สารบัญ
366 ความสัมพันธ์: บรัสเซลส์บาร์ (หน่วยวัด)บูดาเปสต์ฟิตน่าพ.ศ. 2535พ.ศ. 2550พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2555พ.ศ. 2556พ.ศ. 2559พ.ศ. 2560พ.ศ. 2566พรรคอนุรักษนิยม (สหราชอาณาจักร)พัพพาร์ ขาลสาพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยพิชญพิจารณ์พิธีสารไนโตรเจนออกไซด์พิธีสารเกียวโตกระทรวงยุติธรรม (สหราชอาณาจักร)กรดโฟลิกกลุ่มชนเตอร์กิกกลุ่มศูนย์กลางปฏิวัติกลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20กลุ่มนอร์ดิกกองพลน้อยผู้พลีชีพอัลอักซากองทัพลิทัวเนียกองทัพโปรตุเกสกองทัพเอสโตเนียกองทัพเซอร์เบียกองทัพเนเธอร์แลนด์การบุกยึดท่าอากาศยานในประเทศไทย พ.ศ. 2551การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551การรวมประเทศจีนการรวมประเทศเยอรมนีการลงคะแนนเสียงในสวิตเซอร์แลนด์การลงประชามติว่าด้วยสมาชิกภาพสหภาพยุโรปของสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2559การออกจากสหภาพยุโรปของสหราชอาณาจักรการจัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์การทารุณเด็กทางเพศการค้าเสรีการปกครองประเทศฝรั่งเศสการปฏิวัติผ้ากาสาวพัสตร์การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2558การประชุมสุดยอดจี 7 ครั้งที่ 44การประชุมสุดยอดจี 8 ครั้งที่ 36การประท้วงในกัมพูชา พ.ศ. 2556–2557การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมการเมืองยุโรปการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554... ขยายดัชนี (316 มากกว่า) »
บรัสเซลส์
รัสเซลส์ (Brussels), บรูว์แซล (Bruxelles) หรือ บรึสเซิล (Brussel; Brüssel) เรียกอย่างเป็นทางการว่า เขตนครหลวงบรัสเซลส์ หรือ เขตบรัสเซลส์ (All text and all but one graphic show the English name as Brussels-Capital Region.) (Région de Bruxelles-Capitale, Brussels Hoofdstedelijk Gewest) เป็นเมืองหลวงของประเทศเบลเยียม และเป็นศูนย์กลางหรือเมืองหลวงอย่างไม่เป็นทางการของสหภาพยุโรป (อียู) เขตบรัสเซลส์แบ่งการปกครองย่อยเป็นเทศบาลจำนวน 19 แห่ง รวมถึง เทศบาลนครบรัสเซลส์ (City of Brussels) ซึ่งอยู่ใจกลางเขตมีอาณาเขตเพียง 32.61 ตร.กม.
บาร์ (หน่วยวัด)
ร์ (bar) คือหน่วยวัดความดัน ถึงไม่ใช่หน่วยเอสไอ แต่สถาบันมาตรฐานและเทคโนโลยีแห่งชาติ (NIST) ก็ได้ยอมรับการใช้งานกับหน่วยเอสไออื่น ๆ หน่วยบาร์เป็นที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในการอธิบายความดัน เพราะว่ามีค่าเหมือนกันกับความดันบรรยากาศ สามารถใช้หน่วยนี้ได้อย่างถูกกฎหมายในกลุ่มสหภาพยุโรป British Standard BS 350:2004 Conversion Factors for Units.
ดู สหภาพยุโรปและบาร์ (หน่วยวัด)
บูดาเปสต์
กรุงบูดาเปสต์มองจากมุมสูงทางทิศเหนือ "แป็ชต์" อยู่ทางฝั่งซ้ายและ "บูดอ" อยู่ทางฝั่งขวา; เกาะมาร์กาเรตอยู่ทางด้านหน้าของรูป ส่วนเกาะเซเปลอยู่ไกลออกไปทางด้านหลัง บูดาเปสต์ (Budapest; Budapest) เป็นเมืองหลวงของประเทศฮังการี และเป็นศูนย์กลางการปกครอง อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม และการคมนาคมขนส่งของประเทศ มีประชากรมากกว่า 1.7 ล้านคน มีจำนวนลดลงจากกลางทศวรรษ 1980 ซึ่งมีประชากรถึง 2.07 ล้านคน บูดาเปสต์กลายเป็นเมืองเดี่ยวที่มีอาณาเขตครอบคลุมทั้ง 2 ฝั่งของแม่น้ำดานูบหลังจากการรวมกันในพ.ศ.
ฟิตน่า
Fitna เป็นภาพยนตร์โดยเคร์ต วิลเดร์ส นักการเมืองชาวดัตช์ มีเนื้อหาเกี่ยวกับผู้นับถือศาสนาอิสลามและคำสอนในอัลกุรอาน เผยแพร่ครั้งแรกวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ.
พ.ศ. 2535
ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2550
ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พ.ศ. 2552
ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.
พ.ศ. 2553
ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.
พ.ศ. 2555
ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..
พ.ศ. 2556
ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พ.ศ. 2559
ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.
พ.ศ. 2560
ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พ.ศ. 2566
ทธศักราช 2566 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2023 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พรรคอนุรักษนิยม (สหราชอาณาจักร)
รรคอนุรักษนิยม (Conservative Party) หรือชื่อเดิมว่า พรรคอนุรักษนิยมและสหภาพนิยม คือพรรคการเมืองกลาง-ขวาในสหราชอาณาจักรที่ปฏิบัติตามหลักปรัชญาของลัทธิอนุรักษนิยมและลัทธิการรวมชาติบริเตน ซึ่งเป็นพรรคที่ใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักรโดยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในรัฐสภาจำนวน 330 คน สมาชิกสภาท้องถิ่นทั่วประเทศ 9,391 คน และเป็นพรรคการเมืองจากสหราชอาณาจักรที่มีที่นั่งในรัฐสภายุโรปมากที่สุดจำนวน 25 ที่นั่ง ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นรัฐบาลเสียงข้างมากในสภาสามัญชนโดยมีหัวหน้าพรรคคือนางเทเรซา เมย์ เป็นนายกรัฐมนตรี พรรคมักถูกเรียกขานว่า พรรคขุนนาง (Tory Party) หรือ พวกขุนนาง (Tories) พรรคอนุรักษนิยมก่อตั้งขึ้นในปี..
ดู สหภาพยุโรปและพรรคอนุรักษนิยม (สหราชอาณาจักร)
พัพพาร์ ขาลสา
ัพพาร์ ขาลสา (Babbar Khalsa International; ภาษาปัญจาบ: ਬੱਬਰ ਖ਼ਾਲਸਾ, babbar ḵẖālsā) เป็นองค์กรทางทหารที่เก่าที่สุดในบรรดาองค์กรของผู้นับถือศาสนาสิกข์ เพื่อเรียกร้องการจัดตั้งรัฐสิกข์อิสระในชื่อขาลิสถาน (ดินแดนแห่งความบริสุทธิ์) ซึ่งรวมรัฐปัญจาบและบริเวณที่มีผู้พูดภาษาปัญจาบในรัฐหรยณะ หิมาจัลประเทศ และราชสถาน กลุ่มนี้มีกิจกรรมมากในช่วง..
พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
ันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (People's Alliance for Democracy, PAD) หรือเรียกว่า กลุ่มพันธมิตรกู้ชาติ หรือ กลุ่มคนเสื้อเหลือง เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทยที่มีบทบาทสำคัญในช่วง พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
พิชญพิจารณ์
ผู้ประเมินที่สถาบันสุขภาพแห่งชาติอเมริกันกำลังพิจารณาคำร้องขอทุนงานวิจัย พิชญพิจารณ์, การทบทวนระดับเดียวกัน หรือ การทบทวนโดยผู้รู้เสมอกัน (peer review) เป็นการประเมินงานโดยบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่มีความชำนาญคล้ายกับผู้ผลิตผลงานนั้น เป็นระบบควบคุมกันเองโดยสมาชิกวิชาชีพที่มีคุณสมบัติความสามารถในสาขาที่เข้าประเด็นกัน เป็นวิธีที่ใช้เพื่อรักษามาตรฐานทางคุณภาพ เพื่อเพิ่มคุณภาพ และเพื่อให้เกิดความเชื่อถือในงานภายในกลุ่มนักวิชาการ เป็นวิธีการกำหนดว่า งานวิชาการนั้นสมควรจะตีพิมพ์หรือไม่ เป็นเรื่องที่จัดหมวดหมู่ได้ตามชนิดของงานหรือตามอาชีพ เช่น พิชญพิจารณ์ทางการแพทย์ (medical peer review).
พิธีสารไนโตรเจนออกไซด์
ีสารอนุสัญญาว่าด้วยมลพิษข้ามแดนระยะยาว..
ดู สหภาพยุโรปและพิธีสารไนโตรเจนออกไซด์
พิธีสารเกียวโต
ีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) ต่อท้ายอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) กำหนดพันธกรณีผูกพันต่อประเทศอุตสาหกรรมให้ลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจก UNFCCC เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อมซึ่งมีเป้าหมายเพื่อบรรลุ "เสถียรภาพความเข้มข้นของแก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศที่ระดับซึ่งจะป้องกันการรบกวนอันตรายจากน้ำมือมนุษย์กับระบบภูมิอากาศ" พิธีสารเกียวโตมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2540 ในเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น และมามีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2548 จนถึงเดือนกันยายน 2554 มี 191 รัฐลงนามและให้สัตยาบันพิธีสารฯ สหรัฐอเมริกาลงนามแต่มิได้ให้สัตยาบันพิธีสารฯ และแคนาดาถอนตัวจากพิธีสารฯ ในปี 2554 รัฐสมาชิกสหประชาชาติอื่นซึ่งมิได้ให้สัตยาบันพิธีสารฯ ได้แก่ อัฟกานิสถาน อันดอร์ราและเซาท์ซูดาน ภายใต้พิธีสารฯ 37 ประเทศอุตสาหกรรม และประชาคมยุโรปในขณะนั้น ("ภาคีภาคผนวกที่ 1") ผูกมัดตนเองให้จำกัดหรือลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกสี่ชนิด (คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซด์และซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์) และแก๊สสองกลุ่ม (ไฮโดรฟลูออโรคาร์บอนและเพอร์ฟลูออโรคาร์บอน) รัฐสมาชิกทุกรัฐให้พันธกรณีทั่วไป การจำกัดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกนี้ไม่รวมการปล่อยจากการบินและการเดินเรือระหว่างประเทศ ที่การเจรจา ประเทศภาคผนวกที่ 1 ตกลงร่วมกันจะลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกลงโดยเฉลี่ยร้อยละ 5.2 ในระยะปี 2551-2555 เป็นสัดส่วนกับการปล่อยแก๊สเรือนกระจกต่อปีในปีฐาน ซึ่งโดยปกติใช้ปี 2533 เนื่องจากสหรัฐอเมริกามิได้ให้สัตยาบันในสนธิสัญญา การปล่อยแก๊สเรือนกระจกร่วมกันของประเทศภาคผนวกที่ 1 พิธีสารเกียวโตลดลงจากต่ำกว่าปีฐานร้อยละ 5.2 เหลือร้อยละ 4.2 PBL publication number 500253004.
ดู สหภาพยุโรปและพิธีสารเกียวโต
กระทรวงยุติธรรม (สหราชอาณาจักร)
กระทรวงยุติธรรมแห่งสหราชอาณาจักร เป็นกระทรวงหนึ่งของรัฐบาลสหราชอาณาจักร รับผิดชอบเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่างข้อกฎหมายโดยโอนย้ายงานด้านนี้มาจาก รองนายกรัฐมนตรี รวมไปถึงงานด้านสิทธิมนุษยชน และงานกฎหมายใน สหราชอาณาจักร โดยผู้บริหารสูงสุดของกระทรวงมีชื่อตำแหน่งอย่างเป็นทางการว่า เสนาบดีใหญ่ในสมเด็จฯฝ่ายยุติธรรม (รัฐมนตรียุติธรรม) ซึ่งจะดำรงตำแหน่ง อธิบดีศาลสูงสุด ด้วย ตั้งแต่ปี 2007 โดยกระทรวงนี้ก่อตั้งในเดือน พฤษภาคม 2007 โดยโอนอำนาจหน้าที่บางส่วนจาก สำนักปิตุภูมิ และอำนาจหน้าที่ทั้งหมดของ กระทรวงความสัมพันธ์ระหว่างรัฐธรรมนูญ ซึ่งโอนย้ายหน้าที่จาก สำนักอธิบดีศาลสูงสุด ในปี 2003 โดยพันธกิจของกระทรวงคือ การลดผู้กระทำผิดซ้ำ และปกป้องจากกระแสสังคม, ให้ข้อมูลด้านยุติธรรมแก่ประชาชน, สร้างเสริมความเชื่อมั่นในระบบยุติธรรม, และส่งเสริมสิทธิพลเมือง โดยอำนาจหน้าที่ใน รัฐสภาอังกฤษ จะดูแลด้านตุลาการ, ระบบศาล และ งานราชทัณฑ์และคุมประพฤติ ในเขต อังกฤษ และ เวลส์, รวมถึงหน้าที่เพิ่มเติมที่มีอำนาจทั่ว สหราชอาณาจักร เช่น ศาลฏีกาแห่งสหราชอาณาจักร และการแต่งตั้งผู้พิพากษาที่ได้รับการตั้งแต่งโดยพระมหากษัตร.
