวดหมู่:บุคคลจากเคเมโรโวโอบลาสต์‎ หมวดหมู่:ภารกิจอวกาศในปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและอะเลคเซย์ เลโอนอฟ

อับคาเซีย

อับฮาเซีย (Аҧсны, აფხაზეთი, Абха́зия) เป็นเขตการปกครองที่เกิดข้อโต้แย้งบนชายฝั่งตะวันออกของทะเลดำ ติดกับสหพันธรัฐรัสเซียทางเหนือ ติดกับบริเวณซาเมเกรโล-เซโม สวาเนตีของจอร์เจียทางตะวันออก เป็นที่ตั้งของสาธารณรัฐอับฮาเซีย ซึ่งเป็นสาธารณรัฐเอกราชโดยพฤตินัยแต่ไม่ได้รับการรับรองจากนานาชาติ อยู่ภายในแนวชายแดนของจอร์เจีย ซึ่งเป็นประเทศที่มีอยู่เพียงไม่กี่ประเทศเท่านั้นที่ให้การรับรอง ได้แก่ รัสเซีย เวเนซุเอลา นิการากัว นาอูรู โอเซเทียใต้ และทรานส์นิสเทรีย (สองประเทศหลังนี้ ประเทศส่วนใหญ่ก็ไม่ได้ให้การรับรองเช่นกัน) รัฐบาลจอร์เจียถือว่าอับฮาเซียอยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของตน โดยมีสถานะเป็นสาธารณรัฐปกครองตนเอง (აფხაზეთის ავტონომიური რესპუბლიკა, Аҧснытәи Автономтәи Республика) ซึ่งเป็นรูปแบบที่นิยมกันในประเทศอดีตสหภาพโซเวียต เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและอับคาเซีย

อักษรมองโกเลีย

อักษรมองโกเลีย (17px Mongγol bičig, ซีริลลิก: Монгол бичиг, Mongol bichig) เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษามองโกเลีย เมื่อ..

ดู สหภาพโซเวียตและอักษรมองโกเลีย

อักษรอาหรับ

อักษรอาหรับ เป็นอักษรที่มีความสำคัญในศาสนาอิสลาม เพราะคัมภีร์อัลกุรอานเขียนด้วยอักษรนี้ อักษรนี้จึงมีใช้แพร่หลายในกลุ่มผู้นับถือศาสนาอิสลาม แม้แต่ภาษานอกกลุ่มเซมิติก เช่น ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอูรดู และภาษามลายูปัตตานี ตัวอักษรมีหลายแบบแต่รูปร่างของอักษรเหมือนกัน.

ดู สหภาพโซเวียตและอักษรอาหรับ

อักษรซีริลลิก

ประเทศที่ใช้อักษรซีริลลิก อักษรซีริลลิก หรือ อักษรซิริลลิก (Cyrillic script) เป็นตัวอักษรที่ใช้เป็นตัวเขียนสำหรับภาษาในกลุ่มภาษาสลาวิกนอกจากนี้ยังใช้เป็นตัวเขียนสำหรับภาษาในอีกหลายประเทศ แต่ไม่มีอักษรซีริลลิกทุกตัวกับภาษาใด ขึ้นอยู่กับการเขียนในภาษานั้น ในกลุ่มประเทศที่ใช้อักษรซีริลลิกด้วยกันเอง จะไม่เรียก ซีริล แต่จะออกเสียงว่า คีริล แทน เช่น ในภาษารัสเซียเรียกอักษรซีริลลิกว่า Кириллица คีริลลิซ.

ดู สหภาพโซเวียตและอักษรซีริลลิก

อัลกออิดะฮ์

อัลกออิดะฮ์ (القاعدة‎, al-Qā`ida "ฐาน") หรือ แอล-ไคดา (al-Qaeda) เป็นกลุ่มก่อการร้ายอิสลามสากล ก่อตั้งโดย อุซามะฮ์ บิน ลาดิน, อับดุลลาห์ อัซซัม (Abdullah Azzam) และนักรบอื่นอีกหลายคน บางช่วงระหว่างเดือนสิงหาคม 2531.

ดู สหภาพโซเวียตและอัลกออิดะฮ์

อัลดริช เอมส์

อัลดริช เฮเซน เอมส์ (Aldrich Hazen Ames; เกิด 26 พฤษภาคม ค.ศ. 1941) เป็นอดีตเจ้าหน้าที่ต่อต้านการข่าวกรองและนักวิเคราะห์ของหน่วยสืบราชการลับกลางแห่งสหรัฐอเมริกา (CIA) ซึ่งใน..

ดู สหภาพโซเวียตและอัลดริช เอมส์

อันดรีย์ เชฟเชนโค

อันดรีย์ มีโคลาโยวิช เชฟเชนโค (Андрій Миколайович Шевченко, Andriy Mykolayovych Shevchenko) ชื่อเล่นว่า "เชวา" (Sheva) เกิด 29 กันยายน ค.ศ. 1976 (พ.ศ. 2519) ที่เมืองดวีร์คิฟชีนา สหภาพโซเวียต (ปัจจุบันอยู่ในจังหวัดเคียฟ ประเทศยูเครน) เชฟเชนโคเคยเป็นนักฟุตบอลชาวยูเครนผู้เล่นตำแหน่งดาวยิง อดีตเคยเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลไดนาโมเคียฟ (Dynamo Kyiv) และเคยเล่นให้กับฟุตบอลทีมชาติยูเครน ในช่วงวัยเด็กได้เริ่มให้กับทีมไดนาโมเคียฟ ทีมในประเทศยูเครน ซึ่งเชฟเชนโคได้นำทีมชนะเลิศ 5 ครั้งในยูเครนพรีเมียร์ลีกและชนะถ้วยยูเครน 2 ครั้ง ในช่วงปี..

ดู สหภาพโซเวียตและอันดรีย์ เชฟเชนโค

อันนา ยาบลอนสกายา

อันนา ยาบลอนสกายา (А́нна Ябло́нская; 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2524 — 24 มกราคม พ.ศ. 2554) เป็นนักเขียนบทละครและกวีชาวยูเครน เป็นหนึ่งในผู้เสียชีวิตจากเหตุระเบิดท่าอากาศยานนานาชาติโดโมเดโดโว พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและอันนา ยาบลอนสกายา

อันเดรย์ อาร์ชาวิน

อันเดรย์ เซียร์เกเยวิช อาร์ชาวิน นักฟุตบอลทีมชาติรัสเซีย สังกัดสโมสรฟุตบอลเซนิตเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก อาร์ชาวินย้ายมาร่วม สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอล ในพรีเมียร์ลีกอังกฤษในเดือนมกราคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและอันเดรย์ อาร์ชาวิน

อันเนอ ฟรังค์

อันเนอลีส มารี "อันเนอ" ฟรังค์ (Annelies Marie "Anne" Frank; 12 มิถุนายน 2472 – ประมาณมีนาคม 2488) หรือแอนน์ แฟรงค์ เป็นเด็กหญิงชาวยิว เกิดที่เมืองแฟรงก์เฟิร์ต ประเทศเยอรมนี เธอมีชื่อเสียงโด่งดังในฐานะผู้เขียนบันทึกประจำวันซึ่งต่อมาได้รับการตีพิมพ์เป็นหนังสือ บรรยายเหตุการณ์ขณะหลบซ่อนตัวจากการล่าชาวยิวในประเทศเนเธอร์แลนด์ ระหว่างที่ถูกเยอรมนีเข้าครอบครองในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ครอบครัวของเธอได้ย้ายไปยังประเทศเนเธอร์แลนด์ในปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและอันเนอ ฟรังค์

อาวุธปืน

ปืนลูกโม่สมิธแอนด์เวสสันที่ถูกออกแบบมาให้กับกองทัพและตำรวจ อาวุธปืน เป็นอาวุธซึ่งยิงกระสุนหนึ่งหรือมากกว่าด้วยความเร็วสูงผ่านทางการควบคุมการระเบิดของดินปืน การยิงเกิดขึ้นได้โดยแก๊สที่เกิดอย่างรวดเร็ว กระบวนการการเผาไหม้ที่รวดเร็วนี้เรียกว่าดีแฟล็กเกรชั่น (deflagration) ในอาวุธปืนแบบเก่าการเคลื่อนที่นี้เกิดจากดินปืน แต่ในยุคปัจจุบันอาวุธปืนนั้นจะใช้ดินปืนที่มีควันน้อยกว่า คอร์ไดท์ หรืออื่นๆ อาวุธปืนในปัจจุบัน (ยกเว้นปืนลูกซอง) จะมีลำกล้องที่ข้างในทำร่องเป็นเกลียวเพื่อเพิ่มการหมุนให้กับกระสุนซึ่งจะสร้างความมีเสถียร.

ดู สหภาพโซเวียตและอาวุธปืน

อาหมัด ชาห์ มาซูด

วาดอาหมัด ชาห์ มาซูด อาหมัด ชาห์ มาซูด (احمد شاه مسعود; Ahmad Shah Massoud; 2 กันยายน ค.ศ. 1953 - 9 กันยายน ค.ศ. 2001) อดีตนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยคาบูล เป็นผู้บัญชาการรบของมูจาฮีดีน ผู้นำทหารเข้าต่อต้านการบุกรุกรานอัฟกานิสถานของสหภาพโซเวียต ต่อมาได้เป็นผู้นำแนวร่วมอิสลามเพื่อการปลดปล่อยอัฟกานิสถาน มีฉายาว่า "ราชสีห์แห่งปัญจศิระ" (Lion of Panjshir) อาหมัด ชาห์ มาซูด เกิดที่เมือง Jangalak รัฐ Panjsher ประเทศอัฟกานิสถาน ในโอกาสครบรอบ 60 ปี ของนิตยสารไทม์ เขาได้ถูกคัดเลือกให้เป็นเป็นหนึ่งในบุคคลที่มีสร้างผลงานและคุณประโยชน์ต่อประเทศและมนุษยชาติในกลุ่มของ "ผู้สร้างชาติ" ที่เด่นที่สุดในเอเซีย อีกด้วย อาหมัด ชาห์ มาซูด เสียชีวิตจากการลอบสังหารเมื่อวันที่ 9 กันยายน ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและอาหมัด ชาห์ มาซูด

อาจินต์ ปัญจพรรค์

"อาจินต์ ปัญจพรรค์" (11 ตุลาคม 2470 -) ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป..

ดู สหภาพโซเวียตและอาจินต์ ปัญจพรรค์

อานโตนอฟ อาน-10

อานโตนอฟ อาน-10 (Ан-10, Antonov An-10) อาน 10 เป็นเครื่องบินพลเรือน เริ่มบินเป็นครั้งแรกในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1957 และ เริ่มรับผู้โดยสารเมื่อเดือนกันยายน ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและอานโตนอฟ อาน-10

อานโตนอฟ อาน-12

right อานโตนอฟ อาน-12 (Ан-12, Antonov An-12) อานโตนอฟ อาน-12 เป็นเครื่องบินแบบเดียวกับอานโตนอฟ อาน-10 ซึ่ง อาน-12 นั้นได้นำมาใช้ในทางทหาร สิ่งที่ อาน-12 แตกต่างจาก อาน-10 นั้นคือมีป้อมปืนบริเวณท้าย อาน-12 มีการสร้างทั้งสิ้น 1,248 เครื่อง.

ดู สหภาพโซเวียตและอานโตนอฟ อาน-12

อานโตนอฟ อาน-14

อานโตนอฟ อาน-14 (Ан-14, Antonov An-14; รัสเซีย: Пчелка, "little bee") นาโตให้สมญานามว่า คล็อก(Clod) อาน-14 เริ่มบินเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 มีนาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและอานโตนอฟ อาน-14

อานโตนอฟ อาน-22

อานโตนอฟ อาน-22 (Antonov An-22) เป็นเครื่องบินลำเลียงขนาดใหญ่ของสหภาพโซเวียต เครื่องต้นแบบบินเป็นครั้งแรกในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและอานโตนอฟ อาน-22

อาเว มารีอา (แก้ความกำกวม)

อาเว มารีอา (Ave Maria) อาจหมายถึง.

ดู สหภาพโซเวียตและอาเว มารีอา (แก้ความกำกวม)

อิลยูชิน อิล-38

อิลยูชิน อิล-38 (Ilyushin Il-38) อิล-38 (เมย์) เป็นเครื่องบินที่ได้รับการพัฒนามาจากเครื่องบินโดยสารเทอร์โบใบพัด 4 เครื่องยนต์แบบ อิล-18 อิล-38 เริ่มบินเป็นครั้งแรกในช่วงระหว่างปี 1967-1968 เริ่มประจำในกองทัพเรือโซเวียตในต้นปี 1970.

ดู สหภาพโซเวียตและอิลยูชิน อิล-38

อิลยูชิน อิล-62

right อิลยูชิน ไอแอล-62 (Ilyushin Il-62) อิลยูชิน ไอแอล-62 บินครั้งแรกในเดือน มกราคม ค.ศ. 1963 เริ่มรับผู้โดยสารในการสายการบินแอโรฟลอต เมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและอิลยูชิน อิล-62

อิลยูชิน อิล-76

right อิลยูชิน อิล-76 (Ilyushin Il-76) อิล-76 ปรากฏตัวครั้งแรกในงานแสดงการบินที่ปารีส ปี 1971 บินครั้งแรกเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 1971 และส่งมอบให้กับกองทัพอากาศโซเวียต เมื่อปี 1974 ส่งมอบให้กับสายการบินแอโรฟล็อตในปี 1976 อิล-76 เป็นเจ๊ตลำเลียงแบบแรกของสหภาพโซเวียต โดยรุ่นที่ใช้งานทางทหารจะมีป้อมปืนท้าย อิล-76 ได้รับการดัดแปลงให้บรรทุกเชื้อเพลิงเพื่อใช้สำหรับเติมเชื้อเพลิงกลางอากาศให้กับเครื่องบินเจ๊ตทิ้งระเบิดเช่น ตูโปเลฟ ตู-22 (แบคไฟร์) อิล-76 ได้ทำสถิติความเร็วและความสูงที่สำคัญคือ ขึ้นสูงสุดที่ระยะ 2,000 เมตร โดยมีน้ำหนักบรรทุก 70,121 กิโลกรัม.

ดู สหภาพโซเวียตและอิลยูชิน อิล-76

อิลยูชิน อิล-86

right อิลยูชิน อิล-86 (Ilyushin Il-86) อิล-86 เป็นเครื่องบินเจ๊ตโดยสารลำตัวกว้างแบบแรกของสหภาพโซเวียต เป็นผลงานของเกนริค วาซิลเลวิช นาวาชือลอฟ (ภาษารัสเซีย Ге́нрих Васи́льевич Новожи́лов) หัวหน้าสำนักงานอิลยูชิน ซึ่งได้รับการคัดเลือกและชนะเครื่องบินคู่แข่งจาก ตูโปเลฟ และ อันโตนอฟ เครื่องต้นแบบ อิล-86 บินเป็นครั้งแรกในวันที่ 22 ธันวาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและอิลยูชิน อิล-86

อุซามะฮ์ บิน ลาดิน

อุซามะฮ์ บิน โมฮัมเหม็ด บิน อวัด บิน ลาดิน หรือ อุซามะฮ์ บิน ลาดิน (อังกฤษ: Osama bin Mohammed bin Awad bin Laden; Osama bin Laden) (10 มีนาคม พ.ศ. 2500 - 2 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและอุซามะฮ์ บิน ลาดิน

อีวาน บูนิน

อีวาน บูนิน บนแสตมป์ของสหภาพโซเวียต อีวาน อะเลกเซเยวิช บูนิน (Ива́н Алексе́евич Бу́нин Ivan Alekseyevich Bunin) เป็นนักเขียนชาวรัสเซียคนแรกที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม.

ดู สหภาพโซเวียตและอีวาน บูนิน

อีวาน ปัฟลอฟ

อีวาน เปโตรวิช ปาฟลอฟ (Иван Петрович Павлов, 14 กันยายน ค.ศ. 1849 – 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1936) เป็นนักจิตวิทยาและสรีรวิทยาชาวรัสเซีย-โซเวียต ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ในปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและอีวาน ปัฟลอฟ

อีดี อามิน

อีดี้ อามิน (พ.ศ. 2468 - 16 สิงหาคม พ.ศ. 2546) เป็นเผด็จการทหาร และประธานาธิบดีของประเทศยูกันดาตั้งแต่ปี..

ดู สหภาพโซเวียตและอีดี อามิน

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..

ดู สหภาพโซเวียตและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์

องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ หรือ โออีซีดี (Organisation for Economic Co-operation and Development - OECD) เป็นองค์กรระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว และยอมรับระบอบประชาธิปไตยและเศรษฐกิจการค้าเสรีในการร่วมกันและพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคยุโรปและโลก แต่เดิมองค์กรนี้ได้ถูกก่อตั้งขึ้นในนามองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรปหรือโออีอีซี (Organization for European Economic Co-operation: OEEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 เมษายน..1948 (พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Convention on the Prevention and Punishment of the Crime of Genocide) เป็นสนธิสัญญาซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติมีข้อมติที่ 260 ตกลงรับเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 1948 และเริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 12 มกราคม 1951 อนุสัญญานี้กำหนดบทอธิบายศัพท์ "ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์" ตามกฎหมาย และเป็นผลมาจากการรณรงค์ยาวนานหลายปีของราฟาเอล เล็มกิน (Raphael Lemkin) นักนิติศาสตร์ แยร์ ออรอน (Yair Auron) นักประวัติศาสตร์ชาวอิสราเอล กล่าวว่า "เมื่อราฟาเอล เล็มกิน สร้างศัพท์ว่า 'ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์' เมื่อปี 1944 นั้น เขาเอาการทำลายล้างชาวอาร์เมเนียเมื่อปี 1915 มาเป็นตัวอย่างสำคัญของการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์" อนุสัญญากำหนดให้รัฐทั้งหลายที่เข้าร่วมอนุสัญญาต้องป้องกันและลงโทษการกระทำทั้งหลาย ๆ ที่ก่อให้เกิดการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ทั้งในยามสงบและยามรบ ปัจจุบัน มีรัฐ 144 รัฐให้สัตยาบันแก่อนุสัญญานี้แล้ว.

ดู สหภาพโซเวียตและอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

อเล็กซานเดอร์ ฟรีดแมน

อเล็กซานเดอร์ อเล็กซานโดรวิช ฟรีดมาน (Alexander Alexandrovich Friedman; Александр Александрович Фридман) (16 มิถุนายน ค.ศ. 1888, เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก, จักรวรรดิรัสเซีย – 16 กันยายน ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและอเล็กซานเดอร์ ฟรีดแมน

อเล็กซานเดอร์ โซลเซนิตซิน

อเล็กซานเดอร์ โซลเซนิตซิน (Александр Исаевич Солженицын Aleksandr Isayevich Solzhenitsyn) (11 ธันวาคม ค.ศ. 1918 - 3 สิงหาคม ค.ศ. 2008, Gazeta.ru (Russian)) อเล็กซานเดอร์ โซลเซนิตซินเป็นนักเขียนนวนิยาย, นักเขียนบทละคร แ ละ นักประวัติศาสตร์คนสำคัญชาวรัสเซีย โซลเซนิตซิน งานเขียนของโซลเซนิตซินทำให้โลกทราบถึงความทารุณของระบบค่ายแรงงานกูลาก (Gulag) ในสหภาพโซเวียตโดยเฉพาะในเรื่อง The Gulag Archipelago (เกาะกูลาก) และ One Day in the Life of Ivan Denisovich (วันหนึ่งในชีวิตของอิวาน เดนิโซวิค) ซึ่งเป็นงานสองชิ้นที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดของโซลเซนิตซิน งานเขียนอันสำคัญเหล่านี้เป็นผลทำให้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและอเล็กซานเดอร์ โซลเซนิตซิน

อเล็กซานเดอร์ เฮล็บ

อะเลียคซันดาร์ เปาลาวิช เฮล็บ (Аляксандр Паўлавіч Глеб, Aliaksandr Paulavich Hleb; Александр Павлович Глеб, Aliaksandr Paulavich Hleb) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ อเล็กซานเดอร์ เคล็บ (Alexander Hleb) เป็นนักฟุตบอลชาวเบลารุส เล่นในตำแหน่งกองกลางให้กับสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลน่าและทีมชาติเบลารุส เกิดเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและอเล็กซานเดอร์ เฮล็บ

ฮอ นำฮง

ฮิลลารี คลินตัน และฮอ นำฮง ในนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 28 กันยายน ค.ศ. 2009 ฮอ นำฮง (ហោ ណាំហុង โห ณำหุง; เกิด 15 พฤศจิกายน ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและฮอ นำฮง

ฮอกกี้น้ำแข็ง

อกกี้น้ำแข็ง ฮอกกี้น้ำแข็ง หรือ ไอซ์ฮอกกี้ (Ice hockey) เป็นกีฬาประเภททีมที่เล่นบนพื้นน้ำแข็ง ที่ใช้ความเร็วและกำลังในการเล่น ฮอกกี้น้ำแข็งเป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมมากในแทบที่มีความหนาวเย็นตามธรรมชาติ ที่มีน้ำแข็งเกาะอย่างเช่น ประเทศแคนาดา อเมริกาเหนือ แถบสแกนดิเนเวียและรัสเซีย ต่อมาสามารถเล่นภายในอาคารจากลานเล่นสเก็ตน้ำแข็งเทียมได้ และยังเป็นกีฬาของนักกีฬาสมัครเล่นในเมืองใหญ่อย่าง เมืองที่เป็นเจ้าภาพจัด National Hockey League (NHL) หรือเป็นกีฬาอาชีพของลีกอาชีพ มีลีกใหญ่ สำคัญ 4 ลีกคือ North American professional sports, และ NHL ที่เป็นระดับสูงสุด และ Canadian Women's Hockey League (CWHL) และ Western Women's Hockey League (WWHL) ซึ่งถือว่าเป็นระดับสูงสุดของฮอกกี้น้ำแข็งสตรี นอกจานี้ยังเป็นกีฬาฤดูหนาวอย่างเป็นทางการของแคนาดา มีสมาชิก 66 ประเทศที่เป็นสมาชิกกับ International Ice Hockey Federation (IIHF) แต่ประเทศอย่าง แคนาดา,เช็กเกีย, ฟินแลนด์, รัสเซีย, สโลวาเกีย, สวีเดน และสหรัฐอเมริกา ที่ได้ที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 ในการแข่ง IIHF World Championships มากที่สุด และจากแข่งขันโอลิมปิก 63 เหรียญประเภทผู้ชาย ตั้งแต่ปี 1920 มีเพียง 6 ครั้งเท่านั้นที่ประเทศที่ได้รับเหรียญไม่ใช่ประเทศดังกล่าว และหากไม่นับอดีตประเทศอย่าง เชโกสโลวาเกียหรือสหภาพโซเวียตแล้ว มีเพียง 1 เหรียญจาก 6 ครั้งที่ได้เหนือเหรียญทองแดง.

ดู สหภาพโซเวียตและฮอกกี้น้ำแข็ง

ฮันนิบาล เล็กเตอร์

ว็บไซต์ของ ''โทมัส แฮริส'' http://www.randomhouse.com/features/thomasharris/ ฮันนิบาล เล็กเตอร์ (Hannibal Lecter) คือชื่อของฆาตกรอัจฉริยะที่รู้จักกันดีในหนังสือนิยายแนวอาชญากรรม ของ โทมัส แฮร์ริส นักเขียนชาวอเมริกัน ฮันนิบาลยังได้รับการขนานนามว่าเป็นอาชญากรที่น่าสะพรึงกลัวที่สุดในโลกภาพยนตร์ ชื่อเต็มของเขาคือ ฮันนิบาล เล็กเตอร์ ที่ 8 เกิดปี..1933 ที่ประเทศลิธัวเนีย ซึ่งเป็นประเทศเล็ก ๆ ที่แยกตัวออกมาจากสหภาพโซเวียต โทมัส แฮริส สร้างให้ พ่อ แม่ ของเขาตายที่บ้านพักร้อนซึ่งพวกเขาใช้หลบภัยจากสงครามด้วยเหตุการณ์โดนเครื่องบินทิ้งระเบิดลงบ้านหลังนั้นตั้งแต่ยังเด็ก ฮันนิบาลและ"มิชา"น้องสาวถูกจับตัวไปโดยฝีมือของกองกำลังอิสระที่ทำงานให้กับสหภาพโซเวียต ภายหลังมิชาซึ่งป่วยได้ถูกคนเหล่านี้ฆ่าตายเพื่อนำเนื้อมากินประทังชีวิต เนื่องจากอาหารขาดแคลน เหตุการณ์นี้ทำให้เกิดปมแผลในใจของฮันนิบาลไปชั่วชีวิต และก่อกำเนิดปิศาจร้ายในตัวของเขาตั้งแต่นั้นมา ต่อมาพวกทหารค้นพบฮันนิบาลที่พูดไม่ได้หลังเกิดเหตุไฟไหม้บ้านแล้วนำตัวเขาไปที่สถานรับเลี้ยงเด็กกำพร้า ซึ่งเคยเป็นปราสาทเล็กเตอร์มาก่อน ฮันนิบาลไม่ค่อยมีความสุขนักที่นั่น และยังฝันถึงฟันน้ำนมของมิชาในส้วมหลุมซึ่งเป็นจินตนาการของเขาเอง จนในที่สุดฮันนิบาลก็ได้รับการช่วยเหลือออกมาโดยอาของเขาซึ่งจิตรกรชั้นสูงอยู่ที่ฝรั่งเศส หลังสงครามจบได้เป็นเคาน์เล็กเตอร์แทนพ่อของฮันนิบาล ฮันนิบาลอยู่ในอุปการะของเคาน์เล็กเตอร์คนใหม่นี้ ภายหลังฮันนิบาลได้ไปจ่ายตลาดกับ"คุณหญิงมุระซะกิ" ภรรยาของอาของเขาและมีเรื่องกับปอล โมมุนคนขายเนื้อ ตรงนี้เองที่ทำให้ฮันนิบาลกลับมาพูดอีกครั้งเพื่อปกป้องคุณหญิงมุระซะกิ ฮันนิบาล เล็กเตอร์เรียนจบ ปริญญาเอก สาขาแพทย์ศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยจอห์น ฮอปกินส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ประกอบอาชีพเป็นศัลยแพทย์ จิตแพทย์ และภัณฑรักษ์ ฮันนิบาลเป็นบุคคลที่เฉลียวฉลาด และหน้าตาดีซึ่งน้อยคนนักจะเป็นได้ แต่ด้วยบาดแผลในวัยเด็กที่ต้องสูญเสียครอบครัวในสงครามทำให้เขาเป็นคนเก็บตัว ไม่สุงสิงกับใคร แต่ในความอัจฉริยะนี้ ลึกๆ แล้วเขาก็มีความต้องการบางอย่างที่ผิดแผกไปจากมนุษย์ปุถุชนคนธรรม...

ดู สหภาพโซเวียตและฮันนิบาล เล็กเตอร์

ฮาร์บิน

ตำแหน่งของเมืองฮาร์บิน ถนนหัวเอ๋อในเขตเต้าหลี่ ฮาร์บิน หรือสำเนียงจีนกลางว่า ฮาเอ่อร์ปิน (แมนจู: 20px) เป็นเมืองเอกของมณฑลเฮย์หลงเจียง ทางตะวันออกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่ทางฝั่งใต้ของแม่น้ำซงหัว ฮาร์บินเป็นเมืองอุตสาหกรรมที่กำลังเติบโต และยังเป็นศูนย์กลางทางด้านการปกครอง เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม และการสื่อสารคมนาคมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน จึงถือได้ว่าเป็นเมืองสำคัญเมืองหนึ่งของจีนและของเอเชียด้านตะวันออกเฉียงเหนือ คำว่า ฮาร์บิน เป็นคำในภาษาแมนจู มีความหมายว่า "สถานที่ตากแห (จับปลา)".

ดู สหภาพโซเวียตและฮาร์บิน

ฮิโระ ซางะ

ระ ซะงะ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2457 - 20 มิถุนายน พ.ศ. 2530) ทรงเป็นธิดาของ ขุนนางซาเนโตะ ซางะ และเป็นพระญาติกับสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ พระองค์ทรงอภิเษกสมรสในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและฮิโระ ซางะ

ฮิเดะกิ โทโจ

กิ โทโจ (30 ธันวาคม พ.ศ. 2427 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2491) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 27 ของญี่ปุ่น (สมัยที่ 40) และเป็นผู้บัญชาการกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง นอกจากนี้ เขายังรู้จักกับแฮร์มันน์ เกอริง, พระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นการส่วนตัวตั้งแต่สมัยเรียนวิชาการทหารอยู่ที่เยอรมัน.

ดู สหภาพโซเวียตและฮิเดะกิ โทโจ

ฮุสนี มุบาร็อก

นี มุบาร็อก หรือชื่อเต็มว่า มุฮัมมัด ฮุสนี ซัยยิด มุบาร็อก (محمد حسني سيد مبارك‎,; Muhammad Hosni Sayyid Mubarak) ดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีคนที่ 4 แห่งสาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ เคยดำรงตำแหน่งเป็นรองประธานาธิบดี ในปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและฮุสนี มุบาร็อก

ผมเป็นชาวเบอร์ลิน

"อิช บิน ไอน์ แบร์ลีแนร์" (Ich bin ein Berliner, "ผมเป็นชาวเบอร์ลิน") เป็นตอนหนึ่งของสุนทรพจน์โดยประธานาธิบดีสหรัฐ จอห์น เอฟ.

ดู สหภาพโซเวียตและผมเป็นชาวเบอร์ลิน

ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": โจเซฟ สตาลิน แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์และวินสตัน เชอร์ชิลล์ ในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ. 1943 ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบไปด้วยบุคคลสำคัญต่าง ๆ จากหลาย ๆ ประเทศ ทั้งนักการเมืองและนักการทหาร บรรดาบุคคลเหล่านี้ได้แก.

ดู สหภาพโซเวียตและผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง

จรวด

รวดโซยุซ-ยู (Soyuz-U) ณ ฐานปล่อยที่ 1/5 ไบโคนูร์ ไซต์1/5 (Baikonur's Site 1/5) ในคาซัคสถาน (Kazakhstan) การปล่อยจรวดแซทเทิร์น 5 อะพอลโล 15: เวลาเริ่มปล่อย T - 30 วินาที เวลาเสร็จสิ้น T + 40 วินาที จรวด หมายถึงขีปนาวุธ, ยานอวกาศ, เครื่องบิน หรือพาหนะอื่นใดที่อาศัยแรงผลักดันของไอเสียที่มีต่อตัวจรวดในการพุ่งไปข้างหน้า โดยใช้การเผาผลาญเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์จรวด ในจรวดทุกชนิดไอเสียจะเกิดขึ้นทั้งหมดจากเชื้อเพลิงขับดันที่บรรทุกไปด้วยภายในจรวดก่อนที่จะถูกใช้งาน chapter 1 จรวดเคมีสร้างพลังงานจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงจรวด ผลจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงและตัวอ๊อกซิไดซ์ภายในห้องเผาไหม้จะทำให้เกิดก๊าซร้อนที่มีอุณหภูมิสูงมากและขยายตัวออกไปทางหัวฉีดทำให้ก๊าซเคลื่อนที่ด้วยความเร่งในระดับไฮเปอร์โซนิก ซึ่งทำให้เกิดแรงผลักมหาศาลต่อตัวจรวดตามกฎข้อที่สามของนิวตัน (แรงกิริยาเท่ากับแรงปฏิกิริยา)โดยในทางทหารและสันทนาการมีประวัติของการใช้จรวดเป็นอาวุธและเครื่องมือในช่วงเวลานั้น จรวดได้ถูกใช้สำหรับงานทางทหารและสันทนาการ ย้อนกลับไปอย่างน้อยศตวรรษที่ 13 ในประเทศจีน (China) "Rockets in Ancient Times (100 B.C.

ดู สหภาพโซเวียตและจรวด

จอร์จ โซรอส

อร์จ โซรอส ระหว่างการบรรยายที่มาเลเซีย จอร์จ โซรอส (12 สิงหาคม ค.ศ. 1930 -) เดิมชื่อ จอร์จี ชวาร์ตซ์ (György Schwartz) นักธุรกิจชาวอเมริกันเชื้อสายฮังการี เป็นนักวิเคราะห์ค่าเงิน นักลงทุนหุ้น ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานบริษัท Soros Fund Management และสถาบัน Open Society Institute นิตยสาร ฟอร์บส์ ได้จัดให้ จอร์จ โซรอส อยู่ในอันดับที่ 35ของบุคคลที่รวยที่สุดในโลก มีทรัพย์สินมูลค่าประมาณ 14,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เขาได้บริจาคเงิน 6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐเพื่อการกุศลตั้งแต..

ดู สหภาพโซเวียตและจอร์จ โซรอส

จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช

อร์จ เฮอร์เบิร์ต วอล์กเกอร์ บุช (George Herbert Walker Bush) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 41 ของสหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2532-พ.ศ. 2536) และเป็นบิดาของจอร์จ ดับเบิลยู.

ดู สหภาพโซเวียตและจอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช

จอห์น เอฟ. เคนเนดี

รือเอก จอห์น ฟิตซ์เจอรัลด์ เคนเนดี (John Fitzgerald Kennedy) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เจเอฟเค (JFK ย่อจากชื่อภาษาอังกฤษ) (29 พฤษภาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและจอห์น เอฟ. เคนเนดี

จักรพรรดินีวั่นหรง

มเด็จพระจักรพรรดินีเสี้ยวเค่อหมิ่น หรือ สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงหรือชื่อเล่น ๆ ว่า วั่นจิง หรือพระนามแรกประสูติว่า โกวปู้โลว วั่นหรง (13 พฤศจิกายน 2449 - 20 มิถุนายน 2489) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีพระองค์สุดท้ายของประเทศจีนด้วยเหตุที่เป็นสมเด็จพระมเหสีในผู่อี๋ฮ่องเต้ สมเด็จพระจักรพรรดินีพระองค์สุดท้ายของจีน จักรพรรดินีวั่นหรงทรงสืบเชื้อสายจากวงศ์สกุลด๋าหว่อ (Daur People) จากมองโกเลียลึกตั้งแต่ครั้งโบราณกาล สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงนั้นต่อมาได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งแมนจูกัว (หรือเป็นที่รู้จักกันในนามของ "จักรวรรดิแมนจูกัว") สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงกับฉลองพระองค์สมเด็จพระจักรพรรดินีแบบแมนจู.

ดู สหภาพโซเวียตและจักรพรรดินีวั่นหรง

จักรพรรดินโปเลียนที่ 1

นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte) เป็นนายพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี..

ดู สหภาพโซเวียตและจักรพรรดินโปเลียนที่ 1

จักรวรรดิ

ักรวรรดิ (อ่านว่า จัก-กฺระ-หฺวัด, อังกฤษ: empire) ถูกนิยามว่าหมายถึง "กลุ่มชาติรัฐหรือชาติพันธุ์ที่อยู่ภายใต้การปกครองของจักรพรรดิหรืออธิปไตยของรัฐอื่นๆที่ทรงอิทธิพล โดยทั่วไปมีอาณาเขตกว้างใหญ่กว่าราชอาณาจักร" นักวิชาการได้ถกเถียงกันมานานเกี่ยวกับคำว่า “Empire” ในภาษาอังกฤษหรือ “จักรวรรดิ” ในภาษาไทย (จากคำภาษาละติน “imperium” ที่หมายถึงสายการบังคับบัญชาทางการทหารของรัฐบาลโรมันโบราณ) โดยทั่วไปมักนิยามให้เป็นรัฐที่มีอาณาจักรอื่นที่มีประชากรและวัฒนธรรมที่แตกต่างชัดเจนอยู่ภายใต้อิทธิพลอำนาจการปกครองหรืออยู่ในเครือจักรภพ เช่นประเทศในเครือจักรภพอังกฤษในปัจจุบัน นิยามอีกรูปแบบหนึ่งอาจเน้นปัจจัยทางเศรษฐกิจหรือการเมือง แต่โดยทั่วไปมักหมายถึงการครอบงำทางอำนาจการทหาร เช่นเดียวกับรัฐทั่วไป จักรวรรดิจะมีโครงสร้างทางการเมืองของตนเอง หรืออย่างน้อยก็โดยวิธีกดขี่บังคับให้อยู่ใต้อำนาจ จักรวรรดิบนแผ่นดินใหญ่ (เช่นจักรวรรดิมองโกล หรือจักรวรรดิอาคีเมนิดเปอร์เชีย – Achaemenid Persia) มักจะขยายไปตามอาณาเขตที่ประชิดต่อเนื่องกัน ส่วนจักรวรรดิทางทะเล (เช่น จักรวรรดิเอเธนีเนียน จักรวรรดิโปรตุเกสและจักรวรรดิอังกฤษ) อาจมีอาณาเขตกระจัดกระจายหลวมๆ แต่อยู่ในอำนาจการควบคุมทางกองทัพเรือเป็นต้น จักรวรรดิที่มีมาก่อนจักรวรรดิโรมันหลายร้อยปี ได้แก่จักรวรรดิอียิปต์ซึ่งได้ก่อตั้งจักรวรรดิเมื่อประมาณ 1000 ปีก่อน..

ดู สหภาพโซเวียตและจักรวรรดิ

จักรวรรดิบริติช

ักรวรรดิบริติช (British Empire) หรือ จักรวรรดิอังกฤษ ประกอบด้วยประเทศในเครือจักรภพ, คราวน์โคโลนี, รัฐในอารักขา, รัฐในอาณัติ และดินแดนอื่นซึ่งสหราชอาณาจักรปกครองหรือบริหาร จักรวรรดิกำเนิดจากดินแดนอาณานิคมโพ้นทะเลและสถานีการค้าที่ราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในช่วงที่เจริญถึงขีดสุด จักรวรรดิบริติชเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ และเป็นมหาอำนาจโลกชั้นแนวหน้านานกว่าหนึ่งศตวรรษ ใน..

ดู สหภาพโซเวียตและจักรวรรดิบริติช

จักรวรรดิรัสเซีย

ักรวรรดิรัสเซีย (Российская империя; Russian Empire) คืออดีตประเทศรัสเซียก่อนที่จะมีการปฏิวัติการปกครองของซาร์นิโคลัสที่ 2 เป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตในปี 1917 จักรวรรดิรัสเซียสถาปนาขึ้นในปี 1721 โดยจักรพรรดิซาร์ปีเตอร์มหาราชสถาปนาขึ้นแทนที่อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซียมีพื้นที่กว้างใหญ่ครอบคลุมยุโรปตะวันออก, เอเชีย จนไปถึงทวีปอเมริกา นับได้ว่าเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นจักรวรรดิหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์รัสเซี.

ดู สหภาพโซเวียตและจักรวรรดิรัสเซีย

จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

ักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รู้จักกันในนาม ออสเตรีย-ฮังการี (Austria-Hungary) เป็นจักรวรรดิที่มีระบอบการปกครองแบบควบคู่ (Dual Monarchy) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ปีพ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

จักรวรรดินิยม

ลัทธิจักรวรรดินิยม (Imperialism) คือ นโยบายขยายอำนาจในการเข้าควบคุมหรือมีอำนาจบังคับบัญชาเหนือดินแดนต่างชาติ อันเป็นวิถีทางเพื่อการได้มาและ/หรือการรักษาจักรวรรดิให้ดำรงอยู่ต่อไปได้ ทั้งจากการขยายอำนาจเข้ายึดครองดินแดน โดยตรง และจากการเข้าคุมอำนาจทางอ้อมในด้านการเมือง และ/หรือทางเศรษฐกิจของประเทศอื่น ๆ บางคนใช้คำศัพท์นี้เพื่ออธิบายถึงนโยบายของประเทศใดประเทศหนึ่งในการคงไว้ซึ่งอาณานิคม และอิทธิพลเหนือดินแดนอันไกลโพ้น โดยไม่คำนึงว่าประเทศนั้น ๆ จะเรียกตนเองว่าเป็นจักรวรรดิหรือไม่ แต่อย่างไรก็ตาม มีการนำเอาคำว่า 'จักรวรรดินิยม' ไปใช้ในบริบทที่แสดงถึงความมีสติปัญญา/ความเจริญที่สูงกว่าด้วย ซึ่งในบริบทนี้คำว่า "จักรวรรดินิยม" มีนัยแสดงถึงความเชื่อที่ว่า การเข้าถือสิทธิยึดครองดินแดนต่างชาติและการคงอยู่ของจักรวรรดิเป็นสิ่งดีงาม เนื่องจากมีการประสมผสานรวมเอาหลักสมมุติฐานที่ว่า โดยธรรมชาติแล้วชาติมหาอำนาจจักรวรรดินิยมนั้นจะมีวัฒนธรรมและความเจริญด้านอื่น ๆ เหนือกว่าชาติที่ถูกรุกรานเข้าไว้ด้วย — โปรดดู ภาระคนขาว (The White Man's Burden) ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา มีแนวโน้มวิพากษ์วิจารณ์กันมากยิ่งขึ้นว่า "ลัทธิจักรวรรดินิยม" นั้นไม่ได้มีบริบทจำกัดอยู่เพียงแค่ระดับของการเข้าครอบครองหรือครอบงำทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองของชาติอื่นเท่านั้น แต่ยังขยายเข้าครอบคลุมไปถึงระดับวัฒนธรรมด้วย โดยเฉพาะในประเด็นเกี่ยวกับอิทธิพลทางวัฒนธรรมอเมริกันที่แผ่ขยายไปทั่วโลก — โปรดดู ลัทธิจักรวรรดินิยมทางวัฒนธรรม อย่างไรก็ตาม หลายคนโต้แย้งการขยายคำจำกัดความดังกล่าว โดยอ้างเหตุผลว่าเรื่องของ "วัฒนธรรม" นั้นเป็นสิ่งที่ละเอียดอ่อนซับซ้อน ยากที่จะแยกความแตกต่างให้เห็นชัดเจนได้ว่า การรับวัฒนธรรมของชาติใดชาติหนึ่งไปนั้น เป็นเรื่องของปฏิกิริยาที่ชนในชาติมีต่อกันและกันทั้งสองฝ่าย หรือเป็นเรื่องของอิทธิพลที่แผ่ขยายจนเกินขีดจำกัด นอกจากนี้แล้วการนำเอา "วัฒนธรรมจักรวรรดินิยม" ไปใช้ในการอธิบายหรือวิเคราะห์นั้น ยังมีการ "เลือกปฏิบัติ" ด้วย ตัวอย่าง เช่น "แฮมเบอร์เกอร์" ถูกจัดว่าเป็น "วัฒนธรรมจักรวรรดินิยม" ขณะที่ "น้ำชา" นั้นไม่ใ.