ดู สหภาพยุโรปและกระทรวงยุติธรรม (สหราชอาณาจักร)
กรดโฟลิก
ฟเลต หรืออีกรูปแบบหนึ่งที่รู้จักคือ กรดโฟลิก และ วิตามินบี9 (folate, folic acid, vitamin B9) เป็นวิตามินบีชนิดหนึ่ง มีปริมาณที่แนะนำต่อวันอยู่ที่ 400 ไมโครกรัม และมักใช้เป็นอาหารเสริมในช่วงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะหลอดประสาทไม่ปิด (NTDs) ในทารก (ซึ่งรวมการไม่มีสมองใหญ่ สมองโป่ง กระดูกสันหลังโหว่) --> และยังใช้รักษาภาวะเลือดจางจากการขาดกรดโฟลิก กว่า 50 ประเทศเสริมกรดโฟลิกในอาหารเพื่อเป็นมาตรการลดอัตรา NTDs ในประชากร การเสริมกรดโฟลิกในอาหารเป็นประจำสัมพันธ์กับการลดความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจเล็กน้อย เป็นวิตามินที่สามารถใช้ทานหรือฉีดก็ได้ ยาไม่มีผลข้างเคียงที่สามัญ ยังไม่ชัดเจนว่าการทานในขนาดสูงเป็นระยะเวลายาวนานมีปัญหาหรือไม่ แต่การใช้ขนาดสูงสามารถอำพรางการขาดวิตามินบี12ได้ --> โฟเลตเป็นสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย เพื่อผลิต DNA RNA และกระบวนการสร้างและย่อยสลายกรดอะมิโนซึ่งจำเป็นต่อการแบ่งเซลล์ เนื่องจากมนุษย์ไม่สามารถสร้างกรดโฟลิก ดังนั้นจำต้องได้จากอาหาร การไม่ได้โฟเลตเพียงพอก็จะทำให้เกิดภาวะขาดโฟเลต --> ซึ่งอาจมีผลเป็นภาวะเลือดจางที่มีเม็ดเลือดขนาดใหญ่ (megaloblastic) เป็นจำนวนน้อย --> อาการอาจรวมความล้า หัวใจเต้นเร็ว หายใจไม่ทัน แผลบนลิ้นไม่หาย สีผิวหรือผมเปลี่ยน --> การขาดในช่วงตั้งครรภ์เบื้องต้นเชื่อว่าเป็นเหตุของภาวะหลอดประสาทไม่ปิด (NTDs) ในทารกเกินครึ่ง การขาดในเด็กอาจเกิดภายในเดือนเดียวที่ทานอาหารไม่ดี ในผู้ใหญ่ระดับโฟเลตทั้งหมดในร่างกายอยู่ที่ระหว่าง 10,000-30,000 ไมโครกรัม (µg) โดยมีระดับในเลือดเกิน 7 nmol/L (3 ng/mL) กรดนี้ค้นพบในระหว่างปี..
กลุ่มชนเตอร์กิก
กลุ่มชนเตอร์กิก (Turkic peoples) เป็นกลุ่มชนยูเรเชียที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ทางตอนเหนือ กลาง และตะวันตกของยูเรเชียผู้พูดภาษาที่อยู่ในตระกูลภาษากลุ่มเตอร์กิก, Encyclopædia Britannica, Online Academic Edition, 2008 ชนในกลุ่มชนเตอร์กิกมีลักษณะวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์บางอย่างร่วมกัน คำว่า “เตอร์กิก” เป็นคำที่ใช้แทนกลุ่มชาติพันธุ์/ภาษา (ethno-linguistic group) ของชาติพันธุ์ของสังคมที่ยังคงมีอยู่ในปัจจุบันเช่นชาวอาเซอร์ไบจาน, ชาวคาซัคสถาน, ชาวตาตาร์, ชาวคีร์กีซ, ชาวตุรกี, ชาวเติร์กเมน, ชาวอุยกูร์, ชาวอุซเบกิสถาน, ชาวฮาซารา, ชาวการากัลปัก ชาวโนกาย ชาวการาเชย์-บัลการ์ ชาวตาตาร์ไซบีเรีย ชาวตาตาร์ไครเมีย ชาวชูวาช ชาวตูวัน ชาวบัชกีร์ ชาวอัลไต ชาวยาคุตส์ ชาวกากาอุซ และรวมทั้งประชาชนในรัฐและจักรวรรดิเตอร์กิกในอดีตเช่นฮั่น, บัลการ์, คูมัน, ชนอาวาร์, เซลจุค, คาซาร์, ออตโตมัน, มามลุค, ติมูริด และอาจจะรวมทั้งซฺยงหนู (Xiongnu).
ดู สหภาพยุโรปและกลุ่มชนเตอร์กิก
กลุ่มศูนย์กลางปฏิวัติ
กลุ่มศูนย์กลางปฏิวัติ (Revolutionary Neclei) เป็นกลุ่มฝายซ้ายที่มีนโยบายต่อต้านสหรัฐ นาโต และสหภาพยุโรป เป็นกลุ่มก่อการร้ายในกรีซที่มีปฏิบัติการอย่างเข้ม แข็งในช่วง..
ดู สหภาพยุโรปและกลุ่มศูนย์กลางปฏิวัติ
กลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20
กลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20 (สีฟ้าอ่อน คือกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป) กลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20 (Group of Twenty Finance Ministers and Central Bank Governors) ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและกลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20
กลุ่มนอร์ดิก
แผนที่ภูมิศาสตร์การเมืองของกลุ่มนอร์ดิก กลุ่มประเทศนอร์ดิก (อังกฤษ: Nordic countries) หรือรวมเรียกเป็นภูมิภาคนอร์ดิก (อังกฤษ: Nordic region) หมายถึงภูมิภาคในยุโรปเหนือ ประกอบด้วย เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน และดินแดนปกครองตนเองในสังกัดประเทศเหล่านั้นสามแห่ง ได้แก่ กรีนแลนด์ (เดนมาร์ก) หมู่เกาะแฟโร (เดนมาร์ก) และหมู่เกาะโอลันด์ (ฟินแลนด์) ประเทศในกลุ่มนอร์ดิกมีประวัติศาสตร์ร่วมกันมายาวนาน และมีสิ่งต่างๆที่คล้ายคลึงกันในสังคม เช่น ระบบการเมืองการปกครอง กลุ่มนอร์ดิกมีประชากรรวมกันราว 24 ล้านคน คำว่านอร์ดิก มาจากภาษาฝรั่งเศสว่า Pays Nordiques ซึ่งเทียบเท่ากับคำภาษาท้องถิ่นว่า Norden (ภาษากลุ่มสแกนดิเนเวีย – สวีเดน นอร์เวย์ เดนมาร์ก) Pohjola/Pohjoismaat (ภาษาฟินแลนด์) และ Norðurlönd (ภาษาไอซ์แลนด์และภาษาแฟโร) โดยมีความหมายว่า (ดินแดนทาง)ทิศเหนือ ปัจจุบัน มีการใช้คำว่าสแกนดิเนเวีย ในความหมายของกลุ่มนอร์ดิกในภาษาอังกฤษ ซึ่งส่งผลมาถึงการใช้ในภาษาไทยด้วยเช่นกัน กลุ่มนอร์ดิกมีความสัมพันธ์กันในทางการเมือง ในองค์กรที่เรียกว่าคณะมนตรีนอร์ดิก ในระยะหลัง ประเทศเอสโตเนียได้วางภาพตัวเองเป็นประเทศนอร์ดิก แต่โดยทั่วไปแล้วมักถือว่าเอสโตเนียเป็นรัฐบอลติก เอสโตเนียมีความใกล้ชิดทางด้านภาษา เชื้อชาติ และวัฒนธรรมกับฟินแลนด์ และมีความสัมพันธ์ทางการค้าและการลงทุนจำนวนมากกับกลุ่มประเทศนอร์ดิก.
กองพลน้อยผู้พลีชีพอัลอักซา
กองพลน้อยผู้พลีชีพอัลอักซา (al-Aqsa Martyrs' Brigades, كتائب شهداء الأقصى) เป็นกลุ่มทหารของปาเลสไตน์ที่เป็นกลุ่มย่อยของฟาตะห์ มีอุดมการณ์ต่อต้านอิสราเอล ต้องการขับไล่ชาวยิวออกจากเวสต์แบงก์ ฉนวนกาซาและเยรูซาเลม เพื่อจัดตั้งรัฐปาเลสไตน์ เป้าหมายของกลุ่มเป็นพลเรือน อิสราเอล สหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปจัดให้กลุ่มนี้เป็นกลุ่มก่อการร้าย กลุ่มนี้ตั้งชื่อตามมัสยิดอัลอักซา ซึ่งเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาอิสลาม สมาชิกของกลุ่มแยกมาจากตันซีมหลังยัสเซอร์ อาราฟัตเสียชีวิตเมื่อ 11 พฤศจิกายน..
ดู สหภาพยุโรปและกองพลน้อยผู้พลีชีพอัลอักซา
กองทัพลิทัวเนีย
กองทัพลิทัวเนีย (Lietuvos ginkluotosios pajėgos) เป็นกองกำลังของประเทศลิทัวเนี.
ดู สหภาพยุโรปและกองทัพลิทัวเนีย
กองทัพโปรตุเกส
กองทัพโปรตุเกส (Forças Armadas) ประกอบด้วยกองทัพเรือ (Marinha Portuguesa) กองทัพบก (Exército Português) และกองทัพอากาศ (Força Aérea Portuguesa) ประธานาธิบดีเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดโดยตำแหน่ง (Comandante Supremo das Forças Armadas) ภายใต้การบริหารจัดการของฝ่ายบริหารผ่านกระทรวงกลาโหม (Ministério da Defesa Nacional).
ดู สหภาพยุโรปและกองทัพโปรตุเกส
กองทัพเอสโตเนีย
กองทัพเอสโตเนีย มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า กองกำลังป้องกันเอสโตเนีย (Eesti Kaitsevägi) เป็นกองกำลังของประเทศเอสโตเนี.
ดู สหภาพยุโรปและกองทัพเอสโตเนีย
กองทัพเซอร์เบีย
กองทัพเซอร์เบีย (Bojcka Србије / Vojska Srbije) เป็นกองกำลังทหารของสาธารณรัฐเซอร์เบีย ประกอบด้วยกองทัพบก (รวมกองเรือลำน้ำ) กองทัพอากาศ และ กองบัญชาการการฝึก ประธาธิบดีเป็นผู้บัญชาการทหารสูง.
ดู สหภาพยุโรปและกองทัพเซอร์เบีย
กองทัพเนเธอร์แลนด์
กองทัพเนเธอร์แลนด์ (Nederlandse Krijgsmacht) คือกองกำลังทหารของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ กองทัพเนเธอร์แลนด์ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..
ดู สหภาพยุโรปและกองทัพเนเธอร์แลนด์
การบุกยึดท่าอากาศยานในประเทศไทย พ.ศ. 2551
กลุ่มพันธมิตรฯปักหลักชุมนุมในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ การบุกยึดท่าอากาศยานในประเทศไท..
ดู สหภาพยุโรปและการบุกยึดท่าอากาศยานในประเทศไทย พ.ศ. 2551
การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551
การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไต..
ดู สหภาพยุโรปและการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551
การรวมประเทศจีน
การรวมประเทศจีน, การรวมจีน หรือ การรวมอาณาเขตจีน หมายถึงการรวมศักยภาพทางการเมืองเข้าด้วยกันระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนและสาธารณรัฐจีนสู่การเป็นรัฐเอก.
ดู สหภาพยุโรปและการรวมประเทศจีน
การรวมประเทศเยอรมนี
ผู้คนออกมารวมตัว ณ กำแพงเบอร์ลิน การรวมประเทศเยอรมนี (Deutsche Wiedervereinigung) เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปี..
ดู สหภาพยุโรปและการรวมประเทศเยอรมนี
การลงคะแนนเสียงในสวิตเซอร์แลนด์
การลงคะแนนเสียงในสวิตเซอร์แลนด์ (Voting in Switzerland, votation) เป็นกระบวนการที่ประชาชนชาวสวิสตัดสินใจในเรื่องการปกครองและเลือกตั้งเจ้าหน้าที่ต่าง ๆ โดยหน่วยเลือกตั้งจะเปิดตอนเช้าวันเสาร์และวันอาทิตย์ แต่คนโดยมากจะลงคะแนนล่วงหน้าทางไปรษณีย์ (Abstimmungssonntag) การลงคะแนนจะยุติที่เที่ยงวันอาทิตย์ และโดยปกติจะรู้ผลในเย็นวันเดียวกัน ระบอบการปกครองของสวิตเซอร์แลนด์พิเศษกว่าประเทศประชาธิปไตยอื่น ๆ ในปัจจุบัน เพราะมีการดำเนินงานแบบประชาธิปไตยโดยตรงขนานกับประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน จึงมีการเรียกระบอบนี้ว่า ระบอบประชาธิปไตยกึ่งโดยตรง ซึ่งให้อำนาจประชาชนเพื่อค้านกฎหมายที่ผ่านรัฐสภา และเพื่อเสนอการเปลี่ยนรัฐธรรมนูญได้ทุกเมื่อ ในระดับสหพันธรัฐ อาจมีการลงคะแนนเสียงด้วยเหตุดังต่อไปนี้คือ.
ดู สหภาพยุโรปและการลงคะแนนเสียงในสวิตเซอร์แลนด์
การลงประชามติว่าด้วยสมาชิกภาพสหภาพยุโรปของสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2559
การลงประชามติว่าด้วยสมาชิกภาพในสหภาพยุโรปของสหราชอาณาจักร หรือรู้จักกันในสหราชอาณาจักรว่า การลงประชามติอียู (EU referendum) คือการลงประชามติที่กำหนดจัดขึ้นในวันที่ 23 มิถุนายน..
ดู สหภาพยุโรปและการลงประชามติว่าด้วยสมาชิกภาพสหภาพยุโรปของสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2559
การออกจากสหภาพยุโรปของสหราชอาณาจักร
การออกจากสหภาพยุโรปของสหราชอาณาจักร หรือ เบร็กซิต (Brexit) เป็นที่ถกเถียงมานานในหมู่บุคคล สถาบันกฎหมาย และพรรคการเมือง ตั้งแต่ที่สหราชอาณาจักรเป็นหนึ่งในสมาชิกกลุ่มแรกของสหภาพยุโรป (EU) ในปี..
ดู สหภาพยุโรปและการออกจากสหภาพยุโรปของสหราชอาณาจักร
การจัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์
การจัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หมายถึงการรวบรวมข้อมูลของผู้ใช้บริการไม่ว่าจะเป็นแหล่งกำเนิด ต้นทาง ปลายทาง วันที่ ปริมาณ เวลา ระยะเวลา เส้นทาง ชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น เพื่อง่ายต่อการตรวจสอบของเจ้าหน้าที่ในการขอดูข้อมูลของผู้กระทำผิด โดยผู้ให้บริการนั้น ต้องมีการจัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์เสมอ ไม่ว่าผู้ใช้บริการจะเสียเงินใช้หรือไม่ก็ตาม เหตุที่ต้องมีการจัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ก็เพื่อความปลอดภัยของข้อมูลในระบบเพราะระบบที่ดีจะต้องมีการจัดเก็บที่ดีอย่างเป็นระบบและมีคุณภาพ และยังสามารถตรวจสอบระบบว่ามีความบกพร่องเพียงใดเพื่อให้มั่นใจว่าข้อมูลต่างๆที่สำคัญมีการวิเคราะห์และวางแผนปรับปรุงระบบอยู่เสมออีกทั้งเป็นการปฏิบัติตามกฎหมายที่ออกมาว่าให้มีการจัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้หากไม่ปฏิบัติจะต้องรับโทษทางกฎหมายและที่สำคัญเพื่อที่จะใช้ข้อมูลที่ได้มาเป็นหลักฐาน แกะรอย สืบหา ออกหมาย เอาตัวผู้กระทำความผิดมาดำเนินคดีต่อไป.
ดู สหภาพยุโรปและการจัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์
การทารุณเด็กทางเพศ
การทารุณเด็กทางเพศ (Child sexual abuse ตัวย่อ CSA, child molestation) หรือ การกระทำทารุณต่อเด็กทางเพศ หรือ การทำร้ายเด็กทางเพศ เป็นรูปแบบการกระทำทารุณต่อเด็กที่ผู้ใหญ่, หรือเยาวชนหรือวัยรุ่นที่มีอายุมากกว่าและต่างระดับพัฒนา ใช้เด็กกระตุ้นความรู้สึกทางเพศ มีรูปแบบตั้งแต่การขอหรือบังคับให้เด็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางเพศ (ไม่ว่าจะได้ผลตามที่ต้องการหรือไม่), การแสดงสิ่งลามกอนาจารไม่ว่าจะเป็นอวัยวะเพศ หัวนมหญิง เป็นต้น เพื่อสนองความต้องการทางเพศของตน เพื่อขู่ขวัญเด็ก หรือเพื่อปะเหลาะประเล้าประโลมเตรียมเด็กเพื่อทารุณกรรม, การสัมผัสเด็กทางเพศ, หรือการใช้เด็กเพื่อผลิตสื่อลามกอนาจาร ทารุณกรรมสามารถเกิดขึ้นได้ในหลายที่หลายสถาน รวมทั้งที่บ้าน ที่โรงเรียน หรือสำนักงานที่มีเด็กทำงานเป็นปกติ การจับเด็กแต่งงานเป็นรูปแบบการทารุณหลักอย่างหนึ่ง ที่กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ได้กล่าวไว้ว่า "อาจเป็นรูปแบบการทารุณและฉวยผลประโยชน์จากเด็กหญิงทางเพศที่แพร่หลายที่สุด" ทารุณกรรมต่อเด็กส่งผลทางจิตใจ ให้เกิดความซึมเศร้า ความวิตกกังวล ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจแบบซับซ้อน (complex post-traumatic stress disorder) ความโน้มเอียงที่จะตกเป็นเหยื่อทารุณกรรมอีกในวัยผู้ใหญ่ รวมทั้งการบาดเจ็บทางกาย และเหล่านี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของปัญหาทั้งหมด ทารุณกรรมโดยสมาชิกครอบครัวซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการร่วมประเวณีกับญาติสนิท จะก่อให้เกิดปัญหาร้ายแรงยิ่งกว่าต่อเด็ก ส่งผลกระทบต่อจิตใจในระยะยาว โดยเฉพาะในกรณีที่ทำโดยผู้ปกครอง ไม่ว่าจะเป็นพ่อ แม่ พ่อเลี้ยง แม่เลี้ยง พ่อบุญธรรม แม่บุญธรรม ความแพร่หลายทั่วโลกของทารุณกรรมทางเพศต่อเด็กประเมินอยู่ที่ 19.7% ในหญิง และ 7.9% ในชาย ผู้กระทำผิดส่วนมากรู้จักเหยื่อ ราว 30% เป็นญาติ บ่อยที่สุดเป็นพี่ชาย พ่อ ลุง หรือลูกพี่ลูกน้อง ราว 60% เป็นคนรู้จักอื่นอย่างเช่น "เพื่อน"ของคนในครอบครัว พี่เลี้ยงเด็ก หรือเพื่อนบ้าน และราว 10% เป็นคนแปลกหน้า ผู้กระทำผิดส่วนใหญ่เป็นชาย จากการศึกษาพบว่า หญิงทำผิดต่อ 14-40% ของเหยื่อเด็กชาย และ 6% ของเหยื่อเด็กหญิง(โดยที่เหลือของเหยื่อทำโดยผู้ทำผิดเพศชาย) ส่วนคำภาษาอังกฤษว่า pedophile (คนใคร่เด็ก) มักจะใช้อย่างไม่เลือกกับทุก ๆ คนที่ทารุณเด็กทางเพศ แต่ผู้ทำผิดต่อเด็กทุกคนไม่ใช่คนใคร่เด็ก ยกเว้นถ้ามีความรู้สึกทางเพศที่รุนแรงกับเด็กที่อยู่ในวัยก่อนหนุ่มสาว และคนใคร่เด็กทุกคนก็ไม่ใช่ผู้ทำผิดต่อเด็ก ในกฎหมายบางประเทศ คำว่า child sexual abuse (การทารุณเด็กทางเพศ) ใช้เป็นคำคลุมทั้งการละเมิดกฎหมายอาญาและแพ่ง ที่ผู้ใหญ่ทำกิจทางเพศร่วมกับผู้เยาว์ หรือฉวยประโยชน์จากผู้เยาว์เพื่อสนองความรู้สึกทางเพศ สมาคมจิตวิทยาอเมริกัน (American Psychological Association) ยืนยันว่า "เด็กไม่สามารถยินยอมมีกิจกรรมทางเพศร่วมกับผู้ใหญ่" และประณามการทำเช่นนั้นของผู้ใหญ่ คือ "ผู้ใหญ่ที่มีกิจกรรมทางเพศร่วมกับเด็ก กำลังละเมิดทั้งกฎหมายและจริยธรรม ที่ไม่มีทางพิจารณาได้ว่าเป็นพฤติกรรมที่ปกติหรือที่ยอมรับได้ในสังคม".
ดู สหภาพยุโรปและการทารุณเด็กทางเพศ
การค้าเสรี
การค้าเสรี (Free Trade) คือแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ที่หมายถึงการซื้อขายสินค้าและบริการระหว่างประเทศโดยไม่มีการเก็บภาษีศุลกากร และการกีดกันทางการค้าอื่นๆ รวมไปถึงการเคลื่อนย้ายแรงงานและทุนข้ามเขตแดนระหว่างประเทศโดยอิสระ การค้าเสรีคือสภาวะที่ไม่มีการกีดกันใดๆ โดยรัฐบาลกับการค้าระหว่างปัจเจกบุคคลหรือบริษัท ที่อยู่คนละประเทศ โดยทั่วไปแล้ว การค้าระหว่างประเทศมักถูกจำกัดด้วยภาษี, ค่าธรรมเนียมในการนำเข้าและส่งออกสินค้า, และกฎเกณฑ์ที่ไม่เกี่ยวกับภาษีอากรในการนำเข้า ในทางทฤษฎีแล้วการค้าเสรีนั้นต้องการยกเลิกข้อจำกัดเหล่านี้ทั้งหมด อย่างไรก็ตาม ในความเป็นจริงแล้ว ในข้อตกลงทางการค้าที่เรียกว่า "การค้าเสรี" นั้น อาจสร้างข้อกีดกันบางอย่างขึ้นมาก็ได้ นักวิจารณ์มองว่าการกระทำดังกล่าวเกิดขึ้นเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของบริษัท บางกลุ่มประเทศ เช่น สหภาพยุโรป ได้เปิดให้มีการค้าเสรีรูปแบบหนึ่ง ระหว่างประเทศสมาชิก อย่างไรก็ตาม ยังมีการโต้เถียงกันอยู่ว่า การค้าเสรีนั้น จะช่วยประเทศโลกที่สามได้หรือไม่ และการค้าเสรีนั้น เป็นประโยชน์ต่อประเทศกำลังพัฒนาจริงหรือไม.
การปกครองประเทศฝรั่งเศส
การปกครองประเทศฝรั่งเศส เป็นระบบการปกครองแบบกึ่งประธานาธิบดี ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 รัฐสภาแห่งประเทศฝรั่งเศส แบ่งเป็นฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ และฝ่ายตุลาการ โดยมีประธานาธิบดีใช้อำนาจบริหารร่วมกับนายกรัฐมนตรีที่แต่งตั้ง คณะรัฐมนตรี ซึ่งรวมถึงนายกรัฐมนตรีสามารถถูกถอดถอนได้โดยสภาผู้แทนราษฎร หรือ"สภาล่าง" โดยการลงมติไม่ไว้วางใจ เพื่อแสดงให้เห็นว่านายกรัฐมนตรีจะต้องผ่านการสนับสนุนโดยเสียงส่วนมากของสภาฯ รัฐสภาประกอบด้วย สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา เพื่อทำหน้าที่ผ่านร่างกฎหมายและงบประมาณ รวมทั้งตรวจสอบการทำงานของฝ่ายบริหาร ผ่านทางการถามกระทู้สดในรัฐสภา โดยมีสภารัฐธรรมนูญ ("Conseil Consitutionnel") มีหน้าที่รับรองให้บทบัญญัติต่าง ๆ เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ โดยสมาชิกสภารัฐธรรมนูญ จะได้รับการคัดเลือกจากประธานาธิบดี ประธานสภาผู้แทนราษฎร และประธานวุฒิสภา อนึ่ง อดีตประธานาธิบดียังดำรงตำแหน่งเป็นสมาชิกสภารัฐธรรมนูญด้วย ระบบตุลาการ ซึ่งเป็นแบบระบบกฎหมายโดยสืบทอดจากประมวลกฎหมายนโปเลียน แบ่งเป็นสองฝ่าย คือ ศาลแพ่งและอาญา (ดูแลคดีแพ่งและอาญา) และศาลปกครอง (ดูแลเรื่องการใช้อำนาจรัฐ) โดยแต่ละฝ่ายจะมีศาลสูงสุด คือ ศาลยุติธรรมสูงสุด (ศาลฎีกา) สำหรับคดีความทางแพ่งและอาญา และศาลปกครองสูงสุด (ประเทศฝรั่งเศส) สำหรับคดีด้านปกครอง โดยรัฐบาลฝรั่งเศสรวมถึงหน่วยงานและองค์กรอิสระอื่น ๆ ที่มีหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐอีกหลายทางด้วย ประเทศฝรั่งเศสมีการปกครองแบบรัฐเดี่ยว และแบ่งการปกครองย่อยเป็นแคว้น (région) จังหวัด (départements) และเทศบาล (communes) ซึ่งจะมีขอบเขตการปกครองส่วนท้องถิ่นของตนทั้งด้านการคลังและงบประมาณ ซึ่งรัฐบาลกลางไม่สามารถเข้ามาแทรกแทรงได้ เนื่องจากประเทศฝรั่งเศสเป็นสมาชิกก่อตั้งของประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (European Coal and Steel Community) ซึ่งต่อมาภายหลังได้พัฒนาเป็นสหภาพยุโรป ดังนั้นประเทศฝรั่งเศสจึงต้องถ่ายโอนอำนาจอธิปไตยบางส่วนให้กับสหภาพยุโรปตามรัฐธรรมนูญแห่งสหภาพยุโรป และรัฐบาลฝรั่งเศสจำต้องปฏิบัติตามสนธิสัญญาและกฎข้อบังคับแห่งสหภาพยุโรป.