ดู สหภาพโซเวียตและจักรวรรดินิยม

จิมมี คาร์เตอร์

รือเอก เจมส์ เอิร์ล "จิมมี" คาร์เตอร์ จูเนียร์ (James Earl "Jimmy" Carter, Jr) เกิดเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 39 ของสหรัฐอเมริกาในช่วงปี..

ดู สหภาพโซเวียตและจิมมี คาร์เตอร์

จูมมะลี ไซยะสอน

ลโท จูมมะลี ไซยะสอน (ຈູມມະລີ ໄຊຍະສອນ) อดีตประธานประเทศลาว สมรสกับ แก้วสายใจ ไซยะสอน เมื่อ พ.ศ. 2533 มีบุตร 2 คน.

ดู สหภาพโซเวียตและจูมมะลี ไซยะสอน

ธงชาติยูเครน

งชาติยูเครน (державний прапор України; ถอดเป็นอักษรโรมัน: derzhavnyy prapor Ukrayiny) มีต้นกำเนิดจากธงชาติในสมัยการปกครองระยะสั้นๆ ของสาธารณรัฐประชาชนยูเครนในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและธงชาติยูเครน

ธงชาติรัสเซีย

งชาติสหพันธรัฐรัสเซีย มีลักษณะเป็นธงสามสี รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งเป็น 3 แถบ ความกว้างเท่ากัน เรียงเป็นสีขาว-น้ำเงิน-แดง จากบนลงล่างตามลำดับ ธงนี้เริ่มใช้ครั้งแรกเป็นธงสำหรับเรือค้าขายและเรือรบ (ธงนาวี) และได้ประกาศใช้เป็นธงอย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและธงชาติรัสเซีย

ธงชาติลัตเวีย

งชาติลัตเวีย เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นเป็นแถบสีแดงเข้มอย่างสีเลือดหมู ที่กลางธงมีแถบแนวนอนสีขาว กว้างเป็น 1 ใน 5 ส่วนของความกว้างธง เดิมธงนี้เป็นธงชาติลัตเวียสมัยได้รับเอกราชครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและธงชาติลัตเวีย

ธงชาติลิทัวเนีย

งชาติลิทัวเนีย มีลักษณะเป็นธงสามสีแบ่งตามแนวนอน พื้นสีเหลือง สีเขียวและสีแดง เรียงจากบนลงล่าง ความกว้างแต่ละแถบเท่ากัน ธงนี้เริ่มใช้เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและธงชาติลิทัวเนีย

ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย

งราชการของสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย มีลักษณะเป็นรูปสีเหลี่ยมผืนผ้าพื้นแดง (หมายถึงธงแดงรูปค้อนเคียวของสหภาพโซเวียต) มีแถบสีฟ้าที่ด้านติดคันธงยาวตลอดด้านกว้างของธง โดยแถบนี้กว้างหนึ่งในแปดส่วนของด้านยาวของธง.

ดู สหภาพโซเวียตและธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย

ธงชาติสหภาพโซเวียต

งชาติสหภาพโซเวียต ประกอบด้วยพื้นธงสีแดงและรูปค้อนเคียวบนขอบธงด้านซ้ายบน สีแดงแสดงถึงสีของพรรคคอมมิวนิสต์ และระบอบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์ ส่วนค้อนเคียวแสดงถึงชนชั้นกรรมาชีพ อันเป็นชนชั้นที่สำคัญที่สุดในระบอบคอมมิวนิสต์ ธงค้อนเคียวดาวแดงแบบแรกสุดประกาศใช้เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและธงชาติสหภาพโซเวียต

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวีย

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวีย ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวีย เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีแดง ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปค้อนเคียวสีทองและดาวแดงขอบทองตามอย่างธงชาติสหภาพโซเวียต ที่กลางธงมีแถบสีเขียวพาดยาวตามแนวนอน กว้างเป็น 2 ใน 8 ของความกว้างธง ธงนี้รัฐบาลสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวียกำหนดใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวีย

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจาน

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย. ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจาน ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่17 ธันวาคม, พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจาน

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก เป็นธงชาติของอุซเบกิสถานในสมัยที่ยังอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต ประกาศใช้อย่างเป็นทางการโดยรัฐบาลสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก (Uzbek Soviet Socialist Republic) เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช ที่ตั้งของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล - ฟินนิช ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช มีลักษณะเป็นธงแดงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปค้อนเคียวและดาวแดงอย่างธงชาติสหภาพโซเวียต ตอนล่างของธงเป็นแถบสีฟ้าและแถบสีเขียวพาดไปตามความยาวของธง เรียงลำดับจากบนลงล่าง แต่ละแถบกว้างประมาณ 1 ใน 5 ของส่วนกว้างของธง ธงดังกล่าวนี้เริ่มใช้เมื่อ ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค เป็นชื่อของธงชาติคาซัคสถาน ในสมัยที่อยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต แบบธงที่ใช้ครั้งสุดท้ายจนถึงการได้รับเอกราชใน พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมน

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมนเริ่มใช้ครั้งแรกในช่วงต้นทศวรรษที่ 1930 (พ.ศ. 2473 - 2482) มีลักษณะที่คล้ายคลึงกับธงชาติสหภาพโซเวียตมาก กล่าวคือ เป็นธงพื้นสีแดง มีรูปค้อนเคียวไขว้สีทองอยู่ที่มุมธงด้านคันธง รูปดังกล่าวนี้ถือเป็นสัญลักษณ์ของขบวนการคอมมิวนิสต์สากลที่ใช้ทั่วไป ต่อมาในปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมน

ธงชาติอัฟกานิสถาน

งชาติสาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน แบบปัจจุบันนี้ ประกาศใช้ในสมัยรัฐบาลชุดถ่ายโอนอำนาจของรัฐอิสลามของอัฟกานิสถาน (พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและธงชาติอัฟกานิสถาน

ธงชาติอาร์มีเนีย

งชาติอาร์มีเนีย หรือ ธงไตรรงค์อาร์มีเนีย (եռագույն, Erraguyn) เป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ภายในแบ่งเป็นแถบ 3 แถบ ตามแนวนอน ความกว้างเท่ากัน ประกอบด้วย สีแดง สีน้ำเงิน และสีส้ม ตามลำดับจากบนลงล่าง สภาโซเวียตสูงสุดแห่งอาร์มีเนียได้รับรองเป็นธงชาติเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและธงชาติอาร์มีเนีย

ธงชาติอาเซอร์ไบจาน

งชาติอาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan bayrağı) เป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ภายในแบ่งตามแนวนอนเป็นสามแถบ แต่ละแถบซึ่งมีความกว้างเท่ากันมีสีฟ้า สีแดง และสีเขียว ตามลำดับจากบนลงล่าง กลางแถบสีแดงมีรูปจันทร์เสี้ยวและดาวแปดแฉกสีขาว ธงดังกล่าวนี้เริ่มใช้ครั้งแรกในระหว่างปี..

ดู สหภาพโซเวียตและธงชาติอาเซอร์ไบจาน

ธงชาติอุซเบกิสถาน

งชาติอุซเบกิสถาน (ГОСУДАРСТВЕННЫЙ ФЛАГ РЕСПУБЛИКИ УЗБЕКИСТАН; Oʻzbekiston davlat bayrogʻi) เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและธงชาติอุซเบกิสถาน

ธงชาติจอร์เจีย

งชาติจอร์เจีย (საქართველოს სახელმწიფო დროშა., sakartvelos sakhelmtsipo drosha) ที่ใช้ในปัจจุบันได้แก่ธงที่มีชื่อเรียกว่า "ธงห้ากางเขน" หรือ "ธงห้ากากบาท" (The five-cross flag) ซึ่งได้นำมาใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและธงชาติจอร์เจีย

ธงชาติทรานส์นีสเตรีย

งชาติทรานส์นีสเตรีย เป็นธงพื้นสีแดงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน มีแถบขนาดเล็กสีเขียวพาดผ่านที่กลางธงตามแนวนอน ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปค้อนเคียวและดาวแดงตามแบบของธงชาติสหภาพโซเวียต เดิมธงชาติทรานส์นีสเตรียคือธงชาติของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวีย ต่อมาเมื่อสหภาพโซเวียตล่มสลายในปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและธงชาติทรานส์นีสเตรีย

ธงชาติทาจิกิสถาน

งชาติทาจิกิสถาน (Парчами Тоҷикистон, /پرچم تاجیکستان) ประกาศใช้ธงผืนใหม่ของตนเองในวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2535 และนับเป็นประเทศสุดท้ายในบรรดารัฐที่แยกตัวจากสหภาพโซเวียต ที่ประกาศใช้ธงชาติของตนเอง ลักษณะของธงเป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นธงแบ่งเป็นแถบแนวนอน สีแดง-ขาว-เขียว มีอัตราส่วนความกว้างต่อแถบเป็น 1:2:1 กลางแถบสีขาวนั้น มีรูปมงกุฎล้อมด้วยดาวห้าแฉก 7 ดวง รูปเหล่านี้เป็นสีทอง สีของธงชาติทาจิกิสถานในปัจจุบันนี้ มีลักษณะที่เชื่อมโยงกับธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมทาจิกโซเวียต (ทาจิกิสถานภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต) กล่าวคือ ใช้ธงสีแดง-ขาว-เขียว เช่นเดียวกัน (โปรดดูภาพประกอบ) ส่วนสีธงในปัจจุบันมีนิยามความหมายดังนี้.

ดู สหภาพโซเวียตและธงชาติทาจิกิสถาน

ธงชาติคาซัคสถาน

งชาติคาซัคสถาน (Қазақстан байрағы) เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2535 หลังจากได้รับเอกราชจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและธงชาติคาซัคสถาน

ธงชาติเบลารุส

งชาติเบลารุส แบบที่ใช้อยู่ปัจจุบันนั้น เริ่มบังคับใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2538 หลังจากการลงประชามติเพื่อเลือกแบบธงชาติเบลารุสในเดือนประชาชนในเดือนพฤษภาคมปีเดียวกัน ธงที่ใช้อยู่นี้ใช้แทนธงชาติเดิมในปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและธงชาติเบลารุส

ธงชาติเกาหลีเหนือ

งชาติเกาหลีเหนือ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นนอกสีน้ำเงิน พื้นในเป็นแถบสีแดงมีขอบสีขาว สัดส่วนแถบธงตามแนวตั้งมีความกว้างเป็น 6:2:17:2:6 ในพื้นสีแดงนั้นมีดาวแดงบนวงกลมพื้นขาว ธงนี้ได้ประกาศใช้เป็นธงชาติเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและธงชาติเกาหลีเหนือ

ธงชาติเอสโตเนีย

งชาติเอสโตเนีย เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 7 ส่วน ยาว 11 ส่วน พื้นธงแบ่งเป็นแถบแนวนอน 3 แถบ แต่ละแถบนั้นกว้างเท่ากัน เรียงเป็นแถบสีฟ้า สีดำ และสีขาวจากบนลงล่าง (ธงชาติเอสโตเนียขนาดมาตรฐานนั้นกว้าง 105 เซนติเมตร ยาว 165 เซนติเมตร) ธงนี้มีชื่อเรียกเฉพาะในภาษาเอสโตเนียว่า "sinimustvalge" แปลว่า "ธงฟ้า-ดำ-ขาว" ตามสีที่ปรากฏบนธงชาต.

ดู สหภาพโซเวียตและธงชาติเอสโตเนีย

ธงชาติเติร์กเมนิสถาน

งชาติเติร์กเมนิสถาน (Флаг Туркмении; Türkmenistanyň baýdagy) แบบที่ใช้อยู่ในขณะนี้ เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและธงชาติเติร์กเมนิสถาน

ธงแดง

งพื้นสีแดงเกลี้ยงมักใช้ในการรณรงค์ต่างๆ ของลัทธิสังคมนิยม ลัทธิคอมมิวนิสต์ และกลุ่มการเมืองฝ่ายซ้ายต่างๆ ทั้งมีการใช้เป็นธงชาติชั่วคราว ในหลายประเทศที่มีการปฏิวัติแบบสังคมนิยม (socialist revolution) ธงแดง (Red flag) มักมีความหมายถึงธงต่างๆ ที่เป็นสีแดงโดยทั่วไป อาจใช้เป็นสัญลักษณ์เตือนภัย การประกาศกฎอัยการศึก หรือการต่อต้านท้าทาย หรือแม้แต่การใช้เป็นสีธงชาติต่างๆ ในยุคเริ่มแรกของหลายประเทศ เพราะเป็นสีที่สามารถสังเกตเห็นได้ง่ายที่สุด แต่ในทางประวัติศาสตร์แล้ว คำนี้เป็นสัญลักษณ์สากลอย่างหนึ่งที่ใช้หมายถึงแนวคิดหรือลัทธิการเมืองฝ่ายซ้ายเป็นหลัก ในพจนานุกรม Oxford English Dictionary ระบุถึงการใช้ "ธงแดง" ("red flag") เท่าที่มีการอ้างถึงครั้งแรกสุดว่า คำนี้เริ่มปรากฏในปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและธงแดง

ถอดรหัสสายลับพันหน้า

อดรหัสสายลับพันหน้า (ภาษาอังกฤษ: Tinker Tailor Soldier Spy) เป็นภาพยนตร์แนวจารกรรม สัญชาติอังกฤษ-ฝรั่งเศส ออกฉายในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและถอดรหัสสายลับพันหน้า

ทฤษฎีระบบควบคุม

ระบบควบคุมมีความสำคัญอย่างมากในการปล่อยจรวดและยานอวกาศ ทฤษฎีระบบควบคุม (control theory) เป็นสาขาหนึ่งของคณิตศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ ในที่นี้ การควบคุมหมายถึง การควบคุมระบบพลศาสตร์ ให้มีค่าเอาต์พุตที่ต้องการ โดยการป้อนค่าอินพุตที่เหมาะสมให้กับระบบ ตัวอย่างที่เห็นได้ทั่วไป เช่น ระบบควบคุมอุณหภูมิห้องของเครื่องปรับอากาศ หรือ แม้แต่ลูกลอยในโถส้วม ที่เปิดน้ำปิดน้ำโดยอัตโนมัติเมื่อน้ำหมดและน้ำเต็ม การควบคุมการขับเคลื่อนยานพาหนะ เช่น รถยนต์ ก็ถือเป็นการควบคุมชนิดหนึ่ง โดยผู้ขับขี่เป็นผู้ควบคุมทิศทางและความเร็ว ซึ่งระบบควบคุมประเภทที่ต้องมีคนเข้ามาเกี่ยวข้องนี้ถือว่าเป็น ระบบควบคุมไม่อัตโนมัติ (manual control) แต่ทฤษฎีระบบควบคุมจะครอบคลุมเฉพาะการวิเคราะห์และออกแบบ ระบบควบคุมอัตโนมัติ (automatic control) เท่านั้น เช่น ระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติ (cruise control) ระบบควบคุมยังอาจแบ่งออกได้เป็นระบบควบคุมวงเปิด (open-loop control) คือ ระบบควบคุมที่ไม่ได้ใช้สัญญาณจากเอาต์พุต มาบ่งชี้ถึงลักษณะการควบคุม ส่วนระบบควบคุมวงปิด (closed-loop control) หรือ ระบบป้อนกลับ (feedback control) นั้นจะใช้ค่าที่วัดจากเอาต์พุต มาคำนวณค่าการควบคุม นอกจากนี้ยังอาจแบ่งได้ตามคุณลักษณะของระบบ เช่น เป็นเชิงเส้น (linear) / ไม่เป็นเชิงเส้น (nonlinear), แปรเปลี่ยนตามเวลา (time-varying) / ไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลา (time-invariant) และเวลาต่อเนื่อง (Continuous time) / เวลาไม่ต่อเนื่อง (Discontinuous time).

ดู สหภาพโซเวียตและทฤษฎีระบบควบคุม

ทฤษฎีสมคบคิดเรื่องเหยียบดวงจันทร์

นักบินอวกาศ บัสซ์ อัลดรินและนีล อาร์มสตรอง ในแบบจำลองการฝึกดวงจันทร์และส่วนลงจอดของนาซา นักทฤษฎีสมคบคิดกล่าวว่า การถ่ายภาพภารกิจกระทำโดยใช้ชุดที่คล้ายกับแบบจำลองฝึกนี้ ทฤษฎีสมคบคิดเรื่องเหยียบดวงจันทร์ (Moon landing conspiracy theories) อ้างว่า โครงการอะพอลโลและการลงจอดบนดวงจันทร์ที่สืบเนื่องบางส่วนหรือทั้งหมดเป็นการหลอกลวงที่นาซาและสมาชิกองค์การอื่นจัดฉากขึ้น มีหลายปัจเจกบุคคลและกลุ่มได้อ้างการสมคบคิดดังกล่าวมาตั้งแต่กลางคริสต์ทศวรรษ 1970 การอ้างที่โดดเด่นที่สุด คือ การลงจอดที่มีมนุษย์โดยสารไปด้วยทั้งหกครั้ง (ระหว่าง ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและทฤษฎีสมคบคิดเรื่องเหยียบดวงจันทร์

ทฤษฎีโดมิโน

แสดงการล้มตาม ๆ กันอย่างโดมิโนของบรรดาประเทศในเอเชีย เมื่อประเทศจีนหันไปใช้ระบอบคอมมิวนิสต์ ทฤษฎีโดมิโน (domino theory) เป็นทฤษฎีทางนโยบายด้านการต่างประเทศ อุปมาขึ้นจากลักษณะของเกมไพ่ต่อแต้ม ซึ่งถ้ามีไพ่ล้มหนึ่งใบ ไพ่ใบอื่น ๆ ก็จะล้มเป็นแถบติดต่อเป็นลูกโซ่ ทฤษฎีโดมิโนหมายความว่าถ้าประเทศหนึ่งหันไปใช้ระบอบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์ จะส่งผลให้ประเทศรอบข้างก็จะเอาอย่างตามไปด้วย เรียกว่า "ผลกระทบแบบโดมิโน (domino effect) ทฤษฎีโดมิโนเกิดขึ้นจากกรณีการขยายตัวของลัทธิและระบอบคอมมิวนิสต์ในทวีปเอเชีย เมื่อจีน เกาหลีเหนือ และเวียดนามเหนือตกเป็นคอมมิวนิสต์ จึงมีความเชื่อว่าประเทศอื่น ๆ เช่น ลาว เขมร ไทย มาเลเซีย ฯลฯ จะถูกครอบงำโดยระบบคอมมิวนิสต์ในที่สุดตามไปด้วย การล้มของโดมิโนจึงหมายถึงการล้มตัวของระบอบประชาธิปไตย แต่เมื่อนำมาใช้กับประเทศในโลกตะวันตกแล้ว อาจกล่าวได้ว่าเป็นทฤษฎีโดมิโนแบบกลับตาลปัตร คือ แทนที่จะเป็นการล้มของระบอบประชาธิปไตย กลับเป็นการคลายตัวและแปรเปลี่ยนจากระบอบการปกครองแบบพรรคเดียว คือ คอมมิวนิสต์ และระบบเศรษฐกิจสังคมนิยม ไปสู่การปกครองแบบหลายพรรค เช่น ในกรณีที่โปแลนด์ หรือในการสลายตัวของพรรคคอมมิวนิสต์ที่ฮังการี การต่อสู้เพื่อเสรีภาพที่โรมาเนีย รวมทั้งการมีท่าทีที่จะใช้ระบบหลายพรรคในสหภาพโซเวียต อย่างไรก็ดี ราชบัณฑิตยสถานแห่งประเทศไทยวิเคราะห์ว่า "...ในสหภาพโซเวียตและใน กลุ่มประเทศยุโรปตะวันตกออกจะแปรเปลี่ยนเป็นทุนนิยมและประชาธิปไตยสมบูรณ์ แบบ คงต้องเปิดช่องสำหรับข้อเท็จจริงที่ว่า การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่น่าจะเป็นไปอย่างสมบูรณ์ ที่หวังได้คือ การมีระบบผสมผสาน แต่ระบบเดิมคงเหลืออยู่เป็นฐาน ทฤษฎีโดมิโนเมื่อใช้ในกรณีกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกน่าจะถูกเพียงครึ่งเดียว ซึ่งก็เป็นกรณีเดียวกับที่ใช้กับกลุ่มประเทศแถบเอเชีย" ทฤษฎีโดมิโนนี้ถูกต่อต้านโดยนายจอห์น ฟอสเตอร์ ดัลเลส (John Foster Dulles) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา โดยได้มีทฤษฎีต่อต้านคือทฤษฎีการสกัดกั้น (containment policy).

ดู สหภาพโซเวียตและทฤษฎีโดมิโน

ทวีปเอเชีย

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.

ดู สหภาพโซเวียตและทวีปเอเชีย

ทะเลอารัล

ทะเลอารัล (ภาษาคาซัค: Арал Теңізі, Aral Tengizi; ภาษาอุซเบก: Orol dengizi; ภาษารัสเซีย: Аральскοе мοре; ภาษาทาจิก/ภาษาเปอร์เซีย: Daryocha-i Khorazm, Lake Khwarazm) เป็นทะเลปิดที่อยู่ในเอเชียกลาง อยู่ระหว่างประเทศคาซัคสถานกับสาธารณรัฐคาราคัลปัคสถานซึ่งเป็นดินแดนปกครองตนเองของประเทศอุซเบกิสถาน ปัจจุบันปริมาณน้ำในทะเลลดลงมากจนทะเลถูกแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ทะเลอารัลเหนือ ทะเลอารัลใต้ส่วนตะวันออกและทะเลอารัลใต้ส่วนตะวันตก ครั้งหนึ่งทะเลอารัลมีพื้นที่ 68,000 ตารางกิโลเมตร ตั้งแต่ประมาณปี..

ดู สหภาพโซเวียตและทะเลอารัล

ทาชเคนต์

ทางอากาศกรุงทาชเคนต์ ทาชเคนต์ (Tashkent หรือ Toshkent; อุซเบก: Тошкент; Ташкент; ชื่อมีความหมายในภาษาอุซเบกว่า "นครศิลา") เป็นเมืองหลวงของประเทศอุซเบกิสถาน มีประชากรประมาณ 2 ล้านคน.

ดู สหภาพโซเวียตและทาชเคนต์

ที-26

ที-26 (T-26) เป็นรถถังขนาดเบา มีใช้ในสหภาพโซเวียต ตั้งแต่ทศวรรษ 1930 กระทั่งสงครามโลกครั้งที่สอง การออกแบบอาศัยต้นแบบจากรถถัง วิคเกอร์-6 ตัน ของอังกฤษ ซึ่งถือว่าเป็นแบบที่ประสบความสำเร็จกว้างขวางที่สุดแบบหนึ่งในทศวรรษ 1930.

ดู สหภาพโซเวียตและที-26

ที-28

* ประเทศผู้ผลิต สหภาพโซเวียต.

ดู สหภาพโซเวียตและที-28

ที-34

ที-34 (T-34) เป็นรถถังขนาดกลางของโซเวียต ที่ผลิตช่วง..

ดู สหภาพโซเวียตและที-34

ที-37

right.

ดู สหภาพโซเวียตและที-37

ที-54/55

ที-55เอ ในประเทศโปแลนด์ ที-54/55 เป็นรถถังขนาดกลางต้นแบบตัวแรกได้ผลิตถูกในช่วงสิ้นปี 1944 หลังจากการทดสอบในช่วง 1945-1947 T-54/55 mod 1946 ก็เข้าประจำการ โดยมีการสร้างจำนวน 713 คัน และหยุดผลิตในปี 1949 เนื่องจากมีรุ่นใหม่มาแทนที่ นั่นก็คือ ที-54/55 mod 1949 โดยรุ่น ที-54/55 mod 1949 ได้รับความนิยมมากกว่าเนื่องจากการออกแบบที่ทันสมัยและป้อมที่มีความหนาของเกราะ มากกว่า 200 มิลลิเมตร กว่าโดย ที-54/55 เป็นรถถังขนาดกลางและรถถังหลักคันแรกของสหภาพโซเวียต เข้าประจำการในสหภาพโซเวียตในปี 1948 และเป็นรถถังที่มีการผลิตมากที่สุดในโลกเป็นรองเพียงรถถัง ที-34 ในสงครามโลกครั้งที่ 2 มันได้ติดปืนใหญ่ขนาด 100 มิลลิเมตร มี 2 รุ่นคือ รุ่น 100 มิลลิเมตร ดี-10ที2ซี และ 100 มิลลิเมตร ดี-54 ซึ่งมีอำนาจการทำลายล้างสูงกว่าปืน 85 มิลลิเมตร แบบเก่าที่ใช้ในรถถัง ที-34-85 โดย ที-54/55 เป็นรถถังต้นแบบหลายๆคัน ในรุ่นถัดมา ได้แก่ ที-62 ที-64 ที-72 และอื่นๆอีกมากมาย และที-54/55 ยังมีรุ่นที่ถูกผลิตในจีนโดยใช้ชื่อว่า ไทป์ 59.

ดู สหภาพโซเวียตและที-54/55

ที-62

ที-62 ที-62 รุ่นพัฒนา ถูกใช้งานในการรุกรานอัพกานิสถานของสหภาพโซเวียต การพัฒนาของรถถังขนาดกลางของโซเวียตเริ่มขึ้นในปี 1951 ซึ่งได้พัฒนามาจากรถถังที-54/55แต่ในปี 1961 รถถัง ที-62 และในขณะเดียวกันรถถัง ที-54/55 ก็ยังเข้าประจำการเช่นกัน รถถัง ที-62 นั้นถูกผลิตตั้งแต่ปี 1961 ถึง 1975 โดยถูกแทนที่โดยรถถังที-72โดยมียอดผลิตรวมทั้งหมดสองหมื่นคัน.

ดู สหภาพโซเวียตและที-62

ที-64

รถถัง ที-64.

ดู สหภาพโซเวียตและที-64

ที-72

รถถังหลัง T-72 เป็นรถถังที่พัฒนามาจาก T-62 ไม่ไช่ T-64 นอกจากนี้ T-72 ยังเป็นต้นแบบในการพัฒนา T-90 อีกด้ว.

ดู สหภาพโซเวียตและที-72

ที-84

ที-84 (T-84) เป็นรถถังหลักของยูเครน พัฒนามาจากรถถังที-80ยูดี (T-80UD) ของสหภาพโซเวียต สร้างขึ้นเป็นครั้งแรกในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและที-84

ทีมรวมเฉพาะกิจในโอลิมปิก

ทีมรวมเฉพาะกิจในโอลิมปิก (Unified Team at the Olympics) เป็นทีมเฉพาะกิจซึ่งรวมประเทศในกลุ่มเดียวกัน หรือเคยร่วมกลุ่มเดียวกันมาก่อน สำหรับเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ทั้งนี้ในประวัติศาสตร์โอลิมปิกสมัยใหม่ เคยปรากฏทีมรวมลักษณะนี้มาแล้วสองครั้งคือ ทีมรวมเยอรมนี (2499-2507) และ ทีมรวมเครือรัฐเอกราช (2535) ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้.

ดู สหภาพโซเวียตและทีมรวมเฉพาะกิจในโอลิมปิก

ขบวนการต่อต้านเดนมาร์ก

วนการต่อต้านเดนมาร์ก (Danish Resistance Movement; Modstandsbevægelsen) เป็นขบวนการใต้ดินที่ต่อต้านการยึดครองเดนมาร์กของนาซีเยอรมนี ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง พัฒนาการของขบวนการต่อต้านในเดนมาร์กจัดว่าช้ากว่าประเทศอื่น อย่างไรก็ตามส่วนใหญ่เข้าเป็นสมาชิกองค์กรนี้ตั้งแต..

ดู สหภาพโซเวียตและขบวนการต่อต้านเดนมาร์ก

ขบวนการเอกราชเตอร์กีสถานตะวันออก

งของสาธารณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออก ใช้ใน http://www.crwflags.com/fotw/flags/cn-uighr.html established กัซคาร์, จีน เมื่อ พ.ศ. 2476 ขบวนการเอกราชเตอร์กีสถานตะวันออก (East Turkistan Independence Movement) เป็นคำกว้างๆที่ใช้เรียกกลุ่มที่เรียกร้องเอกราชในเขตปกครองซินเจียงในจีน ซึ่งเป็นดินแดนที่ขบวนการเหล่านี้เรียกว่า เตอร์เกสถานตะวันออก กลุ่มเหล่านี้ได้รับการสนับสนุนจากโลกอิสลามและรัสเซีย มีทั้งกลุ่มที่อิงและไม่อิงศาสนา กลุ่มที่อิงศาสนามักได้รับการสนับสนุนจากซาอุดิอาระเบียตาลีบันในอัฟกานิสถานหรืออิหร่าน ในหลายกรณี มีกลุ่มที่ให้ความสำคัญกับชาวอุยกูร์ที่เป็นมุสลิม โดยไม่ให้ความสำคัญกับชนกลุ่มน้อยที่ไม่ใช่มุสลิม เช่น ชาวฮั่นและชาวทิเบตและมักใช้คำอุยกูริสถานเพื่อให้เป็นรัฐสำหรับชาวอุยกูร์ กลุ่มนี้มักเป็นพันธมิตรของสหภาพโซเวียตมาก่อน และมีผู้นำบางส่วนอยู่ในรัสเซีย คาซัคสถานและคีร์กีซสถาน ซึ่งกลุ่มนี้จะถือว่ากลุ่มชาติพันธุ์อื่นเป็นชนส่วนน้อย อย่างไรก็ตามมีหลายกลุ่มที่สนับสนุนทังแนวคิดการเป็นรัฐอิสลามและรัฐเตอร์กีสถานแห่งซินเจียง การจัดตั้งสาธารณรัฐเตอร์กีสถานตะวันออกเป็นตัวอย่างที่ดี แนวคิดที่แตกต่างกันทำให้เกิดความแตกแยกภายในองค์กร.

ดู สหภาพโซเวียตและขบวนการเอกราชเตอร์กีสถานตะวันออก

ขุนส่า

นส่า (17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477 - 26 ตุลาคม พ.ศ. 2550) มีชื่อจริงว่า จาง ซีฟู (จีน: 张奇夫; พินอิน: Zhāng Qífú จาง ฉีฝู) และมีชื่อไทยว่า จันทร์ จางตระกูล เป็นอดีตผู้นำกองทัพเมิงไตซึ่งต่อสู้เพื่อเรียกร้องเอกราชให้แก่ชนกลุ่มน้อยชาวไทใหญ่ในพม่า และเป็นผู้ผลิตและค้าเฮโรอีนและฝิ่นรายใหญ่ของโลก โดยมีที่มั่นอยู่บริเวณสามเหลี่ยมทองคำ มีอิทธิพลอยู่ในเขตรัฐฉานและว้า ขุนส่ามีบิดาเป็นชาวจีน และมีมารดาเป็นชาวไทใหญ่ ชื่อนางแสงคำ ขุนส่าเคยตั้งกองกำลังใหญ่อยู่ที่บ้านหินแตก ในเขตตำบลเทอดไทย อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ตั้งแต..

ดู สหภาพโซเวียตและขุนส่า

ข้อพิพาทชายแดนโซเวียต–ญี่ปุ่น

้อพิพาทชายแดนโซเวียต–ญี่ปุ่น เป็นความขัดแย้งตามแนวชายแดนระหว่างสหภาพโซเวียตกับจักรวรรดิญี่ปุ่นตั้งแต่ปี..

ดู สหภาพโซเวียตและข้อพิพาทชายแดนโซเวียต–ญี่ปุ่น

ดมีตรี ชอสตโกวิช

องชอสตาโกวิช เมื่อปี ค.ศ. 1950 ดมีตรี ดมีตรีเยวิช ชอสตโกวิช (Dmitri Dmitrievich Shostakovich; Дмитрий Дмитриевич Шостакович; เกิดเมื่อวันที่ 25 กันยายน ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและดมีตรี ชอสตโกวิช

ดมีตรี เมดเวเดฟ

มีตรี อะนาตอลเยวิช เมดเวเดฟ (Dmitry Anatolyevich Medvedev) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 และคนปัจจุบันของสหพันธรัฐรัสเซีย และเขายังเคยดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีรัสเซียระหว่างปี 2008 ถึง 2012 เมดเวเดฟเกิดในครอบครัวนักวิชาการของโซเวียตในนครเลนินกราด Russia Today.

ดู สหภาพโซเวียตและดมีตรี เมดเวเดฟ

ดราก้อน ลี

ราก้อน ลี (드래건 리; Dragon Lee) หรือที่ชาวเกาหลีใต้รู้จักกันในชื่อ กอรยง (거룡) เกิดวันที่ 12 สิงหาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและดราก้อน ลี

ดวงจันทร์

วงจันทร์เป็นวัตถุดาราศาสตร์ที่โคจรรอบโลก เป็นดาวบริวารถาวรดวงเดียวของโลก เป็นดาวบริวารใหญ่ที่สุดอันดับที่ 5 ในระบบสุริยะ และเป็นดาวบริวารขนาดใหญ่สุดเมื่อเทียบกับกขนาดของดาวเคราะห์ที่โคจร ดวงจันทร์เป็นดาวบริวารที่มีความหนาแน่นที่สุดเป็นอันดับที่ 2 รองจากไอโอของดาวพฤหัสบดี ซึ่งบางส่วนไม่ทราบความหนาแน่น คาดว่าดวงจันทร์ก่อกำเนิดประมาณ 4.51 พันล้านปีก่อน ไม่นานหลังจากโลก คำอธิบายที่ได้รับการยอมรับกว้างขวางที่สุดคือดวงจันทร์ก่อกำเนิดจากเศษที่เหลือจากการชนขนาดยักษ์ระหว่างโลกกับเทห์ขนาดประมาณดาวอังคารชื่อเธียอา ดวงจันทร์หมุนรอบโลกแบบประสานเวลา จะหันด้านเดียวเข้าหาโลกเสมอคือด้านใกล้ที่มีลักษณะเป็นทะเลภูเขาไฟมืด ๆ ซึ่งเติมที่ว่างระหว่างที่สูงเปลือกโบราณสว่างและหลุมอุกกาบาตที่เห็นได้ชัดเจน เมื่อสังเกตจากโลก เป็นเทห์ฟ้าที่เห็นได้เป็นประจำสว่างที่สุดอันดับสองในท้องฟ้าของโลกรองจากดวงอาทิตย์ พื้นผิวแท้จริงแล้วมืด แม้เทียบกับท้องฟ้าราตรีแล้วจะดูสว่างมาก โดยมีการสะท้อนสูงกว่าแอสฟอลต์เสื่อมเล็กน้อย อิทธิพลความโน้มถ่วงของดวงจันทร์ทำให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร และทำให้หนึ่งวันยาวขึ้นเล็กน้อย มีระยะห่างจากโลกเฉลี่ยนับจากศูนย์กลางถึงศูนย์กลางประมาณ 384,403 กิโลเมตร เทียบเท่ากับ 30 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของโลก จุดศูนย์กลางมวลร่วมของระบบตั้งอยู่ที่ตำแหน่ง 1700 กิโลเมตรใต้ผิวโลก หรือประมาณ 1 ใน 4 ของรัศมีของโลก ดวงจันทร์โคจรรอบโลกในเวลาประมาณ 27.3 วันตัวเลขอย่างละเอียดคือ คาบโคจรแท้จริงเฉลี่ยของดวงจันทร์ (sideral orbit) คือ 27.321661 วัน (27 วัน 7 ชั่วโมง 43 นาที 11.5วินาที) และคาบโคจรเฉลี่ยแบบทรอปิคัล (tropical orbit) อยู่ที่ 27.321582 วัน (27 วัน 7 ชั่วโมง 43 นาที 4.7 วินาที) (Explanatory Supplement to the Astronomical Ephemeris, 1961, at p.107).

ดู สหภาพโซเวียตและดวงจันทร์

ดาวหาง

ดาวหางเฮล-บอปป์ ดาวหางเวสต์ ดาวหาง คือ วัตถุชนิดหนึ่งในระบบสุริยะที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ มีส่วนที่ระเหิดเป็นแก๊สเมื่อเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ ทำให้เกิดชั้นฝุ่นและแก๊สที่ฝ้ามัวล้อมรอบ และทอดเหยียดออกไปภายนอกจนดูเหมือนหาง ซึ่งเป็นปรากฏการณ์จากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ไปบนนิวเคลียสของดาวหาง นิวเคลียสหรือใจกลางดาวหางเป็น "ก้อนหิมะสกปรก" ประกอบด้วยน้ำแข็ง คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน แอมโมเนีย และมีฝุ่นกับหินแข็งปะปนอยู่ด้วยกัน มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ไม่กี่กิโลเมตรไปจนถึงหลายสิบกิโลเมตร คาบการโคจรของดาวหางมีความยาวนานแตกต่างกันได้หลายแบบ ตั้งแต่คาบโคจรเพียงไม่กี่ปี คาบโคจร 50-100 ปี จนถึงหลายร้อยหรือหลายพันปี เชื่อว่าดาวหางบางดวงเคยผ่านเข้ามาในใจกลางระบบสุริยะเพียงครั้งเดียว แล้วเหวี่ยงตัวเองออกไปสู่อวกาศระหว่างดาว ดาวหางที่มีคาบการโคจรสั้นนั้นเชื่อว่าแต่เดิมเป็นส่วนหนึ่งอยู่ในแถบไคเปอร์ที่อยู่เลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป ส่วนดาวหางที่มีคาบการโคจรยาวอาจมาจากแหล่งอื่น ๆ ที่ไกลจากดวงอาทิตย์ของเรามาก เช่นในกลุ่มเมฆออร์ตซึ่งประกอบด้วยเศษซากที่หลงเหลืออยู่จากการบีบอัดตัวของเนบิวลา ดาวหางเหล่านี้ได้รับแรงโน้มถ่วงรบกวนจากดาวเคราะห์รอบนอก (กรณีของวัตถุในแถบไคเปอร์) จากดวงดาวอื่นใกล้เคียง (กรณีของวัตถุในกลุ่มเมฆออร์ต) หรือจากการชนกัน ทำให้มันเคลื่อนเข้ามาใกล้ดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์น้อยมีกำเนิดจากกระบวนการที่ต่างไปจากนี้ อย่างไรก็ดี ดาวหางที่มีอายุเก่าแก่มากจนกระทั่งส่วนที่สามารถระเหิดเป็นแก๊สได้สูญสลายไปจนหมดก็อาจมีสภาพคล้ายคลึงกับดาวเคราะห์น้อยก็ได้ เชื่อว่าดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกหลายดวงเคยเป็นดาวหางมาก่อน นับถึงเดือนพฤษภาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและดาวหาง

ดาวเทียม

นีบนพื้นโลก ดาวเทียม (satellite) คือ สิ่งประดิษฐ์ที่มนุษย์คิดค้นขึ้นเป็นสิ่ง ที่สามารถโคจรรอบโลก โดยอาศัยแรงดึงดูดของโลก ส่งผลให้สามารถโคจรรอบโลกได้ในลักษณะเดียวกันกับที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลก และโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ วัตถุประสงค์ของสิ่งประดิษฐ์นี้เพื่อใช้ ทางการทหาร การสื่อสาร การรายงานสภาพอากาศ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์เช่นการสำรวจทางธรณีวิทยาสังเกตการณ์สภาพของอวกาศ โลก ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวอื่นๆ รวมถึงการสังเกตวัตถุ และดวงดาว ดาราจักร ต่าง.

ดู สหภาพโซเวียตและดาวเทียม

ดาวเทียมสปุตนิก 1

ปุตนิก 1 (Спутник-1; IPA:; Sputnik 1) เป็นดาวเทียมดวงแรกของโลก สหภาพโซเวียต ได้ส่งดาวเทียมสปุตนิกขึ้นสู่วงโคจรโลกในรูปวงรีในวันที่ 4 ตุลาคม 1957 ซึ่งโคจรสามสัปดาห์ก่อนที่แบตเตอรี่จะเสียอย่างเงียบ ๆ ก่อนที่จะตกลงสู่ชั้นบรรยากาศในอีกสองเดือนต่อมา สปุตนิก 1 มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 58 ซม.