ดู สหภาพยุโรปและการปกครองประเทศฝรั่งเศส
การปฏิวัติผ้ากาสาวพัสตร์
การชุมนุมกันบริเวณเจดีย์ชเวดากอง ย่างกุ้ง การประท้วงเพื่อต่อต้านรัฐบาลทหารพม่า คือการประท้วงที่นำโดยคณะพระภิกษุสงฆ์ แม่ชี นักศึกษาและประชาชน ซึ่งเริ่มต้นตั้งแต่วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและการปฏิวัติผ้ากาสาวพัสตร์
การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2558
การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอาก..
ดู สหภาพยุโรปและการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2558
การประชุมสุดยอดจี 7 ครั้งที่ 44
การประชุมสุดยอดจี 7 ครั้งที่ 44 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 8-9 มิถุนายน..
ดู สหภาพยุโรปและการประชุมสุดยอดจี 7 ครั้งที่ 44
การประชุมสุดยอดจี 8 ครั้งที่ 36
การประชุมสุดยอดจี 8 ครั้งที่ 36 จัดขึ้นในฮันท์วิลล์ รัฐออนแทริโอAndreatta, David.
ดู สหภาพยุโรปและการประชุมสุดยอดจี 8 ครั้งที่ 36
การประท้วงในกัมพูชา พ.ศ. 2556–2557
การประท้วงต่อต้านรัฐบาล (បាតុកម្មប្រឆាំងរាជរដ្ឋាភិបាល) ได้เริ่มต้นขึ้นที่กัมพูชาเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 โดยผู้ประท้วงได้รวมตัวกันที่พนมเปญเพื่อขับไล่รัฐบาลของนายกรัฐมนตรีฮุน เซนซึ่งผู้ชุมนุมเห็นว่ารัฐบาลได้โกงการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและการประท้วงในกัมพูชา พ.ศ. 2556–2557
การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment ย่อว่า EIA) หมายถึง การประเมินผลกระทบจากโครงการพัฒนาที่จะมีต่อสุขภาพหรือความสมบูรณ์ของสิ่งแวดล้อมทั้งทางบวกและทางลบ รวมทั้งความเสี่ยงที่จะมีผลต่อสภาพความสมบูรณ์ของระบบนิเวศและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อธรรมชาติ ซึ่งบางครั้งอาจนำไปสู่ภัยพิบัติต่อสิ่งแวดล้อมที่ร้ายแรง การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมอาจนิยามได้ว่าเป็น "กระบวนการเพื่อการบ่งชี้ ทำนาย ประเมิน และบรรเทาผลกระทบทางชีวกายภาพ สังคม และผลกระทบที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ที่มีต่อข้อเสนอการพัฒนาใด ๆ ก่อนที่จะมีการตัดสินใจให้ลงมือดำเนินได้" วัตถุประสงค์ของการประเมินก็เพื่อให้เป็นการประกันได้ว่า ผู้ที่มีอำนาจในการตัดสินใจได้พิจารณาอย่างรอบคอบถึงผลกระทบของโครงการพัฒนาที่จะมีต่อสิ่งแวดล้อม ก่อนทำการอนุมัติให้ดำเนินโครงการที่มีผู้ขออนุญาตดำเนินการ.
ดู สหภาพยุโรปและการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
การเมืองยุโรป
การเมืองของยุโรป นั้นเกี่ยวข้องกับการเมืองที่เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องภายในทวีปดังกล่าว เป็นหัวข้อที่มีรายละเอียดมากกว่าทวีปใด ๆ เนื่องจากปัจจัยต่าง ๆ ซึ่งรวมถึงประวัติศาสตร์อันยาวนานของรัฐชาติในภูมิภาค และแนวโน้มในปัจจุบันที่เดินไปสู่การเพิ่มขึ้นของเอกภาพทางการเมืองระหว่างรัฐในยุโรป การเมืองในปัจจุบันของยุโรปนั้นสามารถสืบรอยย้อนกลับไปได้ถึงเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ภายในทวีป ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม นั้นมีส่วนเสมอกันในการก่อร่างสภาพการเมืองของยุโรปในปัจจุบัน การเมืองยุโรปสมัยใหม่นั้นถูกครอบงำโดยสหภาพยุโรป ตั้งแต่การล่มสลายของม่านเหล็กและการพังทลายของบล็อกตะวันออกของรัฐคอมมิวนิสต์ ด้วยการสิ้นสุดของสงครามเย็น สหภาพยุโรปได้ขยายไปทางตะวันออก และรวมเอารัฐสมาชิก 27 รัฐ ซึ่งมีตัวแทนในรัฐสภายุโรป.
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..
ดู สหภาพยุโรปและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554
การเลือกตั้งในฝรั่งเศสสมัยสาธารณรัฐที่ 5
การเลือกตั้งในประเทศฝรั่งเศส (Élections en France) เป็นกระบวนการทางประชาธิปไตยในระบอบสาธารณรัฐของประเทศฝรั่งเศส ตัวแทนฝ่ายบริหารและนิติบัญญัติจะถูกเลือก (ทางตรงหรือทางอ้อม) โดยประชาชนฝรั่งเศสหรือถูกแต่งตั้งโดยตัวแทนที่ถูกเลือกมาแล้ว ประชาชนฝรั่งเศสยังมีโอกาสแสดงความคิดเห็นในการลงประชามติอีกด้วย การเลือกตั้งในสมัยสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 มี 2 ประเภท ได้แก.
ดู สหภาพยุโรปและการเลือกตั้งในฝรั่งเศสสมัยสาธารณรัฐที่ 5
ญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์
ญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์ (Islamic Jihad Movement in Palestine หรือ Palestinian Islamic Jihad Movement;ภาษาอาหรับ حركة الجهاد الإسلامي في فلسطين, - Harakat al-Jihād al-Islāmi fi Filastīn) เป็นกองกำลังทางทหารของชาวปาเลสไตน์ที่ถูกจัดให้เป็นกลุ่มก่อการร้ายโดยสหรัฐ สหภาพยุโรป อังกฤษ ญี่ปุ่น แคนาดา ออสเตรเลียและอิสราเอลพัฒนามาจากนักรบปาเลสไตน์ในฉนวนกาซา ผู้นำกลุ่มคือ ราห์มาดาน ชาลลอห์ จุดมุ่งหมายต้องการสร้างรัฐปาเลสไตน์ที่เป็นรัฐอิสลามและทำลายล้างอิสราเอลด้วยญิฮาด ต่อต้านรัฐบาลอาหรับทุกประเทศที่ให้ความร่วมมือกับตะวันตก แต่แนวคิดของกลุ่มนี้ไม่ได้รับการยอมรับจากกลุ่มประเทศอาหรับสายกลาง กองพลอัล-กุดส์ของญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์อ้างความรับผิดชอบต่อการโจมตีทางทหารหลายครั้งรวมทั้งระเบิดพลีชีพ ญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์มีขนาดเล็กกว่ากลุ่มฮามาสและไม่มีเครือข่ายทางสังคมดังที่กลุ่มฮามาสมี กลุ่มนี้ก่อตั้งในฉนวนกาซาเมื่อราว..
ดู สหภาพยุโรปและญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์
ภาษาฟินแลนด์
ษาฟินแลนด์ เป็นภาษาที่พูดโดยประชากรส่วนใหญ่ของฟินแลนด์ (เป็นภาษาแม่ถึง 92%) รวมถึงชาวฟินน์ที่อาศัยนอกฟินแลนด์ด้วย เป็นภาษาทางการในฟินแลนด์และภาษาชนกลุ่มน้อยในสวีเดน ทั้งในรูปแบบมาตรฐานและ ภาษาเมแอนเคียลิ (Meänkieli) และในนอร์เวย์ในรูปของภาษาคเวน ภาษาฟินแลนด์เป็นภาษากลุ่มฟินโน-ยูกริก และจัดเป็นภาษาติดต่อคำ (agglutinative language) ภาษาฟินแลนด์แปลงรูปของคำนาม คำวิเศษณ์, คำสรรพนาม, คำเลข, คำกริยา ตามบทบาทในประโยค ภาษาฟินแลนด์เป็นภาษาที่แตกจากภาษาอื่น ๆ โดยทั่วไปในยุโรปมาก จุดเด่นของภาษาตระกูลฟินโน-อูกริกคือ เป็นภาษาที่ไม่มีคำบุพบท แต่จะใช้วิธีการผันคำแทน การเขียนภาษาฟินแลนด์ ใช้ตัวอักษรละตินซึ่งประกอบด้วย29ดังนี้ A-อา B-เบ C-เซ D-เด E-เอ F-แอฟ G-เก H-โฮ I-อี J-ยี K-โก L-แอล M-แอม N-แอน O-โอ P-เป Q-กู R-แอรฺ S-แอส T-เต U-อู V-เว W-กักโชยส์-เว (Kaksois-Vee) X-แอกซ์ Y-อวี Z-เซตตา Å-โอของสวีเดน (Ruotsin-Oo) Ä-แอ Ö-เออวฺ โดยที่ตัว C Q W X Z และ Å ใช้ในคำที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศเท่านั้น การสะกดคำของภาษาฟินแลนด์เป็นลักษณะการเขียนตามเสียงที่อ่านเหมือนภาษามาเลเซีย ภาษาอินโดนีเซียและภาษาเวียดนาม.
ภาษากรีก
ษากรีก ซึ่งคนที่พูดและเขียนภาษานี้เรียกว่า เฮลเลนิก หรือ เอลเลนิกา (Ελληνικά) เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เกิดในประเทศกรีซ และเคยเป็นภาษาพูดตามชายฝั่งของเอเชียไมเนอร์และทางใต้ของประเทศอิตาลีในยุคโบราณ มีการพูดภาษาถิ่นจำนวนหนึ่ง เช่น ไอโอนิก ดอริก และแอททิก การเรียนการสอนภาษากรีกในประเทศไทยยังไม่แพร่หลายนัก ปัจจุบันมีเพียง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, รูปแบบไฟล.doc /สืบค้นเมื่อวันที่ 21 มกราคม..
ภาษากาลิเซีย
ภาษากาลิเซีย (Galician) เป็นภาษาหนึ่งในสาขาอิเบโร-โรมานซ์ตะวันตก พูดในกาลิเซีย (Galicia) ซึ่งเป็นแคว้นปกครองตนเองที่มีสถานะตามรัฐธรรมนูญเป็น "ชาติทางประวัติศาสตร์ (historic nationality)" ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศสเปน กาลิเซีย หมวดหมู่:แคว้นกาลิเซีย.
ภาษาฝรั่งเศส
ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ.
ภาษามอลตา
ษามอลตา (Maltese; มอลตา: Malti) เป็นภาษาประจำชาติของประเทศมอลตา และเป็นภาษาราชการของประเทศนี้ร่วมกับภาษาอังกฤษ ภาษามอลตามีต้นกำเนิดจากภาษาซิคูโล-อาหรับ (ภาษาถิ่นของภาษาอาหรับที่มีวิวัฒนาการขึ้นในเกาะซิซิลี เกาะมอลตา และภาคใต้ของประเทศอิตาลี) แต่ก็มีคำยืมจากภาษาอิตาลี ภาษาซิซิลี และภาษาอังกฤษในสัดส่วนสูงเช่นกัน ปัจจุบันภาษามอลตายังเป็นภาษาในกลุ่มเซมิติกเพียงภาษาเดียวที่เป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรปและใช้อักษรละตินในภาษาเขียนมาตรฐาน.
ภาษาลัตเวีย
ภาษาลัตเวีย เป็นภาษาราชการของประเทศลัตเวีย อยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน หมวดหมู่:ภาษาในประเทศลัตเวีย.
ภาษาลิทัวเนีย
ษาลิทัวเนีย (lietuvių kalba) เป็นภาษาทางการของประเทศลิทัวเนีย และเป็นภาษาทางการภาษาหนึ่งของสหภาพยุโรป.
ภาษาสวีเดน
แผนที่แสดงบริเวณที่มีผู้พูดภาษาสวีเดน ภาษาสวีเดน (svenska) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกเหนือ (หรือภาษาสแกนดิเนเวีย) ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเจอร์แมนิก สาขาของภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ภาษาสวีเดนเป็นภาษาราชการภาษาเดียวของสวีเดน เป็นภาษาราชการหนึ่งในสองภาษาของฟินแลนด์ (อีกภาษาหนึ่งคือภาษาฟินแลนด์) และเป็นภาษาราชการภาษาเดียวของหมู่เกาะโอลันด์ ซึ่งเป็นเขตการปกครองตนเองของฟินแลนด์ ภาษาสวีเดนสามารถใช้แทนกันกับภาษาสแกนดิเนเวียอีก 2 ภาษาคือ ภาษาเดนมาร์ก และภาษานอร์เวย์ ภาษาสวีเดนมาตรฐาน เป็นภาษาประจำชาติที่วิวัฒนาการมาจากภาษาย่อยของสวีเดนกลางในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และมีความมั่นคงในช่วงตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในขณะที่ภาษาย่อยตามภูมิภาคที่สืบมาจากภาษาพื้นเมืองในชนบทยังคงมีอยู่ ภาษาพูดและ ภาษาเขียน มีมาตรฐาน และมีอัตราความสามารถในการอ่านและเขียน 99% ในกลุ่มผู้ใหญ่ ภาษาพื้นเมืองบางภาษาต่างจากภาษามาตรฐานทั้งเรื่องไวยากรณ์และคำศัพท์ และไม่สามารถเข้าใจกับภาษาสวีเดนมาตรฐานได้เสมอไป ภาษาพื้นเมืองเหล่านี้จะจำกัดเฉพาะพื้นที่ชนบทและส่วนใหญ่คนพูดเป็นคนกลุ่มน้อยที่มีความเคลื่อนไหวทางสังคมต่ำ ถึงแม้ว่าจะไม่สูญพันธุ์ในเร็ว ๆ นี้ ภาษาพื้นเมืองเหล่านี้ได้ถดถอยในช่วงศตวรรษที่ผ่านมา ถึงแม้ว่าจะมีการวิจัยเป้นอย่างดี และเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นส่งเสริมการใช้ ภาษาสวีเดนมีลักษณะเด่นในเรื่องฉันทลักษณ์ ซึ่งจะแตกต่างกันตามชนิดต่าง ๆ มีทั้งเสียงเน้นที่ต่างกันตามแต่ละคำ และ เสียงวรรณยุกต์ ภาษาสวีเดนมีเสียงสระค่อนข้างมาก โดยที่มีเสียงสระถึง 9 เสียงที่ต่างกันด้วยความยาว และลักษณะเสียง ทำให้มีหน่วยเสียงสระ (vowel phoneme) ถึง 17 หน่วย นอกจากนี้ ภาษาสวีเดนยังมีเสียง voiceless dorso-palatal velar fricative ซึ่งสามารถพบได้ในภาษาพื้นเมืองหลายภาษา รวมถึงภาษามาตรฐานชั้นสูง และไม่ปรากฏในภาษาอื่น.
ภาษาสโลวัก
ภาษาสโลวัก (slovenčina, slovenský jazyk) เป็นภาษากลุ่มภาษาสลาวิกตะวันตก (กลุ่มเดียวกับภาษาเช็ก ภาษาโปแลนด์ และภาษาซอร์เบีย) ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน ภาษาสโลวักมีความใกล้ชิดกับภาษาเช็กเป็นพิเศษ นอกจากนี้ ภาษาสโลวักและภาษาสโลวีเนียเป็นภาษาสลาฟสมัยใหม่สองภาษาเท่านั้นที่ชื่อท้องถิ่นของตนเองมีความหมายตรงตามตัวอักษรว่า "สลาวิก (Slavic) " (ชาวสโลวาเกีย: slovenčina และชาวสโลวีเนีย: slovenščina) (ส่วน slověnskii เป็นภาษาสลาโวนิกเก่า) ภาษาสโลวักพูดในประเทศสโลวาเกีย (ประมาณ 5 ล้านคน) สหรัฐอเมริกา (500,000 คน เป็นผู้อพยพ) ประเทศเช็กเกีย (320,000 คน เนื่องมาจากอดีตเชโกสโลวาเกีย) ประเทศฮังการี (20,000 คน เป็นชนกลุ่มน้อยชาติพันธุ์โบราณ) ประเทศเซอร์เบีย-วอยวอดีนาภาคเหนือ (60,000 คน ผู้สืบเชื้อสายจากผู้ตั้งถิ่นฐานรุ่นแรก ๆ ในช่วงที่อยู่ภานใต้การปกครองของราชวงศ์ฮับส์บูร์ก) ประเทศโรมาเนีย (22,000 คน เป็นชนกลุ่มน้อยชาติพันธุ์เก่าแก่) ประเทศโปแลนด์ (20,000 คน) ประเทศแคนาดา (20,000 คน เป็นผู้อพยพ) ประเทศออสเตรเลีย (เป็นผู้อพยพ) ประเทศออสเตรีย ประเทศยูเครน ประเทศบัลแกเรีย ประเทศโครเอเชีย (5,000 คน) และประเทศอื่น ๆ บางประเทศ สโลวัก หมวดหมู่:ภาษาในประเทศสโลวาเกีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ภาษาในประเทศแคนาดา หมวดหมู่:ภาษาในสาธารณรัฐเช็ก หมวดหมู่:ภาษาในประเทศเซอร์เบีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศโรมาเนีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศฮังการี.
ภาษาสโลวีเนีย
ษาสโลวีเนีย (Slovenian language) หรือ ภาษาสโลวีน (Slovene language; slovenski jezik หรือ slovenščina) เป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาสลาวิกใต้ มีผู้พูดอยู่ประมาณ 2.5 ล้านคนทั่วโลก เป็นภาษาราชการของประเทศสโลวีเนีย และยังเป็นหนึ่งในภาษาราชการของสหภาพยุโรปอีกด้ว.
ภาษาสเปน
ษาสเปน (Spanish; สเปน: español) หรือ ภาษาคาสตีล (Castilian; สเปน: castellano) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาไอบีเรียนโรมานซ์ หนึ่งในภาษาทางการ 6 ภาษาขององค์การสหประชาชาติ และภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในโลกรองจากภาษาจีนกลาง รวมทั้งยังเป็นภาษาราชการขององค์การระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สำคัญอีกหลายองค์การอีกด้วย เช่น สหภาพยุโรป สหภาพแอฟริกา องค์การรัฐอเมริกา องค์การรัฐไอบีเรียอเมริกา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ และสหภาพชาติอเมริกาใต้ เป็นต้น มีผู้พูดภาษาสเปนเป็นภาษาที่หนึ่งและภาษาที่สองเป็นจำนวนระหว่าง 450-500 ล้านคนEl País.
ภาษาอังกฤษ
ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).
ภาษาอิตาลี
ษาอิตาลี (Italiano หรือ lingua italiana; Italian) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์,โดยส่วนใหญ่ภาษาอิตาลีเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาละตินมากที่สุดในภาษากลุ่มโรมานซ์ด้วยกัน, ภาษาอิตาลีเป็นภาษาทางการในอิตาลี, สวิตเซอร์แลนด์, ซานมารีโน, นครรัฐวาติกัน และอิสเตรียตะวันตก (ในสโลวีเนียและโครเอเชีย), เคยมีสถานะเป็นภาษาทางการของแอลเบเนีย, มอลตา และ โมนาโก ซึ่งมีการพูดภาษานี้กันอย่างกว้างขวางรวมทั้งอดีตแอฟริกาตะวันออกของอิตาลีและแอฟริกาเหนือของอิตาลี (ปัจจุบันคือประเทศลิเบีย), มีการพูดภาษาอิตาลีในกลุ่มผู้อพยพชาวอิตาเลียนขนาดใหญ่ในอเมริกาและออสเตรเลีย, มีสถานะเป็นภาษาทางการของชนกลุ่มน้อยในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, สโลวีเนีย, โครเอเชีย และ โรมาเนีย left.
ภาษาฮังการี
ษาฮังการี (Magyar nyelv: มอดยอร นแยลฟ) เป็นภาษากลุ่มฟินโน-อูกริคมีผู้พูดในประเทศฮังการีและในประเทศเพื่อนบ้าน มีผู้พูดภาษาฮังการีประมาณ 14.7ล้านคน จำนวน 10ล้านคนอาศัยอยู่ในประเทศฮังการี ในประเทศฮังการีและประเทศเพื่อนบ้าน ภาษาฮังการีเป็นภาษาทางการหนึ่งใน 24ภาษาของสหภาพยุโรป ภายนอกประเทศฮังการี มีผู้พูดภาษานี้ในกลุ่มชนชาวฮังการี (Magyarok: มอดยอโร็ค) ในประเทศสโลวาเกีย แถบตะวันตกของประเทศยูเครน ประเทศสโลวีเนียตอนเหนือ อาณาเขตตะวันตกและตอนกลางของประเทศโรมาเนีย (ทรานซิลเวเนีย) ประเทศเซอร์เบียตอนเหนือในเขตวอยโวดีนา และประเทศโครเอเชียตอนเหนือในเขตวอยโวดีนา เนื่องจากการถูกแยกประเทศราชอาณาจักรฮังการี ภายหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในปี..
ภาษาดัตช์
ษาดัตช์ (Dutch; Nederlands) เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกต่ำที่มีคนพูด 22 ล้านคน ส่วนใหญ่ในประเทศเนเธอร์แลนด์และประเทศเบลเยียม ภาษาดัตช์ที่พูดในเบลเยียมมักเรียกว่าภาษาเฟลมิช และมักจะถือเป็นภาษาที่แยกต่างหากกัน.
ภาษาโปรตุเกส
ษาโปรตุเกส (português ปุรตุเกฌ) เป็นภาษากลุ่มโรมานซ์ที่พูดในประเทศต่าง ๆ เช่น ประเทศโปรตุเกส ประเทศบราซิล ประเทศแองโกลา ประเทศโมซัมบิก และประเทศติมอร์-เลสเต ภาษาโปรตุเกสมีคนพูดเป็นภาษาแม่มากกว่า 200 ล้านคน ทำให้เป็นหนึ่งในไม่กี่ภาษาที่พูดทั่วโลก และเป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากเป็นอันดับ 5 หรือ 6 ของโลกปัจจุบัน ภาษาโปรตุเกสถูกขนานนามว่า A língua de Camões อาลิงกวาดึกามอยช์ ("ภาษาของกามอยช์" ตามชื่อลูอิช ดึ กามอยช์ ผู้ประพันธ์ The Lusiad: ลูเซียด) และ A última flor do Lácio อาอุลตีมาโฟลร์ดูลาซีอู ("ดอกไม้ดอกสุดท้ายของละติอุม") คนที่พูดภาษาโปรตุเกสเรียกว่า ลูซิตานิก: Lusitanic หรือ ลูโซโฟน: Lusophones.
ภาษาโปแลนด์
ษาโปแลนด์ (język polski, polszczyzna) คือภาษาทางการของประเทศโปแลนด์ ภาษาโปแลนด์เป็นภาษาหลักของแขนงเลกิติกของภาษากลุ่มสลาวิกตะวันตก มีต้นกำเนิดมาจากพื้นที่ของโปแลนด์ ในปัจจุบันจากภาษาท้องถิ่นต่างๆ โดยเฉพาะที่พูดใน Greater Poland และ Lesser Poland ภาษาโปแลนด์เคยเป็นภาษากลาง (lingua franca) ในพื้นที่ต่างๆ ของยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก เนื่องจากอิทธิพลทางการเมือง วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ และการทหารของเครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนีย ในปัจจุบันภาษาโปแลนด์ไม่ได้ใช้กันกว้างขวางเช่นนี้ เนื่องจากอิทธิพลของภาษารัสเซีย อย่างไรก็ดี ยังมีคนพูดหรือเข้าใจภาษาโปแลนด์ในพื้นที่ชายแดนทางตะวันตกของยูเครน เบลารุส และลิทัวเนีย เป็นภาษาที่สอง อักษรที่ใช้ในภาษาโปแลน.
ภาษาไอริช
ษาไอริช หรือ ภาษาไอร์แลนด์ (Gaeilge) เป็นภาษากอยเดลภาษาหนึ่งที่จัดอยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน มีรากฐานจากประเทศไอร์แลนด์ ซึ่งในอดีตมีการพูดโดยคนเชื้อสายไอริช ผู้ปัจจุบันมักพูดภาษาอังกฤษ ภาษาไอริชมีฐานะเป็นภาษาทางการในประเทศไอร์แลนด์ กำหนดโดยรัฐธรรมนูญของไอร์แลนด์ นอกจากนี้ยังเป็นภาษาที่ใช้อย่างเป็นทางการของสหภาพยุโรป และ ในไอร์แลนด์เหนือของสหราชอาณาจักรอีกด้ว.
ภาษาเช็ก
ภาษาเช็ก เป็นภาษาราชการของเช็กเกีย อยู่ในกลุ่มภาษาสลาวิกตะวันตก มีผู้พูดประมาณ 12 ล้านคน หมวดหมู่:ภาษาในสาธารณรัฐเช็ก.
ภาษาเยอรมัน
ษาเยอรมัน (German; Deutsch) เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกด้านตะวันตก และเป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในสหภาพยุโรป ส่วนใหญ่พูดในประเทศเยอรมนี ออสเตรีย ลิกเตนสไตน์ ส่วนมากของสวิตเซอร์แลนด์ ลักเซมเบิร์ก แคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจในอิตาลี แคว้นทางตะวันออกของเบลเยียม บางส่วนของโรมาเนีย แคว้นอาลซัสและบางส่วนของแคว้นลอแรนในฝรั่งเศส นอกจากนี้ อาณานิคมเดิมของประเทศเหล่านี้ เช่น นามิเบีย มีประชากรที่พูดภาษาเยอรมันได้พอประมาณ และยังมีชนกลุ่มน้อยที่พูดภาษาเยอรมันในหลายประเทศทางยุโรปตะวันออก เช่น รัสเซีย ฮังการี และสโลวีเนีย รวมถึงอเมริกาเหนือ (โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา) รวมถึงบางประเทศในละตินอเมริกา เช่น อาร์เจนตินา และในบราซิล โดยเฉพาะในรัฐ รีโอกรันดีโดซูล ซันตากาตารีนา ปารานา และเอสปีรีตูซันตู ชาวอามิช รวมถึงชาวเมนโนไนต์บางคนก็เป็นภาษาเยอรมันอย่างหนึ่ง ประมาณ 120 ล้านคน คือ 1/4 ของชาวยุโรปทั้งหมด พูดภาษาเยอรมัน ภาษาเยอรมันเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนทั่วโลกมาเป็นอันดับ 3 และเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ในยุโรป (เป็นรองภาษาอังกฤษ) สหรัฐอเมริกา และเอเชียตะวันออก (ประเทศญี่ปุ่น) เป็นหนึ่งในภาษาราชการของสหภาพยุโรป ผู้รู้ภาษาเยอรมันในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป.