ดู สหภาพโซเวียตและดาวเทียมสปุตนิก 1

ดิมา บิลาน

ดิมา บิลาน (Дима Билан) เกิดเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม ค.ศ. 1981 ที่เมือง Ust-Dzheguta ในคาราไช-เชียร์เคสส์ เป็นศิลปินเพลงป็อปชาวรัสเซีย บิลานเป็นตัวแทนในการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 2006 กับเพลง "Never Let You Go" ซึ่งเขาได้ตำแหน่งที่ 2 ต่อมาเขาชนะการแข่งขันเดียวกันในปี 2008 กับเพลง "Believe" หมวดหมู่:นักร้องรัสเซีย หมวดหมู่:ผู้ชนะการประกวดเพลงยูโรวิชัน หมวดหมู่:บุคคลจากสาธารณรัฐคาราไช-เชียร์เคสส์.

ดู สหภาพโซเวียตและดิมา บิลาน

ดิอะเมซิ่งเรซ 20

อะเมซิ่ง เรซ 20 (The Amazing Race 20) เป็นฤดูกาลที่ 20 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส ฤดูกาลนี้เริ่มออกอากาศในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2555 และจะออกอากาศตอนสุดท้ายในวันที่ 6 พฤษภาคม 2555 ซึ่งจะเป็น 2 ชั่วโมงสุดท้ายติดต่อกันเนื่องจากได้เว้นว่างไป 1 สัปดาห์ที่ทางสถานีได้ถ่ายทอด คันทรี มิวสิก อาวอร์ด เช่นเดียวกับปีที่แล้ว.

ดู สหภาพโซเวียตและดิอะเมซิ่งเรซ 20

ดินารา ซาฟินา

นารา ซาฟินา (Dinara Mikhailovna Safina) เกิดเมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2529 เป็นอดีตนักเทนนิสอาชีพหญิงชาวรัสเซีย เธอขึ้นครองอันดับที่ 1 ของโลกเมื่อวันที่ 20 เมษายน..

ดู สหภาพโซเวียตและดินารา ซาฟินา

ดิเรก ชัยนาม

นายดิเรก ชัยนาม ศาสตราจารย์ ดิเรก ชัยนาม (18 มกราคม พ.ศ. 2447 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2510) อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงโตเกียว กรุงลอนดอน และกรุงบอนน์ รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เคยได้รับการเสนอชื่อจากนายปรีดี พนมยงค์ ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ได้ปฏิเสธที่จะรับตำแหน่ง และเคยได้รับการเสนอชื่อจากรัฐบาลไทย ต่อองค์การยูเนสโกให้ประกาศเกียรติคุณเป็นบุคคลสำคัญแห่งโลก แต่ไม่ได้รับพิจารณาเนื่องจากข้อเสนอของรัฐบาลไทยไม่เข้าข่ายที่จะได้รับการพิจารณ.

ดู สหภาพโซเวียตและดิเรก ชัยนาม

ดีนียาร์ บิลยาเลตดีนอฟ

ีนียาร์ รีนาโตวิช บิลยาเลตดีนอฟ (Dibiər Rinat ulı Bilaletdinev, Динияр Ринатович Билялетдинов) เกิดเมื่อวันที่ 27 กุมภาพัน..

ดู สหภาพโซเวียตและดีนียาร์ บิลยาเลตดีนอฟ

ด็อกเตอร์ชิวาโก (ภาพยนตร์)

็อกเตอร์ชิวาโก (Doctor Zhivago; До́ктор Жива́го; ออกเสียง) เป็นภาพยนตร์เอพิคที่กำกับโดยเดวิด ลีน ดัดแปลงจากนวนิยายในชื่อเดียวกันของบอริส ปาสเตอร์แน็ก ที่ตีพิมพ์ครั้งแรกเป็นภาษารัสเซียในอิตาลีเมื่อ..

ดู สหภาพโซเวียตและด็อกเตอร์ชิวาโก (ภาพยนตร์)

คอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ

การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Olympiad in Informatics - IOI) เป็นการแข่งขันเกี่ยวกับวิทยาการคอมพิวเตอร์ประจำปี เป็นหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษา คอมพิวเตอร์โอลิมปิกครั้งแรกเริ่มต้นในปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ

คอมมานด์ & คองเคอร์

อมมานด์ & คอนเคอร์ (Command & Conquer หรือ C&C) คือชื่อของเกมคอมพิวเตอร์แนวเกมวางแผนการรบเรียลไทม์ และ เฟิร์ตเพอร์เซินชูตเตอร์ พัฒนาครั้งแรกโดยบริษัท เวสท์วูด สตูดิโอ ระหว่างปี 1985 จนถึง 2003 ร่วมพัฒนากับบริษัท อิเลคโทรนิค อาร์ต โดยเกมแรกได้วางแผงทั่วโลกใน วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและคอมมานด์ & คองเคอร์

คอมมานด์ & คองเคอร์: ยูริ รีเวนจ์

อมมานด์ & คองเคอร์: ยูริ รีเวนจ์ (Command & Conquer: Yuri's Revenge) เป็นเกมแนววางแผนการรบเรียลไทม์ ในซีรีส์ คอมมานด์ & คองเคอร์ พัฒนาโดยบริษัท เวสท์วูด สตูดิโอ เป็นซอฟต์แวร์เสริมของ คอมมานด์ & คองเคอร์: เรดอเลิร์ต 2.

ดู สหภาพโซเวียตและคอมมานด์ & คองเคอร์: ยูริ รีเวนจ์

คอมมานด์ & คองเคอร์: เรดอเลิร์ต

อมมานด์ & คองเคอร์: เรด อเลิร์ต (Command & Conquer: Red Alert) เป็นเกมแนววางแผนการรบเรียลไทม์ ในซีรีส์ คอมมานด์ & คองเคอร์ พัฒนาโดยบริษัท เวสท์วูด สตูดิโอ วางจำหน่ายในปี 1996 สำหรับเครื่อง พีซี (MS-DOS & วินโดวส์ 95) และพอร์ตลงเครื่องเพลย์สเตชัน.

ดู สหภาพโซเวียตและคอมมานด์ & คองเคอร์: เรดอเลิร์ต

คอสแซค

วาดของคอสแซคซาโพโรเซียน คอสแซค (козаки́, kozaky; каза́ки́, kazaki; Kozacy, Cossacks) เดิมเป็นสมาชิกของกลุ่มทหารในยูเครน และทางตอนใต้ของรัสเซีย แต่ที่มาของคอสแซคยังคงเป็นหัวข้อที่ถกเถียงกันในบรรดานักวิชาการอยู่ ในตอนปลายของคริสต์ศตวรรษที่ 15 กลุ่มคอสแซคซาโพโรเซียน (Zaporozhian Cossacks) ก็ได้ก่อตั้งกองทหารคอสแซค (Cossack host) ขึ้นในทุ่งหญ้าสเตปป์ในยูเครน (дике поле) ในบริเวณแม่น้ำนีพเพอร์ ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 กลุ่มคอสแซคดอน (Don Cossacks) ก็ได้ก่อตั้งกองทหารคอสแซคขึ้นอีกกองหนึ่งในบริเวณลุ่มแม่น้ำดอน กองทหารคอสแซคกองอื่นๆ ก็ได้รับการก่อตั้งขึ้นต่อมาทางตอนใต้ของเทือกเขายูราล, ไซบีเรีย และ คอเคซัส คอสแซคนีพเพอร์แห่งยูเครนมีศูนย์กลางอยู่ในบริเวณหมู่เกาะนีพเพอร์ที่มีการสร้างเสริมการป้องกันทางทหาร เดิมคอสแซคเป็นอาณาจักรบริวารของเครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนีย แต่ความกดดันทางสังคมและศาสนาจากเครือจักรภพทำให้คอสแซคประกาศตนเป็นสาธารณรัฐคอสแซค (Cossack Hetmanate) อิสระจากโปแลนด์-ลิทัวเนีย โดยการริเริ่มการการก่อการคเมลนิทสกี (Khmelnytskyi Uprising) ภายใต้การนำของโบห์ดัน คเมลนิทสกีในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 17 ในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและคอสแซค

คอนสตันติน ฮเรนอฟ

อนสตันติน คอนสตันติโนวิช ฮเรนอฟ (Константин Константинович Хренов; 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1894 — 12 ตุลาคม ค.ศ. 1984) เป็นวิศวกรและนักประดิษฐ์ชาวโซเวียต ซึ่งได้คิดค้นการเชื่อมไฮเปอร์บาริกใต้น้ำและการตัดโลหะ ใน..

ดู สหภาพโซเวียตและคอนสตันติน ฮเรนอฟ

คอนสตันติน ซีออลคอฟสกี

แบบร่างจรวดลำแรกของซีออลคอฟสกี คอนสตันติน เอดูอาร์โดวิช ซีออลคอฟสกี หรือไซออลคอฟสกี (Konstantin Eduardovich Tsiolkovsky; Константи́н Эдуа́рдович Циолко́вский; Konstanty Ciołkowski; 17 กันยายน ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและคอนสตันติน ซีออลคอฟสกี

คาทูนา ลอริก

ทูนา ลอริก (Khatuna Lorig) เกิดวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1974 ที่ทบิลิซี และมีชื่อแรกเกิดคือ คาทูนา คริวิชวิลี (ხათუნა ქვრივიშვილი) เป็นนักกีฬายิงธนูชาวอเมริกันผู้มีพื้นเพมาจากสาธารณรัฐจอร์เจีย ลอริกได้รับเหรียญทองแดงในประเภทบุคคล และเหรียญทองในประเภททีมในการแข่งขันชิงแชมป์ยุโรป 1990 ที่บาร์เซโลนา ที่ซึ่งเธอแข่งในนามของทีมสหภาพโซเวียต รวมทั้งเธอยังได้รับเหรียญทองในประเภทบุคคลและทีมในการแข่งขันชิงแชมป์ยุโรป 1992 ที่ประเทศมอลตา ลอริกได้รับเหรียญทองแดงจากการแข่งขันประเภททีมหญิงให้แก่ทีมรวมเฉพาะกิจในโอลิมปิกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1992 แล้วลอริกก็เข้าแข่งขันให้แก่ทีมชาติจอร์เจียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1996 และโอลิมปิกฤดูร้อน 2000 ในชื่อของ คาทูนา ลอริก จากนั้นเธอก็ได้รับสัญชาติสหรัฐฯ และได้รับการคัดเลือกเข้าสู่การแข่งขันยิงธนูประเภทบุคคลหญิง ในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ที่กรุงปักกิ่ง โดยในรอบจัดอันดับเธอทำคะแนนรวมที่ 635 แต้ม ที่ซึ่งเธออยู่ในอันดับที่ 16 ของตาราง และในการแข่งไฟนอล เธอได้พบกับ เวอร์กินี อาร์โนลด์ จากฝรั่งเศสในรอบแรก และเธอก็เป็นฝ่ายชนะที่คะแนน 107-105 ในรอบที่สองเธอได้เป็นฝ่ายชนะ อลิสัน วิลเลียมสัน ที่คะแนน 112-109 และชนะ อานา เรนดอง ที่คะแนน 107-95 ซึ่งเธอสามารถเข้าสู่รอบควอเตอร์ไฟนอล แต่เธอก็ไม่สามารถเอาชนะ ยุน อกฮี ผู้ซึ่งได้เหรียญทองแดงในเวลาต่อมา โดยเป็นฝ่ายแพ้ 111-105, beijing2008.cn, ret: Aug 23, 2008 คาทูนา ลอริก ยังเป็นผู้สอนการยิงธนูแบบรีเคิร์ฟให้แก่ เจนนิเฟอร์ ลอว์เรนซ์ ซึ่งเป็นนักแสดงหญิงในภาพยนตร..

ดู สหภาพโซเวียตและคาทูนา ลอริก

คาเวียร์

ปลาสเตอร์เจียนเบลูกา (''Huso huso''), คาเวียร์สีส้ม (ล่าง) มาจาก เวอจีน่า คาเวียร์ (caviar) เป็นไข่ปลาที่ผ่านการปรุงรสโดยไข่มาจากปลาหลากหลายประเภท โดยส่วนมากนิยมนำมาจากไข่ปลาสเตอร์เจียน คาเวียร์ได้มีการโฆษณาและได้ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในอาหารที่อร่อยที่สุดในโลก คำว่า คาเวียร์ มาจากภาษาเปอร์เซีย ว่า خاگ‌آور (Khag-avar) ซึ่งมีความหมายว่า "ไข่ปลาที่ปรุงรส" โดยในแถบเปอร์เซียจะใช้หมายถึงปลาสเตอร์เจียน การรับประทานคาเวียร์ นิยมจะตักไข่ปลาด้วยช้อนคันเล็ก ๆ ทาลงบนขนมปังแล้วรับประทาน ในปัจจุบัน คาเวียร์ที่มีชื่อเสียงจะมาจากทะเลสาบแคสเปียน ในแถบอาเซอร์ไบจาน, อิหร่าน และรัสเซีย คาเวียร์มีหลายประเภทและหลายสี โดยคาเวียร์สีทองที่มาจากปลาสเตอร์เลต (Sterlet, ชื่อวิทยาศาสตร์: Acipenser ruthenus) เป็นคาเวียร์ที่หายาก นิยมรับประทานกันในหมู่กษัตริย์และบุคคลชั้นสูง โดยในปัจจุบันคาเวียร์ชนิดนี้แทบจะหาไม่ได้เนื่องจากมีการล่ามากจนเกินไป จนทำให้ปลาชนิดนี้แทบจะสูญพันธุ์ ในสมัยอดีต เมื่อเด็กป่วยเป็นหวัด แม่ที่ฐานะดีจะให้ลูกกินคาเวียร์จนหายเป็นปกติ ชนชั้นสูงในรัสเซียก็นิยมกินคาเวียร์ เพราะเชื่อว่าเป็นอาหารอายุวัฒนะ และชาวโรมันนิยมบริโภคคาเวียร์เป็นยา เมื่อครั้งพระเจ้าซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย เสด็จเยือนฝรั่งเศส พระองค์พระราชทานคาเวียร์เป็นราชบรรณาการแด่จักรพรรดินโปเลียน เพราะในฝรั่งเศสคาเวียร์เป็นของหายาก และเมื่อจักรพรรดินโปเลียนทรงปราชัยในสงครามกับรัสเซีย ความนิยมกินคาเวียร์ก็ได้แพร่เข้าสู่ยุโรปโดยใช้เส้นทางจากรัสเซียผ่านเมืองฮัมบูร์ก ในเยอรมนี โดยแหล่งที่ขึ้นชื่อว่ามีปลาสเตอร์เจียนชุกชุม คือทะเลสาบแคสเปียน ในอดีตเคยอาศัยอยู่อย่างอุดมสมบูรณ์ให้ชาวประมงรัสเซียได้จับกันเป็นจำนวนมาก จนทำให้ปลาลดจำนวนลงมาก รัฐบาลสหภาพโซเวียตจึงต้องออกกฎหมายห้ามจับโดยเด็ดขาด และส่งเฮลิคอปเตอร์ออกตรวจจับผู้ที่จับปลาที่ทำผิดกฎหมาย ซึ่งถ้าพบว่าชาวประมงคนใดจับปลาสเตอร์เจียนโดยไม่ได้รับอนุญาต จะถูกส่งไปลงโทษจับปลาที่ไซบีเรีย แต่เมื่อสหภาพโซเวียตล่มสลาย ชาวประมงรัสเซียก็ได้ออกมาจับปลาสเตอร์เจียนอีก และถือว่าโชคดีถ้าใครจับปลาสเตอร์เจียนที่มีไข่ได้ เพราะปลาหนึ่งตัวอาจมีไข่ในท้องถึง 50 กิโลกรัม เพียงพอจะทำให้คนที่จับมีฐานะขึ้นมาได้ และนอกจากจะขายไข่ได้ในราคาดีแล้ว เนื้อปลาเองก็อาจขายได้ราคางามถึงปอนด์ละ 900 ดอลลาร์ขึ้นไปด้วย ในเวลาต่อมา เหตุเพราะปลาสเตอร์เจียนถูกจับไปเป็นจำนวนมากในแต่ละปี ดังนั้นรัฐบาลรัสเซียจึงจัดตั้งศูนย์เลี้ยงปลาสเตอร์เจียนขึ้นที่เมืองอัสตราคัน ส่วนที่คาซัคสถานนั้นก็มีศูนย์ประมงซึ่งมีบริษัทคาเวียร์ เฮ้าส์ & พรีเมียร์ เป็นผู้ดูแล โดยมีปลาสเตอร์เจียนเลี้ยงมากถึง 160,000 ตัว สำหรับประเทศอิหร่านนั้น ตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและคาเวียร์

คิม อิล-ซ็อง

อนุสาวรีย์คิม อิล-ซ็อง คิม อิล-ซ็อง (15 เมษายน พ.ศ. 2455 – 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2537) เป็นผู้นำคนแรกของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตั้งแต่ก่อตั้งประเทศเมื่อ..

ดู สหภาพโซเวียตและคิม อิล-ซ็อง

คิม จ็อง-อิล

ม จ็อง-อิล มีชื่อเมื่อแรกเกิดว่า ยูริ อีร์เซโนวิช คิม/Юрий Ирсенович Ким (ตามบันทึกโซเวียต) (16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1941/2 – 17 ธันวาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและคิม จ็อง-อิล

คืนยูริ

ลโก้ คืนยูริ (Yuri's Night) เป็นการเฉลิมฉลองระหว่างประเทศ ตรงกับวันที่ 12 เมษายนของทุกปี จัดขึ้นเพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์สำคัญในการสำรวจอวกาศ คือ การส่งยูริ กาการิน เป็นมนุษย์อวกาศคนแรก ขึ้นสู่อวกาศไปกับยานวอสตอค 1 เมื่อวันที่ 12 เมษายน..

ดู สหภาพโซเวียตและคืนยูริ

คณะกรรมการความมั่นคงแห่งรัฐ (สหภาพโซเวียต)

ณะกรรมการความมั่นคงแห่งรัฐ หรือ เคจีบี (Комите́т госуда́рственной безопа́сности; ย่อ: КГБ) เป็นอดีตหน่วยงานกลาง ดูแลการข่าว ความมั่นคง ตำรวจสันติบาล และ กิจการชายแดนของสหภาพโซเวียตตั้งแต่ปี..

ดู สหภาพโซเวียตและคณะกรรมการความมั่นคงแห่งรัฐ (สหภาพโซเวียต)

คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ

ณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (United Nations Security Council; UNSC) เป็นหนึ่งใน 6 เสาหลักของสหประชาชาติ และเป็นองค์กรในสหประชาชาติที่มีอิทธิพลรองลงมาจากสมัชชาใหญ่ เป็นองค์กรที่มีอำนาจในการเรียกระดมพลจากรัฐสมาชิกในสหประชาชาติเพื่อจัดตั้งเป็นกองกำลังรักษาสันติภาพเข้าไปปฏิบัติหน้าที่รักษาสันติภาพในประเทศและสงครามต่างๆ และยังมีอำนาจในการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจต่อประเทศต่าง.

ดู สหภาพโซเวียตและคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ

คณิตศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ

ณิตศาสตร์โอลิมปิก เป็นการแข่งขันคณิตศาสตร์ประจำปี ซึ่งมีคำถามอยู่หกข้อ คะแนนเต็ม 42 คะแนน สำหรับนักเรียนระดับก่อนมหาวิทยาลัย และเป็นโอลิมปิกวิชาการที่เก่าแก่ที่สุด คณิตศาสตร์โอลิมปิกจัดขึ้นครั้งแรกในโรมาเนีย ใน..

ดู สหภาพโซเวียตและคณิตศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ

ค่ายกักกัน

กักกัน (Concentration Camp) คือสถานที่ที่รัฐใช้คุมขังนักโทษหรือกักกันบุคคลเฉพาะกลุ่มด้วยเหตุผลทางการเมือง นักโทษทางการเมือง ชนกลุ่มน้อย บุคคลที่เป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐบาลหรือพลเมืองเชื้อชาติใดเชื้อชาติหนึ่ง นักโทษเหล่านี้จะถูกจับโดยไม่มีการสอบสวนตามกระบวนยุติธรรม และไม่มีกำหนดเวลาปล่อยตัว ทั้งยังถูกจำกัดสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษยชนด้วย ในแง่ประวัติศาสตร์ ค่ายกักกันที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ ค่ายกักกันของพรรคนาซีในเยอรมันและค่ายกักกันแรงงานในสหภาพโซเวียต ค่ายกักกันมีขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเกิดสงครามบัวร์ในแอฟริกาใต้ โดยทั่วไปค่ายกักกันจะประกอบด้วยโรงทหารกระท่อมหรือกระโจมที่พักและบริเวณรอบ ๆ ค่ายจะมีป้อมยามและลวดหนามล้อมรอบ ผู้คุมค่ายและยามรักษาการณ์มีอำนาจเหนือชีวิตนักโทษและจะปกครองอย่างเข้มงวด ค่ายกักกันที่สำคัญ ๆ ได้แก.

ดู สหภาพโซเวียตและค่ายกักกัน

ค่ายกักกันบูเคนวัลด์

นักโทษทาสแรงงานในค่ายกักกันบูเคนวัลด์ (อีลี วีเซล นักประพันธ์รางวัลโนเบลอเมริกันเชื้อสายยิวอยู่ในแถวที่ 2 คนที่ 7 จากซ้าย) ค่ายกักกันบูเคนวัลด์ (Buchenwald concentration camp) เป็นค่ายกักกันเชลยศึกของนาซีเยอรมนี จัดตั้งที่เอทเทอร์สแบร์ก (ภูเขาเอตเทอร์) ใกล้กับไวมาร์ ทูรินเจีย ประเทศเยอรมนีเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและค่ายกักกันบูเคนวัลด์

ค้อนเคียว

รูปค้อนเคียวไขว้ ตามแบบที่ปรากฏในธงชาติสหภาพโซเวียต ค้อนเคียว เป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของลัทธิคอมมิวนิสต์ มักใช้เพื่อเป็นเครื่องหมายของลัทธิคอมมิวนิสต์ พรรคคอมมิวนิสต์ หรือรัฐคอมมิวนิสต์ต่างๆ ทั่วโลก โดยปกติแล้วมักทำเป็นรูปค้อนและเคียวไขว้กันดังภาพ ซึ่งเครื่องหมายทั้งสองอย่างนี้ คือสัญลักษณ์บุคคลในชนชั้นกรรมาชีพและชนชั้นชาวนา การนำสัญลักษณ์ทั้งสองอย่างมารวมกัน จึงหมายถึงเอกภาพของแรงงานในภาคเกษตรกรรมและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญของสังคมในแบบคอมมิวนิสต์ สัญลักษณ์ดังกล่าวนี้เป็นที่รู้จักกันดีจากการที่นำรูปดังกล่าวไปใช้ในธงชาติสหภาพโซเวียต ควบคู่ไปกับรูปดาวแดง และยังถูกนำไปใช้ในธงและตราสัญลักษณ์ต่างๆ อีกจำนวนมาก รูปสัญลักษณ์ค้อนเคียวในระบบยูนิโคด (Unicode) อยู่ในตำแหน่งรหัส U+262D.

ดู สหภาพโซเวียตและค้อนเคียว

งานวันไปรษณีย์โลก

งานวันไปรษณีย์โลก หรือชื่อในอดีตคือ งานสัปดาห์สากลแห่งการเขียนจดหมาย เป็นงานที่จัดขึ้นโดยไปรษณีย์ของไทย ให้ตรงกับสัปดาห์สากลแห่งการเขียนจดหมาย (International Letter Writing Week) ซึ่งกำหนดโดยสหภาพสากลไปรษณีย์ (Universal Postal Union หรือ UPU) ในปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและงานวันไปรษณีย์โลก

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 41

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 41 เป็นงานมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 41

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 48

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 48 เป็นงานมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 48

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 51

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 51 เป็นงานมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 51

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 53

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 53 เป็นงานมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 53

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 57

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 57 เป็นงานมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 57

ตราแผ่นดินของรัสเซีย

ตราแผ่นดินของรัสเซีย ประกอบด้วยรูปนกอินทรีสองเศียรซึ่งเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของรัสเซีย อินทรีสองหัวมีความหมายแสดงถึงความกว้างใหญ่ของประเทศรัสเซีย โดยแต่ละหัวหันไปทางซ้ายและขวา หมายถึงการดูแลดินแดนของรัสเซียทั้งทางฝั่งตะวันตกและฝั่งตะวันออก และส่วนไม้คทาหมายถึงอำนาจ ส่วนลูกโลกประดับกางเขนหมายถึงนิติบัญญัติ ตราแผ่นดินนี้มีต้นแบบสืบเนื่องมาจากตราแผ่นดินในช่วงต้นของจักรวรรดิรัสเซีย ซึ่งในปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและตราแผ่นดินของรัสเซีย

ตราแผ่นดินของคีร์กีซสถาน

ตราแผ่นดินของคีร์กีซสถาน ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน..

ดู สหภาพโซเวียตและตราแผ่นดินของคีร์กีซสถาน

ตุ๊กตาแม่ลูกดก

ตุ๊กตาแม่ลูกดกชุดหนึ่ง เมื่อถอดออกมาทั้งหมด ตุ๊กตาแม่ลูกดก หรือ มาโตรชก้า (матрёшка) เป็นตุ๊กตาของรัสเซียที่เรียงซ้อน ๆ กันหลายตัว ชื่อนี้แผลงมาจากชื่อสตรีภาษารัสเซีย ว่า "มาตรีโยนา" หรืออาจจะถูกเรียกว่าตุ๊กตาคุณยาย ตุ๊กตาแม่ลูกดกชุดหนึ่ง ประกอบด้วยตุ๊กตาไม้หลายตัวเรียงซ้อนกันอยู่ข้างใน แต่ละตัวประกอบด้วยสองส่วน คือส่วนบนและส่วนล่าง นำมาประกบกันได้สนิทตามร่องที่เซาะเอาไว้ ตุ๊กตาทุกตัวมีโพรงข้างใน เว้นแต่ตัวสุดท้ายซึ่งมีขนาดเล็กสุด จะเป็นตุ๊กตาเต็มตัว ตัน ชิ้นเดียว ตุ๊กตาแม่ลูกดกชุดหนึ่งจะมีตุ๊กตาซ้อนข้างในกี่ตัวก็ได้ ถ้ามีจำนวนมาก ตุ๊กตาตัวใหญ่สุดที่อยู่นอกสุดก็จะต้องมีขนาดใหญ่มากด้วย ตุ๊กตาทุกตัวจะมีรูปร่างเหมือนกันหมด คือ คล้ายกระบอก โป่งตรงกลาง ด้านบนโค้งมน ส่วนฐานเรียบ ไม่มีมือหรือส่วนใดยื่นออกมา แต่จะใช้สีวาดเป็นหน้าเป็นตาหรือขาทั้งหมด ให้ตุ๊กตาแต่ละตัวมีใบหน้าและเสื้อผ้าที่เหมือนกันด้วย ทั้งยังเคลือบเงาอย่างสวยงาม หน้าตาของตุ๊กตาแม่ลูกดกนั้นเดิมนั้นทำเป็นหญิงชาวนา แต่งกายแบบดั้งเดิม มีผ้าคลุมศีรษะ แต่ในภายหลังมีการวาดตุ๊กตาเป็นรูปเทพธิดา นางฟ้า และบุคคลที่มีชื่อเสียงต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นผู้นำของรัสเซีย เช่นเลนิน ปูติน หรือจะดาราระดับตำนานอย่างมาริลิน หรือนักร้องชื่อดังอย่างไมเคิล แจ็คสัน และมาดอนน่า ไม่เว้นแม้แต่คาแรคเตอร์ของตัวละครชื่อดังอย่างหมีพูห์ มิคกี้เม.

ดู สหภาพโซเวียตและตุ๊กตาแม่ลูกดก

ตูโปเลฟ ตู-124

ตูโปเลฟ ตู-124 (Tupolev Tu-124) ตู-124 เริ่มบินครั้งแรกในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1960 เป็นเครื่องบินที่ใช้ ตู-104 ย่อขนาดลงมาประมาณ 25% และสร้างขึ้นมาเพื่อใช้แทน อิลยูชิน อิล-14 ที่มี 2 ใบพัด ซึ่งตู-124 เป็นเครื่องบินเจ๊ตโดยสารแบบแรกของสหภาพโซเวียตที่ใช้เครื่องยนต์เทอร์โบแฟน ตู-124 มีการสร้างขึ้นมา 4 รุ่น.

ดู สหภาพโซเวียตและตูโปเลฟ ตู-124

ตูโปเลฟ ตู-126

ตูโปเลฟ ตู-126 (Tupolev Tu-126 Moss) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่ามอส) เป็นเครื่องบินแจ้งเตือนล่วงหน้าและควบคุมในอากาศที่พัฒนามาจากตูโปเลฟ ตู-114โดยสำนักงานออกแบบตูโปเลฟ ไดเข้าประจำการพร้อมกับกองกำลังติดอาวุธของสหภาพโซเวียตตั้งปี..

ดู สหภาพโซเวียตและตูโปเลฟ ตู-126

ตูโปเลฟ ตู-134

ตูโปเลฟ ตู-134 (Tupolev Tu-134) ผลิตขึ้นเพื่อใช้แทนเครื่องบินโดยสาร ตูโปเลฟ ตู-104 เริ่มรับผู้โดยสารโดยสายการบิน แอโรฟล็อต ในเส้นทางมอสโคว์-สต๊อกโฮล์ม เมื่อเดือนกันยายน ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและตูโปเลฟ ตู-134

ตูโปเลฟ ตู-144

right ตูโปเลฟ ตู-144 (Tupolev Tu-144) เป็นเครื่องบินโดยสารความเร็วเหนือเสียงแบบแรกของโลก เครื่องต้นแบบ ตู-144 เครื่องต้นแบบบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและตูโปเลฟ ตู-144

ตูโปเลฟ ตู-154

right Tu-154 ตูโปเลฟ ตู-154 (Tupolev Tu-154) ตู-154 เป็นเครื่องบินโดยสารที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดลำหนึ่งของสหภาพโซเวียต ตู-154 เริ่มบินเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและตูโปเลฟ ตู-154

ตูโปเลฟ ตู-16

ตูโปเลฟ ตู-16 (Tupolev Tu-16 Badger) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าแบดเจอร์) เป็นเครื่องบินทิ้งระเบิดไอพ่นสองเครื่องยนต์ที่ใช้โดยสหภาพโซเวียต มันได้บินมากว่า 50 ปีโดยใช้ชื่อเซียน เอช-6 ที่ยังคงประจำการอยู่ในกองทัพอากาศจีน กองทัพอากาศสหรัฐฯ ใช้ชื่อรหัสว่าไทป์ 39.

ดู สหภาพโซเวียตและตูโปเลฟ ตู-16

ตูโปเลฟ ตู-160

ตูโปเลฟ ตู-160 (Tupolev Tu-160 Blackjack, Туполев Ту-160, นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าแบล็คแจ็ค) เป็นเครื่องบินทิ้งระเบิดขนาดหนักที่มีความเร็วเหนือเสียงและปีกที่สามารถพับได้ซึ่งออกแบบโดยสหภาพโซเวียต มันมีความคล้ายคลึงกับบี-1 แลนเซอร์แต่มีขนาดใหญ่กว่าและเร็วกว่าบี-1บี พร้อมกับความจุและพิสัยที่มากกว่ามาก มันได้เข้าประจำการในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและตูโปเลฟ ตู-160

ตูโปเลฟ ตู-22

ตูโปเลฟ ตู-22 (Tupolev Tu-22 Blinder) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าไบลน์เดอร์) เป็นเครื่องบินเจ๊ตทิ้งระเบิดความเร็วเหนือเสียงแบบแรกของสหภาพโซเวียต ประกฎตัวครั้งแรกเมื่อวันแสดงการบินที่มอสโคว์ในปี 1961 องค์การนาโตกำหนดรหัสเป็นไบลน์เดอร.

ดู สหภาพโซเวียตและตูโปเลฟ ตู-22

ตูโปเลฟ ตู-28

ตูโปเลฟ ตู-28/ตู-128 (Tupolev Tu-28 Fiddler) (นาโต้เรียกมันว่าฟิดเดลอร์) เป็นเครื่องบินสกัดกั้นพิสัยไกลที่ออกแบบโดยสหภาพโซเวียตเมื่อทศวรรษที่ 1960 มันยังคงเป็นเครื่องบินขับไล่ที่ใหญ่ที่สุดของโลก.

ดู สหภาพโซเวียตและตูโปเลฟ ตู-28

ตูโปเลฟ ตู-4

ตูโปเลฟ ตู-4 (รหัสเรียกนาโต้ บูลล์) เป็นเครื่องบินทิ้งระเบิด เครื่องยนตร์ลูกสูบ ของสหภาพโซเวียต ในช่วงปลายทศวรรษที่ 1940 ถึง กลางทศววรษที่ 1960 โดยการลอกแบบมาจากเครื่องบินทิ้งระเบิด บี-29 ของสหรัฐอเมริก.

ดู สหภาพโซเวียตและตูโปเลฟ ตู-4

ตูโปเลฟ ตู-95

ตูโปเลฟ ตู-95 (Tupolev Tu-95 Bear, Туполев Ту–95) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าแบร์) เป็นเครื่องบินทิ้งระเบิดและขีปนาวุธขนาดใหญ่พร้อมเครื่องยนต์ใบพัดสี่เครื่อง มันทำการบินครั้งแรกในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและตูโปเลฟ ตู-95

ตีรัสปอล

ตีรัสปอล (Тирасполь; Тирасполь, Tyraspol) เป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 ของประเทศมอลโดวา และเป็นเมืองหลวงอย่างไม่เป็นทางการของทรานส์นีสเตรีย ตั้งอยู่บนริมฝั่งตะวันตกของแม่น้ำนีสเตอร์ ตีรัสปอลเป็นเมืองศูนย์กลางภูมิภาคในการผลิตอุตสาหกรรมเบาเช่น เฟอร์นิเจอร์และผลิตภัณฑ์ไฟฟ้า มีการผลิตเหล้าองุ่น เมืองนี้สร้างขึ้นเมื่อปี..

ดู สหภาพโซเวียตและตีรัสปอล

ซัลวาโตเร บูร์รูนี

ซัลวาโตเร่ เบอร์รูนี่ นักมวยสากลชาวอิตาลี เกิดเมื่อ 11 เมษายน พ.ศ. 2476 เสียชีวิตเมื่อ 30 มีนาคม พ.ศ. 2547 รวมอายุได้ 70 ปี สถิติการชก 109 ครั้ง ชนะ 99 (น็อค 32) เสมอ 1 แพ้ 9.

ดู สหภาพโซเวียตและซัลวาโตเร บูร์รูนี

ซาร์บอมบา

แผนที่แสดงจุดทดสอบ (แสดงด้วยสีแดง) แผนภาพเปรียบเทียบขนาดของลูกไฟของซาร์ บอมบา (สีแดง), ลิตเติลบอย (สีชมพู) และมินิตแมน (สีเขียว) ซาร์ บอมบา (Царь-бомба; Tsar Bomba) เป็นชื่อเล่นที่ใช้เรียกระเบิดไฮโดรเจน AN602 ของสหภาพโซเวียต เป็นอาวุธนิวเคลียร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และมีพลังทำลายล้างรุนแรงที่สุด เท่าที่เคยมีการใช้งานมา จัดว่าเป็น "อาวุธที่มีพลังทำลายล้างที่สุดของประวัติศาสตร์มนุษยชาติ" ชื่อนี้เป็นชื่อที่สื่อในโลกตะวันตกตั้งให้ แต่ต่อมาในรัสเซียก็ยอมรับชื่อนี้มาใช้ ระเบิดนี้พัฒนาขึ้นโดยสหภาพโซเวียตในช่วงสงครามเย็น ตามแบบแผนที่ออกแบบไว้เดิมจะมีขนาดเทียบเท่ากับการระเบิดของทีเอ็นที (TNT) 100 เมกะตัน เทียบเท่ากับ 420 PJ (เพตะจูล) แต่ได้ลดลงเหลือ 50 เมกะตัน เพื่อลดขนาดของระเบิดลงให้สามารถบรรทุกด้วยเครื่องบินตูโปเลฟ ตู-95 ที่ได้รับการดัดแปลงเป็นพิเศษ พลังทำลายล้างของซาร์ บอมบา คิดเป็น 1,400 เท่าของระเบิดลิตเติลบอย (13-18 กิโลตัน) รวมกับแฟตแมน (21 กิโลตัน) ซาร์ บอมบามีความยาว 8 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.1 เมตร น้ำหนัก 27,000 กิโลกรัม (60,000 ปอนด์) ถูกสร้างขึ้นจำนวน 1 ลูก และลูกตัวอย่างอีก 1 ลูกที่สร้างขึ้นเฉพาะโครงสร้างภายนอก ลูกระเบิดถูกนำไปทดสอบเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและซาร์บอมบา

ซาแมนธา สมิธ

ซาแมนธา สมิธ (29 มิถุนายน พ.ศ. 2515 – 25 สิงหาคม พ.ศ. 2528) เป็นเด็กนักเรียนหญิงชาวอเมริกัน นักเคลื่อนไหวเรียกร้องสันติภาพ และนักแสดงหญิงเด็กจากเมืองแมนเชสเตอร์ รัฐเมน ผู้มามีชื่อเสียงในยุคสงครามเย็นทั้งในสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต ใน..

ดู สหภาพโซเวียตและซาแมนธา สมิธ

ซุคฮอย ซู-15

right ซุคฮอย ซู-15 (Sukhoi Su-15 Flagon) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าฟลากอน) เป็นเครื่องบินสกัดกั้นสองเครื่องยนต์ที่สร้างขั้นโดยสหภาพโซเวียตในทศวรรษที่ 1960 เพื่อเข้ามาแทนที่ซุคฮอย ซู-11.

ดู สหภาพโซเวียตและซุคฮอย ซู-15

ซุคฮอย ซู-17

ซุคฮอย ซู-17 (Sukhoi Su-17 Fitter) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าฟิตเตอร์) เป็นเครื่องบินโจมตีของสหภาพโซเวียตที่พัฒนามาจากเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิดซุคฮอย ซู-7 มันได้ทำหน้าที่อย่างยาวนานในโซเวียต รัสเซีย และถูกใช้อย่างกว้างขวางโดยฝั่งตะวันออกและตะวันออกกลาง.

ดู สหภาพโซเวียตและซุคฮอย ซู-17

ซุคฮอย ซู-27

ซุคฮอย ซู-27 (Sukhoi Su-27) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าแฟลงเกอร์) เป็นเครื่องบินขับไล่เครื่องยนต์ไอพ่นหนึ่งและสองที่นั่ง ซึ่งเดิมผลิตโดยสหภาพโซเวียต และออกแบบโดยซุคฮอย มันเปรียบได้กับเครื่องบินรุ่นที่สี่ของสหรัฐอเมริกา พร้อมพิสัย 3,530 กิโลเมตร อาวุธขนาดหนัก ระบบอิเลคทรอกนิกอากาศที่ยอดเยี่ยม มีความคล่องแคล่ว ซู-27 มักทำภารกิจครองความได้เปรียบทางอากาศ แต่มันก็สามารถปฏิบัติภารกิจรบอื่นๆ ได้เช่นกัน มันมีรูปร่างคล้ายคลึงกับมิก-29 ที่เล็กกว่า และมีส่วนประกอบที่ใกล้เคียงกับเอฟ-15 อีเกิลของอเมริกาแต่มีความคล่องตัวเหนือกว่า มีการพัฒนามากมายของซู-27 ซู-30 เป็นแบบสองที่นั่งทำหน้าที่ทุกสภาพอากาศ ทำการสกัดกั้นทางอากาศและพื้นดินในระยะใกล้ เทียบได้กับเอฟ-15อี สไตรค์อีเกิล ซู-33 แฟลงเกอร์-ดีสำหรับการป้องกันในกองทัพเรือซึ่งใช้บนเรือบรรทุกเครื่องบิน เทียบได้กับเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท รุ่นนอกเหนือจากนั้นยังมีทั้งซู-34 ฟุลแบ็คสองที่นั่งคู่และซู-35 แฟลงเกอร์-อีสำหรับการป้องกันทางอาก.

ดู สหภาพโซเวียตและซุคฮอย ซู-27

ซุคฮอย ซู-34

ซุคฮอย ซู-34 (Sukhoi Su-34 Fullback, Сухой Су-34) (รุ่นส่งออกจะใช้ชื่อซู-32, นาโต้เรียกมันว่าฟุลแบ็ค) เป็นเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิดแบบสองที่นั่งของรัสเซีย มันถูกใช้เพื่อเข้ามาแทนที่ซุคฮอย ซู-24 Su-34 ถูกออกแบบมาสำหรับการใช้งานด้านยุทธวิธีอากาศสู่พื้นดินและเป้าหมายทางเรือ รวมถึงเป้าหมายขนาดเล็ก สามารถปฏิบัติภารกิจได้ทั้งในเวลากลางวันและเวลากลางคืน บินได้ทุกสภาพอาก.

ดู สหภาพโซเวียตและซุคฮอย ซู-34

ซุคฮอย ซู-7

ซุคฮอย ซู-7 (Sukhoi Su-7 Fitter-A) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าฟิตเตอร์-เอ) เป็นเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิดปีกลู่เครื่องยนต์ไอพ่นที่ใช้โดยสหภาพโซเวียตและพันธมิตร.