ภาษาเอสโตเนีย
ภาษาเอสโตเนีย เป็นภาษาในกลุ่มยูราลิก เป็นภาษาราชการของประเทศเอสโตเนีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศเอสโตเนีย.
ภาษาเดนมาร์ก
ษาเดนมาร์ก (dansk แดนฺสฺก) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกเหนือ(หรือภาษาสแกนดิเนเวีย) ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเจอร์แมนิก สาขาของภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ภาษาเดนมาร์กเป็นภาษาราชการภาษาเดียวของเดนมาร์ก และเป็นภาษาราชการหนึ่งในสองภาษาของเกาะกรีนแลนด์และหมู่เกาะแฟโร ซึ่งมีฐานะเป็นดินแดนปกครองตนเองของเดนมาร์ก นอกจากนี้ภาษาเดนมาร์กยังพูดกันในหมู่ชนกลุ่มน้อยทางตอนเหนือของประเทศเยอรมนี ในประเทศไอซ์แลนด์ ภาษาเดนมาร์กเป็นภาษาต่างประเทศภาษาที่สอง(ต่อจากภาษาอังกฤษ)ที่มีการเรียนการสอนกันในสถาบันการศึกษาแพร่หลายที.
ภูมิศาสตร์เอเชีย
แผนที่ภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชียในปี 1730 ของ Johan Christoph Homann โดยแบ่งภูมิภาคเอเชียเป็นสีต่างๆ ภาพรวมของทวีปเอเชีย ภาพทวีปเอเชีย ภูมิศาสตร์เอเชีย (Geography of Asia) คือลักษณะภูมิศาสตร์ต่างๆของทวีปเอเชียซึ่งเป็น 1 ใน 7 ทวีปของโลก ทวีปเอเชียเป็นทวีปที่ใหญ่ที่สุดในโลกมีขนาด 44,579,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 8.7 ของผิวโลก (ร้อยละ 30 ของส่วนที่เป็นพื้นดิน) และมีประชากรราว 3,900 ล้านคน หรือร้อยละ 60 ของประชากรมนุษย์ปัจจุบัน.
ดู สหภาพยุโรปและภูมิศาสตร์เอเชีย
มอซซาเรลลา
มอซซาเรลลา มอซซาเรลลา (mozzarella) เป็นเนยแข็งชนิดหนึ่ง มีต้นกำเนิดจากภาคใต้ของประเทศอิตาลี ตามธรรมเนียมแล้วผลิตจากน้ำนมควายเมดิเตอร์เรเนียนอิตาลีด้วยกรรมวิธีปัสตาฟีลาตา (pasta filata) ซึ่งโดยหลัก ๆ แล้วเป็นการแช่ กวน และนวดลิ่มน้ำนมในอ่างหางนมร้อนหรือน้ำร้อน เนยแข็งที่ได้จะมีเนื้อสัมผัสกึ่งนุ่ม ยืดหยุ่น และมีกลิ่นรสไม่แรง นิยมนำไปใช้เป็นส่วนประกอบในพิซซาและอาหารจากพาสตาชนิดต่าง ๆ หรือเสิร์ฟกับมะเขือเทศฝานและใบโหระพาในสลัดคาปรี มอซซาเรลลาได้รับการขึ้นทะเบียนการรับรองความชำนาญพิเศษแบบดั้งเดิม (Traditional Speciality Guaranteed) จากสหภาพยุโรปในปี..
มอซซาเรลลาควาย
มอซซาเรลลาควายแบบสด ควายในฟาร์มแห่งหนึ่งในแขวงเปสตุม สลัดคาปรี ประกอบด้วยมอซซาเรลลา มะเขือเทศ และใบโหระพา ราดน้ำมันมะกอก มอซซาเรลลาควาย (mozzarella di bufala) คือมอซซาเรลลาที่ผลิตจากน้ำนมของควายบ้านพันธุ์เมดิเตอร์เรเนียนอิตาลี ถือเป็นผลิตภัณฑ์ดั้งเดิมของแคว้นคัมปาเนีย (โดยเฉพาะจังหวัดคาแซร์ตาและซาแลร์โน) ทางภาคใต้ของประเทศอิตาลี คำว่ามอซซาเรลลาแผลงมาจากคำกริยาหรือกระบวนการที่เรียกว่า "มอซซาเร" (mozzare) ซึ่งหมายถึง "ตัดด้วยมือ" แยกออกจากลิ่มน้ำนม แล้วเสิร์ฟเป็นชิ้นเล็ก ๆ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือกระบวนการตัดลิ่มน้ำนมแล้วขึ้นรูปเป็นลูกกลมเล็ก มอซซาเรลลาควายเป็นที่ชื่นชอบเนื่องจากเนื้อสัมผัสที่ยืดหยุ่นและความหลากหลายในการนำไปรับประทาน บ่อยครั้งได้รับสมญานามว่าเป็น "ราชินีแห่งตำรับอาหารเมดิเตอร์เรเนียน", "ทองคำสีขาว" หรือ "ไข่มุกบนโต๊ะอาหาร" มอซซาเรลลาควายที่วางจำหน่ายในชื่อ "มอซซาเรลลาควายคัมปาเนีย" (Mozzarella di Bufala Campana) ได้รับการขึ้นทะเบียนการควบคุมการตั้งชื่อจากแหล่งกำเนิด (Denominazione di origine controllata) และตั้งแต่ปี..
ดู สหภาพยุโรปและมอซซาเรลลาควาย
มาเซล คาซิมอฟ
มาร์เซล คาซิมอฟ (Marsel Kasimov) นักมวยสากลชาวรัสเซีย เกิดเมื่อ 21 สิงหาคม..
มิวนิก
มิวนิก (Munich) หรือในภาษาเยอรมันว่า มึนเชิน (München) เป็นเมืองที่อยู่ทางใต้ของประเทศเยอรมนี และเป็นเมืองหลวงของรัฐบาวาเรีย ถือเป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับสามของประเทศรองจากเบอร์ลินและฮัมบวร์ค และเป็นหนึ่งในเมืองมั่งคั่งที่สุดของยุโรปตัวเมืองมีประชากร 1.3 ล้านคน และ 2.7 ล้านคนในเขตเมือง ตัวเมืองตั้งอยู่บนแม่น้ำอีซาร์ เหนือเทือกเขาแอลป์ มิวนิกเป็นเมืองที่มีเศรษฐกิจเข้มแข็งที่สุดในประเทศเยอรมนี โครงการริเริ่ม “Neue Soziale Marktwirtschaft (INSM)” (เศรษฐกิจตลาดสังคมใหม่) และนิตยสาร “Wirtschafts Woche” (ธุรกิจรายสัปดาห์) ให้คะแนนมิวนิกสูงที่สุดในการสำรวจเปรียบเทียบ ในเดือนมิถุนายน พ.ศ.
มิตซูบิชิ แลนเซอร์ อีโวลูชัน
มิตซูบิชิ แลนเซอร์ อีโวลูชัน (Mitsubishi Lancer Evolution) หรือ อีโว (Evo) เป็นรุ่นรถในเครือของ มิตซูบิชิ แลนเซอร์ มีตัวถังรถคล้ายแลนเซอร์ทั่วไป แต่มีเครื่องยนต์ที่มีสมรรถนะสูงกว่า สอดคล้องกับคำว่า Evolution ซึ่งแปลว่า วิวัฒนาการ แลนเซอร์ อีโวลูชัน จึงหมายถึง แลนเซอร์รุ่นพิเศษที่ได้วิวัฒนาการขึ้นมาเป็นรถแข่งที่เครื่องยนต์มีความแรงกว่าแลนเซอร์ทั่วไป อีโวลูชันรุ่น 1 ถึง 9 จะใช้เครื่องยนต์รุ่น 4G63 เทอร์โบชาร์จ 2000 ซีซี ขับเคลื่อนสี่ล้อ อีโวลูชัน รุ่นที่ 1 ผลิตขึ้นครั้งแรกใน พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและมิตซูบิชิ แลนเซอร์ อีโวลูชัน
มณฑลกวางตุ้ง
มณฑลกวางตุ้ง หรือ กว่างตง แบ่งการปกครองออกเป็น 21 เมืองใหญ่ 30 เมืองระดับอำเภอ 42 อำเภอและ 3 เขตปกครองตนเอง ตั้งอยู่ตอนใต้สุดของประเทศ ทางใต้ติดกับทะเลจีนใต้ ใกล้กับเกาะฮ่องกงและมาเก๊า เป็นประตูสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ มณฑลนี้นี่เองที่ประชากรส่วนมากได้อพยพไปตั้งถิ่นฐานในต่างประเทศ 100 กว่าปีที่แล้ว.
ยาปฏิชีวนะ
การดื้อยาปฏิชีวนะในกลุ่มเพนิซิลลินอย่างรุนแรง ยาปฏิชีวนะ (Antibiotics จากภาษากรีซโบราณ αντιβιοτικά, antiviotika) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (Antibacterials) เป็นกลุ่มย่อยของยาอีกกลุ่มหนึ่งในกลุ่มยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial drugs) ซึ่งเป็นยาที่ถูกใช้ในการรักษาและป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรีย โดยอาจออกฤทธิ์ฆ่าหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสอง ยาปฏิชีวนะบางชนิดอาจมีคุณสมบัติเป็นมีคุณสมบัติเป็นสารต้านโพรโทซัวได้ เช่น เมโทรนิดาโซล ทั้งนี้ ยาปฏิชีวนะไม่มีฤทธิ์ในการต้านไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ เช่น ไข้หวัด หรือ ไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น โดยยาที่มีฤทธิ์ต่อเชื้อไวรัสจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มยาต้านไวรัส ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยอีกกลุ่มหนึ่งของยาต้านจุลชีพ ในบางครั้ง คำว่า ยาปฏิชีวนะ (ซึ่งหมายถึง "การต่อต้านชีวิต") ถูกนำมาใช้เพื่อสื่อความถึงสารใดๆที่นำมาใช้เพื่อต้านจุลินทรีย์ ซึ่งมีความหมายเดียวกันกับคำว่า ยาต้านจุลชีพ บางแหล่งมีการใช้คำว่า ยาปฏิชีวนะ และ ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ในความหมายที่แยกจากกันไป โดยคำว่า ยา (สาร) ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย จะสื่อความถึง สบู่ และน้ำยาฆ่าเชื้อ ขณะที่คำว่า ยาปฏิชีวนะ จะหมายถึงยาที่ใช้ในทางการแพทย์เพื่อฆ่าเชื้อแบคทีเรีย การพัฒนายาปฏิชีวนะเริ่มต้นในช่วงศตวรรษที่ 20 พร้อมกับการพัฒนาเรื่องการให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรคจากเชื้อจุลชีพต่างๆ การเกิดขึ้นของยาปฏิชีวนะนำมาซึ่งการกำจัดโรคติดเชื้อแบคทีเรียต่างๆ ออกไปหลายชนิด เช่น กรณีของวัณโรคที่ระบาดในประเทศกำลังพัฒนา อย่างไรก็ตาม ด้วยประสิทธิภาพที่ดีและการเข้าถึงยาที่ง่ายนำไปสู่การใช้ยาปฏิชีวนะในทางที่ผิด พร้อมๆกับการที่แบคทีเรียมีการพัฒนาจนกลายพันธุ์เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะ ปัญหาดังข้างต้นได้แพร่กระจายเป็นวงกว้าง จนเป็นปัญหาสำคัญของการสาธารณสุขในทุกประเทศทั่วโลก จนองค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ได้ประกาศให้ปัญหาการดื้อยาของเชื้อแบคทีเรียเป็น "ปัญหาสำคัญเร่งด่วนที่สุดที่เกิดขึ้นในทุกภูมิภาคทั่วโลกและทุกคนล้วนจะต้องได้รับผลกระทบจากปัญหานี้ ไม่ว่าวัยใด หรือประเทศใดก็ตาม".
ยุโรป (แก้ความกำกวม)
รป, ยูโรเปียน สามารถหมายถึง.
ดู สหภาพยุโรปและยุโรป (แก้ความกำกวม)
ยูโร
ูโร (euro, €; รหัสธนาคาร EUR) เป็นสกุลเงินที่ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป 19 ประเทศ (ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558) ตกลงใช้ร่วมกัน เริ่มใช้วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.
ยูโรโซน
ประเทศนอกยูโรโซนที่ใช้เงินสกุลยูโร ยูโรโซน หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า พื้นที่ยูโร เป็นสหภาพเศรษฐกิจและการเงิน ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 รัฐ (ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.