ดู สหภาพโซเวียตและซุคฮอย ซู-7

ซุคฮอย ซู-9

ซุคฮอย ซู-9 (Sukhoi Su-9 Fishpot) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าฟิชพอท) เป็นเครื่องบินสกัดกั้นทุกสภาพอากาศติดตั้งขีปนาวุธเครื่องยนต์เดียวที่สร้างขึ้นโดยสหภาพโซเวียต.

ดู สหภาพโซเวียตและซุคฮอย ซู-9

ซี-5 กาแลคซี

ซี-5 กาแลคซี (C-5 Galaxy) เป็นเครื่องบินลำเลียงทางทหารขนาดใหญ่ที่สร้างขึ้นโดยล็อกฮีด มันถูกออกแบบมาเพื่อให้การลำเลียงทางอากาศด้านยุทธศาสตร์เหนือพื้นที่อันห่างไกลและเพื่อลำเลียงสินค้าขนาดใหญ่กว่าปกติ ซี-5 กาแลคซีนั้นถูกใช้โดยกองทัพอากาศสหรัฐตั้งแต่ปี..

ดู สหภาพโซเวียตและซี-5 กาแลคซี

ซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์ก-ก็อตธา

ซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา (Симеон Борисов Сакскобургготски, ซีโมน บอรีซอฟ ซักสโกบูร์กกอตสกี; Simeon von Sachsen-Coburg und Gotha or Simeon von Wettin) หรือ พระเจ้าซาร์ซีเมออนที่ 2 แห่งบัลแกเรีย (ประสูติ 16 มิถุนายน พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์ก-ก็อตธา

ซีเอช-53 ซีสตัลเลียน

ซีเอช-53 ซีสตัลเลียน (CH-53 Sea Stallion) เป็นชื่อทั่วไปที่มักใช้เรียกเอส-65 ซึ่งตระกูลหนึ่งในเฮลิคอปเตอร์บรรทุกขนาดหนักของซิคอร์สกี้ แอร์คราฟท์ เดิมที่มันถูกพัฒนาขึ้นให้กับนาวิกโยธินสหรัฐ มันยังเข้าประการในเยอรมนี อิหร่าน อิสราเอล และเม็กซิโกอีกด้วย กองทัพอากาศสหรัฐใช้เอชเอช-53 ซูเปอร์จอลลี่กรีนไจแอนท์ในช่วงปลายและหลังสงครามเวียดนาม โดยได้ทำการพัฒนาพวกมันส่วนใหญ่ให้กลายเป็นเอ็มเอช-53 เพฟโลว์ มันมีความคล้ายคลึงกับซีเอช-53อี ซูเปอร์สตัลเลียนที่มีขนาดใหญ่กว่าและเป็นรุ่นที่ได้รับการพัฒนาเป็นเอส-80อีโดยซิคอร์สกี้ เครื่องยนต์ที่สามของมันทำให้มันทรงพลังยิ่งกว่าซีสตัลเลียน ซึ่งได้เข้ามาทำหน้าที่แทนในการบรรทุกขนาดหนัก.

ดู สหภาพโซเวียตและซีเอช-53 ซีสตัลเลียน

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา (Unternehmen Barbarossa, Operation Barbarossa, รัสเซีย: Оперенация Барбарросса) เป็นชื่อรหัสสำหรับแผนการบุกสหภาพโซเวียตของนาซีเยอรมนี ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการดังกล่าวเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและปฏิบัติการบาร์บารอสซา

ปฏิบัติการดาวน์ฟอล

ปฏิบัติการดาวน์ฟอล เป็นแผนการโดยรวมของฝ่ายสัมพันธมิตรเพื่อบุกญี่ปุ่นในช่วงใกล้จะสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการถูกยกเลิกเมื่อญี่ปุ่นได้ยอมจำนนหลังจากโดนทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่เมืองฮิโระชิมะและนะงะซะกิ และสหภาพโซเวียตประกาศร่วมสงครามต่อต้านญี่ปุ่น ปฏิบัติการดาวน์ฟอลแบ่งออกเป็นสองส่วนด้วยกันคือ: ปฏิบัติการโอลิมปิก (Operation Olympic) และ ปฏิบัติการโคโรเนต (Operation Coronet) ปฏิบัติการจะเริ่มต้นในเดือนตุลาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและปฏิบัติการดาวน์ฟอล

ปฏิบัติการคบเพลิง

ปฏิบัติการคบเพลิง (Operation Torch) เดิมเคยเรียกว่า ปฏิบัติการจิมแนสต์ (Operation Gymnast) เป็นปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง โดยกองกำลังผสมอังกฤษ-อเมริกัน เพื่อรุกรานอาณานิคมแอฟริกาเหนือของฝรั่งเศสเขตวีชี ปฏิบัติการนี้เป็นส่วนหนึ่งของการทัพแอฟริกาเหนือ เนื่องจากสหภาพโซเวียตได้กดดันให้รัฐบาลอเมริกาและอังกฤษเปิดแนวรบที่สองในทวีปยุโรปเพื่อกดดันกองทัพเยอรมันต่อกองทัพโซเวียตในแนวรบตะวันออก ผู้บัญชาการทหารของสหรัฐอเมริกาจึงเห็นพ้องกันว่าจะเริ่มปฏิบัติการ "ค้อนยักษ์" (Sledgehammer) เพื่อยกพลขึ้นบกในยุโรปที่ถูกยึดครองโดยกองทัพนาซีให้เร็วที่สุด แต่ปฏิบัติการนี้ถูกผู้บัญชาการทหารของอังกฤษคัดค้านว่าจะทำให้พันธมิตรตะวันตกต้องเจอกับความสูญเสียอย่างหนัก การโจมตีอาณานิคมแอฟริกาเหนือของฝรั่งเศสเขตวีชีจึงถูกเสนอมาแทนโดยมีเป้าหมายเพื่อกำจัดกองกำลังฝ่ายอักษะในแอฟริกาเหนือและทำให้ฝ่ายสัมพันธมิตรครองการควบคุมทะเลเมดิเตอร์เรเนียนได้มากขึ้นเพื่อเตรียมการบุกยุโรปใต้ต่อไปในปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและปฏิบัติการคบเพลิง

ประชาธิปไตย

รัฐที่มิได้มองว่าตนปกครองระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ นครรัฐวาติกัน ประเทศซาอุดิอาระเบีย UAE กาตาร์ โอมาน ฟิจิและบรูไน ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง ผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกำหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเอเธนส์หลังการก่อการกำเริบเมื่อ 508 ปีก่อนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกว่า ประชาธิปไตยทางตรง ซึ่งพลเมืองเกี่ยวข้องในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แต่ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน โดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนในรัฐสภา จากนั้น สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยู่ในระดับท้องถิ่นหลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาล อย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง แม้ในปัจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไม่มีนิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตาม แต่มีการระบุว่าความเสมอภาคและอิสรภาพเป็นคุณลักษณะสำคัญของประชาธิปไตยนับแต่โบราณกาลR.

ดู สหภาพโซเวียตและประชาธิปไตย

ประชาธิปไตยเสรีนิยม

รัฐสภาของประเทศฟินแลนด์ (Eduskunta) - มีประเทศและอาณาเขตหลายแห่งที่เรียกได้ว่า มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปเป็นแห่งแรก รัฐ Grand Duchy of Finland (ก่อนจะเป็นประเทศฟินแลนด์) ได้มีตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและประชาธิปไตยเสรีนิยม

ประวัติศาสตร์ยุโรป

ทความนี้ว่าด้วยประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรปโดยรวม.

ดู สหภาพโซเวียตและประวัติศาสตร์ยุโรป

ประวัติศาสตร์รัสเซีย

ประวัติศาสตร์รัสเซีย เริ่มต้นขึ้นเมื่อชาวสลาฟตะวันออกก่อตั้งจักรวรรดิเคียฟรุส และรับเอาศาสนาคริสต์มาจากจักรวรรดิไบแซนไทน์ในปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและประวัติศาสตร์รัสเซีย

ประวัติศาสตร์ลาว

ประวัติศาสตร์ลาว เริ่มตั้งแต่อาณาจักรล้านช้าง จนถึงสมัยสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว.

ดู สหภาพโซเวียตและประวัติศาสตร์ลาว

ประวัติศาสตร์สหรัฐ

วันเริ่มต้นประวัติศาสตร์ของประเทศสหรัฐมีการถกเถียงกันในหมู่นักประวัติศาสตร.

ดู สหภาพโซเวียตและประวัติศาสตร์สหรัฐ

ประวัติศาสตร์สเปน

ตราสัญลักษณ์ของประเทศสเปน โบสถ์ซานตามารีอาเดลนารังโก เมืองโอเบียโด ภาคเหนือ อารามหลวงเอลเอสโกเรียล กรุงมาดริด ภาคกลาง พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ เมืองบาเลนเซีย ภาคตะวันออก ปราสาทอาลัมบรา เมืองกรานาดา ภาคใต้ ประวัติศาสตร์สเปน คือเรื่องราวความเป็นมาเกี่ยวกับอาณาบริเวณส่วนใหญ่บนคาบสมุทรไอบีเรียในภูมิภาคยุโรปใต้ซึ่งมีพัฒนาการสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ผ่านยุครุ่งเรืองและยุคตกต่ำของจักรวรรดิสากลแห่งแรกของโลกจนกลายมาเป็นราชอาณาจักรสเปนในปัจจุบัน อันเป็นช่วงฟื้นฟูตนเองหลังสมัยการปกครองแบบเผด็จการของนายพลฟรังโกได้ผ่านพ้นไป มีอยู่หลายช่วงที่ประวัติศาสตร์การเมืองและการทหารของสเปนเต็มไปด้วยความวุ่นวายและความรุนแรง ส่วนใหญ่เกิดจากนโยบายและความพยายามที่จะจัดการกับความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา และความคิดความเชื่อในดินแดนของตนนั่นเอง มนุษย์สมัยใหม่เข้ามาในคาบสมุทรไอบีเรียเป็นเวลานานกว่า 35,000 ปีมาแล้ว ตามมาด้วยคลื่นผู้รุกรานและผู้ตั้งอาณานิคมชนชาติต่าง ๆ ได้แก่ ชาวเคลต์ ชาวฟินิเชีย ชาวคาร์เทจ และชาวกรีกตลอดระยะเวลานับพัน ๆ ปี เมื่อถึงประมาณ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทั้งคาบสมุทรจึงตกเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโรมัน ก่อนจะตกไปอยู่ภายใต้การปกครองจากชาววิซิกอท และในปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและประวัติศาสตร์สเปน

ประวัติศาสตร์ออสเตรีย

ตราแผ่นดินของออสเตรียปัจจุบัน ประวัติศาสตร์ออสเตรีย ในช่วงก่อนปลายศตวรรษที่ 8 ประเทศออสเตรียมีชนชาติอพยพต่าง ๆ อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐาน ได้แก่ ชนเผ่าเยอรมันที่ข้ามแม่น้ำดานูบลงมาทางตอนใต้ และชาวสลาฟที่อาศัยอยู่ทางตอนใต้ออสเตรีย จนสิ้นสุดศตวรรษที่ 8 ชาร์เลอมาญ (Charlemagne) ได้ก่อตั้งเขตชายแดนระหว่างแม่น้ำอินส์ แรบและดราวา เพื่อเป็นป้อมปราการ ป้องกันการรุกราน ของชาวเอวาร์ และภายหลังจากที่ชาวโรมันได้อพยพออกไป นักบวชชาวไอริชและสก็อตจึงได้เข้ามาเผยแพร่คริสต์ศาสนา ในดินแดนบริเวณเทือกเขาอัลไพน์แห่งนี้ ราชวงศ์บาเบนแบร์ก (Babenberg) ของชาวบาวาเรียนได้เข้าปกครองออสเตรียในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและประวัติศาสตร์ออสเตรีย

ประวัติศาสตร์อัฟกานิสถาน

ริเวณที่เป็นประเทศอัฟกานิสถานในอดีตในยุคเปอร์เซียเรืองอำนาจ (559–330ก่อน ค.ศ.) '''พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช''' ผู้เข้ามายึดครองจักรวรรดิเปอร์เซียและนำอิทธิพลของกรีกเข้ามา ประวัติศาสตร์อัฟกานิสถาน เป็นประวัติศาสตร์ของประเทศอัฟกานิสถาน ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณรอยต่อระหว่างเอเชียกลาง เอเชียตะวันตก และเอเชียใต้ ทำให้ในประวัติศาสตร์ของอัฟกานิสถานเกี่ยวข้องกับการอพยพของผุ้คนกลุ่มต่างๆ เข้ามาในบริเวณนี้ ชนกลุ่มใหญ่ในอัฟกานิสถานเป็นชนเชื้อสายอิหร่านที่พูดภาษากลุ่มอิหร่าน เช่น ภาษาพาซตู ภาษาดารีเปอร์เซีย อิทธิพลของชาวอาหรับที่เข้ามาพร้อมกับศาสนาอิสลามมีผลต่ออัฟกานิสถานยุคใหม่ นอกจากนั้น อัฟกานิสถานในยุคโบราณยังได้รับอิทธิพลจากกรีซ เอเชียกลาง ชาวปะกัน ชาวพุทธในอินเดีย และชาวฮินดู รวมทั้งผู้นับถือศาสนาโซโรแอสเตอร์ที่เข้ามาในบริเวณนี้ หลังจากสิ้นสุดยุคจักรวรรดิ อัฟกานิสถานปกครองด้วยระบอบกษัตริย์ตั้งแต..

ดู สหภาพโซเวียตและประวัติศาสตร์อัฟกานิสถาน

ประวัติศาสตร์แอลเบเนีย

ตราแผ่นดินแอลเบเนีย แอลเบเนียเป็นประเทศในยุโรปที่มีวัฒนธรรมแบบมุสลิม ประวัติศาสตร์ของประเทศเริ่มจากเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันและจักรวรรดิไบแซนไทน์จากนั้นจึงถูกยึดครองโดยจักรวรรดิออตโตมัน เมื่อจักรวรรดิออตโตมันเสื่อมลงจึงแยกเป็นประเทศเอกราช แต่ก็ประสบความวุ่นวายและไร้เสถียรภาพทางการเมืองจนกลายเป็นประเทศคอมมิวนิสต์หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ปัจจุบันได้มีการปฏิรูปการเมืองเพื่อเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยและระบบเศรษฐกิจเสรี.

ดู สหภาพโซเวียตและประวัติศาสตร์แอลเบเนีย

ประวัติศาสตร์เบลารุส

ประวัติศาสตร์เบลารุสเริ่มจากการตั้งถิ่นฐานของชาวสลาฟ เกิดเป็นราชอาณาจักร ภายหลังสวามิภักดิ์ต่อราชอาณาจักรเคียฟ ต่อมาถูกลิธัวเนียยึดครอง เมื่อประกาศเอกราชได้ไม่นานก็ถูกสหภาพโซเวียตเข้ายึดครองอีก ได้เป็นเอกราชอีกครั้งเมื่อสหภาพโซเวียตล่มสลายไป.

ดู สหภาพโซเวียตและประวัติศาสตร์เบลารุส

ประวัติศาสตร์เกาหลี

มุทรเกาหลีเป็นดินแดนที่มีความเป็นมาทางประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนาน เริ่มแต่เป็นดินแดนของผู้คนหลากเผ่าพันธุ์ จนกระทั่งรวมตัวขึ้นเป็นอาณาจักรเล็ก ๆ ต่อมาถูกจีนยึดครอง เมื่อได้เอกราชจากจีน คาบสมุทรเกาหลีประกอบด้วยสามอาณาจักสำคัญก่อนจะรวมตัวกันเป็นอาณาจักรเดียวปกครองด้วยราชวงศ์ 2 ราชวงศ์ จนถูกญี่ปุ่นยึดครองเป็นอาณานิคมจนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ตามมาด้วยสงครามเกาหลีที่ทำให้ต้องแบ่งเป็น 2 ประเทศในปัจจุบันคือเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ มีความพยายามที่จะรวมประเทศทั้งสองแต่ยังไม่สำเร็.

ดู สหภาพโซเวียตและประวัติศาสตร์เกาหลี

ประวัติศาสตร์เวียดนาม

วียดนาม เรียกชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม มีเนื้อที่ทั้งหมด 337,912 ตารางกิโลเมตร มีประชากรร่วม 89 ล้านคน (พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและประวัติศาสตร์เวียดนาม

ประวัติศาสตร์เอเชียกลาง

แผนที่เอเชียกลางแสดงเขตแดนตามคำนิยามที่ต่างกัน 3 แบบ ''Equus przewalskii'' หรือม้าป่ามองโกเลีย, หรือทาคี, อาจเป็นบรรพบุรุษของม้าบ้าน.

ดู สหภาพโซเวียตและประวัติศาสตร์เอเชียกลาง

ประตูบรันเดินบวร์ค

ประตูบรันเดินบวร์ค ประตูบรันเดินบวร์ค (Brandenburger Tor) เป็นอดีตประตูเมืองที่ถูกสร้างขึ้นใหม่ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 เป็นประตูชัยที่สร้างแบบสถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิก (Neoclassical) และปัจจุบันถือว่าเป็นสถานที่สำคัญที่เป็นที่รู้จักกันอย่างดีใน กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ประตูบรันเดินบวร์คตั้งอยู่ฝั่งตะวันของใจกลางกรุงเบอร์ลินบริเวณชุมทางระหว่างถนนหลวงอุนเทอร์ เดน ลินเดน (Unter den Linden) กับถนนอีบัทสทราสเซ่ (Ebertstraße) และอยู่ทางทิศตะวันตกของจัตุรัสพาริเซอร์ (Pariser Platz) ห่างประตูออกไปทางเหนือหนึ่งบล็อก เป็นที่ตั้งของ อาคารรัฐสภาไรชส์ทาค ประตูแห่งนี้เป็นอนุสรณ์ของทางเข้าสู่ถนนอุนเทอร์ เดน ลินเดน ซึ่งเป็นถนนหลวงที่มีชื่อเสียงมาจากต้นลินเดน (บางที่เรียกต้นทิเลีย หรือต้นไลม์) ซึ่งเป็นถนนที่ตรงไปสู่พระราชวังเมือง (Stadtschloss/Berlin City Palace) ของพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรปรัสเซีย (Prussia) พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 แห่งปรัสเซียทรงมีรับสั่งให้สร้างประตูบรันเดินบวร์คเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของสันติภาพ ใช้เวลาสร้างตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2331 ถึงปี 2334 โดยนายคาร์ล ก็อทท์ฮาร์ด แลงฮานส์ แล้วได้รับความเสียหายในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ต่อมาประตูบรันเดินบวร์คก็ได้รับการบูรณะจนเสร็จสิ้นในช่วงปีพุทธศักราช 2543 ถึง 2545 โดยมูลนิธิอนุรักษ์อนุสาวรีย์เบอร์ลิน (Stiftung Denkmalschutz Berlin) ในช่วงหลังสงครามที่ได้แบ่งประเทศเยอรมนีออกเป็นสองส่วน ประตูบรันเดินบวร์คตั้งอยู่ในเยอรมนีตะวันออก และได้แยกออกจากเยอรมนีตะวันตก ซึ่งมีกำแพงเบอร์ลินกั้นไว้ บริเวณโดยรอบประตูถือว่าเป็นจุดเด่นที่เด่นชัดที่สุดในการคุ้มครองสื่อในการเผยแพร่การเปิดผนังกำแพงในปีพุทธศักราช 2532 ตั้งแต่มีการสร้างประตู บ่อยครั้งเกิดเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ของเยอรมนีในบริเวณประตูบรันเดินบวร์ค และวันนี้ก็ถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ของความปั่นป่วนในประวัติศาสตร์ยุโรป แต่ก็เป็นสัญลักษณ์ของความเป็นเอกภาพและสันติภาพของยุโรปด้ว.

ดู สหภาพโซเวียตและประตูบรันเดินบวร์ค

ประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศบราซิล เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศบัลแกเรีย

ัลแกเรีย (България) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐบัลแกเรีย (Република България) เป็นประเทศทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป มีชายฝั่งบนทะเลดำไปทางตะวันออก มีพรมแดนติดต่อกับประเทศกรีซและประเทศตุรกีทางใต้ ประเทศเซอร์เบียและสาธารณรัฐมาซิโดเนียทางตะวันตก และประเทศโรมาเนียทางเหนือตามแม่น้ำดานูบบัลแกเรียเคยเป็นอาณานิคมของรัสเซี.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศบัลแกเรีย

ประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศบัลแกเรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศฟิลิปปินส์ในโอลิมปิก

ประเทศฟิลิปปินส์ ได้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในปี ค.ศ.1924 นับเป็นประเทศแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ได้ส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก และได้ส่งนักกีฬาเข้าร่วมตลอดทุกการแข่งขัน ยกเว้นใน โอลิมปิกฤดูร้อน 1980 ณ สหภาพโซเวียต ที่ฟิลิปปินส์ได้ร่วมบอยคอตต์ระบอบคอมมิวนิสต์ ซึ่งนำโดยสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ ฟิลิปปินส์ยังได้เข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกฤดูหนาว ในปี1972,1988 และ 1992 นักกีฬาฟิลิปปินส์ได้เหรียญทั้งหมด 9 เหรียญ โดยแบ่งเป็น 2 เหรียญเงิน และ 7 เหรียญทองแดง ตั้งแต่ประเทศฟิลิปปินส์ส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันครั้งแรก.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศฟิลิปปินส์ในโอลิมปิก

ประเทศฟินแลนด์

ประเทศฟินแลนด์ (ซูโอมี) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐฟินแลนด์ เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป เขตแดนด้านตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลบอลติก ทางด้านใต้จรดอ่าวฟินแลนด์ ทางตะวันตกจรดอ่าวบอทเนีย ประเทศฟินแลนด์มีชายแดนติดกับประเทศสวีเดน นอร์เวย์ และรัสเซีย สำหรับหมู่เกาะโอลันด์ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้นั้น อยู่ภายใต้การปกครองของฟินแลนด์ แต่เป็นเขตปกครองตนเอง เคยถูกรัสเซียยึดครองและเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย ฟินแลนด์มีประชากรเพียง 5 ล้านคน ในพื้นที่ 338,145 ตารางกิโลเมตร นับว่ามีประชากรที่เบาบาง แต่มีดัชนีการพัฒนามนุษย์ตามสถิติของสหประชาชาติ พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศฟินแลนด์

ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศฟินแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศพม่าในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศพม่า เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศพม่าในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศกรีซ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศกำลังพัฒนา

ประเทศสีเหลือง/ส้ม มีการพัฒนามนุษย์ในระดับกลาง และประเทศสีแดง มีการพัฒนามนุษย์ในระดับต่ำ ประเทศกำลังพัฒนา หรือ ประเทศพัฒนาน้อยกว่า หรือ ประเทศด้อยพัฒนา เป็นคำที่ใช้เรียกประเทศที่มีมาตรฐานการดำรงชีวิตปานกลาง-ต่ำ พื้นฐานอุตสาหกรรมยังไม่พัฒนา และมีดัชนีการพัฒนามนุษย์ (Human Development Index) อยู่ในระดับปานกลาง-ต่ำ คำนี้มีแนวโน้มที่จะถูกแทนใช้ที่คำอื่น ๆ ที่เคยใช้ก่อนหน้า ซึ่งรวมถึงคำว่า "โลกที่สาม" ซึ่งเกิดขึ้นในยุคสงครามเย็น เนื่องจากไม่มีคำจำกัดความใดๆมากำหนด คำว่าประเทศพัฒนานาแล้ว อาจเป็นไปได้ว่า ระดับของคำว่า พัฒนาแล้ว จะมีความแตกต่างอย่างเห็นได้ชัดมากกว่า คำว่า กำลังพัฒนาด้วย สำหรับบางประเทศที่ถูกเรียกว่า เป็นประเทศกำลังพัฒนา ยังพบว่ามีค่าเฉลี่ยของมาตรฐานการดำรงชีวิตอยู่ในระดับสูงเช่นกัน ส่วนประเทศที่มีสภาพเศรษฐกิจที่จัดอยู่ในระดับก้าวหน้ามากกว่าประเทศที่กำลังพัฒนา แต่ยังไม่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มของ ประเทศพัฒนาแล้ว จะถูกจัดให้อยู่กลุ่มที่ใช้คำจำกัดความว่า ประเทศอุตสาหกรรมใหม.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศกำลังพัฒนา

ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศฝรั่งเศส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศมอลตา

มอลตา (Malta) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมอลตา (Repubblika ta' Malta) เป็นประเทศที่เป็นเกาะขนาดเล็กสองเกาะในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แต่มีประชากรหนาแน่น (1,262 คน ต่อตารางกิโลเมตร) มีประชากรทั้งหมด (ล่าสุด พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศมอลตา

ประเทศมอลโดวา

มอลโดวา (Moldova) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมอลโดวา (Republica Moldova) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคยุโรปตะวันออก ตั้งอยู่ระหว่างประเทศโรมาเนียทางทิศตะวันตก และประเทศยูเครนทางทิศตะวันออก มีพรมแดนกับโรมาเนียตามแม่น้ำพรุต (Prut River) และแม่น้ำดานูบ (Danube River) ในอดีตพื้นที่ประเทศมอลโดวาอยู่ในอาณาบริเวณของราชรัฐมอลดาเวีย (Principality of Moldavia) ต่อมาถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิรัสเซียในปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศมอลโดวา

ประเทศมองโกเลีย

มองโกเลีย (Mongolia; Монгол Улс มงกลอุลุส) เป็นประเทศในทวีปเอเชียที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองของโลกรองจากประเทศคาซัคสถาน มีพรมแดนทางเหนือติดกับประเทศรัสเซีย และทางใต้ติดกับประเทศจีน มีพื้นที่ที่สามารถใช้สำหรับการเกษตรได้น้อยกว่าร้อยละหนึ่ง มองโกเลียมีประชากรเพียง 3 ล้านกว่าคน แต่มีพื้นที่ใหญ่กว่าประเทศไทยถึงกว่า 3 เท่า ซึ่งทำให้ประเทศมองโกเลียเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความหนาแน่นของประชากรน้อยที่สุดในโลก ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาพุทธนิกายวัชรยานแบบทิเบต และประชากรร้อยละ 38 อาศัยอยู่ในเมืองหลวงอูลานบาตอร.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศมองโกเลีย

ประเทศมองโกเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐมองโกเลีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศมองโกเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศมอนเตเนโกร

มอนเตเนโกร (Montenegro ออกเสียง:; มอนเตเนโกร: มีความหมายว่า "ภูเขาสีดำ") เป็นประเทศเอกราชซึ่งตั้งอยู่ในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตจรดทะเลเอเดรียติกและโครเอเชียทางทิศตะวันตก จรดบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาทางทิศเหนือ จรดเซอร์เบียทางทิศตะวันออก และจรดแอลเบเนียทางทิศใต้ มีพอดกอรีตซาเป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ ในอดีต มอนเตเนโกรมีสถานะเป็นสาธารณรัฐในสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย และต่อมาได้เป็นส่วนหนึ่งในสหภาพการเมืองของเซอร์เบีย-มอนเตเนโกร หลังจากมีการลงประชามติเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศมอนเตเนโกร

ประเทศมาเลเซียในโอลิมปิก

ประเทศมาเลเซีย ได้เข้าร่วมกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในปี ค.ศ. 1956 (สหพันธรัฐมาลายาเข้าร่วมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1956 และ โอลิมปิกฤดูร้อน 1960) จากนั้นประเทศประเทศมาเลเซียได้ส่งนักกีฬาเข้าร่วมตลอดทุกการแข่งขัน ยกเว้นใน โอลิมปิกฤดูร้อน 1980 ณ สหภาพโซเวียต ที่มาเลเซียได้ร่วมบอยคอตต์ระบอบคอมมิวนิสต์ ซึ่งนำโดยสหรัฐอเมริกา นักกีฬามาเลเซียได้เหรียญทั้งหมด 4 เหรียญ โดยแบ่งเป็น 2 เหรียญเงิน และ 2 เหรียญทองแดง ตั้งแต่ประเทศมาเลเซียส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันครั้งแรก.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศมาเลเซียในโอลิมปิก

ประเทศยูเครน

ประเทศยูเครน (Ukraine) หรือ อูกรายีนะ (Україна, Ukrayina) เป็นประเทศในยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตทางตะวันออกติดต่อกับประเทศรัสเซีย ทางเหนือติดต่อกับเบลารุส ทางตะวันตกติดต่อกับโปแลนด์ สโลวาเกีย และฮังการี ทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับโรมาเนียและมอลโดวา ทางใต้และตะวันออกเฉียงใต้จรดทะเลดำและทะเลอะซอฟตามลำดับ ยูเครนมีพื้นที่ 603,628 กม.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศยูเครน

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศรัสเซีย

ประเทศลัตเวีย

ลัตเวีย (Latvia; Latvija) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐลัตเวีย (Republic of Latvia; Latvijas Republika) เป็นประเทศในภูมิภาคยุโรปเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับอีก 2 รัฐบอลติก คือ เอสโตเนียทางทิศเหนือ และลิทัวเนียและเบลารุสทางทิศใต้ จดรัสเซียทางทิศตะวันออก ส่วนทางทิศตะวันตกนั้น ลัตเวียมีอาณาเขตทางทะเลติดต่อกับสวีเดน กรุงรีกา เมืองหลวงของลัตเวียเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาเมืองที่อยู่ในกลุ่มรัฐบอลติก.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศลัตเวีย

ประเทศลาว

ลาว (ລາວ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ສາທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວ, อักษรย่อ: ປປ.ລາວ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนติดต่อกับจีน ทางทิศเหนือ ติดต่อกับพม่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับเวียดนามทางทิศตะวันออก ติดต่อกับกัมพูชาทางทิศใต้ และติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก กั้นด้วยแม่น้ำโขงเป็นบางช่วง.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศลาว

ประเทศลิทัวเนีย

ลิทัวเนีย (Lithuania; Lietuva เลฺยียทุวะ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐลิทัวเนีย (Republic of Lithuania; Lietuvos Respublika) ตั้งอยู่กลางทวีปยุโรป ทางฝั่งตะวันออกของทะเลบอลติก ทิศเหนือจรดลัตเวีย ทิศตะวันออกและทิศใตัจรดเบลารุส และทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดโปแลนด์และรัสเซีย (แคว้นคาลินินกราด) เคยเป็นส่วนหนึ่งของประเทศรัสเซี.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศลิทัวเนีย

ประเทศศรีลังกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศศรีลังกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศศรีลังกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศสวีเดน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศสโลวาเกีย

ลวาเกีย (Slovakia; Slovensko) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสโลวัก (Slovak Republic; Slovenská republika) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางตะวันตกเฉียงเหนือติดต่อกับเช็กเกีย ทางเหนือติดต่อกับโปแลนด์ ทางตะวันออกติดต่อกับยูเครน ทางใต้ติดต่อกับฮังการี และทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับออสเตรีย เมืองใหญ่ที่สุดของประเทศคือเมืองหลวงบราติสลาวา ปัจจุบันสโลวาเกียเป็นรัฐสมาชิกรัฐหนึ่งของสหภาพยุโรป และได้เปลี่ยนสกุลเงินของประเทศจากกอรูนาสโลวักมาเป็นยูโรเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศสโลวาเกีย

ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศสเปน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศออสเตรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศออสเตรเลีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศอาร์มีเนีย

อาร์มีเนีย หรือ อาร์เมเนีย (Armenia,; Հայաստան ฮายาสตาน) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอาร์มีเนีย (Republic of Armenia; Հայաստանի Հանրապետություն) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส มีอาณาเขตติดต่อกับตุรกีทางทิศตะวันตก ติดต่อกับจอร์เจียทางทิศเหนือ ติดต่อกับอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันออก และทางทิศใต้ติดต่อกับอิหร่านและรัฐปกครองตนเองนาคีเชวาน (เป็นดินแดนส่วนแยกของอาเซอร์ไบจาน) อาร์มีเนียเป็นรัฐสมาชิกของสภายุโรปและเครือรัฐเอกราช อาร์มีเนียเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศอาร์มีเนีย

ประเทศอาเซอร์ไบจาน

อาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan Respublikası) เป็นประเทศในแถบเทือกเขาคอเคซัส บริเวณที่เป็นจุดเชื่อมต่อของภูมิภาคยุโรปตะวันออกกับเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีอาณาเขตทิศตะวันออกจรดทะเลแคสเปียน ทิศเหนือติดต่อกับสหพันธรัฐรัสเซีย ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับจอร์เจีย ทิศตะวันตกติดต่อกับอาร์มีเนีย และทิศใต้ติดต่อกับอิหร่าน อาเซอร์ไบจานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต สาธารณรัฐปกครองตนเองนาคีเชวาน (ดินแดนส่วนแยกของอาเซอร์ไบจาน) มีอาณาเขตติดต่อกับอาร์มีเนียทางทิศเหนือและทิศตะวันออก ติดต่อกับอิหร่านทางทิศใต้และทิศตะวันตก และติดต่อกับตุรกีทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ส่วนเขตนากอร์โน-คาราบัคทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ ได้ประกาศเอกราชจากอาเซอร์ไบจานในปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศอาเซอร์ไบจาน

ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศอิตาลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศอินโดนีเซียในโอลิมปิก

ประเทศอินโดนีเซีย ได้เข้าร่วมกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในปี พ.ศ. 2495 (ค.ศ. 1952) พร้อมกับประเทศไทย และได้ส่งนักกีฬาเข้าร่วมตลอดทุกการแข่งขัน ยกเว้นใน โอลิมปิกฤดูร้อน 1964 ที่โตเกียว และโอลิมปิกฤดูร้อน 1980 ที่ สหภาพโซเวียต นักกีฬาอินโดนีเซียได้เหรียญทั้งหมด 25 เหรียญ โดยแบ่งเป็น 6 เหรียญทอง 9 เหรียญเงิน 10 เหรียญทองแดง ตั้งแต่ประเทศอินโดนีเซียส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันครั้งแรก.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศอินโดนีเซียในโอลิมปิก

ประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศอินเดีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศอุซเบกิสถาน

อุซเบกิสถาน (Uzbekistan; O'zbekiston) หรือชื่ออย่างเป็นทางการก็คือ สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน (Republic of Uzbekistan; O‘zbekiston Respublikasi) เป็นประเทศในทวีปเอเชียกลางที่ถูกล้อมรอบด้วยประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตติดกับประเทศอัฟกานิสถานในทวีปเอเชียใต้ ประเทศคาซัคสถาน คีร์กีซสถาน ทาจิกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลอารัล อุซเบกิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศอุซเบกิสถาน

ประเทศอียิปต์

รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศอียิปต์

ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศฮังการี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศจอร์เจีย

อร์เจีย (Georgia; საქართველო, Sakartvelo) เดิมระหว่างปี พ.ศ. 2534-2538 เรียกว่า สาธารณรัฐจอร์เจีย เป็นประเทศที่อยู่ทางตะวันออกของทะเลดำในคอเคซัสตอนใต้ ในอดีตเป็นสาธารณรัฐหนึ่งของสหภาพโซเวียต มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศรัสเซีย ทางใต้จรดประเทศตุรกี ประเทศอาร์มีเนีย และประเทศอาเซอร์ไบจาน.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศจอร์เจีย

ประเทศจาเมกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศจาเมกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศจาเมกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศจีน

ประเทศทาจิกิสถาน

ทาจิกิสถาน (Tajikistan; Тоҷикистон) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐทาจิกิสถาน (Republic of Tajikistan; Ҷумҳурии Тоҷикистон) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคเอเชียกลาง มีอาณาเขตติดต่อกับอัฟกานิสถาน จีน คีร์กีซสถาน และอุซเบกิสถาน ทาจิกิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศทาจิกิสถาน

ประเทศคาซัคสถาน

อัลมาตี คาซัคสถาน (Қазақстан,; Казахстан) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐคาซัคสถาน (Қазақстан Республикасы; Республика Казахстан) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นที่ครอบคลุมกว้างขวางในทวีปเอเชีย และเป็นสาธารณรัฐในอดีตสหภาพโซเวียต มีพรมแดนติดกับประเทศรัสเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศในเอเชียกลาง ได้แก่ คีร์กีซถาน อุซเบกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลแคสเปียน คาซัคสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต คาซัคสถานเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก อย่างไรก็ดี มีพื้นที่กึ่งทะเลทราย (steppe) อยู่มาก จึงมีประชากรเป็นอันดับที่ 57 มีประมาณ 6 คน/ตร.กม.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศคาซัคสถาน

ประเทศคิวบา

วบา (อังกฤษและCuba) มีชื่อทางการคือ สาธารณรัฐคิวบา (Republic of Cuba; República de Cuba) ประกอบด้วยเกาะคิวบา (เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในหมู่เกาะแอนทิลลิสใหญ่) เกาะคูเบนตุด (Isla de la Juventud) และเกาะเล็ก ๆ ใกล้เคียง ตั้งอยู่ในภูมิภาคแคริบเบียนเหนือ ที่จุดบรรจบของทะเลแคริบเบียน อ่าวเม็กซิโก และมหาสมุทรแอตแลนติก คิวบาตั้งอยู่ทางทิศใต้ของสหรัฐอเมริกาภาคตะวันออก และหมู่เกาะบาฮามาส ทางทิศตะวันตกของหมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอสและประเทศเฮติ ทางทิศตะวันออกของเม็กซิโก และทางทิศเหนือของหมู่เกาะเคย์แมนและเกาะจาเมกา สาธารณรัฐคิวบาเป็นเพียงประเทศเดียวในบริเวณภูมิภาคนี้ที่ยังคงมีการปกครองแบบคอมมิวนิสต์อยู.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศคิวบา

ประเทศคิวบาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศคิวบา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศคิวบาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศคีร์กีซสถาน

ก พิพิธภัณฑ์เลนิน ชายสวมหมวกแบบดั้งเดิม คีร์กีซสถาน (คีร์กีซและКыргызстан) หรือมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐคีร์กีซ (Кыргыз Республикасы; Кыргызская Республика) เป็นประเทศในเอเชียกลาง มีพรมแดนติดกับสาธารณรัฐประชาชนจีน คาซัคสถาน ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถาน เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล เมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดมีชื่อว่าบิชเคก (เดิมเรียกว่า ฟรุนเซ) คีร์กีซสถานเดิมเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศคีร์กีซสถาน

ประเทศตรินิแดดและโตเบโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศตรินิแดดและโตเบโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศตรินิแดดและโตเบโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศนามิเบีย

นามิเบีย (Namibia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐนามิเบีย (Republic of Namibia) เป็นประเทศในทวีปแอฟริกาตอนใต้ ริมฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก มีพรมแดนติดด้านเหนือกับประเทศแองโกลา และแซมเบีย ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับซิมบับเว ทางตะวันออกติดกับบอตสวานา และทางใต้ติดกับประเทศแอฟริกาใต้ นามิเนียได้รับเอกราชคืนจากประเทศแอฟริกาใต้เมื่อ..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศนามิเบีย

ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศนิวซีแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศแมนจู

ประเทศแมนจู หรือเรียกอย่างทับศัพท์ว่า หมั่นโจวกั๋ว ("ประเทศแมนจู") มีชื่อทางการว่าจักรวรรดิแมนจู เป็นรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่ตั้งอยู่ในดินแดนแมนจูเรียและมองโกลเลียในด้านทิศตะวันออกปัจจุบัน ดินแดนแห่งนี้นับเป็นรากเหง้าทางประวัติศาสตร์ของชนชาติแมนจูผู้สถาปนาราชวงศ์ชิงปกครองประเทศจีนในอดีต กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นได้เข้ายึดครองดินแดนดังกล่าวจากสาธารณรัฐจีนในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศแมนจู

ประเทศแอลจีเรีย

แอลจีเรีย (Algeria; الجزائر) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรีย (People's Democratic Republic of Algeria; الجمهورية الجزائرية الديمقراطية الشّعبية) เป็นประเทศในแอฟริกาเหนือ และเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับ 1ในทวีปแอฟริกา หลังจากประเทศซูดานใต้ แยกออกจากประเทศซูดานมีอาณาเขตทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศตูนิเซีย ทางตะวันออกจรดประเทศลิเบีย ทางตะวันออกเฉียงใต้จรดประเทศไนเจอร์ ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศมาลีและประเทศมอริเตเนีย และทางตะวันตกจรดประเทศโมร็อกโก รวมถึงหลายกิโลเมตรของพื้นที่ที่ยึดครองมาได้บางส่วน คือ เวสเทิร์นสะฮารา ประเทศแอลจีเรียมีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ โดยรัฐธรรมนูญ ได้นิยามไว้ว่าแอลจีเรียเป็นประเทศ อิสลาม อาหรับ และอะมาซิก (เบอร์เบอร์) ชื่อประเทศแอลจีเรีย (Algeria) มาจากชื่อเมืองหลวงแอลเจียร์ ซึ่งมาจากคำภาษาอาหรับว่า อัลญะซาอิร (al-jazā’ir) ซึ่งแปลว่า "หมู่เกาะ" หมายถึงเกาะ 4 เกาะ ที่อยู่นอกชายฝั่งของเมือง ก่อนกลายเป็นส่วนหนึ่งของแผ่นดินใหญ่เมื่อปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศแอลจีเรีย

ประเทศแทนซาเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

หสาธารณรัฐแทนซาเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศแทนซาเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศโรมาเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศโปแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศไอซ์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศไต้หวัน

ประเทศไต้หวัน (Taiwan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในทวีปเอเชียตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน (金門), ไต้หวัน, เผิงหู (澎湖), หมาจู่ (馬祖), และอูชิว (烏坵) กับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" (臺灣地區) ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง ส่วนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคชาตินิยม (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยม (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็นอันดับที่ 19 ของโลก อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูงด้วยhttp://www.dgbas.gov.tw/public/Data/366166371.pdf.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศไต้หวัน

ประเทศเบลารุส

ลารุส (Беларусь บฺแยลารูสฺย; Беларусь, Белоруссия) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐเบลารุส (Рэспубліка Беларусь; Республика Беларусь) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกัยรัสเซีย ยูเครน โปแลนด์ ลิทัวเนีย และลัตเวีย เมืองหลวงของประเทศคือกรุงมินสก์ เมืองสำคัญของประเทศนี้ ได้แก่ เบรสต์ กรอดโน กอเมล และวีเซี.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศเบลารุส

ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศเบลเยียม เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศเช็กโกสโลวาเกีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศเช็กเกีย

็กเกีย (Czechia; Česko) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐเช็ก (Czech Republic; Česká republika) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล อยู่ในภูมิภาคยุโรปกลาง พรมแดนทางตอนเหนือจรดประเทศโปแลนด์ ทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงเหนือจรดเยอรมนี ทางใต้จรดออสเตรีย และทางตะวันออกจรดสโลวาเกีย เช็กเกียประกอบด้วยภูมิภาคที่เก่าแก่สองส่วน คือ โบฮีเมียและมอเรเวีย และส่วนหนึ่งของภูมิภาคที่สาม เรียกว่า ไซลีเซีย ประเทศนี้ได้เข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศเช็กเกีย

ประเทศเกาหลี

แผนที่ประเทศเกาหลีก่อนที่จะถูกแบ่งออกเป็นเกาหลีเหนือและ เกาหลีใต้ ธงรวมเกาหลี ธงสัญลักษณ์ร่วมสำหรับเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ในการแข่งขันกีฬานานาชาตินับตั้งแต่ ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศเกาหลี

ประเทศเกาหลีใต้

รณรัฐเกาหลี (Republic of Korea; 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา)) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เกาหลีใต้ (South Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส่วนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้ ในภาษาเกาหลีอ่านชื่อประเทศว่า แทฮันมินกุก (대한민국; 大韓民國) โดยเรียกสั้น ๆ ว่า ฮันกุก (한국) ที่หมายถึงเกาหลี และบางครั้งจะใช้ชื่อว่า นัมฮัน (남한) ที่หมายถึง เกาหลีทางใต้ ส่วนชาวเกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า นัมโชซ็อน (남조선) ที่หมายถึง โชซ็อนใต้.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศเกาหลีใต้

ประเทศเกาหลีเหนือ

รณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (Democratic People's Republic of Korea: DPRK) หรือชื่อโดยทั่วไปว่า เกาหลีเหนือ (North Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก กินพื้นที่ครึ่งเหนือของคาบสมุทรเกาหลี เมืองหลวงและนครใหญ่สุดคือ เปียงยาง เขตปลอดทหารเกาหลีเป็นเขตกันชนระหว่างประเทศเกาหลีใต้กับเกาหลีเหนือ แม่น้ำอัมนกหรือยาลู่ และตูเมนเป็นพรมแดนระหว่างประเทศจีนกับเกาหลีเหนือ แม่น้ำตูเมนส่วนที่ห่างไปทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพรมแดนกับประเทศรัสเซีย คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิเกาหลีปกครองเรื่อยมากระทั่งถูกผนวกเข้ากับญี่ปุ่นหลังสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศเกาหลีเหนือ

ประเทศเกาหลีเหนือในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

รณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศเกาหลีเหนือในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศเม็กซิโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศเยอรมนีตะวันออก

อรมนีตะวันออก (East Germany) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี (Deutsche Demokratische Republik - DDR; German Democratic Republic - GDR) เป็นประเทศคอมมิวนิสต์ที่ดำรงอยู่ในช่วงปี 1949 ถึงปี 1990 โดยเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนเยอรมันที่ถูกปกครองโดยอดีตสหภาพโซเวียต หลังจากการยึดครองเยอรมนีของกองทัพโซเวียตสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีตะวันออกเป็นประเทศหนึ่งที่เข้าร่วมสนธิสัญญาวอร์ซอ ในช่วงสงครามเย็น โดยเยอรมนีตะวันออกได้นิยามตัวเองว่าเป็นรัฐสังคมนิยม "ของคนงานและชาวนา"Patrick Major, Jonathan Osmond, The Workers' and Peasants' State: Communism and Society in East Germany Under Ulbricht 1945–71, Manchester University Press, 2002, และเขตที่ถูกยึดครอง ได้รับการปกครองโดยกองกำลังโซเวียตในตอนท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง เขตยึดครองโซเวียตตามข้อตกลงพ็อทซ์ดัมซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกติดกับแนว Oder-Neisse เขตยึดครองโซเวียตล้อมรอบเบอร์ลินตะวันตก แต่ไม่รวมถึง เป็นผลให้เบอร์ลินตะวันตกยังคงอยู่นอกเขตอำนาจของเยอรมนีตะวันออก สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีก่อตั้งขึ้นในเขตโซเวียต ขณะที่สหพันธรัฐจัดตั้งขึ้นในสามเขตตะวันตก เยอรมนีตะวันออกเป็นรัฐบริวารของสหภาพโซเวียต เจ้าหน้าที่ยึดครองโซเวียตได้เริ่มถ่ายโอนความรับผิดชอบในการบริหารให้กับผู้นำคอมมิวนิสต์เยอรมันในปี 1948 และเริ่มมีบทบาทเป็นรัฐเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 1949 อย่างไรก็ตามกองทัพโซเวียตยังคงกำลังอยู่ในประเทศตลอดช่วงสงครามเย็น จนถึง 1989 เยอรมนีตะวันออกถูกปกครองโดยพรรคเอกภาพสังคมนิยมเยอรมนี แม้ว่าพรรคอื่น ๆ ในนามขององค์กรพันธมิตร National Front of Democratic Germany 29 October 1989.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศเยอรมนีตะวันออก

ประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศเลบานอน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศเวเนซุเอลาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศเวเนซุเอลา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศเวเนซุเอลาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศเอสโตเนีย

อสโตเนีย (Estonia; Eesti) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเอสโตเนีย (Republic of Estonia; Eesti Vabariik) เป็นรัฐอธิปไตยในภูมิภาคบอลติก ในยุโรปเหนือ มีอาณาเขตทางทิศเหนือติดกับอ่าวฟินแลนด์ ทิศตะวันตกติดกับทะเลบอลติก มีพรมแดนทางทิศใต้ติดกับประเทศลัตเวีย (ระยะทาง 343 กิโลเมตร) และทางทิศตะวันออกติดกับประเทศรัสเซีย (ระยะทาง 338.6 กิโลเมตร) เอสโตเนียมีพื้นที่ 45,227 ตารางกิโลเมตร (17,462 ตารางไมล์) (อันดับที่ 131 ของโลก) ประเทศเอสโตเนียปกครองด้วยระบอบสาธารณรัฐประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขและมีการแบ่งเขตการปกครองออกเป็นเทศมณฑลจำนวน 15 เทศมณฑล โดยมีเมืองหลวงชื่อว่า ทาลลินน์ โดยเอสโตเนียมีจำนวนประชากรของประเทศที่น้อยที่สุดในประเทศสมาชิกของสหภาพยุโรป เอสโตเนียประกาศเอกราชครั้งแรกในปีพ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศเอสโตเนีย

ประเทศเอธิโอเปีย

อธิโอเปีย (Ethiopia; อามฮารา) หรือชื่อทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเอธิโอเปีย (Federal Democratic Republic of Ethiopia; อามฮารา) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลที่ตั้งอยู่ในส่วนแหลมของทวีปแอฟริกา (Horn of Africa) เป็นหนึ่งในชาติที่มีประวัติศาสตร์อันต่อเนื่องยาวนานที่สุดบนทวีปนี้ ในฐานะชาติอิสระ เอธิโอเปียเป็นประเทศเดียวในแอฟริกาที่ยังคงเอกราชระหว่างยุคล่าอาณานิคมในแอฟริกา (Scramble for Africa) และยังคงเอกราชไว้จนถึง พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศเอธิโอเปีย

ประเทศเอธิโอเปียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศเอธิโอเปีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศเอธิโอเปียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศเดนมาร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศเติร์กเมนิสถาน

ติร์กเมนิสถาน (Türkmenistan) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียกลาง มีพรมแดนติดกับคาซัคสถาน อุซเบกิสถาน ประเทศอัฟกานิสถาน อิหร่าน และมีชายฝั่งบนทะเลแคสเปียน เติร์กเมนิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศเติร์กเมนิสถาน

ประเทศเปรูในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศเปรู เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศเปรูในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ประเทศเนเธอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ปวยร์โตรีโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ปวยร์โตรีโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22..

ดู สหภาพโซเวียตและปวยร์โตรีโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

ปืนซุ่มยิงดรากูนอฟ

ปืนซุ่มยิงดรากูนอฟ หรือ SVD (Снайперская винтовка Драгунова, Snayperskaya Vintovka Dragunova (SVD) เป็นปืนซุ่มยิงระยะไกลแบบกึ่งอัตโนมัติทำงานด้วยระบบแกส ที่พัฒนาในสหภาพโซเวียต ออกแบบโดยเยฟเกนี ดรากูนอฟ และเข้าประจำการตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและปืนซุ่มยิงดรากูนอฟ

นรนิติ เศรษฐบุตร

ตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร (อ่านว่า นอ-ระ-นิด) นายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ตั้งแต่ พ.ศ. 2553 จนถึงปัจจุบัน) และศาสตราจารย์พิเศษ สาขาวิชารัฐศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตเลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า กรรมการกฤษฎีกา อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและนรนิติ เศรษฐบุตร

นากอร์โน-คาราบัค

นากอร์โน-คาราบัค (Nagorno-Karabakh) หรือ อัปเปอร์คาราบัค (Upper Karabakh) เป็นภูมิภาคที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในแถบเทือกเขาคอเคซัส ตั้งอยู่ระหว่างภูมิภาคโลเวอร์คาราบัคกับภูมิภาคซียูนิค และครอบคลุมพื้นที่ด้านตะวันออกเฉียงใต้ของทิวเขาเลสเซอร์คอเคซัส พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาและป่าไม้ นากอร์โน-คาราบัคเป็นดินแดนที่มีข้อพิพาทเกี่ยวกับอำนาจอธิปไตย โดยนานาชาติยอมรับว่าภูมิภาคนี้เป็นส่วนหนึ่งของอาเซอร์ไบจาน แต่ในปัจจุบัน พื้นที่ส่วนใหญ่ของภูมิภาคอยู่ภายใต้การปกครองของสาธารณรัฐอาร์ทซัค รัฐเอกราช "โดยพฤตินัย" ซึ่งมีกลุ่มชาติพันธุ์อาร์มีเนียอาศัยอยู่และได้รับการสถาปนาขึ้นบนพื้นที่ของ (อดีต) แคว้นปกครองตนเองนากอร์โน-คาราบัคของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจานไม่ได้ใช้อำนาจทางการเมืองในภูมิภาคนี้นับตั้งแต่การกำเนิดขบวนการคาราบัคในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและนากอร์โน-คาราบัค

นาร์วา

นาร์วา (Narva; Нарва) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศเอสโตเนีย ตั้งอยู่ตะวันออกสุดของประเทศ ติดกับชายแดนประเทศรัสเซีย บนริมฝั่งแม่น้ำนาร์วา เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมผลิตผ้าฝ้ายและผ้ากระสอบ เมืองนี้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ดู สหภาพโซเวียตและนาร์วา

นาฬิกาวันสิ้นโลก

นาฬิกาวันสิ้นโลก (Doomsday Clock) เป็นหน้าปัดนาฬิกาเชิงสัญลักษณ์ โดยเป็นการเปรียบการนับถอยหลังมหันตภัยทั่วโลกที่อาจเกิด (เช่น สงครามนิวเคลียร์หรือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ดู สหภาพโซเวียตและนาฬิกาวันสิ้นโลก

นาซา

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (National Aeronautics and Space Administration) หรือ นาซา (NASA) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและนาซา

นาซีเยอรมนี

นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.

ดู สหภาพโซเวียตและนาซีเยอรมนี

นีกีตา ครุชชอฟ

นีกีตา เซียร์เกเยวิช ครุชชอฟ (Никита Сергеевич Хрущёв; Nikita Sergeyevich Khrushchev 17 เมษายน ค.ศ. 1894 - 11 กันยายน ค.ศ. 1971) เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากโจเซฟ สตาลิน ซึ่งได้ถึงแก่อสัญกรรมในปี 1953 ประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากนิโคไล บัลกานิน.

ดู สหภาพโซเวียตและนีกีตา ครุชชอฟ

นโยบายต่างประเทศของโซเวียตยุคเริ่มต้น

รูปค้อนเคียว สัญลักษณ์ของลัทธิคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียต นโยบายต่างประเทศของโซเวียตยุคเริ่มต้น เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายต่างประเทศของโซเวียต ที่ปรากฏในช่วง ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและนโยบายต่างประเทศของโซเวียตยุคเริ่มต้น

แพร์ซโพลิส (หนังสือการ์ตูน)

แพร์ซโพลิส (Persepolis) เป็นหนังสือการ์ตูนอัตชีวประวัติภาษาฝรั่งเศสของมาร์จอเน่ ซาทราพิ ซึ่งบรรยายชีวิตของผู้เขียนในวัยเด็กซึ่งอาศัยอยู่ในอิหร่านช่วงที่มีการปฏิวัติอิสลามและล้มล้างระบบกษัตริย์ ชื่อหนังสือการ์ตูนแพร์ซโพลิสมาจากชื่อเมืองโบราณในประเทศอิหร่าน แพร์ซโพลิสเป็นการ์ตูนขาว-ดำตลอดทั้งหมด ต้นฉบับภาษาฝรั่งเศสแบ่งการ์ตูนออกเป็นสี่เล่ม แต่ในฉบับภาษาอื่น ๆ เช่น ฉบับภาษาอังกฤษและฉบับภาษาไทย แบ่งออกเป็นสองเล่ม ฉบับภาษาไทยแปลโดย ณัฐพัดชา และจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์กำมะหยี่ ซึ่งออกวางจำหน่ายครั้งแรกเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและแพร์ซโพลิส (หนังสือการ์ตูน)

แกรี คาสปารอฟ

แกรี คีโมวิช คาสปารอฟ (Га́рри Ки́мович Каспа́ров.; Garry Kimovich Kasparov; 13 เมษายน พ.ศ. 2506 —) เป็นนักหมากรุกชาวรัสเซีย เชื่อสายยิว-อาร์มีเนีย เคยเป็นแชมป์โลกหมากรุกสากลในปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและแกรี คาสปารอฟ

แกรนด์ดัชเชสตะตยานา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย

แกรนด์ดัชเชสตะตยานา นีคะลายีฟนา (Великая Княжна Татьяна Николаевна ประสูติ: 29 พฤษภาคม ระบบเก่า, 10 มิถุนายน ระบบใหม่ ค.ศ. 1897 - 17 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและแกรนด์ดัชเชสตะตยานา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย

แกรนด์ดัชเชสโอลกา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย

แกรนด์ดัชเชสโอลกา (Olga; Великая Княжна Ольга Николаевна) เป็นเจ้าหญิงในราชวงศ์โรมานอฟของจักรวรรดิรัสเซีย เป็นพระราชธิดาพระองค์แรกใน สมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 และ สมเด็จพระจักรพรรดินีอเล็กซานดราประสูติก่อนที่พระบิดาจะเถลิงราชสมบัติเป็นซาร์แห่งรัสเซีย ประสูติวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและแกรนด์ดัชเชสโอลกา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย

แกร์ด ฟอน รุนด์ชเตดท์

ร์ล รูดอล์ฟ แกร์ด ฟอน รุนด์ชเตดท์ (Karl Rudolf Gerd von Rundstedt; 12 ธันวาคม ค.ศ. 1875 - 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1953) เป็นจอมพลแห่งกองทัพบกเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ผู้ได้รับสมญานามว่า "อัศวินดำ" (Black Knight).

ดู สหภาพโซเวียตและแกร์ด ฟอน รุนด์ชเตดท์

แก๊สเรือนกระจก

ice core) ล่าง: ปริมาณสุทธิของคาร์บอนที่เพิ่มในบรรยากาศเปรียบเทียบกับคาร์บอนที่ปลดปล่อยจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (fossil fuel) แก๊สเรือนกระจก (greenhouse gas) หรือบางครั้งเรียกย่อๆว่า GHG คือแก๊สในบรรยากาศที่ดูดซับและปลดปล่อยรังสีภายในช่วงความถี่(คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า)อินฟราเรดร้อน (thermal infrared range) ทำให้เกิดการสูญเสียความร้อนบางส่วนออกสู่ห้วงอวกาศภายนอกและปลดปล่อยความร้อนกลับสู่พื้นผิวโลก ขบวนการนี้จึงเป็นสาเหตุพื้นฐานของปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse effect) แก๊สเรือนกระจกมีความจำเป็นและมีความสำคัญต่อการรักษาระดับอุณหภูมิของโลก หากปราศจากแก๊สเรือนกระจก โลกจะหนาวเย็นจนสิ่งมีชีวิตอยู่อาศัยไม่ได้ อุณหภูมิในโลกจะต่ำกว่าปัจจุบันที่ 14 °C (57 °F) ลงอีก 33 °C (59 °F) แต่การมีแก๊สเรือนกระจกมากเกินไปก็เป็นเหตุให้อุณหภูมิสูงขึ้นถึงระดับเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตดังที่เป็นอยู่กับบรรยากาศของดาวศุกร์ซึ่งมีบรรยากาศที่ประกอบด้วยคาร์บอนไดออกไซด์มากถึงร้อยละ 96.5 มีผลให้อุณหภูมิผิวพื้นร้อนมากถึง 467 °C (872 °F) คำว่า “แก๊สเรือนกระจก” บนโลกหมายถึงแก๊สต่างๆ เรียงตามลำดับความอุดมคือ ไอน้ำ คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซด์ โอโซน และ คลอโรฟลูโอโรคาร์บอน (Chlorofluorocarbon) แก๊สเรือนกระจกเกิดเองตามธรรมชาติและจากกระบวนการอุตสาหกรรมซึ่งปัจจุบันทำให้ระดับคาร์บอนไดออกไซด์มีในบรรยากาศ 380 ppmv และที่ปรากฏในแกนน้ำแข็งตัวอย่าง (ดูแผนภูมิ) จะเห็นว่าระดับของคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศปัจจุบันสูงกว่าระดับเมื่อก่อนยุคอุตสาหกรรมประมาณ 100 ppmv.

ดู สหภาพโซเวียตและแก๊สเรือนกระจก

แมกซิม กอร์กี

อะเลคเซย์ แมกซิมอวิช เปชคอฟ (Алексей Максимович Пешков) หรือรู้จักกันในนาม แมกซิม กอร์กี (Макси́м Го́рький) เป็นนักประพันธ์ชาวรัสเซีย เกิดเมื่อ..

ดู สหภาพโซเวียตและแมกซิม กอร์กี

แมนเชสเตอร์

แมนเชสเตอร์ (Manchester) เป็นนครและโบโรฮ์มหานคร ในเทศมณฑลเกรเทอร์แมนเชสเตอร์ ตอนเหนือของประเทศอังกฤษ มีประชากรในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและแมนเชสเตอร์

แรมเซย์ แมคโดนัล

มส์ แรมเซย์ แมคโดนัล (อังกฤษ: James Ramsay MacDonald; 12 ตุลาคม พ.ศ. 2409 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480) เป็นนักการเมืองชาวสกอตและเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรคนแรกจากพรรคแรงงาน (Labour Party) สองสมัยคือ ใน พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและแรมเซย์ แมคโดนัล

แองเตอร์นาซิอองนาล

เออแฌน ปอตีเย (Eugène Pottier) ผู้ประพันธ์คำร้องของเพลงแล็งแตร์นาซียอนาล แองเตอร์นาซิอองนาล (L'Internationale; แล็งแตร์นาซียอนาล, The Internationale; ดิอินเตอร์แนชนาล, Die Internationale; "ดี อินเทอร์นาโชนาล") เป็นเพลงปลุกใจที่ใช้ในการต่อสู้ของชนชั้นกรรมาชีพ มีที่มาจากบทกวีต้นฉบับภาษาฝรั่งเศสของ เออแฌน ปอตีเย (Eugène Pottier) ในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและแองเตอร์นาซิอองนาล

แอนทอน เยลชิน

แอนทอน วิกโตโรวิช เยลชิน (Anton Viktorovich Yelchin; Антон Викторович Ельчин; 11 มีนาคม ค.ศ. 1989 – 19 มิถุนายน ค.ศ. 2016) เป็นนักแสดงภาพยนตร์และโทรทัศน์ชาวอเมริกัน เขาเพิ่มมีผลงานการแสดงช่วงปลายทศวรรษ 1990 โดยปรากฏตัวในรายการโทรทัศน์หลายบทบาท รวมถึงผลงานแสดงภาพยนตร์ฮอลลีวูดอย่างเรื่อง Along Came a Spider และ Hearts in Atlantis ต่อมาเยลชินมีผลงานในซีรีส์โทรทัศน์เรื่อง Huff และยังแสดงในภาพยนตร์ House of D, Alpha Dog, Charlie Bartlett, ภาพยนตร์ปี 2009 เรื่อง Star Trek และ Terminator Salvation.

ดู สหภาพโซเวียตและแอนทอน เยลชิน

แอโร แอล-39 อัลบาทรอส

แอล-39 อัลบาทรอส (Aero L-39 Albatros) แอล-39 เป็นเครื่องบินฝึกที่ได้รับการพัฒนาโดยประเทศเชคโกสโลวาเกีย เริ่มทำการบินเป็นครั้งแรกในวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและแอโร แอล-39 อัลบาทรอส

แอโรฟลอต

แอโรฟลอต แอร์บัส A320-200 แอโรฟลอต (รัสเซีย: Аэрофло́т, อังกฤษ: Aeroflot) เป็นสายการบินแห่งชาติของรัสเซีย และเคยเป็นสายการบินแห่งชาติของสหภาพโซเวียตในอดีต ให้บริการเที่ยวบินทั้งภายในและภายนอกประเกศ 97 เมือง ใน 48 ประเทศ มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโว กรุงมอสโคว.

ดู สหภาพโซเวียตและแอโรฟลอต

แฮร์ทา มึลเลอร์

แฮร์ทา มึลเลอร์ (Herta Müller) (17 สิงหาคม ค.ศ. 1953 - ปัจจุบัน) แฮร์ทา มึลเลอร์เป็นนักเขียน กวี และนักเขียนบทความคนสำคัญชาวเยอรมันที่เกิดในประเทศโรมาเนีย แฮร์ทา มึลเลอร์ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและแฮร์ทา มึลเลอร์

แผนตะวันออก

แผนตะวันออก (Plan East; Plan Wschód) เป็นแผนปฏิบัติการทางทหารของโปแลนด์ ถูกร่างขึ้นในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1920-1930 ในกรณีที่มีการโจมตีจากสหภาพโซเวียต ไม่เหมือนกับแผนตะวันตก รัฐบาลโปแลนด์ให้ความสำคัญกับการรับมือกับกองทัพโซเวียต ซึ่งมองว่าเป็นภัยคุกคามทางทหารที่สำคัญที่สุด และมีขีดความสามารถในการเริ่มสงครามเต็มรูปแบบได้.

ดู สหภาพโซเวียตและแผนตะวันออก

แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

แนวรบด้านตะวันออกเป็นเขตสงครามหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง มีอักษะประเทศในทวีปยุโรป และคู่สงครามร่วมฟินแลนด์ฝ่ายหนึ่ง กับสหภาพโซเวียต โปแลนด์และชาติสัมพันธมิตรจำนวนหนึ่งอีกฝ่ายหนึ่งเป็นคู่สงคราม เขตสงครามนี้กินอาณาบริเวณยุโรปตะวันออก บางส่วนของยุโรปเหนือและยุโรปใต้ สู้รบกันระหว่างวันที่ 22 มิถุนายน..

ดู สหภาพโซเวียตและแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

แนวรบด้านตะวันตก ของการสู้รบบนภาคพื้นทวีปยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สองโอบล้อมบริเวณพื้นที่ตั้งแต่เดนมาร์ก นอร์เวย์ ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส และภาคตะวันตกของเยอรมนี ปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สองบริเวณยุโรปตอนใต้และบริเวณอื่นๆ ถูกจัดว่าไม่เกี่ยวกับแนวรบด้านตะวันตกนี้ การต่อสู้ในแนวรบด้านตะวันตกถูกแบ่งโดยปฏิบัติการสู้รบครั้งใหญ่ๆ ด้วยกันสองครั้ง คือ ช่วงแรกที่เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม และฝรั่งเศส ยอมจำนนต่อกองทัพนาซีเยอรมนีในช่วงเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและแนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

แนวร่วมรวบรวมชาติกัมพูชา

ีหนุ (คนที่สามจากซ้าย) ในการพบปะกับเหมา เจ๋อตุงที่ปักกิ่งเมื่อ พ.ศ. 2499 แนวร่วมรวบรวมชาติกัมพูชา (រណសិរ្សរួបរួមជាតិកម្ពុជា รณสิรฺสรัวบรัวมชาติกมฺพุชา; Khmer United National Front; Front uni national du Kampuchéa: FUNK) เป็นองค์กรทางการเมืองที่ก่อตั้งโดยพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ กษัตริย์แห่งกัมพูชา ใน..

ดู สหภาพโซเวียตและแนวร่วมรวบรวมชาติกัมพูชา

แนวร่วมสหชาติ

แนวร่วมสหชาติ (United National Front) เป็นพรรคการเมืองในอัฟกานิสถาน ก่อตั้งเมื่อ 13 มีนาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและแนวร่วมสหชาติ

แนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์

แนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์ (Popular Front for the Liberation of Palestine; ภาษาอาหรับ الجبهة الشعبية لتحرير فلسطين, al-Jabhah al-Sha`biyyah li-Tahrīr Filastīn) เป็นกลุ่มติดอาวุธและพรรคการเมืองนิยมลัทธิมากซ์ ก่อตั้งเมื่อ..

ดู สหภาพโซเวียตและแนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์

แนวร่วมประชาธิปไตยเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์

แนวร่วมประชาธิปไตยเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์ (Democratic Front for the Liberation of Palestine; ภาษาอาหรับ: 'الجبهة الديموقراطية لتحرير فلسطين', ถอดอักษร Al-Jabha al-Dimuqratiya Li-Tahrir Filastin หรือ al-Jabha al-Dimuqratiyah; الجبهة الديموقراطية) เป็นองค์กรทางการเมืองและการทหารของปาเลสไตน์ ที่นิยมลัทธิมากซ์ เป็นองค์กรที่เป็นสมาชิกขององค์การปลดปล่อยปาเลสไตน.

ดู สหภาพโซเวียตและแนวร่วมประชาธิปไตยเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์

แนวร่วมปลดปล่อยชาติเขมร

ผู้อพยพตามแนวชายแดนของสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา; พ.ศ. 2522 - 2527 ค่ายของแนวร่วมปลดปล่อยชาติเขมรแสดงด้วยสีดำ แนวร่วมปลดปล่อยชาติเขมร (រណសិរ្សរំដោះជាតិខ្មែរ รณสิรฺสรํเฎาะชาติขฺแมร; Khmer People’s National Liberation Front) เป็นกองกำลังต่อต้านรัฐบาลในกัมพูชาที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนตุลาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและแนวร่วมปลดปล่อยชาติเขมร

โกลดา เมอีร์

กลดา เมอีร์ (גּוֹלְדָּה מֵאִיר‎, 3 พฤษภาคม 2441 - 8 ธันวาคม 2521) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่สี่ของอิสราเอล โกลดา เมอีร์ เดิมชื่อว่า โกลดา มาโบวิตช์ (Голда Мабович) เกิดที่ชุมชนชาวยิวในเมืองเคียฟ จักรวรรดิรัสเซีย (ปัจจุบันคือ ประเทศยูเครน) เมื่อเธออายุได้ 6 ขวบ บิดาได้ย้ายไปอยู่นิวยอร์กตามลำพังเพื่อหางานทำ และพาครอบครัวทั้งหมดย้ายมาอยู่สหรัฐอเมริกา ในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและโกลดา เมอีร์

โมเช ดายัน

มเช ดายัน (משה דיין, Moshe Dayan; 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2458 – 16 ตุลาคม พ.ศ. 2524) คือผู้บัญชาการเหล่าทัพและนักการเมืองชาวอิสราเอล รู้จักกันดีในฐานะบุรุษตาเดียว.

ดู สหภาพโซเวียตและโมเช ดายัน

โรมัน ปัฟลูย์เชนโค

รมัน อะนาโตเลียวิช ปัฟลูย์เชนโค (Роман Анатольевич Павлюченко, Roman Anatolyevich Pavlyuchenko) เป็นนักฟุตบอลชาวรัสเซีย เกิดเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและโรมัน ปัฟลูย์เชนโค

โรคเมลิออยด์

รคเมลิออยด์ หรือ โรคเมลิออยโดซิส (Melioidosis) เป็นโรคติดเชื้อซึ่งเกิดจากเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ Burkholderia pseudomallei เชื้อนี้พบได้ในดินและน้ำ โรคนี้มีความสำคัญทางสาธารณสุขโดยเฉพาะในประเทศไทยและทางเหนือของออสเตรเลีย รูปแบบของโรคอาจมีได้ทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง ผู้ป่วยอาจมีอาการแตกต่างกันมาก เช่น เจ็บหน้าอก กระดูก หรือข้อ ไอ การติดเชื้อที่ผิวหนัง ก้อนในปอด หรือปอดอักเสบ ในอดีตเชื้อแบคทีเรีย B.

ดู สหภาพโซเวียตและโรคเมลิออยด์

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์เชียร์โนบีล

รงไฟฟ้านิวเคลียร์เชียร์โนบีล (Державне спецiалiзоване пiдприємство "Чорнобильська АЕС", Чернобыльская АЭС) เป็นสถานีไฟฟ้านิวเคลียร์ปลดประจำการแล้วใกล้กับนครปริปยัต (Pripyat) ยูเครน ห่างจากนครเชียร์โนบีลไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 18 กิโลเมตร ห่างจากชายแดนยูเครน-เบลารุส 16 กิโลเมตร และห่างจากกรุงเคียฟไปทางเหนือราว 110 กิโลเมตร เครื่องปฏิกรณ์ที่ 4 เป็นจุดเกิดภัยพิบัติเชียร์โนบีลเมื่อ..

ดู สหภาพโซเวียตและโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เชียร์โนบีล

โรเมโอและจูเลียต (โปรโคเฟียฟ)

รเมโอและจูเลียต โอปุส 64 (Romeo and Juliet; Ромео и Джульетта, Op. 64) เป็นบัลเลต์ประกอบดนตรีโดยเซียร์เกย์ โปรโคเฟียฟ คีตกวีชาวรัสเซีย ดัดแปลงจากบทละครโศกนาฏกรรมเรื่องโรเมโอและจูเลียตของวิลเลียม เชกสเปียร์ เป็นบัลเลต์เรื่องหนึ่งที่ประสบความสำเร็จ ต่อมาโปรโกเฟียฟให้ตัดทอนดนตรีที่ประพันธ์ ออกมาเป็นสวีตสามชุดสำหรับบรรเลงด้วยวงออร์เคสตรา และเปียโน โปรโกเฟียฟเริ่มประพันธ์บัลเลต์ชิ้นนี้จากคำแนะนำของ เอเดรียน ปิโอทรอฟสกี และเซอร์เก แรดลอฟ สำหรับจัดแสดงโดยคณะคิรอฟบัลเลต์ แล้วเสร็จเมื่อเดือนกันยายน..

ดู สหภาพโซเวียตและโรเมโอและจูเลียต (โปรโคเฟียฟ)

โลกที่หนึ่ง

ติเป็นกลาง และประเทศไม่สังกัดพันธมิตรใด แนวคิดของ โลกที่หนึ่ง (First World) ถือกำเนิดขึ้นระหว่างสงครามเย็น เป็นคำซึ่งใช้เพื่ออธิบายถึงประเทศที่เข้าเป็นฝ่ายเดียวกับสหรัฐอเมริกา ประเทศเหล่านี้มักมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย และมีระบบเศรษฐกิจทุนนิยม หลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต และการสิ้นสุดของสงครามเย็น ความหมายของคำว่า "โลกที่หนึ่ง" ได้เปลี่ยนไปให้สามารถปรับใช้ได้กับยุคสมัย จากการจำกัดความดั้งเดิม คำว่า "โลกที่หนึ่ง" ได้มามีความหมายในทำนองเดียวกับประเทศพัฒนาแล้ว (ขึ้นอยู่กับว่ากำลังใช้คำจำกัดความใด) ประเทศโลกที่หนึ่งโดยทั่วไปมักมีเศรษฐกิจที่เจริญก้าวหน้าและมีดัชนีการพัฒนามนุษย์ในระดับสูงมาก ในอีกมุมมองหนึ่ง สหประชาชาติจำกัดความ "โลกที่หนึ่ง" ขึ้นอยู่กับความมั่งคั่งของรายรับและผลผลิตของชาติต่าง ๆ การจำกัดความของ "โลกที่หนึ่ง" ในปัจจุบัน จึงประจักษ์ชัดเจนน้อยกว่าระหว่างสงครามเย็น ความเคลื่อนไหวในระดับโลกระหว่างโลกที่หนึ่งและโลกอื่น ๆ สามารถแบ่งออกได้เป็นสองส่วน ความสัมพันธ์กับโลกที่สองเป็นไปในเชิงการแข่งขัน และความเป็นปรปักษ์ทางความคิด ความสัมพันธ์กับโลกที่สาม โดยปกติมักเป็นไปในเชิงบวกตามทฤษฎี ในขณะที่อาจมีความสัมพันธ์ในเชิงลบอยู่บ้างในทางปฏิบัติ แต่ความสัมพันธ์ระหว่างโลกในปัจจุบันมิได้เป็นไปอย่างตายตัวอย่างในอดีต ถึงแม้ว่าจะมีความไม่เสมอกันซึ่งโลกที่หนึ่งมีอิทธิพล ความมั่งคั่ง ข้อมูลข่าวสาร และความเจริญก้าวหน้าเหนือกว่าโลกอื่น ๆ โลกาภิวัตน์ได้เป็นปรากฏการณ์ที่ค่อย ๆ มีความสำคัญมากยิ่งขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลมาจากโลกที่หนึ่งและความเชื่อมโยงกับโลกอื่น ๆ ตัวอย่างของโลกาภิวัตน์ภายในโลกที่หนึ่ง คือ สหภาพยุโรป ซึ่งได้นำความร่วมมือและการบูรณาการเข้ามาสู่ภูมิภาคเป็นอันมาก บริษัทข้ามชาติยังเป็นตัวอย่างของผลกระทบของโลกที่หนึ่งซึ่งมีต่อโลกาภิวัตน์ เมื่อบริษัทเหล่านี้ได้นำมาซึ่งการรวมเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมในหลายประเทศ ด้วยการเติบโตของบริษัทข้ามชาติมักมีปัญหาในกระบวนการติดต่อกับบุคคลที่สามในหลายประเทศโลกที่หนึ่ง.

ดู สหภาพโซเวียตและโลกที่หนึ่ง

โอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน หรือ ซัมเมอร์โอลิมปิกเกมส์ (Summer Olympic Games) เป็นการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระหว่างประเทศ ซึ่งตามปกติจะมีการจัดแข่งขันทุกสี่ปี โดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee หรือ IOC) ในแต่ละครั้งจะมีการมอบเหรียญรางวัล ผู้ชนะเลิศได้เหรียญทอง อันดับสองได้เหรียญเงิน และอันดับสามได้เหรียญทองแดง การมอบเหรียญนี้เป็นประเพณีตั้งแต่ปี 1904 ต่อมามีการจัดแข่งขันโอลิมปิกฤดูหนาว อันสืบเนื่องมาจากความสำเร็จของโอลิมปิกฤดูร้อน การแข่งขันนั้นเริ่มต้นครั้งแรกด้วยกีฬาเพียง 42 ประเภท และนักกีฬาชายเพียง 250 คน จนมีจำนวนเพิ่มขึ้นถึงมากกว่า 10,000 คน ของนักกีฬาชายและหญิงจาก 202 ประเทศทั่วโลก คณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ที่ปักกิ่ง คาดการณ์ว่าจะมีนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันประมาณ 10,500 คน เข้าชิงชัยใน 302 รายการ ในขณะที่กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 ที่คณะกรรมการจัดการแข่งขันได้ประมาณการไว้ว่าจะมีนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันประมาณ 10,500 คน แต่ก็เกิดการคลาดเคลื่อนขึ้นเพราะมีผู้เข้าแข่งขันกว่า 11,099 คน ใน 301 รายการแข่งขัน นักกีฬาถูกส่งเข้าแข่งขันโดยคณะกรรมการโอลิมปิกของประเทศต่าง ๆ (NOC-National Olympic Committee) เพื่อแสดงจำนวนพลเมืองในบังคับของประเทศตน เพลงชาติและธงชาติประกอบพิธีมอบเหรียญ และตารางแสดงจำนวนเหรียญที่ชนะ โดยถูกใช้อย่างกว้างขวางในบางประเทศ โดยปกติแล้วเฉพาะประเทศที่ได้รับการรับรองเท่านั้นที่จะมีผู้แทนได้ แต่มีแค่เพียงประเทศมหาอำนาจบางประเทศเท่านั้นที่ได้รับอนุญาตให้มีส่วนร่วม โดยมีเพียง 4 ประเทศที่ส่งนักกีฬาเข้าแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อนทุกครั้ง ได้แก่ ออสเตรเลีย สหราชอาณาจักร กรีซ และสวิตเซอร์แลนด์ และมีเพียงประเทศเดียวเท่านั้นที่ชนะและได้รับเหรียญทองอย่างน้อย 1 เหรียญจากการแข่งขันทุกครั้ง คือ สหราชอาณาจักร โดยได้รับตั้งแต่ 1 เหรียญทอง ในปี 1904 1952 และ 1996 จนถึงได้รับ 56 เหรียญทอง ในปี 1908.

ดู สหภาพโซเวียตและโอลิมปิกฤดูร้อน

โอลิมปิกฤดูร้อน 1952

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 12 ประจำปี..

ดู สหภาพโซเวียตและโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

โอลิมปิกฤดูร้อน 1980

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 19 ประจำปี..

ดู สหภาพโซเวียตและโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

โอลิมปิกฤดูร้อน 1984

5ตยตจนนนัพไ ซึ่งสหภาพโซเวียตได้คว่ำบาตรการแข่งขันในปีนี้ ไม่ส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขัน ส่วนหนึ่งเพื่อแก้คืนที่สหรัฐอเมริกาไ นบ่แจม่ส่งนักกีฬาเข้าแข่งขันกีฬาโอลิมปิคครั้งก่อนที่กรุงมอสโก ในปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและโอลิมปิกฤดูร้อน 1984

โอลิมปิกฤดูหนาว 2014

กีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 22 (XXII Olympic Winter Games) เป็นการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 22 จัดขึ้น ณ เมืองโซชี ประเทศรัสเซีย ระหว่างวันที่ 7 กุมภาพันธ์ ถึง 23 กุมภาพัน..

ดู สหภาพโซเวียตและโอลิมปิกฤดูหนาว 2014

โจวันนาแห่งอิตาลี สมเด็จพระราชินีแห่งบัลแกเรีย

้าหญิงโจวันนาแห่งอิตาลี สมเด็จพระราชินีแห่งบัลแกเรีย (ภาษาบัลแกเรีย: Йоанна Савойска; ภาษาอิตาลี: Giovanna Elisabetta Antonia Romana Maria) (13 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและโจวันนาแห่งอิตาลี สมเด็จพระราชินีแห่งบัลแกเรีย

โจตัน

ตัน (Jotun) เป็นบริษัทผลิตสีจากประเทศนอร์เวย์ ที่ผลิตสีทาบ้านและผิวเคลือบแป้ง มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ประเทศนอร์เวย์ มีบริษัทในเครือ 67 บริษัท และ 39 โรงงานใน สแกนดิเนเวีย, ยุโรป, ตะวันออกกลาง, เอเชีย, อเมริกา, ออสเตรเลีย และ แอฟริกา ชื่อของบริษัทโจตัน มาจากโยตุน (Jötunn) เทพในนิยายนอร์เว.

ดู สหภาพโซเวียตและโจตัน

โจเซฟ สตาลิน

ซฟ สตาลิน (รัสเซีย: Иосиф Виссарионович Сталин Iosif Vissarionovich Stalin อิโอซิฟ วิซซาริโอโนวิช สตาลิน; อังกฤษ: Joseph Stalin) (1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1878 - 5 มีนาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและโจเซฟ สตาลิน

โทรลล์ อีวาน

ทรลล์ อีวาน ตัวละครในเซนต์เซย่าภาคเจ้านรกฮาเดส เป็น 1 ใน 108 สเป็คเตอร์ ปรากฏตัวเพียงสั้น ๆ เท่านั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและโทรลล์ อีวาน

โครงการวอสตอค

นวอสตอค โครงการวอสตอค (Vostok Programme) “วอสตอค” แปลว่าตะวันออก เป็นโครงการส่งมนุษย์สู่อวกาศของสหภาพโซเวียตที่จะส่งนักบินขึ้นบินโคจรรอบโลกเป็นครั้งแรกของโลก โครงการวอสตอคได้พัฒนาต่อมาจากโครงการดาวเทียมสอดแนมชื่อ “เซนิท” และปรับปรุงจรวดส่งยานจากแบบของขีปนาวุธข้ามทวีป (ICBM) เดิม ก่อนการออกข่าวเปิดเผยโครงการ ชื่อโครงการวอสตอคถูกจัดไว้ในชั้นความลับ ชุดของโครงการยานวอสตอคประกอบด้วย การส่งสัตว์ขึ้นสู่อวกาศก่อนแล้วตามด้วยการบินทดสอบด้วยหุ่นมนุษย์ 5 โครงการ เพื่อให้แน่ใจว่ายานมีความเหมาะสมกับมนุษย์ ลำดับของการส่งยานอวกาศตามโครงการมีดังนี้.

ดู สหภาพโซเวียตและโครงการวอสตอค

โครงการสปุตนิก

แบบจำลอง ดาวเทียมสปุตนิก 1 โครงการสปุตนิก (ภาษารัสเซีย: Спутник, IPA) เป็นลำดับภารกิจการส่ง ยานอวกาศไร้คนขับคุม ดำเนินการโดยรัฐบาล สหภาพโซเวียต (ในขณะนั้น) ยานลำแรกคือ ดาวเทียมสปุตนิก 1 เป็นดาวเทียมดวงแรก และเป็นวัตถุมนุษย์สร้างเครื่องแรกของโลกที่ส่งขึ้นสู่วงโคจร เมื่อ 4 ตุลาคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและโครงการสปุตนิก

โครงการแวนการ์ด

รวดแวนการ์ด โครงการแวนการ์ด (Project Vanguard) เป็นโครงการของ "หน่วยวิจัยกองทัพเรืออเมริกา" (United States Naval Research Laboratory (NRL)) ที่มีแผนจะปล่อยดาวเทียมดวงแรกของประเทศอเมริกาโดยใช้จรวดแวนการ์ด เนื่องจากการล้ำหน้าของสหภาพโซเวียตที่ปล่อยดาวเทียม Sputnik 1 เมื่อ 4 ตุลาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและโครงการแวนการ์ด

โคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007

รียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007 (หรือ KAL 007 หรือ KE 007) เป็นเที่ยวบินของโคเรียนแอร์ไลน์ตามกำหนดการจากนครนิวยอร์กสู่โซล แวะพักที่แองเคอเรจ วันที่ 1 กันยายน 2526 เครื่องบินโดยสารของเที่ยวบินดังกล่าวถูกเครื่องบินสกัดกั้นซู-15 ของสหภาพโซเวียตยิงตกใกล้เกาะโมเนรอน ทางตะวันตกของเกาะซาฮาลิน ในทะเลญี่ปุ่น นักบินของเครื่องบินสกัดกั้นลำนั้น คือ นาวาอากาศตรี เกนนาดี โอซีโปวิช ผู้โดยสารและลูกเรือทั้ง 269 คนบนเครื่องเสียชีวิต รวมทั้งลอว์เรนซ์ แมคโดนัลด์ ผู้แทนรัฐจอร์เจียในสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐอเมริกา อากาศยานลำดังกล่าวกำลังอยู่ในเส้นทางจากแองเคอเรจสู่โซลเมื่อบินผ่านน่านฟ้าโซเวียตที่ถูกห้ามในเวลาไล่เลี่ยกับภารกิจสอดแนมของสหรัฐ ทีแรก สหภาพโซเวียตปฏิเสธรู้เห็นเหตุการณ์ดังกล่าว แต่ภายหลังยอมรับการยิง โดยอ้างว่าอากาศยานดังกล่าวอยู่ระหว่างภารกิจสอดแนม โปลิตบูโรแถลงว่า เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นการยั่วยุโดยเจตนาของสหรัฐ เพื่อทดสอบความพร้อมทางทหารของสหภาพโซเวียต หรือกระทั่งยั่วยุให้เกิดสงคราม ทำเนียบขาวกล่าวหาสหภาพโซเวียตว่าขัดขวางปฏิบัติการค้นหาและกู้ภัยCongressional Record, September 20, 1983, pp.

ดู สหภาพโซเวียตและโคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007

โคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 902

รียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 902 หรือรู้จักกันในชื่อ KAL 902 หรือ KE 902 เป็นเที่ยวบินของโคเรียนแอร์ไลน์ ของเกาหลี เดินทางด้วยเครื่องโบอิง 707 ทะเบียน HL7429 จากปารีส ฝรั่งเศส มุ่งหน้าสู่ท่าอากาศยานนานาชาติกิมโป โซล ประเทศเกาหลีใต้ โดยมีกำหนดแวะพักเติมน้ำมันที่ท่าอากาศยานนานาชาติเทด สตีเวนส์ เมืองแองคอเรจ อะแลสกา สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและโคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 902

โซฟี เชวาร์ดนาดเซ

ซฟี เชวาร์ดนาดเซ ((სოფო შევარდნაძე; Софико Паатовна Шеварднадзе; Sophie Shevardnadze) เป็นนักข่าวประจำช่อง รัสเซีย ทูเดย์ ของประเทศรัสเซีย ตั้งแต่การออกอากาศในเดือนธันวาคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและโซฟี เชวาร์ดนาดเซ

โซยุซ

ซยุซ (ซีริลลิก: Союз, Soyuz) ในภาษารัสเซีย มีความหมายว่า สหภาพ (Union) มักใช้เป็นคำย่อสำหรับ สหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต หรือ สหภาพโซเวียต (Soyuz Sovetskikh Sotsialisticheskikh Respublik) และยังสามารถหมายถึง.

ดู สหภาพโซเวียตและโซยุซ

โซคคาร์ ดูคาเยฟ

ซคคาร์ ดูคาเยฟ (อักษรละติน: Dzhokhar Dudaev; อักษรซีริลลิก: Джоха́р Муса́евич Дуда́ев) (15 เมษายน ค.ศ. 1944 - 21 เมษายน ค.ศ. 1996 เกิดที่หมู่บ้าน ยอฮาริ (Yalkhori) หมู่บ้านเล็กๆแห่งหนึ่งใน เชชเนีย ตอนเด็กเขาและครอบครัวและประชาชาชนในแถบ คอเคซัค หลายล้านคนต้องย้ายไปอยู่ ที่ คาซัตสถาน ตามคำสั่งของ สตาลิน (ผู้นำ สหภาพโซเวียต ขณะนั้น) หลังจากใช้ชีวิต 13 ปีอยู่ที่นั้น เขาก็ได้กลับมา เชชเนียอีกครั้ง เขาเรียนจบสาขา ช่างไฟฟ้าจาก รร.Chencheno-Ingushetia ก่อนไปเรียนต่อ สถาบันฝึกการบินชั้นสูง Tambov ในปี 1966 เขากรอกใบสมัครว่าเป็น คน ของแคว้น Ossetian เพื่อหลีกเลี่ยงการแบ่งแยกคนเชื้อสายเชเชน เขาทำงานในแผนก heavy bomber ประจำอยู่ที่ ไซบีเรีย และยูเครน ในปี 1971 เขาได้เข้าเรียนต่อในสถาบันการบิน Gagarin หลังจบตำแหน่งเขาก็เลื่อนขึ้นอย่างรวดเร็วจนได้เป็น พลตรี ควบคุมหน่วย ยุทธศาตร์การบินของกองทัพ ใน Estonia ในช่วง 1989 กระแสการเรียกร้องเอกราช รุนแรงมากจนประชาชนแห่กันออกมาตามท้องถนน ทาง Moscow สั่งให้ ดูดาเยฟ ใช้กำลังจัดการกับฝูงชนแต่ ดูดาเยฟ ปฏิเสธ ในปี 1990 Estonia ประกาศแยกตัวออกจาก สหภาพโซเวียต ดูดาเยฟ ได้ถูกส่งกลับ Grozny ในปีนั้น เพื่อเป็นเกียรติ์แต่ ดูดาเยฟ ได้มีการตั้งชื่อห้องพักในโรงแรมที่ ดูดาเยฟ นั่งสั่งการในช่วงนั้นว่า Dudaev suit ซึ่งยังมีอยู่จนถึงปัจจุบันนี้.

ดู สหภาพโซเวียตและโซคคาร์ ดูคาเยฟ

โปลิตบูโร

โปลิตบูโร (รัสเซีย: Политбюро, Politburo) หมายถึงคณะกรรมการบริหารพรรคการเมือง มักใช้กับพรรคคอมมิวนิสต์ ในอดีตสหภาพโซเวียต โปลิตบูโรประกอบด้วยเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ (The General Secretary of the Communist Party of the Soviet Union) และบุคคลสำคัญรองลงมาเช่น ประธานาธิบดี และนายกรัฐมนตรี ซึ่งนับตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและโปลิตบูโร

โปเลเซีย

ที่ลุ่มชื้นแฉะโปเลเซีย (สีเหลือง) บนแผนที่ของประเทศยูเครน โปเลเซีย (Пале́ссе Palyes'sye, Polesie, Поле́сье Poles'ye, Полі́сся Polissya) เป็นที่ลุ่มชื้นแฉะขนาดใหญ่ มีพรรณไม้ขึ้นหนาแน่น พื้นที่ส่วนใหญ่ไม่มีประชากรอยู่อาศัย อยู่ทางตอนใต้ของประเทศเบลารุสและทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศยูเครน บน 2 ฝั่งแม่น้ำปรีเปียต มีความยาวจากทางเหนือไปใต้ราว 225 กิโลเมตรและจากตะวันตกไปตะวันออกประมาณ 485 กิโลเมตร รู้จักในอีกชื่อว่า ปรีเปตมาร์เชส หรือ ปรีเปียตมาร์เชส (Pripyat Marshes) ตามชื่อแม่น้ำ หรือ ปินสค์มาร์เชส (Pinsk Marshes) ตามชื่อเมือง ปินสค์ โครงการสูบน้ำออกจากที่ลุ่มตั้งแต่ทศวรรษ 1870 ทำให้มีพื้นที่เพื่อการเกษตรเพิ่มขึ้น เคยเป็นเส้นเขตแดนธรรมชาติระหว่างโปแลนด์และสหภาพโซเวียต ซึ่งมีผลต่อการวางยุทธศาสตร์ในการเดินทัพและการอพยพประชากรนานหลายศตวรรษ หมวดหมู่:ภูมิภาคในประเทศโปแลนด์ หมวดหมู่:ภูมิภาคในประเทศยูเครน หมวดหมู่:ภูมิภาคในประเทศเบลารุส.

ดู สหภาพโซเวียตและโปเลเซีย

ไบโคนูร์คอสโมโดรม

"กาการินส์สตาร์ท" หนึ่งในฐานปล่อยของไบโคนูร์คอสโมโดรม แผนที่แสดงตำแหน่งที่ตั้งของไบโคนูร์คอสโมโดรมในประเทศคาซัคสถาน ไบโคนูร์คอสโมโดรม (Космодром Байконур; Байқоңыр ғарыш айлағы; Baikonur Cosmodrome) หรือเรียกว่า ไทยูเรตัม (Tyuratam) เป็นศูนย์ปล่อยอวกาศยานแห่งแรกและใหญ่ที่สุดของโลก ตั้งอยู่ในเขตทะเลทรายทุ่งหญ้าสเตปป์ของประเทศคาซัคสถาน ห่างจากทะเลอารัลไปทางทิศตะวันออกราว 200 กิโลเมตร ทางเหนือของแม่น้ำเซียร์ดาเรีย ใกล้กับสถานีรถไฟไทยูเรตัม ที่ความสูง 90 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล รัฐบาลรัสเซียเช่าศูนย์ดังกล่าวจากรัฐบาลคาซัคสถาน (จนถึง ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและไบโคนูร์คอสโมโดรม

ไฟร์ฟอกซ์ (ภาพยนตร์)

Firefox (ชื่อไทย: แผนจารกรรมมิก 31) เป็นภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและไฟร์ฟอกซ์ (ภาพยนตร์)

ไมเคิล แจ็กสัน

มเคิล โจเซฟ แจ็กสัน เป็นนักร้องชาวอเมริกัน นักแต่งเพลง นักออกแบบท่าเต้น นักแสดง โปรดิวเซอร์เพลงและนักการกุศล ได้รับการขนานนามว่าเป็น "ราชาเพลงป็อป" (The King of Pop)อิทธิพลทางดนตรี การเต้นรำ แฟชั่นและผลงานด้านมนุษยธรรม กับชีวิตส่วนตัวที่ถูกเผยแพร่ควบคู่ไปกับความสำเร็จ ทำให้เขาเป็นส่วนหนึ่งในวัฒนธรรมร่วมสมัยมากว่า 4 ทศวรรษ เขาเป็นลูกคนที่ 8 ของครอบครัวแจ็กสัน ปรากฏตัวครั้งแรกในระดับอาชีพด้านดนตรีตั้งแต่อายุ 5 ปี โดยเป็นหนึ่งในสมาชิกวงเดอะแจ็กสันไฟฟ์ในปี 1964 เขาเริ่มมีผลงานเดี่ยวในปี 1971 ขณะที่ยังคงเป็นสมาชิกของวงอยู่ ต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 เขากลายเป็นส่วนสำคัญในวัฒนธรรมเพลงป็อป และถือเป็นศิลปินชาวแอฟริกัน-อเมริกันคนแรกที่มีผลงานออกอากาศผ่านทางช่องเอ็มทีวี มิวสิกวิดีโอของเขา ประกอบด้วยเพลง "Beat It", "Billie Jean" และ "Thriller" ได้รับการยกย่องสำหรับการทำลายอุปสรรคทางเชื้อชาติ และเปลี่ยนแปลงรูปแบบมิวสิกวิดีโอจากอุปกรณ์การประชาสัมพันธ์ไปเป็นรูปแบบของงานศิลปะ ความนิยมของมิวสิกวิดีโอเหล่านี้ได้ช่วยให้ช่องเอ็มทีวีที่เพิ่งเปิดใหม่นี้มีชื่อเสียง อัลบั้ม Bad ของเขาในปี 1987 นับเป็นอัลบั้มเพลงแรกในประวัติศาสตร์ที่มีเพลงอันดับ 1 ถึง 5 เพลงบนบิลบอร์ดฮ็อต 100 จากอัลบั้มเดียว มิวสิกวิดีโอในรูปแบบใหม่อย่างเพลง "Black or White" และ "Scream" ก็ยังออกอากาศบ่อยทางช่องเอ็มทีวี เขายังสร้างสรรค์สิ่งใหม่ตลอดคริสต์ทศวรรษ 1990 ด้วยชื่อเสียงที่เลื่องลือในฐานะศิลปินเดี่ยวกับลีลาบนเวทีและการแสดง แจ็กสันสร้างความโด่งดังให้กับเทคนิคการเต้นที่ซับซ้อนโดยใช้ร่างกายมากมายหลายๆท่า ซึ่งก่อให้เกิดการแพร่หลายอย่างมาก อย่างเช่นท่าเต้นหุ่นยนต์และท่าเต้นมูนวอล์ก เอกลักษณ์ทางด้านดนตรีและเสียงร้องอันโดดเด่นของเขายังมีอิทธิพลต่อศิลปินหลายแนวเพลง อิทธิพลของเขาได้แพร่กระจายไปสู่คนหลายรุ่นทั่วโลก Thriller ถือเป็นอัลบั้มเพลงที่มียอดขายสูงสุดตลอดกาลสี่อัลบั้มเดี่ยวที่เหลือของเขา ก็ยังติดอันดับอัลบั้มที่ขายดีที่สุดในโลก ประกอบด้วยชุด Off the Wall (1979), Bad (1987), Dangerous (1991) และ HIStory (1995) แจ็กสันเดินทางไปทั่วโลกเพื่อร่วมกิจกรรมด้านมนุษยธรรม เขาหาเงินนับร้อยล้านดอลลาร์เพื่อมูลนิธิการกุศลของเขา มีซิงเกิลและผลกำไรจากทัวร์คอนเสิร์ตที่เขาสนับสนุนให้กับองค์กร 39 แห่ง บันทึกสถิติโลกกินเนสส์ระบุว่าเขาเป็นบุคคลบันเทิงที่มีส่วนร่วมในการกุศลมากยิ่งกว่าดาราหรือศิลปินคนใดๆ ชีวิตส่วนตัวของเขามักปรากฏตัวโดยการปรับเปลี่ยนเสื้อผ้าและพฤติกรรมให้คนอื่นจำไม่ได้ แต่นี่ก็เป็นสิ่งที่ทำลายภาพลักษณ์ที่ดีของเขาด้วยเช่นกัน เขายังถูกข้อกล่าวหาลวนลามทางเพศเด็กในปี 1993 แต่ก็ปิดลงโดยเขาไม่มีความผิดเนื่องจากมีหลักฐานไม่เพียงพอ แจ็กสันมีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 และยังมีข้อมูลรายงานขัดแย้งในเรื่องฐานะการเงินของเขาตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1990 แจ็กสันแต่งงานมาแล้วสองครั้ง มีลูกสามคน ต่อมาในปี 2005 เขามีข้อพิพาทอีกครั้งเรื่องล่วงละเมิดทางเพศและอีกหลายคดี แต่เขาก็ไม่มีความผิด (ซึ่งในภายหลังคู่กรณีหลายรายได้ออกมายอมรับว่า แจ็กสัน ไม่ได้กระทำ และที่กล่าวหา เพราะเป็นเด็ก และถูกผู้ปกครองบังคับ โดยหวังที่จะได้รับเงินค่าเสียหาย) เขาเป็นหนึ่งในไม่กี่ศิลปินที่มีชื่ออยู่ในร็อกแอนด์โรลฮอลออฟเฟมถึงสองครั้ง ผลงานของเขาประสบความสำเร็จได้รับบันทึกสถิติหลายครั้ง กินเนสส์บุ้คเวิลด์เรคคอร์ดจารึกชื่อเขาเป็น "ศิลปินบันเทิงที่ประสบความสำเร็จที่สุดตลอดกาล" เขาเป็นนักร้องคนเดียวจากโลกดนตรีป็อปและร็อกแอนด์โรลที่มีชื่ออยู่ในหอเกียรติยศแดนซ์ฮอลออฟเฟม และยังเป็นศิลปินเพียงคนเดียวที่มีเพลงฮิตติดท็อป 10 บนบิลบอร์ดฮ็อต 100 ทุก 10 ปี ติดต่อกันนานกว่าครึ่งศตวรรษ แจ็กสันชนะรางวัลจากเวทีต่างๆ นับร้อยกว่ารางวัล ทำให้เขาเป็นศิลปินที่คว้ารางวัลมากที่สุดในประวัติศาสตร์เพลงป็อปความสำเร็จอื่นๆ ของเขาได้แก่ สถิติในกินเนสบุ้คเวิลด์เรคคอร์ดหลายครั้ง 13 รางวัลแกรมมี่ รางวัลพิเศษ Grammy Legend Award, Grammy Lifetime Achievement Award 26 อเมริกันมิวสิกอวอร์ดส มากกว่าศิลปินคนใดๆ รวมไปถึงรางวัลพิเศษ "ศิลปินแห่งศตวรรษ" และ "ศิลปินแห่งทศวรรษ" 13 ซิงเกิลที่ขึ้นอันดับ 1 ในฐานะนักร้องเดี่ยว มากกว่าที่ศิลปินชายคนใดจะทำได้ และมียอดขายรวมกว่า 400 ล้านชุดทั่วโลก ไมเคิล แจ็กสัน เสียชีวิตเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน..

ดู สหภาพโซเวียตและไมเคิล แจ็กสัน

ไลพ์ซิช

ลพ์ซิช (Leipzig) เป็นเมืองสำคัญเมืองหนึ่งในรัฐซัคเซิน ในประเทศเยอรมนี มีประชากร 515,110 คน และเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในรัฐ และเป็นเมืองที่มีระบบการปกครองในรูปแบบเขตปกครองพิเศษ ชื่อ "ไลพ์ซิช" มาจากภาษาสลาฟว่า "ลิพสค์" (Lipsk) ซึ่ง แปลว่า ตั้งอยู่บนพื้นที่ ที่มีต้นไม้ดอกเหลือง นอกจากนี้ ไลพ์ซิชยังเป็นชื่อของเขตปกครองภายในรัฐซัคเซิน โดยในสหพันธรัฐแซกโซนีประกอบด้วย 3 เขตปกครอง (Landkreise) และ 3 เขตปกครองพิเศษ (Kreisfreie Städte) โดยเขตปกครองไลพ์ซิชเป็นเขตปกครองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสหพันธรัฐแซกโซนี เนื้อหาของบทความนี้กล่าวถึงเฉพาะเมืองไลพ์ซิชซึ่งเป็นเขตปกครองพิเศษเท่านั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและไลพ์ซิช

ไลกา (สุนัข)

ลก้า (Laika; Лайка, มีความหมายตามตัวอักษรว่า "ช่างเห่า" (barker); ประมาณ ค.ศ. 1954 - 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1957) เป็นสุนัขอวกาศโซเวียต ที่กลายเป็นสัตว์ตัวแรกที่โคจรรอบโลก เช่นเดียวกับเป็นตัวแรกที่ตายในวงโคจรด้วยเช่นกัน เนื่องจากเป็นที่ทราบกันน้อยมากถึงผลกระทบของการบินอวกาศที่มีต่อสิ่งมีชีวิตในขณะภารกิจของไลก้านั้น และเทคโนโลยีในการผละออกจากวงโคจรยังไม่ถูกพัฒนา จึงไม่มีการคาดว่าไลก้าจะรอดชีวิต นักวิทยาศาสตร์บางคนเชื่อว่ามนุษย์จะไม่อาจมีชีวิตอยู่ได้จากการปล่อยหรือสภาพของอวกาศ ดังนั้น วิศวกรจึงมองว่าเที่ยวบินที่ส่งสัตว์ขึ้นสู่อวกาศด้วยนั้นจำเป็นก่อนภารกิจของมนุษย์"".

ดู สหภาพโซเวียตและไลกา (สุนัข)

ไอริส-ที

อริส-ที (ย่อ: IRIS-T อังกฤษ: Infra Red Imaging System Tail) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศพิสัยใกล้ ที่เยอรมนีเป็นผู้นำในการพัฒนาร่วมกับหลายประเทศ เพื่อแทนที่ AIM-9 Sidewinder ซึ่งเป็นที่ใช้งานส่วนใหญ่ในประเทศสมาชิก นาโต้.

ดู สหภาพโซเวียตและไอริส-ที

ไออาร์ซี

ออาร์ซี (IRC - Internet Relay Chat) เป็นรูปแบบในการพูดคุยบนอินเทอร์เน็ต โดยมีรูปแบบในการสนทนาแบบกลุ่ม ใน 1 กลุ่มสนทนาเรียกว่า ช่อง (channel) แต่ก็ยังเปิดให้สนทนาแบบ หนึ่ง-ต่อ-หนึ่ง ผ่านระบบส่งข้อความส่วนตัว IRC ถูกคิดค้นขึ้นโดย Jarkko Oikarinen ในปลายเดือน สิงหาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและไออาร์ซี

ไอแซค อสิมอฟ

ร.ไอแซค อาซิมอฟ (Isaac Asimov; Айзек Азимов Ayzek Azimov; IPA:; 2 มกราคม พ.ศ. 2463-6 เมษายน พ.ศ. 2535) นักเขียนและนักชีวเคมีชาวอเมริกันเชื้อสายรัสเซียที่ประสบความสำเร็จอย่างสูง มีชื่อเสียงรู้จักกันดีในฐานะนักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ และหนังสือแนววิทยาศาสตร์สำหรับบุคคลทั่วไป ผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุดของเขาคือ หนังสือชุดสถาบันสถาปนา รวมทั้งหนังสืออีก 2 ชุด นั่นคือ หนังสือชุดจักรวรรดิเอ็มไพร์ และ หนังสือชุดหุ่นยนต์ นอกจากนี้เขายังได้เขียนนิยายแนวลึกลับและแฟนตาซี รวมทั้งสารคดีอีกจำนวนมาก เขาได้เขียนหนังสือในหมวดใหญ่ๆ ของระบบทศนิยมดิวอี้ทุกแนวเนื้อหา เว้นก็แต่แนวปรัชญาเท่านั้น อาซิมอฟถือเป็นนักเขียนรุ่นใหญ่ในบรรดานักเขียนนวนิยายวิทยาศาสตร์ โดยจัดอยู่ในแนวหน้า เช่นเดียวกับ โรเบิร์ต เอ.

ดู สหภาพโซเวียตและไอแซค อสิมอฟ

ไอเอ็มไอ กาลิล

กาลิล (Galil) เป็นตระกูลอาวุธปืนขนาดเล็กของอิสราเอลที่ถูกออกแบบโดยยิสราเอล กาลิลิและยาอาคอฟ ไลออร์ในปลายทศวรรษที่ 1960 และผลิตโดยอุตสาหกรรมกองทัพอิสราเอลของรามัท ฮาชารอน ระบบอาวุธประกอบด้วยกระบอกขนาด 5.56 ม.ม.สำหรับกระสุนขนาด 5.56x45 ม.ม.แบบนาโต้พร้อมกระสุนแบบเอ็ม193 หรือเอสเอส109 และมีแบบสำหรับกระสุนไรเฟิลขนาด 7.62x51 ม.ม.แบบนาโต้ การออกแบบของกาลิลนั้นมีเพื่อใช้ในสภาพที่แห้งแล้งและมีพื้นฐานมาจากอาร์เค 62 ของฟินแลนด์คาคาลิส, ปีเตอร์, การทดสอบและวัฒนาการของอาวุธ: ทหารที่ดีที่สุดต่อโชคชะตา, พาลาดิน เพรสส์,..

ดู สหภาพโซเวียตและไอเอ็มไอ กาลิล

ไฮนซ์ กูเดเรียน

นซ์ วิลเฮล์ม กูเดเรียน (Heinz Wilhelm Guderian) เป็นพลเอกแห่งกองทัพบกเยอรมันในสมัยนาซีเยอรมนี เขาโด่งดังจนได้รับการยกย่องจากคนทั้งโลกว่าเป็นบิดาแห่งยานเกราะ และมีสมญาว่า ไฮนซ์สายฟ้าแลบ (Schneller Heinz) จากการเป็นผู้คิดค้นยุทธวิธีสายฟ้าแลบ (บลิทซครีก) ที่ทำให้สามารถเข้ายึดโปแลนด์ได้สำเร็จและต่อมาก็ทำให้ฝรั่งเศสยอมจำนนต่อเยอรมันในการรุกที่แม่น้ำเมิซและเป็นผู้สร้างรถถังที่มีชื่อเสียง เช่น รถถังพันเทอร์, รถถังไทเกอร์ 2 เป็นต้น หน่วยของกูเดเรียนยอมจำนนต่อกองกำลังสหรัฐในวันที่ 10 พฤษภาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและไฮนซ์ กูเดเรียน

ไทแรนโนซอรัส

กะโหลกของ ไทแรนโนซอรัส นั้นมีขนาดใหญ่ที่สุด ในบรรดา ไดโนเสาร์กินเนื้อทั้งหมด ซึ่งความใหญ่ของกะโหลกวัดกันที่ความกว้าง หลังมีการค้นพบญาติร่วมวงศ์ตระกูลของทีเร็กซ์ ว่ามีขนปกคลุม ทำให้นักวิทยาศาตร์ ได้สันนิฐานว่า ทีเร็กซ์และญาติของมัน น่าจะมีขนปกคลุมตามตัว ไทแรนโนซอรัส หรือ ไทรันโนซอรัส (แปลว่า กิ้งก่าทรราชย์ มาจากภาษากรีก) เป็นสกุลหนึ่งของไดโนเสาร์ประเภทเทอโรพอด ชนิดเดียวที่เป็นที่รู้จักในสกุลนี้คือ ไทแรนโนซอรัส เรกซ์ (rex แปลว่า ราชา มาจากภาษาละติน) หรือเรียกอย่างย่อว่า ที.

ดู สหภาพโซเวียตและไทแรนโนซอรัส

ไซบีเรีย

ซบีเรีย ไซบีเรีย (Siberia, Сиби́рь) ถูกครอบครองโดยชนเผ่าเร่ร่อนหลากหลายกลุ่มแตกต่างออกไป เช่น Yenets, the Nenets, the Hun และ the Uyghurs Khan of Sibir ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เคียง มีอากาศหนาวเย็นได้เข้าครอบครองแล้วตั้งชื่อว่า Khagan ใน Avaria ในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและไซบีเรีย

เช เกบารา

อร์เนสโต เกบารา (Ernesto Guevara)ในระบบเสียงภาษาสเปนทั้งในยุโรปและลาตินอเมริกาโดยทั่วไปไม่ปรากฏหน่วยเสียง (ตรงกับเสียงของตัวอักษร v ในภาษาอังกฤษ) เพราะตัวอักษร b และ v แทนหน่วยเสียงเดียวกันคือ ซึ่งในการออกเสียงจริงอาจแปรเป็นเสียงกัก ริมฝีปาก ก้อง หรือเสียงเปิด ริมฝีปาก ก้อง ก็ได้ขึ้นอยู่กับตำแหน่งภายในคำและในประโยค รวมทั้งความระมัดระวังในการเปล่งเสียงของผู้พูด อนึ่ง เสียง นี้เป็นเสียงที่ฟังดูคล้ายกับเสียง หรือ สำหรับหูคนไทยหลายคน แต่ความจริงไม่ใช่ทั้งคู่ หรือที่รู้จักกันในชื่อ เช (Che,; 14 มิถุนายนThe date of birth recorded on his birth certificate was June 14, 1928, although one tertiary source, (Julia Constenla, quoted by Jon Lee Anderson), asserts that he was actually born on May 14 of that year.

ดู สหภาพโซเวียตและเช เกบารา

เบอร์ลิน

อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.

ดู สหภาพโซเวียตและเบอร์ลิน

เบอร์ลินตะวันออก

อร์ลินตะวันออก ฤดูร้อน ค.ศ. 1989 เบอร์ลินตะวันออก เป็นชื่อที่เรียกส่วนตะวันออกของเบอร์ลินระหว่างปี ค.ศ. 1949 ถึง 1990 ประกอบด้วยเขตเบอร์ลินใต้ปกครองของโซเวียตซึ่งก่อตั้งใน..

ดู สหภาพโซเวียตและเบอร์ลินตะวันออก

เบอร์ลินตะวันตก

แสดงอาณาเขตของกรุงเบอร์ลินที่อยู่ในการปกครองของประเทศต่างๆ โดยที่เบอร์ลินตะวันตกจะแสดงด้วยสีน้ำเงิน ม่วงและฟ้า เบอร์ลินตะวันตก เป็นชื่อเรียกของฝั่งตะวันตกของเมืองเบอร์ลิน ในช่วงปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและเบอร์ลินตะวันตก

เช็งยาง เจ-6

320pxเช็งยาง เจ-6 (Shenyang J-6; 歼-6; Farmer) เช็งยางเจ-6 เป็นเครื่องบินแบบ มิก-19 ที่ถูกสร้างโดยโรงงานสร้างอากาศยานแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน มิก-19 ซึ่งเป็นต้นแบบของ เจ6 เป็นเครื่องบินเจ๊ตความเร็วเหนือเสียงแบบแรกของสหภาพโซเวียต.

ดู สหภาพโซเวียตและเช็งยาง เจ-6

เพลงชาติลาว

ลงชาติลาว หรือ เพงซาดลาวในภาษาลาว (ลาว: ເພງຊາດລາວ) เป็นเพลงที่ได้รับการรับรองให้เป็นเพลงชาติของราชอาณาจักรลาวอย่างเป็นทางการใน พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและเพลงชาติลาว

เพลงชาติสหภาพโซเวียต

Slav’sya, Otechestvo nashe svobodnoye! (Славься, Отечество наше свободное!; Slav’sya, Otechestvo nashe svobodnoye!, แปล "Be glorious, our free Fatherland!"), หรือมีชื่อที่รู้จักอย่างเป็นทางการคือ "เพลงชาติสหภาพโซเวียต" (r) เป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการของสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตประกาศใช้อย่างเป็นทางการในวันที่ 15 มีนาคม 1944 ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง หลังการปฏิวัติสังคมนิยมในรัสเซียโดยพวกบอลเชวิคเมื่อเดือนตุลาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและเพลงชาติสหภาพโซเวียต

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน (Державний гімн Української Радянської Соціалістичної Республіки - Deržavný himn Ukrajinśkoji Radjanśkoji Socialistyčnoji Respubliky) เป็นเพลงชาติของประเทศยูเครนสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต (ในชื่อ "สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน").

ดู สหภาพโซเวียตและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย (Հայկական ՍՍՀ օրհներգ) เป็นเพลงชาติของอาร์มีเนียสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต.

ดู สหภาพโซเวียตและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก (Ўзбекистон Совет Социалист Республикасининг давлат мадҳияси) เป็นเพลงชาติของอุซเบกิสถานสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต.

ดู สหภาพโซเวียตและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก (ภาษาทาจิก: Гимни Республикаи Советии Сотсиалистии Тоҷикистон) เป็นชื่อของเพลงชาติของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ประเทศทาจิกิสถานอยู่ภายใต้การปกครองของ สหภาพโซเวียต ใช้ในระหว่างปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค (Қазақ Советтiк Социалистік Республикасының мемлекеттік әнұраны, Qazaq Sovettik Socïalïstik Respwblïkasınıñ memlekettik änuranı) เป็นเพลงชาติของคาซัคสถานสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต.

ดู สหภาพโซเวียตและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคีร์กีซ

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคีร์กีซ (Кыргыз ССР Мамлекеттик Гимни;Государственный гимн Киргизской ССР) เป็นเพลงชาติของคีร์กีซสถานสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต ประพันธ์เนื้อร้องโดย K.

ดู สหภาพโซเวียตและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคีร์กีซ

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย (гімн Беларуская Савецкая Сацыялістычная Рэспубліка, гимн Белорусской Советской Социалистической Республики) เป็นชื่อเพลงชาติของประเทศเบลารุสสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต (ในชื่อ "สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย") ประพันธ์เนื้อร้องโดยมิคาเอล คลีโมวิช (Michael Klimovich) ทำนองโดยเนสตาร์ ซาคาโลวสกี (Nestar Sakalowski) เมื่อปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย

เพลงชาติสาธารณรัฐอุซเบกิสถาน

ลงชาติสาธารณรัฐอุซเบกิสถาน (ГОСУДАРСТВЕННЫЙ ГИМН РЕСПУБЛИКИ УЗБЕКИСТАН O`zbekiston Respublikasining Davlat Madhiyasi) ที่ใช้ในปัจจุบันนี้เริ่มใช้เมื่อประเทศได้รับเอกราชจากสหภาพโซเวียตภายหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและเพลงชาติสาธารณรัฐอุซเบกิสถาน

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ (17 ธันวาคม พ.ศ. 2460 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2546) อดีตนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้บัญชาการทหารสูง.

ดู สหภาพโซเวียตและเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์

เกออร์กี จูคอฟ

กออร์กี คอนสตันตีโนวิช จูคอฟ (Georgy Konstantinovich Zhukov; Гео́ргий Константи́нович Жу́ков; 1 ธันวาคม พ.ศ. 2439 – 18 มิถุนายน พ.ศ. 2517) เป็นนายทหารอาชีพชาวโซเวียตในกองทัพแดง ซึ่งในห้วงสงครามโลกครั้งที่สองมีบทบาทสำคัญที่สุดในการนำกองทัพแดงยกผ่านยุโรปตะวันออกส่วนใหญ่เพื่อปลดปล่อยสหภาพโซเวียตและชาติอื่นจากการยึดครองของฝ่ายอักษะและพิชิตกรุงเบอร์ลินได้ในที่สุด เขาเป็นนายพลที่ได้รางวัลมากที่สุดในประวัติศาสตร์สหภาพโซเวียตและรัสเซีย เป็นนายพลที่ขึ้นชื่อที่สุดคนหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งได้อันดับต้น ๆ เพราะจำนวนและขนาดของชัยชนะ และคนจำนวนมากยอมรับความสามารถในการบังคับบัญชาทางปฏิบัติการและยุทธศาสตร์ของเขา สัมฤทธิภาพการรบของเขาพัฒนาความรู้ทางทหารของมนุษยชาติอย่างสำคัญ โดยมีอิทธิพลมากทั้งต่อทฤษฎีทางทหารของโซเวียตและทั้งโลก.

ดู สหภาพโซเวียตและเกออร์กี จูคอฟ

เกาะซาฮาลิน

เกาะซาฮาลิน (ภาษารัสเซีย: Сахали́н) เป็นเกาะทางตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งอยู่ระหว่างละติจูด 45° 50’ และ 54° 24' เหนือ โดยตั้งอยู่เหนือเกาะฮกไกโดของญี่ปุ่นเพียงเล็กน้อย เกาะซาฮาลินเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของรัสเซียและครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของแคว้นซาฮาลิน ในปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและเกาะซาฮาลิน

เกียวกุอง โฮโซ

แผ่นเสียงบันทึกกระแสพระราชดำรัส "เกียวกุอง โฮโซ" ของจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ ปัจจุบันได้รับการอนุรักษ์ไว์ที่พิพิธภัณฑ์ของเอ็นเอชเค เกียวกุอง โฮโซ หรือ "การออกอากาศพระสุรเสียง" เป็นการออกอากาศ "พระราชดำรัสว่าด้วยการสิ้นสุดสงครามมหาเอเชียบูรพา" ของจักรพรรดิฮิโระฮิโตะแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่น ทางระบบวิทยุกระจายเสียง โดยทรงประกาศต่อชาวญี่ปุ่นว่ารัฐบาลญี่ปุ่นได้ยอมรับปฏิญญาพ็อทซ์ดัม ซึ่งต้องการให้ทหารญี่ปุ่นยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขเพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่สอง พระราชดำรัสดังกล่าวได้รับการเผยแพร่เมื่อเที่ยงวันตามเวลามาตรฐานญี่ปุ่น วันที่ 15 สิงหาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและเกียวกุอง โฮโซ

เกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซี

ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซี ถูกจัดตั้งขึ้นโดยนาซีเยอรมนีเพื่อกักขังชาวยิว และบางครั้งอาจรวมชาวยิปซี เข้าไปในพื้นที่แออัดแน่นของนคร รวมแล้ว ตามบันทึกของพิพิธภัณฑ์อนุสรณ์การล้างชาติโดยนาซีสหรัฐอเมริกา "พวกเยอรมันจัดตั้งเกตโตอย่างน้อย 1,000 แห่งเฉพาะในโปแลนด์และสหภาพโซเวียตส่วนที่เยอรมนียึดครองและผนวกไว้" ดังนั้น ตัวอย่างจึงตั้งใจเพียงเพื่อแสดงให้เห็นขอบเขตและสภาพความเป็นอยู่ของเกตโตทั่วยุโรปตะวันออก แม้คำว่า "เกตโต" จะใช้โดยทั่วไปในงานประพันธ์เกี่ยวกับการล้างชาติโดยนาซี แต่พวกนาซีมักเรียกสถานกักกันเหล่านี้บ่อยครั้งว่า "ย่านชาวยิว" (Jewish Quarter) ไม่นานหลังการรุกรานโปแลนด์ใน..

ดู สหภาพโซเวียตและเกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซี

เมลามีน

มลามีน Melamine เป็นเบสอินทรีย์ มีสูตรทางเคมีว่า C3H6N6, และชื่อทาง IUPAC ว่า 1,3,5-triazine-2,4,6-triamine เมลามีนเป็นสารที่ละลายน้ำได้เพียงเล็กน้อย เมลามีนเป็นไทรเมอร์ (หรือสารประกอบที่เกิดจากโมเลกุล 3 ตัวที่เหมือนกันแตกเป็นสามขา) ของไซยานาไมด์ (cyanamide) เช่นเดียวกันกับไซยานาไมด์ เมลามีนประกอบด้วยไนโตรเจน 66% (โดยมวล) เป็นสารที่มีคุณสมบัติหน่วงไฟเมื่ออยูในรูปของเรซินด้วยการปลดปล่อยไนโตรเจนออกมาเมื่อลุกใหม้หรือถูกเผา มีการนำเอา Dicyandiamide (หรือ cyanoguanidine), ที่เป็นไดเมอร์ (สองส่วน - dimer) ของไซยานาไมด์มาใช้เป็นสารหน่วงไฟเช่นกัน เมลามีนเป็นสารในกระบวนการสร้างและสลาย (metabolite) ของ “ไซโลมาซีน (cyromazine) ซึ่งเป็นยาฆ่าแมลงชนิดหนึ่ง เป็นสารที่เกิดขึ้นในตัวของสัตว์เลือดอุ่นที่ย่อยไซโลมาซีน มีรายงานด้วยเช่นกันว่าไซโลมาซีนเปลี่ยนเป็นเมลามีนในพื.