ยูโรไมดาน
ูโรไมดาน (Euromaidan, Євромайдан, Yevromaidan ความหมายตามอักษร "จัตุรัสยูโร") เป็นคลื่นการเดินขบวนและการก่อความไม่สงบที่กำลังดำเนินอยู่ในประเทศยูเครน เริ่มตั้งแต่คืนวันที่ 21 พฤศจิกายน 2556 ด้วยการประท้วงในที่สาธารณะเพื่อเรียกร้องให้มีบูรณาการยุโรปใกล้ชิดยิ่งขึ้น นับแต่นั้นขอบเขตการประท้วงวิวัฒนาขึ้น โดยมีการเรียกร้องให้ประธานาธิบดียานูคอวิชและรัฐบาลลาออกจำนวนมาก, Reuters (12 December 2013) ผู้ประท้วงยังประกาศว่าพวกตนเข้าร่วมเพราะการขับไล่ผู้ประท้วงอย่างรุนแรงเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน และ "ความประสงค์เปลี่ยนแปลงชีวิตในยูเครน" จนถึงวันที่ 25 มกราคม 2557 การประท้วงได้มีเชื้อจากความเข้าใจการฉ้อราษฎร์บังหลวงของรัฐบาล การละเมิดอำนาจและการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างกว้างขวางในยูเครน, Radio Free Europe/Radio Liberty (25 January 2014) การเดินขบวนเริ่มขึ้นในคืนวันที่ 21 พฤศจิกายน 2556 เมื่อมีการประท้วงอุบัติขึ้นหลายแห่งพร้อมกันในเคียฟ เมืองหลวงของประเทศ หลังรัฐบาลยูเครนระงับการเตรียมลงนามความตกลงการสมาคม (Association Agreement) และความตกลงการค้าเสรีกับสหภาพยุโรป โดยสนับสนุนการพึ่งพาประเทศรัสเซียทางเศรษฐกิจมากขึ้น ประธานาธิบดีได้ร้องขอเงินกู้และเงินอุดหนุน 20,000 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ สหภาพยุโรปเต็มใจให้เงินกู้ 610 ล้านยูโร (838 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ) ทว่า รัสเซียเต็มใจเสนอเงินกู้ 15,000 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ รัสเซียยังเสนอราคาแก๊สแก่ยูเครนในราคาที่ถูกลง นอกเหนือจากเงินแล้ว สหภาพยุโรปยังกำหนดให้มีการเปลี่ยนแปลงระเบียบและกฎหมายในยูเครนอย่างมาก แต่รัสเซียไม่มีการกำหนดดังกล่าว วันที่ 24 พฤศจิกายน 2556 เริ่มมีการปะทะระหว่างผู้ประท้วงและตำรวจ ตำรวจใช้แก๊สน้ำตาและกระบอง ส่วนผู้ประท้วงใช้แก๊สน้ำตาและประทัด โดยตำรวจรายงานว่าผู้ประท้วงเป็นฝ่ายใช้ก่อน หลังการเดินขบวนไม่กี่วันให้หลัง มีจำนวนนักศึกษามหาวิทยาลัยเข้าร่วมการประท้วงมากขึ้น แม้การเรียกร้องให้รื้อฟื้นบูรณาการยูเครน-สหภาพยุโรปจะยังไม่ได้รับการสนองตราบจนปัจจุบัน แต่ยูโรไมดานได้แสดงลักษณะเป็นเหตุการณ์สัญลักษณ์นิยมทางการเมืองสำคัญแก่สหภาพยุโรปซ้ำ ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็น "การเดินขบวนนิยมยุโรปครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์" การประท้วงยังดำเนินอยู่แม้จะมีตำรวจอยู่เป็นจำนวนมาก, Kyiv Post (27, 28 & 29 November 2013), Euronews (27 November 2013) อุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็งและหิมะเป็นปกติ ความรุนแรงทวีขึ้นในเช้าวันที่ 30 พฤศจิกายน จากกำลังฝ่ายรัฐบาลได้ทำให้ระดับการประท้วงยกสูงขึ้น โดยมีผู้ประท้วง 400,000–800,000 คนเดินขบวนในเคียฟในวันสุดสัปดาห์ 1 ธันวาคมและ 8 ธันวาคม หลายสัปดาห์นับจากนั้น ผู้เข้าร่วมการประท้วงอยู่ในช่วงระหว่าง 50,000 ถึง 200,000 คนระหว่างการชุมนุมที่มีการจัดตั้ง, Reuters (12 January 2014) เหตุจลาจลรุนแรงเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม และวันที่ 19 ถึง 25 มกราคมเพื่อสนองต่อความทารุณของตำรวจ (police brutality) และการปราบปรามของรัฐบาล ตั้งแต่วันที่ 23 มกราคม อาคารผู้ว่าการหลายแห่งและสภาภูมิภาคหลายแห่งในทางตะวันตกของประเทศถูกยึดในการก่อการกำเริบโดยนักเคลื่อนไหวยูโรไมดาน, Aljazeera.com (26 January 2014) ตามการสำรวจความคิดเห็นเมื่อเดือนธันวาคม 2556 (จัดทำโดยผู้สำรวจสามแห่ง) ผลปรากฏว่า ชาวยูเครนระหว่าง 45% และกว่า 50% สนับสนุนยูโรไมดาน ขณะที่มีผู้คัดค้านระหว่าง 42% ถึง 50%, Research & Branding Group (10 December 2013), Interfax-Ukraine (30 December 2013) พบว่าผู้สนับสนุนการประท้วงมากที่สุดอยู่ในเคียฟ (ราว 75%) และยูเครนตะวันตก (กว่า 80%), Financial Times (29 December 2013) ในการสำรวจความคิดเห็นเมื่อวันที่ 7 และ 8 ธันวาคม ผู้ประท้วง 73% ตั้งใจว่าจะประท้วงต่อไปในเคียฟนานจนกว่าข้อเรียกร้องของพวกตนจะได้รับการตอบสนอง การสำรวจความคิดเห็นยังแสดงว่าประชาชนต่างวัยมีความเห็นแตกต่างกัน ขณะที่คนหนุ่มสาวส่วนมากสนับสนุนสหภาพยุโรป คนสูงวัย (กว่า 50 ปี) มักสนับสนุนสหภาพศุลกากรเบลารุส คาซัคสถานและรัสเซียมากกว่า จุดเปลี่ยนมาถึงเมื่อปลายเดือนกุมภาพันธ์ 2557 เมื่อสมาชิกพรรคของประธานาธิบดีที่หลบหนีหรือแปรพักตร์มีจำนวนมากพอกระทั่งพรรคเสียเสียงข้างมากในรัฐสภายูเครน ส่งผลให้ฝ่ายค้านครองเสียงข้างมาก และมีองค์ประชุมเพียงพอในที่สุด ทำให้รัฐสภาสามารถผ่านชุดกฎหมายซึ่งถอนตำรวจออกจากเคียฟ ยกเลิกปฏิบัติการต่อต้านการประท้วง ฟื้นฟูรัฐธรรมนูญปี 2547 ปล่อยตัวนักโทษการเมือง และถอดถอนประธานาธิบดียานูโควิช ต่อมา ยานูโควิชหลบหนีไปยังเมืองคาร์คิฟ เมืองใหญ่อันดับสองของประเทศ และปฏิเสธไม่ยอมรับคำวินิจฉัยของรัฐสภา รัฐสภากำหนดการเลือกตั้งล่วงหน้าในเดือนพฤษภาคม 2557.
ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก
วาดแสดงดาวเทียม NAVSTAR ของสหรัฐ เครื่องรับสัญญาณจีพีเอส KAMAZ NAAV450 เครื่องรับสัญญาณจีพีเอส แมเกลลัน เบลเซอร์ ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก เรียกย่อว่า จีพีเอส (Global Positioning System: GPS) หรือรู้จักในชื่อ นาฟสตาร์ (Navstar) คือระบบดาวเทียมนำร่องโลก (์Global Navigation Satellite System: GNSS) เพื่อระบุข้อมูลของตำแหน่งและเวลาโดยอาศัยการคำนวณจากความถี่สัญญาณนาฬิกาที่ส่งมาจากตำแหน่งของดาวเทียมต่างๆ ที่โคจรอยู่รอบโลกทำให้สามารถระบุตำแหน่ง ณ จุดที่สามารถรับสัญญาณได้ทั่วโลกและในทุกสภาพอากาศ รวมถึงสามารถคำนวณความเร็วและทิศทางเพื่อนำมาใช้ร่วมกับแผนที่ในการนำทางได้.
ดู สหภาพยุโรปและระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก
ระบอบสหพันธรัฐ
ระบอบสหพันธรัฐ (Federalism) เป็นแนวคิดการเมืองซึ่งกลุ่มสมาชิกผูกมัดเข้าด้วยกันโดยข้อตกลงร่วมกัน โดยมีหัวหน้าที่เป็นตัวแทนซึ่งมีสิทธิปกครอง คำว่า "ระบอบสหพันธรัฐ" ยังใช้อธิบายระบบของรัฐบาลซึ่งรัฐธรรมนูญได้แบ่งแยกอำนาจอธิปไตยระหว่างฝ่ายปกครองส่วนกลางกับหน่วยการเมืองที่เป็นองค์ประกอบ (เช่น รัฐหรือมณฑล) ระบอบสหพันธรัฐเป็นระบบซึ่งตั้งอยู่บนการปกครองแบบประชาธิปไตยและสถาบันซึ่งอำนาจในการปกครองนั้นแบ่งออกเป็นของรัฐบาลแห่งชาติและรัฐบาลระดับมณฑลหรือรัฐ ก่อให้เกิดเป็นสิ่งที่มักเรียกว่า สหพันธรัฐ ผู้เสนอมักถูกเรียกว่า ผู้สนับสนุนสหพันธ์ (federalist) ในยุโรป "ผู้สนับสนุนสหพันธ์" บ้างใช้อธิบายผู้ที่นิยมรัฐบาลสหพันธ์ร่วม โดยมีอำนาจกระจายสู่ระดับภูมิภาค ชาติและเหนือชาติ ผู้สนับสนุนสหพันธ์ยุโรปส่วนมากต้องการพัฒนาการนี้ให้ดำเนินต่อไปภายในสหภาพยุโรป ระบอบสหพันธรัฐยุโรปถือกำเนิดขึ้นในยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่สอง หนึ่งในการริเริ่มที่สำคัญกว่า คือ สุนทรพจน์ของวินสตัน เชอร์ชิลล์ในซูริค เมื่อ..
ดู สหภาพยุโรปและระบอบสหพันธรัฐ
ระเบียบการคุ้มครองข้อมูลทั่วไป
ระเบียบการคุ้มครองข้อมูลทั่วไป (General Data Protection Regulation, ย่อ GDPR) (EU) 2016/679 เป็นระเบียบในกฎหมายสหภาพยุโรปว่าด้วยการคุ้มครองข้อมูลและภาวะเฉพาะส่วนตัวแก่ปัจเจกบุคคลทุกคนในสหภาพยุโรป (EU) และเขตเศรษฐกิจยุโรป (EEA) นอกจากนี้ ยังครอบคลุมการส่งออกซึ่งข้อมูลส่วนบุคคลนอก EU และ EEA; GDPR มุ่งให้การควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลของตนแก่พลเมืองและผู้อยู่อาศัยเป็นหลัก และเพื่อทำให้สิ่งแวดล้อมการวางระเบียบง่ายขึ้นสำหรับธุรกิจข้ามชาติโดยการสร้างเอกภาพแก่ระเบียบภายใน EU ระเบียบดังกล่าวใช้แทนคำสั่งคุ้มครองข้อมูล (Data Protection Directive) 95/46/EC มีบทบัญญัติและข้อบังคับเกี่ยวกับการประมวลผลสารสนเทศที่สามารถระบุรูปพรรณบุคคลได้ซึ่งข้อมูลที่อยู่ในบังคับในสหภาพยุโรป และมีผลใช้บังคับต่อวิสาหกิจทั้งปวงซึ่งกำลังประกอบธุรกิจในเขตเศรษฐกิจยุโรปไม่ว่าที่ใด กระบวนการธุรกิจซึ่งจัดการกับข้อมูลส่วนบุคคลจะต้องสร้างขึ้นโดยเจตนาและโดยปริยายคุ้มครองข้อมูล หมายความว่า ต้องจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลโดยใช้นามแฝงหรือนิรนามโดยสิ้นเชิง และใช้การตั้งค่าภาวะเฉพาะส่วนตัวสูงสุดเท่าที่เป็นไปได้โดยปริยาย เพื่อให้ข้อมูลไม่มีการเปิดเผยต่อสาธารณะหากปราศจากความยินยอมอย่างชัดแจ้ง และไม่สามารถใช้เพื่อระบุบุคคลได้โดยปราศจากสารสนเทศเพิ่มเติมที่เก็บแยกกัน ห้ามประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลยกเว้นกระทำภายใต้กฎหมายที่ระบุตามระเบียบฯ นี้ หรือหากผู้ควบคุมหรือผู้ประมวลผลข้อมูลได้รับความยินยอมแบบเลือกภายหลังอย่างชัดแจ้งจากเจ้าของข้อมูล เจ้าของข้อมูลมีสิทธิเพิกถอนการอนุญาตนี้เมื่อใดก็ได้ ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลต้องเปิดเผยการเก็บข้อมูลใด ๆ อย่างชัดเจน ประกาศเหตุผลและความมุ่งหมายอันชอบด้วยกฎหมายสำหรับการประมวลผลข้อมูล ว่าจะเก็บข้อมูลนานเท่าใด และมีการแบ่งข้อมูลนั้นกับบุคคลภายนอกหรือนอก EU หรือไม่ ผู้ใช้มีสิทธิขอสำเนาพกพาได้ของข้อมูลที่ผู้ประมวลผลข้อมูลเก็บรวบรวมในรูปแบบร่วม และมีสิทธิลบข้อมูลของตนภายใต้พฤติการณ์บางอย่าง กำหนดให้ทางการสาธารณะและธุรกิจซึ่งมีกิจกรรมกับการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลเป็นประจำหรือเป็นระบบเป็นหลักว่าจ้างเจ้าพนักงานคุ้มครองข้อมูลซึ่งรับผิดชอบต่อการจัดการให้เป็นไปตาม GDPR ธุรกิจต้องรายงานการละเมิดข้อมูลใด ๆ ภายใน 72 ชั่วโมงหากมีผลเสียต่อภาวะเฉพาะบุคคลของผู้ใช้ มีการลงมติรับระเบียบฯ ในวันที่ 14 เมษายน 2559 และหลังระยะเปลี่ยนผ่านสองปี จะมีผลใช้บังคับในวันที่ 25 พฤษภาคม 2561 เนื่องจาก GDPR เป็นระเบียบ มิใช่คำสั่ง จึงไม่จำเป็นต้องกำหนดให้รัฐบาลของประเทศต่าง ๆ ผ่านกฎหมายให้อำนาจและมีผลผูกมัดและใช้ได้โดยตรง.