ดู สหภาพโซเวียตและเมลามีน

เมทัลเกียร์โซลิด 3: สเนกอีตเตอร์

มทัลเกียร์ โซลิด 3:สเนค อีทเตอร์ (Metal Gear Solid 3:Snake Eater) เป็นเกมภาคต่อชุดที่สาม ในซีรีส์เมทัลเกียร์โซลิด (และนับเป็นภาคต่อชุดที่ห้า ในซีรีส์เมทัลเกียร์) วางจำหน่ายครั้งแรกในปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและเมทัลเกียร์โซลิด 3: สเนกอีตเตอร์

เมนิงคาซัคสตานึม

มนิงคาซัคสตานึม (Менің Қазақстаным, Meniñ Qazaqstanım; แปลว่า คาซัคสถานของข้า) คือชื่อของเพลงชาติคาซัคสถานในปัจจุบัน ซึ่งเริ่มใช้มาตั้งแต่วันที่ 7 มกราคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและเมนิงคาซัคสตานึม

เม็นออฟอิสราเอล

ม็นออฟอิสราเอล (Men of Israel) เป็นหนังโป๊เกย์ในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและเม็นออฟอิสราเอล

เยเลนา อิซินบาเยวา

ลนา อิซินบาเยวา (Елена Гаджиевна Исинбаева; Yelena Gadzhievna Isinbayeva; 3 มิถุนายน ค.ศ. 1982 —) เป็นนักกีฬากระโดดค้ำถ่อชาวรัสเซีย เธอเป็นผู้ได้รับรางวัลเหรียญทองโอลิมปิกฤดูร้อนสองสมัย (ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและเยเลนา อิซินบาเยวา

เรือบรรทุกเครื่องบินเหลียวหนิง

รือบรรทุกเครื่องบินเหลียวหนิง (中国人民解放军海军辽宁舰; Liaoning) เป็นเรือบรรทุกเครื่องบินลำแรกของสาธารณรัฐประชาชนจีน เรือบรรทุกเครื่องบินเหลียวหนิง เดิมชื่อว่า เรือบรรทุกเครื่องบินวาร์ยัก (Варяг; Varyag) เป็นเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นคุซเนตซอฟของโซเวียต ต่อขึ้นที่อู่ต่อเรือที่เมืองไมโคเลฟ ติดทะเลดำ ทางตอนใต้ของยูเครน ปล่อยลงน้ำเมื่อปี..

ดู สหภาพโซเวียตและเรือบรรทุกเครื่องบินเหลียวหนิง

เรือดำน้ำ

รือดำน้ำชั้นไต้ฝุ่นของกองทัพเรือรัสเซีย เรือดำน้ำขนาดเล็ก เรือดำน้ำ เป็นเรือรบที่สามารถปฏิบัติการในขณะที่อยู่ใต้ผิวน้ำได้ สร้างจากเหล็กแต่มีความสามารถในการเคลื่อนที่ภายใต้น้ำ เรือดำน้ำ ถูกนำมาใช้ในการสงครามและการค้นคว้าสำรวจใต้ทะเลลึกในบริเวณที่มนุษย์เราไม่สามารถดำลงไปได้ด้วยการสวมเพียงชุดดำน้ำ ด้วยคุณสมบัติที่พิเศษเหนือกว่ายานพาหนะชนิดอื่นคือ มันสามารถที่จะอยู่ได้ทั้งบนผิวน้ำและใต้น้ำ นับตั้งแต่ ปี..

ดู สหภาพโซเวียตและเรือดำน้ำ

เรือดำน้ำชั้นไต้ฝุ่น

รือดำน้ำชั้นไต้ฝุ่น หรือ The Project 941 หรือ เรือดำน้ำชั้น Akula, "Акула" (ภาษารัสเซีย แปลว่า "ฉลาม") (นาโต้ใช้ชื่อว่า: Typhoon) เป็นเรือดำน้ำติดตั้งขีปนาวุธ และยังเป็นเรือดำน้ำพลังงานนิวเคลียร์ ที่ได้รับการพัฒนาโดยสหภาพโซเวียต ในปี 1980 ด้วยความสามารถในการบรรทุกมากกว่า 48,000 ตัน ทำให้มันเป็น เรือดำน้ำ ที่ ใหญ่ที่สุดในโลก ที่สุดที่เคยมีมา แต่พวกมันกลับทำงานได้เงียบกว่า เรือดำน้ำ รุ่นก่อนมาก ถึงจะมีรูปร่างขนาดใหญ่โต แต่นั้นไม่ไม่ทำให้ เรือดำน้ำ ไต้ฝุ่น นั้นมีคุณสมบัติที่ด้อยลงเรื่องการเคลื่อนที่ หรือการหลบหลีกการตรวจจับ และด้วยการออกแบบให้ตัวเรือประกอบขึ้นด้วยเปลือกป้องกันแรงดัน 2 ชั้นวางขนานกัน และส่วนบนของตัวเรือจะมีการติดตั้งเปลือกป้องกันแรงดัน ชั้นที่ 3 ทำให้มันป้องกันแรงกดดันของน้ำได้ดี และมากขึ้น ทำให้เรือดำน้ำรุ่นนี้หลุดจากหลักการออกแบบ ที่ต้องทำให้ตัวเรือกลม (ตัวเรือทรงวงกลมรับแรงกดได้ดีที่สุด) ตัวเรือออกแบบให้แบนได้มากขึ้น ตัวเรือ มีความกว้างเพิ่มขึ้น ซึ่งทำให้มีพื้นที่ใช้สอยภายในเพิ่มขึ้น แม้แต่เครื่องออกกำลังกาย หรือสระว่ายน้ำภายในก็ยังมี เนื่องจากทหารส่วนใหญ่จะต้องอยู่ในใต้ทะเลเป็นเวลานานจึงต้องมีการ ออกกำลังกาย หรือทำกิจกรรมที่ทำให้ ผ่อนคลายได้บ้าง.

ดู สหภาพโซเวียตและเรือดำน้ำชั้นไต้ฝุ่น

เรือดำน้ำในอาเซียน

นื่องด้วยสภาพภูมิประเทศของบรรดาสมาชิกอาเซียน มีภูมิศาสตร์ติดกับทะเลและเป็นหมู่เกาะ อีกทั้งเมื่อนับความยาวของชายฝั่งและทะเลแล้ว ยังมีความยาวมากที่สุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งทรัพยากรธรรมทั้งน้ำมัน แหล่งอาหาร รวมถึงมีแหลมสุมาตราและช่องแคบมะละกาซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์ของ การขนส่งสินค้า และการเดินทางโดยเรือ.

ดู สหภาพโซเวียตและเรือดำน้ำในอาเซียน

เรือดำน้ำโซเวียต เอส-194

รือดำน้ำโซเวียต เอส-194 เป็นเรือดำน้ำของสหภาพโซเวียต ในชั้น โปรเจกต์ 613 หรือที่นาโตกำหนดรหัสเรียกขานว่า เรือดำน้ำชั้นวิสกี้ ซึ่งต่อขึ้นที่อู่ต่อเรือของโซเวียต ระหว่าง พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและเรือดำน้ำโซเวียต เอส-194

เลฟ ยาชิน

ลฟ อิวาโนวิช ยาชิน (Лев Ива́нович Я́шин; 22 ตุลาคม ค.ศ. 1929 — 20 มีนาคม ค.ศ. 1990) เจ้าของฉายา "แมงมุมดำ", "เสือดำ" หรือ "หมึกยักษ์ดำ" เป็นนักฟุตบอลผู้รักษาประตูชาวโซเวียตเชื้อสายรัสเซีย ที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้รักษาประตูที่ดีที่สุดในประวัติศาสตร์กีฬาฟุตบอล ยาชินมีชื่อเสียงอย่างมากจากปฏิกิริยาการป้องกันลูกอันน่าทึ่ง และการคิดค้นแนวคิดเด็ดขาดสำหรับการป้องกันประตู ยาชินได้รับเลือกให้เป็นผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมยุโรป‎ประจำคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยสหพันธ์ประวัติศาสตร์และสถิติฟุตบอลนานาชาติ และเป็นผู้รักษาประตูคนเดียวที่ได้รับรางวัลนักฟุตบอลยอดเยี่ยมแห่งปีของทวีปยุโรปหรือบาลงดอร์ในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและเลฟ ยาชิน

เลฟ ดาวิโดวิช ลันเดา

ลฟ ดาวิโดวิช ลันเดา เป็นนักฟิสิกส์คนสำคัญของสหภาพโซเวียตในคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีผลงานที่โดดเ่ด่นในหลายด้านโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านฟิสิกส์ของสสารควบแน่น ลันเดาเกิดเมื่อวันที่ 9(22) มกราคม ปี..

ดู สหภาพโซเวียตและเลฟ ดาวิโดวิช ลันเดา

เลออน ทรอตสกี

ลออน ทรอตสกี (Лев Тро́цкий) ชื่อเกิด เลฟ ดาวิโดวิช บรอนชเทย์น (Лев Дави́дович Бронште́йн) เป็นนักปฏิวัติและนักทฤษฎีมาร์กซิสต์ นักการเมืองโซเวียต และผู้ก่อตั้งและผู้นำคนแรกของกองทัพแดง ทรอตสกีแต่แรกเป็นผู้สนับสนุนกลุ่มแยกสนับสนุนความร่วมมือระหว่างประเทศเมนเชวิค (Menshevik Internationalists) แห่งพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย เขาเข้ากับพรรคบอลเชวิคทันทีก่อนการปฏิวัติตุลาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและเลออน ทรอตสกี

เลโอนิด เบรจเนฟ

ลโอนิด อิลลิช เบรจเนฟ (Леонид Ильич Брежнев; Leonid Illyich Brezhnev; 19 ธันวาคม 2449 – 10 ธันวาคม 2525) เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตและประธานาธิบดีโซเวียตคนที่ 8 ระหว่างสงครามเย็น.

ดู สหภาพโซเวียตและเลโอนิด เบรจเนฟ

เวียดนามแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 831

วียดนามแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 831 เป็นอุบัติเหตุเครื่องบินตกในประเทศไท..

ดู สหภาพโซเวียตและเวียดนามแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 831

เวเนรา 3

วเนรา 3 (Венера-3) เป็นยานอวกาศที่ถูกสร้างและปล่อยขึ้นสู่อวกาศโดยสหภาพโซเวียต เพื่อไปสำรวจพื้นผิวของดาวศุกร์ โดยถูกปล่อยเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและเวเนรา 3

เวเนรา 9

วนโคจรของเวเนรา 9 เวเนรา 9 (Venera 9, Венера-9) เป็นเที่ยวบินอวกาศไร้คนบังคับของสหภาพโซเวียตไปยังดาวศุกร์ มันประกอบด้วยส่วนโคจรและส่วนลงจอด ปล่อยขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน..

ดู สหภาพโซเวียตและเวเนรา 9

เศรษฐกิจและการค้าของประเทศลิทัวเนีย

ประเทศลิทัวเนีย ใช้สกุลเงินลิตัส (Litas) เริ่มใช้ตั้งแต่ปี 2536 แทนเงินสกุลรูเบิล อัตราแลกเปลี่ยน 1 Euro.

ดู สหภาพโซเวียตและเศรษฐกิจและการค้าของประเทศลิทัวเนีย

เหมย หลันฟัง

หมย หลันฟัง (22 ตุลาคม พ.ศ. 2437 - 8 กันยายน พ.ศ. 2504) เป็นชื่อที่ใช้ในการแสดงของนักแสดงอุปรากรจีน ที่มีชื่อเสียงที่สุดของประเทศจีนในยุคปัจจุบัน มีชื่อจริงว่า เหมย หลัน เขาเป็นนักแสดงชายผู้รับบท "ตั้น" (旦) หรือตัวนาง ที่มีลีลาการแสดงที่อ่อนช้อยงดงาม ได้รับการยกย่องเป็นหนึ่งในสี่นักแสดงงิ้วปักกิ่ง ที่สมบูรณ์แบบที่สุดในประวัติศาสตร์การแสดงอุปรากรจีน ซึ่งประกอบด้วย เหมย หลันฟัง เฉิง ยั่นชิว (Cheng Yanqiu, 程砚秋) สุน ฮุ่ยเซิง (Xun Huisheng, 荀慧生) และซั่ง เสี่ยวหยุน (Shang Xiaoyun, 尚小云) เหมย หลัน เกิดที่เมืองไท่โจว มณฑลเจียงซู ในครอบครัวนักแสดงงิ้วปักกิ่ง เป็นกำพร้าตั้งแต่เด็ก เริ่มเรียนรู้ศิลปะการแสดงตั้งแต่อายุได้ 8 ปี และได้เริ่มออกแสดงครั้งแรกเมื่ออายุ 11 ปี ได้ฝึกฝนตัวเองจนได้รับการยกย่องเป็น 1 ใน 4 นางเอกงิ้วแถวหน้าของวงการ ในช่วงต้นทศวรรษ 1920 ยกเว้นช่วงหลังเหตุการณ์ ณ สะพานมาร์โค โปโล ที่ทำให้เกิดสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง ระหว่างปี พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและเหมย หลันฟัง

เหมา เจ๋อตง

หมา เจ๋อตง หรือ เหมา เจ๋อตุง (26 ธันวาคม พ.ศ. 2436 — 9 กันยายน พ.ศ. 2519) หรือที่นิยมเรียกอีกอย่างว่า ท่านประธานเหมา เป็นผู้ก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน และทำให้จีนเปลี่ยนระบอบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์มาจนถึงปัจจุบัน.

ดู สหภาพโซเวียตและเหมา เจ๋อตง

เหรียญฟิลด์ส

้านหน้าของเหรียญฟิลด์ส เหรียญฟิลด์ส (อังกฤษ: Fields Medal) เป็นรางวัลที่มอบให้แก่นักคณิตศาสตร์จำนวน 2-4 คน ที่มีอายุไม่เกิน 40 ปี ในการประชุมคณิตศาสตร์นานาชาติของสหภาพคณิตศาสตร์ระหว่างประเทศ (International Mathematics Union หรือ IMU) ซึ่งจัดขึ้นทุกๆ 4 ปี รางวัลเหรียญฟิลด์สได้รับการยอมรับในวงกว้างว่าเป็นรางวัลเกียรติยศสูงสุดสำหรับนักคณิตศาสตร์ รางวัลนี้มอบให้พร้อมกับเงินรางวัลเป็นจำนวน 15,000 ดอลลาร์แคนาดา (ตั้งแต่ปี 2006) เหรียญฟิลด์สก่อตั้งโดยความประสงค์ของนักคณิตศาสตร์ชาวแคนาดา จอห์น ชาร์ลส์ ฟิลด์ส (John Charles Fields) มอบรางวัลครั้งแรกในปี 1936 แก่นักคณิตศาสตร์ชาวฟินแลนด์ชื่อ ลาร์ส อาห์ลฟอร์ (Lars Ahlfors) และนักคณิตศาสตร์ชาวอเมริกันชื่อ เจสส์ ดักลาส (Jesse Douglas) และจัดมอบทุกๆ 4 ปีมาตั้งแต่ปี 1950 โดยมีจุดประสงค์เพื่อสนับสนุนและให้เกียรตินักวิจัยวัยหนุ่มสาวที่อุทิศตนเพื่องานด้านคณิตศาสตร.

ดู สหภาพโซเวียตและเหรียญฟิลด์ส

เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนาม

หตุปะทะชายแดนไทย-เวียดนามเกิดขึ้นเมื่อกำลังทหารเวียดนามบุกเข้ากัมพูชาเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม..

ดู สหภาพโซเวียตและเหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนาม

เอฟ-117 ไนท์ฮอว์ก

อฟ-117 ไนท์ฮอว์ก (F-117 Nighthawk) เป็นอากาศยานโจมตีภาคพื้นดินล่องหนที่อดีตเคยถูกใช้งานโดยกองทัพอากาศสหรัฐ มันได้ทำการบินครั้งแรกในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและเอฟ-117 ไนท์ฮอว์ก

เอฟ-14 ทอมแคท

อฟ-14 ทอมแคท (F-14 Tomcat) เป็นเครื่องบินขับไล่ปีกพับสองที่นั่งสองเครื่องยนต์มีความเร็วเหนือเสียง เอฟ-14 เป็นเครื่องบินขับไล่ครองความได้เปรียบทางอากาศเครื่องบินสกัดกั้น และเครื่องบินลาดตระเวนทางยุทธวิธีของกองทัพเรือสหรัฐตั้งแต่ปี..

ดู สหภาพโซเวียตและเอฟ-14 ทอมแคท

เอฟ-20 ไทเกอร์ชาร์ค

อฟ-20 ไทเกอร์ชาร์ค เริ่มแรกใช้ชื่อ เอฟ-5จี (F-20 Tigershark) เป็นเครื่องบินขับไล่ขนาดเบาที่ออกแบบและสร้างโดยนอร์ทธรอป การพัฒนาเริ่มขึ้นในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและเอฟ-20 ไทเกอร์ชาร์ค

เออร์สกิน คอลด์เวลล์

ออร์สกิน คอลด์เวลล์(Erskine Caldwell) เออร์สกิน เพรสตัน คอลด์เวลล์ (Erskine Preston Caldwell 17 ธันวาคม ค.ศ. 1903 - 11 เมษายน ค.ศ. 1987) นักเขียนชาวอเมริกัน มักจะเขียนถึงชีวิตของผู้คนยากจนที่มีทั้งชาวผิวขาวและผิวดำในชนบททางภาคใต้ของสหรัฐฯ อันเป็นถิ่นกำเนิดของเขา ด้วยท่วงทำนองหม่นเศร้าและเป็นจริง ในบรรดานวนิยาย 25 เรื่อง (และหนังสือสารคดีอีก 12 เล่ม) ไม่มีเล่มไหนโด่งดังไปกว่า Tobacco Road (ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและเออร์สกิน คอลด์เวลล์

เอียน เฟลมมิง

อียน แลนแคสเตอร์ เฟลมมิง (Ian Lancaster Fleming) เป็นนักประพันธ์ชาวอังกฤษ เจ้าของนวนิยายเรื่อง เจมส์ บอนด์ 007 ซึ่งต่อมามีการนำไปสร้างเป็นการ์ตูน และภาพยนตร์อีกมากมาย เกิดเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและเอียน เฟลมมิง

เอ็ม1 เอบรามส์

อ็ม1 เอบรามส์ (M1 Abrams) เป็นรถถังหลักรุ่นที่สามของสหรัฐอเมริกา ชื่อของมันมาจากนายพลเครกตัน เอบรามส์ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุดและผู้บัญชาการกองทัพสหรัฐในสงครามเวียดนามตั้งแต่ปี..

ดู สหภาพโซเวียตและเอ็ม1 เอบรามส์

เอ็ม61 วัลแคน

อ็ม 61 วัลแคน เอ็ม61 วัลแคน (ภาษาอังกฤษ: M61 Vulcan) เป็นปืนที่ทำงานด้วยระบบไฮดรอลิก มีหกลำกล้อง ระบายความร้อนด้วยอากาศ และยิงด้วยระบบแบบปืนกลแกทลิ่งในอัตราการยิงที่สูงอย่างมาก มันเป็นปืนใหญ่หลักที่ใช้กับอากาศยานทางทหารของสหรัฐอเมริกามากว่าห้าทศวรรษ เอ็ม61 เดิมที่ถูกสร้างขึ้นโดยเจเนรัล อิเลคทริคและต่อมาก็เป็นเจเนรัล ไดนามิกส์, FAS.org.

ดู สหภาพโซเวียตและเอ็ม61 วัลแคน

เอเชียนเกมส์

อเชียนเกมส์ (Asian Games; ชื่อย่อ: Asiad) เป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ระหว่างประเทศในทวีปเอเชีย ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสี่ปี เริ่มกำหนดการแข่งขันโดย สหพันธ์เอเชียนเกมส์ (The Asian Games Federation; AGF) ตั้งแต่การแข่งขันครั้งแรกถึงครั้งที่ 8 และตั้งแต่เอเชียนเกมส์ครั้งที่ 9 เป็นต้นมา บริหารจัดการแข่งขันโดย สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย (Olympic Council of Asia; OCA) ภายใต้การรับรองโดย คณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee; IOC) และยังถือได้ว่าเป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ซึ่งมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองรองจากกีฬาโอลิมปิกด้วย ในประวัติศาสตร์ของเอเชียนเกมส์ มีชาติเจ้าภาพจัดการแข่งขันแล้ว 9 ประเทศ โดยมี 46 ประเทศเข้าร่วม ยกเว้นอิสราเอลซึ่งถูกกีดกันออกจากเอเชียนเกมส์ หลังจากที่เข้าร่วมเป็นคราวสุดท้ายใน เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 7 ที่ประเทศอิหร่าน สำหรับเอเชียนเกมส์ครั้งหลังสุดได้จัดขึ้นที่นครอินช็อนของเกาหลีใต้ระหว่างวันที่ 19 กันยายน-4 ตุลาคม พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและเอเชียนเกมส์

เอเชียใต้

แผนที่เอเชียใต้ สีเขียวเข้มแสดงเอเชียใต้โดยทั่วไป และสีเขียวอ่อนคือเขตที่สหประชาชาติหมายถึงเอเชียใต้ เอเชียใต้เป็นภูมิภาคของทวีปเอเชีย และเป็นที่ตั้งของประเทศอินเดีย ปากีสถาน บังคลาเทศ ศรีลังกา เนปาล ภูฏาน และมัลดีฟส์ มีพื้นที่กว้าง 4,480,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 12% ของทวีปเอเชีย ภูมิภาคนี้ยังเป็นที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า อนุทวีปอินเดีย ประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคนี้ทั้งหมดต่างก็เป็นสมาชิกขององค์กรความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียใต้ (The South Asian Association for Regional Cooperation หรือ SAARC) ในบางครั้งพื้นที่บางส่วนหรือทั้งหมดของประเทศอัฟกานิสถาน ก็ถูกจำแนกให้เป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคเอเชียใต้ด้วย อนุภูมิภาคเอเชียใต้แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ.

ดู สหภาพโซเวียตและเอเชียใต้

เอเชียเหนือ

อเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียเหนือ (North Asia หรือ Northern Asia) เป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ในเอเชียที่ประกอบด้วยประเทศรัสเซียทางฝั่งเอเชียเพียงอย่างเดียว คำ ๆ นี้มักไม่ค่อยได้ใช้กันอย่างกว้างขวาง ในบางครั้งเอเชียเหนือจะใช้เรียกส่วนของเอเชียตะวันออก หนังสือ Phillips Illustrated Atlas of the World 1988 แบ่งแยกเอเชียเหนือไว้ว่าเป็นส่วนมากของอดีตสหภาพโซเวียต ในส่วนตะวันออกของเทือกเขายูรัล.

ดู สหภาพโซเวียตและเอเชียเหนือ

เอเอสยู-57

*ประเทศผู้ผลิต สหภาพโซเวียต.

ดู สหภาพโซเวียตและเอเอสยู-57

เอเอสยู-85

right.

ดู สหภาพโซเวียตและเอเอสยู-85

เอเค 47

อเค-47 หรือ ปืนอาก้า (AK-47) เป็นปืนเล็กยาวจู่โจมขนาด 7.62 ม.ม.ที่ทำงานด้วยระบบแก๊สและเลือกการยิงได้ มันถูกสร้างขึ้นครั้งแรกโดยมิคาอิล คาลาชนิคอฟของสหภาพโซเวียต ชื่อเอเค-47 ย่อมาจาก Avtomat Kalashnikova หรือ 'Kalashnikov's Automatic Rifle โดยระบบเลือกยิงนั้น มี กึ่งอัตโนมัติ และ อัตโนมัติ การออกแบบเริ่มขึ้นเมื่อปี..

ดู สหภาพโซเวียตและเอเค 47

เฮลซิงกิ

ลซิงกิ() (Helsingfors) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศฟินแลนด์ ตั้งอยู่ทางใต้ของประเทศ ริมชายฝั่งอ่าวฟินแลนด์ ตัวเมืองมีประชากรประมาณ 600,000 คน เฮลซิงกิอยู่ติดกับเมืองวันตาและเอสโปซึ่งรวมตั้งเป็นเขตเมืองหลวงหรือมหานครเฮลซิงกิ มีประชากรเกือบหนึ่งล้านคน และถ้านับเขตที่อยู่อาศัยในปริมณฑลด้วยจะมีประชากรมากกว่า 1.2 ล้านคน เฮลซิงฟอร์สเป็นชื่อเมืองดั้งเดิม และยังคงเป็นชื่อเมืองในภาษาสวีเดนในปัจจุบัน ในอดีตเป็นชื่อที่ใช้ในระดับนานาชาติด้ว.

ดู สหภาพโซเวียตและเฮลซิงกิ

เจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งบัลแกเรีย

้าหญิงมารี หลุยส์แห่งบัลแกเรีย (Княгиня Мария Луиза Българска; 13 มกราคม พ.ศ. 2476 —) เป็นพระธิดาในพระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรียกับเจ้าหญิงโจวันนาแห่งอิตาลี พระองค์เป็นพระเซษฐภคินีใน พระเจ้าซาร์ซิเมออนที่ 2 แห่งบัลแกเรี.

ดู สหภาพโซเวียตและเจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งบัลแกเรีย

เทคโนโลยีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง

มีความสำคัญอย่างมากในทุกสมรภูมิทั้งในยุโรป แอฟริกาหรือแม้กระทั่งแปซิฟิกก็ตาม เพราะถ้าจะทำให้กองทัพบกเข้มแข็งก็ต้องมีกองบินที่แข็งแกร่งก่อน เครื่องบินรบที่สำคัญก็มี สปิตไฟท์ของ อังกฤษ แมสเซอร์สมิตซ์ 109 ของเยอรมัน เครื่องบินซีโร่ของญี่ปุ่น พี-51 มัสแตง ของสหรัฐ โดยในแปซิฟิคเครื่องบินรบจะมีบทบาทมากว่าเรือรบอย่างเห็นได้ชัด ในสมรภูมิยุโรปเครื่องบินก็เป็นส่วนสำคัญในปฏิบัติการสายฟ้าแลบของเยอรมันในช่วงต้นของสงคราม อาจพูดได้ว่าเครื่องบินรบนั้นสำคัญที่สุด เป็นตัวแปรที่สำคัญในสงครามอย่างยิ่ง นอกจากนี้ นาซีเยอรมันได้คิดค้นเครื่องบินรบไอพ่นเป็นครั้งแรก ทำให้กลายเป็นที่หวาดกลัวของกองทัพอากาศสัมพันธมิตรแต่ทว่าหลังสงคราม สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และสหภาพโซเวียตได้นำมันมาพัฒนาและสร้างได้หลายชนิด หมวดหมู่:สงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:ยุทโธปกรณ.

ดู สหภาพโซเวียตและเทคโนโลยีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง

เขื่อนอัสวาน

ื่อนอัสวาน เขื่อนอัสวาน (السد العالي as-Sad al-'Aly; Aswan Dam) เป็นเขื่อนขนาดใหญ่ของประเทศอียิปต์ สร้างโดยการสนับสนุนของสหภาพโซเวียต เป็นเขื่อนขนาดใหญ่อันดับ 2 ของโลก.

ดู สหภาพโซเวียตและเขื่อนอัสวาน

เขตปลอดทหาร

ตปลอดทหาร (demilitarized zone หรือ demilitarised zone; ย่อ: DMZ) เป็นท้องที่ที่ห้ามดำเนินกิจกรรมทางทหาร โดยมักเป็นเขตแดนหรือพรหมแดนระหว่างอำนาจหรือพันธมิตรทางทหารสองฝ่ายหรือกว่านั้น และการห้ามเช่นว่ามักมีขึ้นโดยอาศัยสนธิสัญญาสันติภาพ การสงบศึก ความตกลงทวิหรือพหุภาคี บ่อยครั้งที่เขตปลอดทหารอยู่ในพื้นที่ควบคุมและทำหน้าที่เป็นเขตแดนระหว่างประเทศอย่างแท้จริง เขตปลอดทหารหลายแห่งกลายเป็นเขตสงวนพันธุ์สัตว์ป่าไปโดยมิได้ตั้งใจ เพราะอันตรายเกินกว่าจะปลูกสร้างสิ่งใด ๆ ทั้งน้อยคนจะสามารถรุกล้ำหรือล่าสัตว์ในนั้นได้ เขตปลอดทหารทำนองนี้มีเขตปลอดทหารเกาหลี และเขตปลอดทหารเวียดนาม เป็นต้น โดยทั่วไป ที่ว่า "ปลอดทหาร" นั้นหมายถึง แปลงให้พ้นจากประโยชน์หรือความมุ่งหมายทางทหาร กลับสู่อาณาเขตที่ปราศจากทหารสหภาพโซเวียตในอดีตมักใช้คำนี้ในความหมายดังกล่าวทั้งในภาษาตะวันตกและภาษาถิ่นของตัว แม้ว่าเขตปลอดทหารหลายเขตเป็นดินแดนที่เป็นกลาง เพราะไม่มีฝ่ายใดสามารถเข้าไปควบคุมได้ แม้เป็นการปกครองดูแลโดยมิใช่เพื่อการยุทธก็ตาม แต่ในหลายกรณี ท้องที่ท้องที่หนึ่งจะปลอดทหารก็ต่อเมื่อมีความตกลงให้รัฐหนึ่ง ๆ มีอำนาจเต็มในอันที่จะปกครองดูแลท้องที่นั้นได้ และก็เป็นไปได้ที่ขั้วอำนาจต่าง ๆ จะตกลงกำหนดเขตปลอดทหารกันโดยไม่ได้ตกลงระงับข้อเรียกร้องทางดินแดนซึ่งยังขัดแย้งกันอยู่ กระบวนการแบบนี้จะเกิดขึ้นได้ก็โดยวิถีทางอันสันติ เช่น การเจรจาทางทูต หรือเสนอข้อหาต่อศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ นอกจากนี้ อาจตกลงกำหนดเขตดังกล่าวกันโดยให้พักการเรียกร้องเช่นนั้นไว้ชั่วระยะหนึ่งก่อนก็ได้.

ดู สหภาพโซเวียตและเขตปลอดทหาร

เดอะเควสต์ (ภาพยนตร์)

อะ เควสต์ เป็นภาพยนตร์ปี 1996 ออกฉายเมื่อ 26 เมษายน..

ดู สหภาพโซเวียตและเดอะเควสต์ (ภาพยนตร์)

เด็กเก็บว่าว

็กเก็บว่าว (The Kite Runner) เป็นนวนิยายเล่มแรกที่เขียนโดยคาเลด โฮสเซอินี (خالد حسینی, Khaled Hosseini) ที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและเด็กเก็บว่าว

เคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ

หรียญรางวัลสำหรับการแข่งขันเคมีโอลิมปิก ครั้งที่ 29 ที่มอนทรีออล ประเทศแคนาดา เคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Chemistry Olympiad: IChO) เป็นการแข่งขันเคมีของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา และเป็นหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการ โดยเริ่มจัดการแข่งขันครั้งแรกที่กรุงปราก ประเทศเชโกสโลวาเกีย ในปี..

ดู สหภาพโซเวียตและเคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ

เครือรัฐเอกราช

รือรัฐเอกราช (Commonwealth of Independent States หรือ CIS Содружество Независимых Государств หรือ СНГ) เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ตั้งขึ้นหลังจากที่สหภาพโซเวียตล่มสลายลง โดยมีประเทศสมาชิกเป็นประเทศที่ประกาศเอกราชจากสหภาพโซเวียต (ยกเว้นกลุ่มประเทศบอลติก).

ดู สหภาพโซเวียตและเครือรัฐเอกราช

เครือจักรภพ

รือจักรภพ (commonwealth) เป็นคำภาษาอังกฤษเดิมใช้กับชุมชนการเมืองที่ตั้งขึ้นเพื่อประโยชน์ร่วมกัน ในอดีต บางครั้งคำนี้สมนัยกับ "สาธารณรัฐนิยม" ภายหลังคำนี้ใช้กับสมาคมรัฐเอกราช ที่โดดเด่นที่สุด คือ เครือจักรภพแห่งชาติ สมาคมสำหรับอดีตสมาชิกจักรวรรดิอังกฤษเป็นหลัก มักเรียกย่อเป็น "เครือจักรภพ".

ดู สหภาพโซเวียตและเครือจักรภพ

เครื่องบินสกัดกั้น

มิก-25 'ฟอกซ์แบท'เป็นเครื่องบินสกัดกั้นของรัสเซียซึ่งเป็นเสาหลักในการป้องกันทางอากาศของโซเวียต เครื่องบินสกัดกั้น เป็นเครื่องบินขับไล่ที่ออกแบบมาเพื่อทำการสกัดกั้นและทำลายอากาศยานของข้าศึกโดยเฉพาะเครื่องบินทิ้งระเบิด โดยปกติแล้วมักมีจุดเด่นเป็นความเร็วสูง เครื่องบินแบบนี้จำนวนมากเริ่มผลิตในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและสิ้นสุดลงในปลายทศวรรษที่ 1960 เมื่อพวกมันมีความสำคัญน้อยลงเพราะมีการนำขีปนาวุธข้ามทวีปมาทำหน้าการทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร.

ดู สหภาพโซเวียตและเครื่องบินสกัดกั้น

เครื่องบินขับไล่

รื่องบินจู่โจมหนึ่งลำ (เอ-10) เครื่องบินขับไล่ เป็นอากาศยานทางทหารที่ถูกออกแบบมาเพื่อการต่อสู้ทางอากาศกับอากาศยานลำอื่นเป็นหลัก มันตรงกันข้ามกับเครื่องบินทิ้งระเบิดที่ถูกออกแบบมาเพื่อโจมตีภาคพื้นดินโดยการทิ้งระเบิดเป็นหลัก เครื่องบินขับไล่นั้นมีขนาดเล็ก รวดเร็ว และคล่องแคล่ว เครื่องบินขับไล่มากมายจะมีความสามารถรองในการโจมตีภาคพื้นดิน และบ้างก็มีสองบทบาทโดยเรียกว่าเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิด บางครั้งคำว่าเครื่องบินขับไล่ก็ถูกใช้ร่วมกับเครื่องบินโจมตีภาคพื้นดิน เครื่องบินขับไล่โดยหลักแล้วจะหมายถึงเครื่องบินติดอาวุธที่แย่งครองความเป็นจ้าวทางอากาศเหนือข้าศึกในสมรภูมิ ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สอง ความสำเร็จและความเหนือกว่าทางอากาศได้กลายมาเป็นปัจจัยสำคัญในชัยชนะของสงคราม โดยเฉพาะสงครามทั่วไประหว่างกองทัพปกติ (ไม่เหมือนกับสงครามกองโจร) การซื้อขาย การฝึก และการดูแลรักษากองบินเครื่องบินขับไล่จะแสดงถึงทุนที่มากมายของกองทัพนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและเครื่องบินขับไล่

เตตริส

ตัวบล็อกทั้ง 7 ชนิดในเกมเตตริส เตตริส (Тетрис; Tetris) เป็นเกมแก้ปัญหาจัดเรียงตัวบล็อกที่หล่นลงมา จัดเรียงให้เป็นแถว เกมเตตริสนั้นเป็นเกมที่นิยมมากที่สุดเกมหนึ่ง โดยมีการนำมาทำซ้ำหลายครั้ง ตัวเกมออกแบบโดยอะเลคเซย์ ปายีตนอฟ (Alexey Pajitnov) นักออกแบบเกมชาวรัสเซียออกแบบสำหรับเล่นในเครื่อง Electronika 60 ไว้เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน..

ดู สหภาพโซเวียตและเตตริส

เซอร์เก ออฟชินนิคอฟ

ซอร์เก อนาโตลเยวิช ออฟชินนิคอฟ (Сергей Анатольевич Овчинников; Sergei Anatolyevich Ovchinnikov; 25 มกราคม ค.ศ. 1969 — 29 สิงหาคม ค.ศ. 2012) เป็นหัวหน้าโค้ชวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติรัสเซีย เขากระทำการอัตวินิบาตกรรมในช่วงสามสัปดาห์ภายหลังจากที่ทีมของเขาเป็นฝ่ายแพ้วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติบราซิลในวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 รอบควอเตอร์ไฟนอล.

ดู สหภาพโซเวียตและเซอร์เก ออฟชินนิคอฟ

เซอร์เกย์ บริน

ซอร์เกย์ มีไคโลวิช บริน (Сергей Михайлович Брин; เกิด 21 สิงหาคม พ.ศ. 2516) เป็นชาวอเมริกันเชื้อสายรัสเซีย ผู้ร่วมก่อตั้งกูเกิลร่วมกับแลร์รี เพจ ปัจจุบัน เซอร์เกย์ บรินอยู่ในตำแหน่งประธานฝ่ายเทคโนโลยีของกูเกิล และผู้อำนวยการของกูเกิล เอ็กซ์ จากรายงานว่ามีทรัพย์สินส่วนตัวประมาณ 2 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งถูกจัดเป็นบุคคลที่รวยที่สุดอันดับที่ 26 ของโลก และ อันดับ 5 ของสหรัฐอเมริการ่วมกับแลร์รี เพจ ซึ่งตัวเซอร์เกย์เองยังเป็นหนึ่งในเศรษฐีที่อายุน้อยที่สุดในโลกเช่นกัน.

ดู สหภาพโซเวียตและเซอร์เกย์ บริน

เซียร์เกย์ ไอเซนสไตน์

เซียร์เกย์ มีไคโลวิช ไอเซนสไตน์ (Sergei Mikhailovich Eisenstein; Сергей Михайлович Эйзенштейн) (26 มกราคม ค.ศ. 1898 - 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1948) เป็นผู้กำกับนักปฏิวัติวงการภาพยนตร์ชาวโซเวียต เป็นนักทฤษฎีภาพยนตร์ ผลงานภาพยนตร์เงียบของเขาอย่างเช่น Strike, โบรเนโนเซตส์โปติออมกิน และ ออคเตียบร์ และผลงานมหากาพย์อิงประวัติศาสตร์อย่าง อะเลคซันดร์ เนฟสกี และ Ivan the Terrible ผลงานของเขาเป็นอิทธิพลให้แก่วงการผู้สร้างภาพยนตร์ยุคแรก หมวดหมู่:ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวโซเวียต.

ดู สหภาพโซเวียตและเซียร์เกย์ ไอเซนสไตน์

เนโท

องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (North Atlantic Treaty Organization; Organisation du traité de l'Atlantique nord) ย่อว่า เนโท (NATO) หรือ ออต็อง (OTAN) หรือ นาโต (ตามที่คนไทยเรียก) เป็นพันธมิตรทางทหารระหว่างรัฐบาล ก่อตั้งเมื่อวันที่ 4 เมษายน..

ดู สหภาพโซเวียตและเนโท

Dr. Strangelove

Dr.

ดู สหภาพโซเวียตและDr. Strangelove

Kola Superdeep Borehole

แสตมป์รูปหลุมเจาะ KSDB Kola Superdeep Borehole (KSDB) เป็นผลของโครงการการขุดเจาะทางวิทยาศาสตร์ของสหภาพโซเวียตในอดีต โครงการนี้ได้พยายามเจาะลงไปในเปลือกโลกให้ลึกที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ การเจาะเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 24 พฤษภาคม ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและKola Superdeep Borehole

MAZ-543

MAZ-543 / MAZ-7310 "อูราแกน" (МАЗ-543/МАЗ-7310 "Ураган"/Hurricane) เป็นรถยิงขีปนาวุธของสหภาพโซเวียต เป็นรถบรรทุกขับเคลื่อน 8 ล้อ ที่ออกแบบและผลิตโดยบริษัท MAZ (Minsk Automobile Plant) ในเบลารุส มีสายการผลิตตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1960 โดยเปิดเผยสู่สาธารณะตั้งแต่วันที่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและMAZ-543

Ґ

Ge (Ґ, ґ) บางครั้งก็เรียกว่า Ghe หรือ Ge with upturn (ในรหัสยูนิโคดใช้ชื่อว่า CYRILLIC CAPITAL/SMALL LETTER GHE WITH UPTURN) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ใช้แทนเสียง // คล้ายกับเสียง g ของคำว่า go ในภาษาอังกฤษ ในภาษาเบลารุสและภาษายูเครนสมัยโบราณ บางครั้งมีการใช้อักษรละติน g และทวิอักษร КГ (kh) แทนเสียงของ g ในคำทับศัพท์จากภาษาละติน แต่ภายหลังการทำเช่นนี้รวมทั้งการใช้ทวิอักษร ได้เลือนหายไปจากอักขรวิธีของภาษาเบลารุส จนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 19 การใช้อักษร Ґ ได้ถูกนำมาพิจารณาใหม่และเพิ่มเข้าไปในภาษายูเครนและภาษารูซิน อักษร Ґ ของภาษายูเครนได้ถูกยกเลิกในการปฏิรูปอักขรวิธีของภาษารัสเซีย โดยสหภาพโซเวียต ใน พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและҐ

І

I (І, і) หรือบางครั้งก็เรียกว่า Decimal I หรือ Dotted I เป็นอักษรหนึ่งในอักษรซีริลลิก มีใช้เฉพาะในภาษาเบลารุส ภาษาคาซัก และภาษายูเครน ใช้แทนเสียงสระ // (อี) เหมือนอักษร И ของภาษารัสเซีย อักษรนี้มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก ไอโอตา ชื่อเดิมของอักษรนี้คือ i และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 10 อักษร І เคยใช้เป็นอักษรในภาษารัสเซีย จนถึง พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและІ

Й

Short I (Й, й) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก อักษรตัวนี้ประดิษฐ์ขึ้นจากอักษร И และเครื่องหมายเสริมอักษร breve ใช้แทนเสียงพยัญชนะกึ่งสระ // เหมือน y ในคำว่า yellow ของภาษาอังกฤษหรือ ย ในภาษาไทย อักษร Short I เป็นอักษรตัวที่ 11 ในภาษารัสเซียเรียกว่า И краткое (I kratkoye อี ครัตโคเอีย), เป็นอักษรตัวที่ 10 ในภาษาบัลแกเรียเรียกว่า И кратко (I kratko อี ครัตโค), เป็นอักษรตัวที่ 14 ในภาษายูเครนเรียกว่า Йот (Yot ยอต) หรือ Ий (Yi อิย) และเป็นอักษรตัวที่ 11 ในภาษาเบลารุส แต่ถึงกระนั้นก็ไม่มีการใช้อักษร И ในภาษาเบลารุส อักษร Short I มักจะถูกถ่ายอักษรให้เป็น j หรือ y ส่วนมากจะใช้เป็นพยัญชนะสะกดตัวสุดท้ายของคำ อักษร Й (หรือในอีกแง่หนึ่งคือการเติม breve บนอักษร И) เริ่มมีการใช้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15–16 และตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 ความแตกต่างระหว่าง И กับ Й เริ่มปรากฏในอักขรวิธีของภาษาเชิร์ชสลาโวนิก (ซึ่งใช้เป็นภาษารัสเซียเช่นกัน) แต่หลังจากเกิดการปฏิรูปอักขรวิธีในสหภาพโซเวียต โดย จักรพรรดิปอเตอร์ที่ 1 (Peter I) เครื่องหมายเสริมอักษรของภาษารัสเซียถูกตัดออกไปทั้งหมด แต่หลังจากที่พระองค์เสด็จสวรรคตใน พ.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและЙ

.su

.su เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับ ประเทศสหภาพโซเวียต ก่อนหน้านี้องค์การกำหนดหมายเลขอินเทอร์เน็ต (IANA) ได้เคยระบุว่าเป็นโดเมนระดับบนสุดที่เลิกใช้แล้ว แต่ในปัจจุบันได้เปลี่ยนสถานะเป็นใช้งานได้ตามปกติ และยังมีการรับจดทะเบียนโดเมนเนมใหม่ใน.su อยู่ แม้.su จะไม่เป็นที่นิยมนักเมื่อเทียบกับ.ru ที่เป็นโดเมนตามรหัสประเทศรัสเซียในปัจจุบัน.

ดู สหภาพโซเวียตและ.su

1 มีนาคม

วันที่ 1 มีนาคม เป็นวันที่ 60 ของปี (วันที่ 61 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 305 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ1 มีนาคม

1 ธันวาคม

วันที่ 1 ธันวาคม เป็นวันที่ 335 ของปี (วันที่ 336 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 30 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ1 ธันวาคม

1 E+13 m²

1 E+13 m² เป็นอันดับของขนาดของสิ่งที่มีพื้นที่ระหว่าง 10 ล้าน ถึง 100 ล้านตารางกิโลเมตร ---- พื้นที่ขนาดน้อยกว่า 10 ล้านตารางกิโลเมตร ---- ทวีปยุโรป มีพื้นที่ประมาณ 10 ล้าน ตร.กม.

ดู สหภาพโซเวียตและ1 E+13 m²

10 กุมภาพันธ์

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 41 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 324 วันในปีนั้น (325 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู สหภาพโซเวียตและ10 กุมภาพันธ์

10 ตุลาคม

วันที่ 10 ตุลาคม เป็นวันที่ 283 ของปี (วันที่ 284 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 82 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ10 ตุลาคม

11 มีนาคม

วันที่ 11 มีนาคม เป็นวันที่ 70 ของปี (วันที่ 71 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 295 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ11 มีนาคม

12 มิถุนายน

วันที่ 12 มิถุนายน เป็นวันที่ 163 ของปี (วันที่ 164 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 202 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ12 มิถุนายน

12 มีนาคม

วันที่ 12 มีนาคม เป็นวันที่ 71 ของปี (วันที่ 72 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 294 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ12 มีนาคม

12 สิงหาคม

วันที่ 12 สิงหาคม เป็นวันที่ 224 ของปี (วันที่ 225 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 141 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ12 สิงหาคม

12 ตุลาคม

วันที่ 12 ตุลาคม เป็นวันที่ 285 ของ.

ดู สหภาพโซเวียตและ12 ตุลาคม

12 เมษายน

วันที่ 12 เมษายน เป็นวันที่ 102 ของปี (วันที่ 103 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 263 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ12 เมษายน

13 กุมภาพันธ์

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 44 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 321 วันในปีนั้น (322 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู สหภาพโซเวียตและ13 กุมภาพันธ์

13 เมษายน

วันที่ 13 เมษายน เป็นวันที่ 103 ของปี (วันที่ 104 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 262 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ13 เมษายน

14 พฤษภาคม

วันที่ 14 พฤษภาคม เป็นวันที่ 134 ของปี (วันที่ 135 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 231 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ14 พฤษภาคม

14 กันยายน

วันที่ 14 กันยายน เป็นวันที่ 257 ของปี (วันที่ 258 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 108 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ14 กันยายน

15 พฤษภาคม

วันที่ 15 พฤษภาคม เป็นวันที่ 135 ของปี (วันที่ 136 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 230 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ15 พฤษภาคม

15 กรกฎาคม

วันที่ 15 กรกฎาคม เป็นวันที่ 196 ของปี (วันที่ 197 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 169 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ15 กรกฎาคม

15 กุมภาพันธ์

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 46 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 319 วันในปีนั้น (320 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู สหภาพโซเวียตและ15 กุมภาพันธ์

16 พฤษภาคม

วันที่ 16 พฤษภาคม เป็นวันที่ 136 ของปี (วันที่ 137 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 229 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ16 พฤษภาคม

16 เมษายน

วันที่ 16 เมษายน เป็นวันที่ 106 ของปี (วันที่ 107 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 259 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ16 เมษายน

17 พฤศจิกายน

วันที่ 17 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 321 ของปี (วันที่ 322 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 44 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ17 พฤศจิกายน

17 กรกฎาคม

วันที่ 17 กรกฎาคม เป็นวันที่ 198 ของปี (วันที่ 199 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 167 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ17 กรกฎาคม

17 กันยายน

วันที่ 17 กันยายน เป็นวันที่ 260 ของปี (วันที่ 261 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 105 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ17 กันยายน

17 มกราคม

วันที่ 17 มกราคม เป็นวันที่ 17 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 348 วันในปีนั้น (349 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู สหภาพโซเวียตและ17 มกราคม

17 มิถุนายน

วันที่ 17 มิถุนายน เป็นวันที่ 168 ของปี (วันที่ 169 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 197 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ17 มิถุนายน

17 สิงหาคม

วันที่ 17 สิงหาคม เป็นวันที่ 229 ของปี (วันที่ 230 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 136 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ17 สิงหาคม

19 พฤศจิกายน

วันที่ 19 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 323 ของปี (วันที่ 324 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 42 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ19 พฤศจิกายน

19 กรกฎาคม

วันที่ 19 กรกฎาคม เป็นวันที่ 200 ของปี (วันที่ 201 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 165 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ19 กรกฎาคม

19 กุมภาพันธ์

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 50 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 315 วันในปีนั้น (316 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู สหภาพโซเวียตและ19 กุมภาพันธ์

19 มิถุนายน

วันที่ 19 มิถุนายน เป็นวันที่ 170 ของปี (วันที่ 171 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 195 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ19 มิถุนายน

19 สิงหาคม

วันที่ 19 สิงหาคม เป็นวันที่ 231 ของปี (วันที่ 232 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 134 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ19 สิงหาคม

2 กุมภาพันธ์

วันที่ 2 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 33 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 332 วันในปีนั้น (333 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู สหภาพโซเวียตและ2 กุมภาพันธ์

2 มิถุนายน

วันที่ 2 มิถุนายน เป็นวันที่ 153 ของปี (วันที่ 154 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 212 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ2 มิถุนายน

20 มิถุนายน

วันที่ 20 มิถุนายน เป็นวันที่ 171 ของปี (วันที่ 172 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 194 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ20 มิถุนายน

20 ธันวาคม

วันที่ 20 ธันวาคม เป็นวันที่ 354 ของปี (วันที่ 355 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 11 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ20 ธันวาคม

21 เมษายน

วันที่ 21 เมษายน เป็นวันที่ 111 ของปี (วันที่ 112 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 254 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ21 เมษายน

22 พฤศจิกายน

วันที่ 22 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 326 ของปี (วันที่ 327 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 39 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ22 พฤศจิกายน

22 มกราคม

วันที่ 22 มกราคม เป็นวันที่ 22 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 343 วันในปีนั้น (344 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู สหภาพโซเวียตและ22 มกราคม

22 มิถุนายน

วันที่ 22 มิถุนายน เป็นวันที่ 173 ของปี (วันที่ 174 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 192 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ22 มิถุนายน

22 ตุลาคม

วันที่ 22 ตุลาคม เป็นวันที่ 295 ของปี (วันที่ 296 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 70 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ22 ตุลาคม

23 สิงหาคม

วันที่ 23 สิงหาคม เป็นวันที่ 235 ของปี (วันที่ 236 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 130 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ23 สิงหาคม

23 ตุลาคม

วันที่ 23 ตุลาคม เป็นวันที่ 296 ของปี (วันที่ 297 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 69 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ23 ตุลาคม

24 พฤษภาคม

วันที่ 24 พฤษภาคม เป็นวันที่ 144 ของปี (วันที่ 145 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 221 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ24 พฤษภาคม

24 มิถุนายน

วันที่ 24 มิถุนายน เป็นวันที่ 175 ของปี (วันที่ 176 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 190 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ24 มิถุนายน

24 สิงหาคม

วันที่ 24 สิงหาคม เป็นวันที่ 236 ของปี (วันที่ 237 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 129 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ24 สิงหาคม

24 ธันวาคม

วันที่ 24 ธันวาคม เป็นวันที่ 358 ของปี (วันที่ 359 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 7 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ24 ธันวาคม

25 กรกฎาคม

วันที่ 25 กรกฎาคม เป็นวันที่ 206 ของปี (วันที่ 207 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 159 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ25 กรกฎาคม

25 กุมภาพันธ์

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 56 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 309 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ25 กุมภาพันธ์

25 ธันวาคม

วันที่ 25 ธันวาคม เป็นวันที่ 359 ของปี (วันที่ 360 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 6 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ25 ธันวาคม

26 พฤษภาคม

วันที่ 26 พฤษภาคม เป็นวันที่ 146 ของปี (วันที่ 147 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 219 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ26 พฤษภาคม

26 มิถุนายน

วันที่ 26 มิถุนายน เป็นวันที่ 177 ของปี (วันที่ 178 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 188 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ26 มิถุนายน

26 ธันวาคม

วันที่ 26 ธันวาคม เป็นวันที่ 360 ของปี (วันที่ 361 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 5 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ26 ธันวาคม

27 กรกฎาคม

วันที่ 27 กรกฎาคม เป็นวันที่ 208 ของปี (วันที่ 209 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 157 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ27 กรกฎาคม

27 มิถุนายน

วันที่ 27 มิถุนายน เป็นวันที่ 178 ของปี (วันที่ 179 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 187 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ27 มิถุนายน

27 มีนาคม

วันที่ 27 มีนาคม เป็นวันที่ 86 ของปี (วันที่ 87 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 279 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ27 มีนาคม

28 กันยายน

วันที่ 28 กันยายน เป็นวันที่ 271 ของปี (วันที่ 272 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 94 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ28 กันยายน

28 มิถุนายน

วันที่ 28 มิถุนายน เป็นวันที่ 179 ของปี (วันที่ 180 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 186 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ28 มิถุนายน

2เอส1

ปืนใหญ่อัตตาจร 2เอส1 (2S1) ขนาด 122 มม.

ดู สหภาพโซเวียตและ2เอส1

2เอส19

ปืนใหญ่อัตตาจร 2เอส19 (2S19 Msta) เป็นรุ่นใหม่ที่เข้ามาแทนที่ 2เอส3 และ 2เอส5 ในช่วง ปี ค.ศ. 1985 ซึ่งเก่าและล้าสมัย 2เอส19 เป็นปืนใหญ่อัตตาจรที่นำเอารถถัง ที-72 และ ที-80 มารวมเข้าด้วยกัน โดยใช้แคร่จาก ที-80และ ใช้เครื่องยนต์จาก ที-72 กระบอกปืนหมุนได้ 360 องศา ใช้ได้ทั้งแรงหมุนและไฟฟ้า ระยะการยิงสามารถยิงได้ไกลกว่า 15 กิโลเมตร / 9.3 ไมล์ บรรทุกกระสุนได้ 40 ลูก 2เอส19 มีการส่งออกอย่างกว้างขวาง ในช่วงปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและ2เอส19

2เอส3

ปืนใหญ่อัตตาจร 2เอส3 (2S3 Akatsiya) เป็นปืนใหญ่อัตตาจรขนาด 152 มม.ที่ถูกสร้างขึ้นโดยสหภาพโซเวียตในช่วงสงครามเย็น ซึ่งได้รับการพัฒนามาจาก ดี-20 ขนาด 152 มม./ 5.98 นิ้ว และใช้เครื่องยนต์แบบผสม ซึ่งในเวลาปรกติจะใช้น้ำมันดีเซลและในช่วงเวลาฉุกเฉินสามารถใช้เชื้อเพลิงชนิดอื่น ป้อมปืนหมุนได้ 360 องศา และปรับใช้ปืนต่อต้านอากาศยานได้ กระบอกปืนขนาด 152 มม.

ดู สหภาพโซเวียตและ2เอส3

2เอส5

ปืนใหญ่อัตตาจร 2เอส5 (2S5 Giatsint-S) เป็นปืนใหญ่อัตตาจรขนาด 152 มม./ 5.98 นิ้ว ซึ่งเป็นรถยิงปืนใหญ่รุ่นแรกๆของสหภาพโซเวียต โดยตัวรถมีเกราะหนาเพียง 15 มม./ 0.59 นิ้ว แต่ใช้เจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติการได้ถึง 5 นาย เครื่องยนตเป็นแบบผสมใช้เชื้อเพลิงดีเซลในเวลาปกติและเชื้อเพลิงชนิดอื่นในเวลาฉุกเฉิน ปืนใหญ่อัตตาจร 2เอส5 ใช้งานในปี ค.ศ.

ดู สหภาพโซเวียตและ2เอส5

3 พฤศจิกายน

วันที่ 3 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 307 ของปี (วันที่ 308 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 58 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ3 พฤศจิกายน

3 กุมภาพันธ์

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 34 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 331 วันในปีนั้น (332 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู สหภาพโซเวียตและ3 กุมภาพันธ์

3 สิงหาคม

วันที่ 3 สิงหาคม เป็นวันที่ 215 ของปี (วันที่ 216 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 150 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ3 สิงหาคม

30 พฤศจิกายน

วันที่ 30 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 334 ของปี (วันที่ 335 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 31 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ30 พฤศจิกายน

30 กุมภาพันธ์

วันที่ 30 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่มีปรากฏในปฏิทินบางประเภท แต่ไม่มีในปฏิทินเกรกอเรียน ซึ่งเดือนกุมภาพันธ์มี 28 หรือ 29 วัน.

ดู สหภาพโซเวียตและ30 กุมภาพันธ์

30 มีนาคม

วันที่ 30 มีนาคม เป็นวันที่ 89 ของปี (วันที่ 90 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 276 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ30 มีนาคม

30 ตุลาคม

วันที่ 30 ตุลาคม เป็นวันที่ 303 ของปี (วันที่ 304 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 62 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ30 ตุลาคม

31 สิงหาคม

วันที่ 31 สิงหาคม เป็นวันที่ 243 ของปี (วันที่ 244 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 122 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ31 สิงหาคม

4 พฤศจิกายน

วันที่ 4 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 308 ของปี (วันที่ 309 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 57 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ4 พฤศจิกายน

4 ตุลาคม

วันที่ 4 ตุลาคม เป็นวันที่ 277 ของปี (วันที่ 278 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 88 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ4 ตุลาคม

5 มีนาคม

วันที่ 5 มีนาคม เป็นวันที่ 64 ของปี (วันที่ 65 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 301 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ5 มีนาคม

5 สิงหาคม

วันที่ 5 สิงหาคม เป็นวันที่ 217 ของปี (วันที่ 218 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 148 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ5 สิงหาคม

5 เมษายน

วันที่ 5 เมษายน เป็นวันที่ 95 ของปี (วันที่ 96 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 270 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ5 เมษายน

6 มิถุนายน

วันที่ 6 มิถุนายน เป็นวันที่ 157 ของปี (วันที่ 158 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 208 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ6 มิถุนายน

7 กุมภาพันธ์

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 38 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 327 วันในปีนั้น (328 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู สหภาพโซเวียตและ7 กุมภาพันธ์

8 มิถุนายน

วันที่ 8 มิถุนายน เป็นวันที่ 159 ของปี (วันที่ 160 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 206 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ8 มิถุนายน

8 ธันวาคม

วันที่ 8 ธันวาคม เป็นวันที่ 342 ของปี (วันที่ 343 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 23 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ8 ธันวาคม

9 พฤศจิกายน

วันที่ 9 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 313 ของปี (วันที่ 314 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 52 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ9 พฤศจิกายน

9 เมษายน

วันที่ 9 เมษายน เป็นวันที่ 99 ของปี (วันที่ 100 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 266 วันในปีนั้น.

ดู สหภาพโซเวียตและ9 เมษายน

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Soviet UnionU.S.S.R.USSRUnion of Soviet Socialist Republicsยุทธศาสตร์โซเวียตยู.เอส.เอส.อาร์.สหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตประเทศโซเวียตโซเวียต

พ.ศ. 2523พ.ศ. 2527พ.ศ. 2529พ.ศ. 2532พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พรรคฟุนซินเปกพรรคคอมมิวนิสต์พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชาพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตพรรคประชาชนปาเลสไตน์พระพุทธรูปแห่งบามียานพระประศาสน์พิทยายุทธ (วัน ชูถิ่น)พระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรียพลูโทเนียมพอล แอร์ดิชพันธมิตรทางการทหารฝรั่งเศส-โปแลนด์พันเซอร์ 4พาราลิมปิกฤดูหนาว 2014พีที-76กฎบัตรสหประชาชาติกฎบัตรแอตแลนติกกฎบัตรเนือร์นแบร์กกฎหมายอวกาศกระสวยอวกาศกริกอรี เพเรลมานกรณีมุกเดนกลุ่มภาษาสลาวิกกลุ่มภาษาอิหร่านกลุ่มตะวันออกกล้องโทรทรรศน์วิทยุกวางน้อย...แบมบี้กากราการบุกครองนอร์ม็องดีการบุกครองโปแลนด์การบุกครองโปแลนด์ของสหภาพโซเวียตการพลัดถิ่นการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์คการรุกบูดาเปสต์การรุกลวอฟ–ซานโดเมียร์ซการล่มสลายของสหภาพโซเวียตการสำรวจอวกาศการสงบศึกมอสโกการผ่อนคลายความตึงเครียดการจาริกแสวงบุญการทรยศโดยชาติตะวันตกการทัพนอร์เวย์การตรวจพิจารณาการฉาบปูนขาวการปฏิบัติการพิเศษการปฏิวัติรัสเซียการปฏิวัติทางวัฒนธรรมการประชุมสันติภาพเจนีวาการประชุมเจนีวา (ค.ศ. 1954)การปล้นธนาคารในติฟลิส ค.ศ. 1907การปิดกั้นเบอร์ลินการแบ่งแยกนิวเคลียสการเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชนการเลิกล้มราชาธิปไตยการเจรจาจำกัดอาวุธทางยุทธศาสตร์การเดินขบวนการเดินขบวนวันจันทร์ในเยอรมนีตะวันออกกาเลวาลากำแพงเบอร์ลินกิ่งจังหวัดเนมูโระกีฬามหาวิทยาลัยโลกกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 1973กีฬาวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อนกติกาสัญญาวอร์ซอกติกาสัญญาความเป็นกลางโซเวียต–ญี่ปุ่นกติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์นญิฮาดฝันอเมริกันฝั่ม วัน ด่งฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองฝ่ายอักษะภัยพิบัติเชียร์โนบีลภาษามารีภาษามุนจีภาษายิดดิชภาษายูฮูรีภาษารัสเซียภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์ภาษาอาหรับเอเชียกลางภาษาอุยกูร์ภาษาอุซเบกภาษาทาจิกภาษาของชาวยิวภาษาคัลมึคภาษาตันกัตภาษาโนไกภาษาเกาหลีภาษาเครียมชากภาษาเคิร์ดเหนือมหาวิทยาลัยมอสโกมหาวิทยาลัยเสรีแห่งเบอร์ลินมอสโกมารัต ซาฟินมาริอินสกีบัลเลต์มาริเนอร์ 9มาร์กาเรต เบิร์ก-ไวต์มาร์ธา เบียทริซ พอตเตอร์ เวบบ์มิลลา โยโววิชมิลา โรดิโนมิคาอิล เพลตเนฟมิโคยันมิโคยัน มิก-27มิโคยัน มิก-29มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-21มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-23มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-25มุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์มีฮาอิล กอร์บาชอฟมีเคอิล ซาคัชวีลียอซีป บรอซ ตีโตยาส 39ยาคอฟ สเมอร์นอฟฟ์ยาโกเลฟ ยัค-28ยาโกเลฟ ยัค-38ยาโกเลฟ ยัค-40ยาโกเลฟ ยัค-42ยุทธการทะเลสาบคาซานยุทธการที่บริเตนยุทธการที่มอสโกยุทธการที่สตาลินกราดยุทธการที่คูสค์ยุทธการที่เดียนเบียนฟูยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครองยุโรปตะวันออกยูริ กาการินยูรี อันโดรปอฟยูล บรีนเนอร์ยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ยูโรคอมมิวนิสต์รพินทรนาถ ฐากุรรอบิยะห์ กอดีร์ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลกระบบสุริยะระบบขนส่งมวลชนเร็วระเบิดมือรัฐบริวารรัฐบอลติกรัฐกันชนรัฐหุ่นเชิดรัฐคูเวตในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980รัฐประหารในประเทศกัมพูชา พ.ศ. 2513รัสเซีย (แก้ความกำกวม)ราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ราชรัฐอันดอร์ราในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ราชวงศ์ปาห์ลาวีราชอาณาจักรกรีซราชอาณาจักรกัมพูชา (พ.ศ. 2497–2513)ราชอาณาจักรอิตาลีราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ราชอาณาจักรเลโซโทในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ราชอาณาจักรเนปาลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980รายชื่อพรรคคอมมิวนิสต์รายชื่อรางวัลทางการศึกษานานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะรายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติรายชื่อสนธิสัญญารายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลรายชื่อธงในกองทัพเรือสหภาพโซเวียตรายชื่อธงในสหภาพโซเวียตรายชื่อธงในประเทศรัสเซียรายชื่อธงในประเทศลิทัวเนียรายชื่อทุพภิกขภัยรายชื่อประเทศจำแนกตามระบบกฎหมายรายพระนามพระมหากษัตริย์ปรัสเซียรายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลียรางวัลสันติภาพขงจื๊อริชาร์ด นิกสันรูดอล์ฟ นูเรเยฟรูเบิลรูเบิลรัสเซียรถถังรถถังพันเทอร์รถถังที-10รถถังคลีเมนต์ โวโรชีลอฟลัทธิสตาลินลัทธิคอมมิวนิสต์ลัทธิเลนินลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1939)ลึกมฤตยู นิวเคลียร์ล้างโลกลี ฮาร์วีย์ ออสวอลด์ลน นนล็อกฮีด ยู-2วลาดิเมียร์ คอซลอฟวลาดีมีร์ คลิทช์โกวลาดีมีร์ ปูตินวลาดีมีร์ เลนินวัวทะเลชเตลเลอร์วันเอกราชวาเลนตินา มัตวิเยนโกวาเลนตีนา เตเรชโควาวิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบาวิกิลีกส์วิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอช. นิทซ์วิคตอเรีย อซาเรนกาวิตาลี คลิทช์โกวินสตัน เชอร์ชิลวุลเวอรีนศัตรูของประชาชนศาสนาพุทธในเกาหลีศูนย์กระจายเสียงแพร่ภาพนานาชาติสกั๊ดสภาแห่งชาติลาวสมรภูมิบ้านร่มเกล้าสมองไหลสมาคมเขมรอิสระสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16สมเด็จพระเจ้าศรีสว่างวัฒนาสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมรินสหพันธรัฐสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวียสหพันธ์สาธารณรัฐอิรักในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สหภาพโซเวียตสหภาพโซเวียตในโอลิมปิกสหภาพโซเวียตในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สหประชาชาติสังคมนิยมประเทศเดียวสันติ-วีณาสาธารณรัฐสาธารณรัฐบอตสวานาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐกัวเตมาลาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐกินีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐมอลตาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐมาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐมาดากัสการ์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐยูกันดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐสหกรณ์กายอานาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนียสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตจอร์เจียสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐอาหรับซีเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถานในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐคอสตาริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐคองโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐคาเรเลียสาธารณรัฐซานมารีโนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐซิมบับเวในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐปกครองตนเองไครเมียสาธารณรัฐประชาชนมองโกเลียสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐนิการากัวในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐแองโกลาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐแคเมอรูนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐแซมเบียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐโมซัมบิกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐโดมินิกันในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐโคลอมเบียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐไลบีเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐไอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐไซปรัสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐเบนินในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐเอกวาดอร์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐเซียร์ราลีโอนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐเซเชลส์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สาธารณรัฐเซเนกัลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980สำนักข่าวกรองกลางสื่อลามกอนาจารเด็กสุภา ศิริมานนท์สุภาษ จันทระ โพสสุรสีห์ ผาธรรมสถานีวอสตอคสถานีอวกาศมีร์สถานีอวกาศสกายแล็บสถานีอวกาศเมียร์-2สงครามกลางเมืองรัสเซียสงครามกลางเมืองลาวสงครามกลางเมืองสเปนสงครามกลางเมืองจีนสงครามกัมพูชา–เวียดนามสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่นสงครามรัสเซีย-จอร์เจียสงครามฤดูหนาวสงครามอิรัก–อิหร่านสงครามอินโดจีนสงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามต่อต้านการก่อการร้ายสงครามแปซิฟิกสงครามโลกครั้งที่สองสงครามเย็นสงครามเวียดนามสตรืยสตานิสลาฟ เปตรอฟสปุตนิก 5สนธิสัญญาการก่อตั้งสหภาพโซเวียตสนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนีสนธิสัญญาว่าด้วยความช่วยเหลือซึ่งกันและกันฝรั่งเศส-โซเวียตสนธิสัญญาสฟาลบาร์สนธิสัญญาสันติภาพมอสโกสนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทรสนธิสัญญาซานฟรานซิสโกสนธิสัญญาโลคาร์โนสนธิสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างจีน-โซเวียตสนธิสัญญาเขตแดนเยอรมนี–สหภาพโซเวียตสเปซนาซหมาหลักนิยมทางทหารหัวสะพานโรมาเนียหน่วยวิมเพลหน่วยอัลฟาห้องอำพันอภิมหาอำนาจออลกา คอร์บุตออปอแลอะเลคเซย์ เลโอนอฟอับคาเซียอักษรมองโกเลียอักษรอาหรับอักษรซีริลลิกอัลกออิดะฮ์อัลดริช เอมส์อันดรีย์ เชฟเชนโคอันนา ยาบลอนสกายาอันเดรย์ อาร์ชาวินอันเนอ ฟรังค์อาวุธปืนอาหมัด ชาห์ มาซูดอาจินต์ ปัญจพรรค์อานโตนอฟ อาน-10อานโตนอฟ อาน-12อานโตนอฟ อาน-14อานโตนอฟ อาน-22อาเว มารีอา (แก้ความกำกวม)อิลยูชิน อิล-38อิลยูชิน อิล-62อิลยูชิน อิล-76อิลยูชิน อิล-86อุซามะฮ์ บิน ลาดินอีวาน บูนินอีวาน ปัฟลอฟอีดี อามินอดอล์ฟ ฮิตเลอร์องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์อเล็กซานเดอร์ ฟรีดแมนอเล็กซานเดอร์ โซลเซนิตซินอเล็กซานเดอร์ เฮล็บฮอ นำฮงฮอกกี้น้ำแข็งฮันนิบาล เล็กเตอร์ฮาร์บินฮิโระ ซางะฮิเดะกิ โทโจฮุสนี มุบาร็อกผมเป็นชาวเบอร์ลินผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองจรวดจอร์จ โซรอสจอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุชจอห์น เอฟ. เคนเนดีจักรพรรดินีวั่นหรงจักรพรรดินโปเลียนที่ 1จักรวรรดิจักรวรรดิบริติชจักรวรรดิรัสเซียจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีจักรวรรดินิยมจิมมี คาร์เตอร์จูมมะลี ไซยะสอนธงชาติยูเครนธงชาติรัสเซียธงชาติลัตเวียธงชาติลิทัวเนียธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียธงชาติสหภาพโซเวียตธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวียธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจานธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบกธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิชธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัคธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมนธงชาติอัฟกานิสถานธงชาติอาร์มีเนียธงชาติอาเซอร์ไบจานธงชาติอุซเบกิสถานธงชาติจอร์เจียธงชาติทรานส์นีสเตรียธงชาติทาจิกิสถานธงชาติคาซัคสถานธงชาติเบลารุสธงชาติเกาหลีเหนือธงชาติเอสโตเนียธงชาติเติร์กเมนิสถานธงแดงถอดรหัสสายลับพันหน้าทฤษฎีระบบควบคุมทฤษฎีสมคบคิดเรื่องเหยียบดวงจันทร์ทฤษฎีโดมิโนทวีปเอเชียทะเลอารัลทาชเคนต์ที-26ที-28ที-34ที-37ที-54/55ที-62ที-64ที-72ที-84ทีมรวมเฉพาะกิจในโอลิมปิกขบวนการต่อต้านเดนมาร์กขบวนการเอกราชเตอร์กีสถานตะวันออกขุนส่าข้อพิพาทชายแดนโซเวียต–ญี่ปุ่นดมีตรี ชอสตโกวิชดมีตรี เมดเวเดฟดราก้อน ลีดวงจันทร์ดาวหางดาวเทียมดาวเทียมสปุตนิก 1ดิมา บิลานดิอะเมซิ่งเรซ 20ดินารา ซาฟินาดิเรก ชัยนามดีนียาร์ บิลยาเลตดีนอฟด็อกเตอร์ชิวาโก (ภาพยนตร์)คอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศคอมมานด์ & คองเคอร์คอมมานด์ & คองเคอร์: ยูริ รีเวนจ์คอมมานด์ & คองเคอร์: เรดอเลิร์ตคอสแซคคอนสตันติน ฮเรนอฟคอนสตันติน ซีออลคอฟสกีคาทูนา ลอริกคาเวียร์คิม อิล-ซ็องคิม จ็อง-อิลคืนยูริคณะกรรมการความมั่นคงแห่งรัฐ (สหภาพโซเวียต)คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติคณิตศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศค่ายกักกันค่ายกักกันบูเคนวัลด์ค้อนเคียวงานวันไปรษณีย์โลกงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 41งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 48งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 51งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 53งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 57ตราแผ่นดินของรัสเซียตราแผ่นดินของคีร์กีซสถานตุ๊กตาแม่ลูกดกตูโปเลฟ ตู-124ตูโปเลฟ ตู-126ตูโปเลฟ ตู-134ตูโปเลฟ ตู-144ตูโปเลฟ ตู-154ตูโปเลฟ ตู-16ตูโปเลฟ ตู-160ตูโปเลฟ ตู-22ตูโปเลฟ ตู-28ตูโปเลฟ ตู-4ตูโปเลฟ ตู-95ตีรัสปอลซัลวาโตเร บูร์รูนีซาร์บอมบาซาแมนธา สมิธซุคฮอย ซู-15ซุคฮอย ซู-17ซุคฮอย ซู-27ซุคฮอย ซู-34ซุคฮอย ซู-7ซุคฮอย ซู-9ซี-5 กาแลคซีซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์ก-ก็อตธาซีเอช-53 ซีสตัลเลียนปฏิบัติการบาร์บารอสซาปฏิบัติการดาวน์ฟอลปฏิบัติการคบเพลิงประชาธิปไตยประชาธิปไตยเสรีนิยมประวัติศาสตร์ยุโรปประวัติศาสตร์รัสเซียประวัติศาสตร์ลาวประวัติศาสตร์สหรัฐประวัติศาสตร์สเปนประวัติศาสตร์ออสเตรียประวัติศาสตร์อัฟกานิสถานประวัติศาสตร์แอลเบเนียประวัติศาสตร์เบลารุสประวัติศาสตร์เกาหลีประวัติศาสตร์เวียดนามประวัติศาสตร์เอเชียกลางประตูบรันเดินบวร์คประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศบัลแกเรียประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศฟิลิปปินส์ในโอลิมปิกประเทศฟินแลนด์ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศพม่าในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศกำลังพัฒนาประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศมอลตาประเทศมอลโดวาประเทศมองโกเลียประเทศมองโกเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศมอนเตเนโกรประเทศมาเลเซียในโอลิมปิกประเทศยูเครนประเทศรัสเซียประเทศลัตเวียประเทศลาวประเทศลิทัวเนียประเทศศรีลังกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศสโลวาเกียประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศอาร์มีเนียประเทศอาเซอร์ไบจานประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศอินโดนีเซียในโอลิมปิกประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศอุซเบกิสถานประเทศอียิปต์ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศจอร์เจียประเทศจาเมกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศจีนประเทศทาจิกิสถานประเทศคาซัคสถานประเทศคิวบาประเทศคิวบาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศคีร์กีซสถานประเทศตรินิแดดและโตเบโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศนามิเบียประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศแมนจูประเทศแอลจีเรียประเทศแทนซาเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศไต้หวันประเทศเบลารุสประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศเช็กเกียประเทศเกาหลีประเทศเกาหลีใต้ประเทศเกาหลีเหนือประเทศเกาหลีเหนือในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศเยอรมนีตะวันออกประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศเวเนซุเอลาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศเอสโตเนียประเทศเอธิโอเปียประเทศเอธิโอเปียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศเติร์กเมนิสถานประเทศเปรูในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ปวยร์โตรีโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ปืนซุ่มยิงดรากูนอฟนรนิติ เศรษฐบุตรนากอร์โน-คาราบัคนาร์วานาฬิกาวันสิ้นโลกนาซานาซีเยอรมนีนีกีตา ครุชชอฟนโยบายต่างประเทศของโซเวียตยุคเริ่มต้นแพร์ซโพลิส (หนังสือการ์ตูน)แกรี คาสปารอฟแกรนด์ดัชเชสตะตยานา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซียแกรนด์ดัชเชสโอลกา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซียแกร์ด ฟอน รุนด์ชเตดท์แก๊สเรือนกระจกแมกซิม กอร์กีแมนเชสเตอร์แรมเซย์ แมคโดนัลแองเตอร์นาซิอองนาลแอนทอน เยลชินแอโร แอล-39 อัลบาทรอสแอโรฟลอตแฮร์ทา มึลเลอร์แผนตะวันออกแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)แนวร่วมรวบรวมชาติกัมพูชาแนวร่วมสหชาติแนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์แนวร่วมประชาธิปไตยเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์แนวร่วมปลดปล่อยชาติเขมรโกลดา เมอีร์โมเช ดายันโรมัน ปัฟลูย์เชนโคโรคเมลิออยด์โรงไฟฟ้านิวเคลียร์เชียร์โนบีลโรเมโอและจูเลียต (โปรโคเฟียฟ)โลกที่หนึ่งโอลิมปิกฤดูร้อนโอลิมปิกฤดูร้อน 1952โอลิมปิกฤดูร้อน 1980โอลิมปิกฤดูร้อน 1984โอลิมปิกฤดูหนาว 2014โจวันนาแห่งอิตาลี สมเด็จพระราชินีแห่งบัลแกเรียโจตันโจเซฟ สตาลินโทรลล์ อีวานโครงการวอสตอคโครงการสปุตนิกโครงการแวนการ์ดโคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007โคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 902โซฟี เชวาร์ดนาดเซโซยุซโซคคาร์ ดูคาเยฟโปลิตบูโรโปเลเซียไบโคนูร์คอสโมโดรมไฟร์ฟอกซ์ (ภาพยนตร์)ไมเคิล แจ็กสันไลพ์ซิชไลกา (สุนัข)ไอริส-ทีไออาร์ซีไอแซค อสิมอฟไอเอ็มไอ กาลิลไฮนซ์ กูเดเรียนไทแรนโนซอรัสไซบีเรียเช เกบาราเบอร์ลินเบอร์ลินตะวันออกเบอร์ลินตะวันตกเช็งยาง เจ-6เพลงชาติลาวเพลงชาติสหภาพโซเวียตเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนียเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบกเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิกเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัคเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคีร์กีซเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซียเพลงชาติสาธารณรัฐอุซเบกิสถานเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์เกออร์กี จูคอฟเกาะซาฮาลินเกียวกุอง โฮโซเกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซีเมลามีนเมทัลเกียร์โซลิด 3: สเนกอีตเตอร์เมนิงคาซัคสตานึมเม็นออฟอิสราเอลเยเลนา อิซินบาเยวาเรือบรรทุกเครื่องบินเหลียวหนิงเรือดำน้ำเรือดำน้ำชั้นไต้ฝุ่นเรือดำน้ำในอาเซียนเรือดำน้ำโซเวียต เอส-194เลฟ ยาชินเลฟ ดาวิโดวิช ลันเดาเลออน ทรอตสกีเลโอนิด เบรจเนฟเวียดนามแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 831เวเนรา 3เวเนรา 9เศรษฐกิจและการค้าของประเทศลิทัวเนียเหมย หลันฟังเหมา เจ๋อตงเหรียญฟิลด์สเหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนามเอฟ-117 ไนท์ฮอว์กเอฟ-14 ทอมแคทเอฟ-20 ไทเกอร์ชาร์คเออร์สกิน คอลด์เวลล์เอียน เฟลมมิงเอ็ม1 เอบรามส์เอ็ม61 วัลแคนเอเชียนเกมส์เอเชียใต้เอเชียเหนือเอเอสยู-57เอเอสยู-85เอเค 47เฮลซิงกิเจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งบัลแกเรียเทคโนโลยีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองเขื่อนอัสวานเขตปลอดทหารเดอะเควสต์ (ภาพยนตร์)เด็กเก็บว่าวเคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศเครือรัฐเอกราชเครือจักรภพเครื่องบินสกัดกั้นเครื่องบินขับไล่เตตริสเซอร์เก ออฟชินนิคอฟเซอร์เกย์ บรินเซียร์เกย์ ไอเซนสไตน์เนโทDr. StrangeloveKola Superdeep BoreholeMAZ-543ҐІЙ.su1 มีนาคม1 ธันวาคม1 E+13 m²10 กุมภาพันธ์10 ตุลาคม11 มีนาคม12 มิถุนายน12 มีนาคม12 สิงหาคม12 ตุลาคม12 เมษายน13 กุมภาพันธ์13 เมษายน14 พฤษภาคม14 กันยายน15 พฤษภาคม15 กรกฎาคม15 กุมภาพันธ์16 พฤษภาคม16 เมษายน17 พฤศจิกายน17 กรกฎาคม17 กันยายน17 มกราคม17 มิถุนายน17 สิงหาคม19 พฤศจิกายน19 กรกฎาคม19 กุมภาพันธ์19 มิถุนายน19 สิงหาคม2 กุมภาพันธ์2 มิถุนายน20 มิถุนายน20 ธันวาคม21 เมษายน22 พฤศจิกายน22 มกราคม22 มิถุนายน22 ตุลาคม23 สิงหาคม23 ตุลาคม24 พฤษภาคม24 มิถุนายน24 สิงหาคม24 ธันวาคม25 กรกฎาคม25 กุมภาพันธ์25 ธันวาคม26 พฤษภาคม26 มิถุนายน26 ธันวาคม27 กรกฎาคม27 มิถุนายน27 มีนาคม28 กันยายน28 มิถุนายน2เอส12เอส192เอส32เอส53 พฤศจิกายน3 กุมภาพันธ์3 สิงหาคม30 พฤศจิกายน30 กุมภาพันธ์30 มีนาคม30 ตุลาคม31 สิงหาคม4 พฤศจิกายน4 ตุลาคม5 มีนาคม5 สิงหาคม5 เมษายน6 มิถุนายน7 กุมภาพันธ์8 มิถุนายน8 ธันวาคม9 พฤศจิกายน9 เมษายน