ดู สหภาพยุโรปและระเบียบการคุ้มครองข้อมูลทั่วไป
รัฐสภายุโรป
รัฐสภายุโรป (European Parliament) (ตัวย่อ: Europarl หรือ EP) เป็นรัฐสภาที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของสหภาพยุโรป (EU) สภายุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรปและคณะกรรมาธิการยุโรปร่วมกันทำหน้าที่เป็นฝ่ายนิติบัญญัติของสหภาพยุโรป ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งในฝ่ายนิติบัญญัติที่ทรงอำนาจที่สุดในโลก ปัจจุบันสภายุโรปประกอบด้วยสมาชิกสภายุโรปจำนวน 751 คน โดยเป็นร่างตัวแทนของผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตยมากเป็นอันดับสองของโลก (รองจากรัฐสภาอินเดีย) และมีจำนวนผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตยมากที่สุดในโลก (375 ล้านคนจากข้อมูลใน พ.ศ.
รัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์
รัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์ (Islamic State of Iraq and the Levant, ย่อ: ISIL) หรือเรียก รัฐอิสลามอิรักและซีเรีย (Islamic State of Iraq and Syria; ย่อ: ISIS), รัฐอิสลามอิรักและอัชชาม (Islamic State of Iraq and ash-Sham) หรือรัฐอิสลาม (Islamic State; ย่อ: IS) เป็นกลุ่มนักรบสุดโต่งวะฮาบีย์/ญิฮัดสะละฟีย์ซึ่งตั้งตนเป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์และรัฐอิสลาม กลุ่มนี้มีชาวอาหรับนิกายซุนนีย์จากประเทศอิรักและซีเรียเป็นผู้นำและเป็นส่วนใหญ่ ในเดือนมีนาคม 2558 กลุ่มควบคุมดินแดนที่มีประชากร 10 ล้านคนในประเทศอิรักและซีเรีย และควบคุมเหนือดินแดนขนาดเล็กในประเทศลิเบีย ไนจีเรียและอัฟกานิถสานผ่านกลุ่มท้องถิ่นที่ภักดี กลุ่มนี้ยังปฏิบัติการหรือมีสาขาในส่วนอื่นของโลก รวมถึงแอฟริกาเหนือและเอเชียใต้ วันที่ 29 มิถุนายน กลุ่มตั้งต้นเป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์ทั่วโลก โดยมีอะบู บักร์ อัลบัฆดาดีเป็นเคาะลีฟะฮ์ และเปลี่ยนชื่อเป็นอัดเดาละฮ์ อัลอิสลามิยะฮ์ (الدولة الإسلامية, ad-Dawlah al-Islāmiyah "รัฐอิสลาม") ด้วยเป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์ กลุ่มนี้อ้างอำนาจทางศาสนา การเมืองและทหารเหนือมุสลิมทุกคนทั่วโลก และว่า "ความชอบด้วยกฎหมายของทุก ๆ เอมิเรต กลุ่ม รัฐและองค์การเป็นโมฆะโดยการแผ่ขยายอำนาจของเคาะลีฟะฮ์และทหารของรัฐเคาะลีฟะฮ์มาถึงพื้นที่ของสิ่งเหล่านี้" สหประชาชาติถือว่า ISIL รับผิดชอบต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชนและอาชญากรรมสงคราม และองค์การนิรโทษกรรมสากลรายงานการล้างชาติพันธุ์ของกลุ่มใน "ขนาดที่ไม่เคยมีมาก่อน" สหประชาชาติ สหภาพยุโรป สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย แคนาดา อินโดนีเซีย มาเลเซีย ตุรกี ซาอุดีอาระเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อียิปต์ อินเดียและรัสเซียประกาศให้กลุ่มนี้เป็นองค์การก่อการร้าย กว่า 60 ประเทศกำลังทำสงครามโดยตรงหรือโดยอ้อมต่อ ISIL กลุ่มนี้กำเนิดเป็น "จามาต ตอฮิด วัล ญิฮัด" (Jama'at al-Tawhid wal-Jihad) ในปี 2542 ซึ่งสวามิภักดิ์ต่ออัลกออิดะฮ์ในปี 2547 กลุ่มนี้เข้าร่วมการก่อการกำเริบอิรักให้หลังการบุกครองอิรัก พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและรัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์
รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส
รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส ฉบับวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 1958 (ฉบับที่ 15 ของประเทศฝรั่งเศส) วางกฎเกณฑ์สำหรับสถาบันต่างๆ ของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 ซึ่งถือคติการปกครองว่า "รัฐบาลจากประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน" ชาวฝรั่งเศสได้รับรองรัฐธรรมนูญฉบับนี้ด้วยประชามติเมื่อวันที่ 28 กันยายน ค.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส
รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557
รัฐประหารในประเทศไท..
ดู สหภาพยุโรปและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557
ราชอาณาจักรเดนมาร์ก
ราชอาณาจักรเดนมาร์ก คือระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาคมที่ประกอบด้วยส่วนที่เป็นอิสระต่อกันสามส่วน:เดนมาร์กทางตอนเหนือของยุโรป, หมู่เกาะแฟโรในมหาสมุทรแอตแลนติก และ กรีนแลนด์ ใน อเมริกาเหนือ โดยมีเดนมาร์กเป็นดินแดนศูนย์กลางที่เป็นที่ตั้งของสถาบันทางด้านการยุติธรรม, การปกครอง และ การบริหาร ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐในเครือราชอาณาจักรเดนมาร์กเรียกว่า "Rigsfællesskabet" พระประมุขพระองค์ปัจจุบันของราชอาณาจักรเดนมาร์กคือ สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 ในบรรดาสมาชิกทั้งสามก็มีแต่เดนมาร์กเท่านั้นที่เป็นสมาชิกของสหภาพยุโรป.
ดู สหภาพยุโรปและราชอาณาจักรเดนมาร์ก
ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์
ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ (Koninkrijk der Nederlanden; The Kingdom of the Netherlands) เป็นรัฐเอกราชซึ่งมีดินแดนในยุโรปตะวันตกและแคริบเบียน ราชอาณาจักรสี่ส่วน อารูบา กือราเซา เนเธอร์แลนด์ และซินต์มาร์เติน ถูกเรียกว่า "ประเทศ" และมีส่วนร่วมบนรากฐานความเสมอภาคเป็นประเทศร่วม (partner) ในราชอาณาจักร ทว่าในทางปฏิบัติ เนเธอร์แลนด์ (ซึ่งมีพื้นที่และประชากรเป็นราว 98% ของราชอาณาจักร) บริหารจัดการกิจการแห่งราชอาณาจักรส่วนใหญ่ ในนามของทั้งราชอาณาจักร โดยอารูบา กือราเซาและซินต์มาร์เตินพึ่งพิงเนเธอร์แลนด์ ประเทศองค์ประกอบ (constituent country) ส่วนใหญ่ของเนเธอร์แลนด์ (และราชอาณาจักร) ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป ยกเว้นเทศบาลพิเศษสามแห่ง (โบแนเรอ ซินต์เอิสตาซียึสและซาบา) ที่ตั้งอยู่ในแคริบเบียน ประเทศองค์ประกอบอารูบา กือราเซาและซินต์มาเตินตั้งอยู่ในแคริบเบียนเช่นกัน ซูรินามถือเป็นประเทศหนึ่งในราชอาณาจักรตั้งแต..
ดู สหภาพยุโรปและราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์
รามิโล่ ชเคนิสสกา
รามิโล่ ชเคนิสสกา แจงเกอร์สกา (Радмила Шекеринска Јанковска; เกิด 10 มิถุนายน ค.ศ. 1972 ในสโกเปีย ประเทศมาซิโดเนีย) เป็นอดีตผู้นำของสหภาพสังคมประชาธิปไตยมาซิโดเนีย (SDSM) และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของสาธารณรัฐมาซิโดเนียในปัจจุบัน รามิโล่ ชเคนิสสกาเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีสำหรับการรวมยุโรปและผู้ประสานงานระดับชาติเพื่อการช่วยเหลือจากต่างประเทศของสาธารณรัฐมาซิโดเนียและยังเคยเป็นนายกรัฐมนตรีของสาธารณรัฐมาซิโดเนียตั้งแต่วันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและรามิโล่ ชเคนิสสกา
รายชื่อสนธิสัญญา
การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.
ดู สหภาพยุโรปและรายชื่อสนธิสัญญา
รายชื่อตัวละครในกันดั้มดับเบิลโอ
รายละเอียดของตัวละครจากภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกันดั้มดับเบิลโอผลงานของบริษัทซันไร.
ดู สหภาพยุโรปและรายชื่อตัวละครในกันดั้มดับเบิลโอ
รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม
รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม จากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.
ดู สหภาพยุโรปและรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม
รายชื่อประเทศตามอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลาง
้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศตามอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลาง จากการเรียกเก็บเงินในเชิงพาณ.
ดู สหภาพยุโรปและรายชื่อประเทศตามอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลาง
รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด
นี่คือ รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งรวมถึงรัฐอธิปไตยและเขตการปกครอง เรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด โดยยึดตามมาตรฐานสากล ISO 3166-1 เพื่อจุดประสงค์ทางสถิติ เขตการปกครองจะถูกบรรจุในรายชื่อรวมกับรัฐอธิปไตยด้วย ตัวเลขที่ปรากฏจะแสดงขนาดพื้นที่ทั้งหมด รวมทั้งพื้นดินและพื้นที่น้ำภายในดินแดนนั้นด้วย (เช่น ทะเลสาบ เขื่อน และแม่น้ำ) ซึ่งบางส่วนอาจนับรวมไปถึงพื้นที่ของน้ำภาคพื้นสมุทร (น่านน้ำชายฝั่ง) แต่ไม่นับรวมน่านน้ำอาณาเขตและเขตเศรษฐกิจจำเพาะ สถิติดังกล่าวไม่นับรวมเขตการปกครองซึ่งไม่มีพลเมืองอาศัยอยู่ – รวมทั้งการอ้างสิทธิ์ของหลายประเทศเหนือพื้นที่ของทวีปแอนตาร์กติกา (14,400,000 กม.²) – และการรวมกลุ่มประเทศ เช่น สหภาพยุโรป (4,324,782 กม.²) ซึ่งมีอำนาจอธิปไตย แต่ไม่สามารถพิจารณาว่าเป็นรัฐอธิปไตยหรือเขตการปกครองได้ พื้นที่ทั้งหมดของโลกคิดเป็น 148,940,000 กม.² (คิดเป็น 29.1% ของพื้นผิวโลกทั้งหมด).
ดู สหภาพยุโรปและรายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด
รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปเรียงตามประชากร
้างล่างนี้คือรายชื่อประเทศในทวีปยุโรปเรียงตามจำนวนประชากรในประเทศของทวีปยุโรป โดยที่ข้อมูลมาจากการสำรวจประชากร รายชื่อประเทศจะพิจารณาจกสมาชิกในสภายุโรป.
ดู สหภาพยุโรปและรายชื่อประเทศในทวีปยุโรปเรียงตามประชากร
รายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตถ่านหิน
้านล่างนี้เป็นข้อมูลรายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตถ่านหิน เป็นผลการสำรวจเมื่อปี 2555 โดย บีพี เผยแพร่ในปี 2556.
ดู สหภาพยุโรปและรายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตถ่านหิน
รายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร
แผนที่ประเทศเรียงตามจำนวนประชากร ประมาณการเมื่อปี 2010 นี่คือรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร ประกอบด้วยรัฐเอกราชและเขตปกครองพิเศษตามมาตรฐาน ISO 3166-1 ดินแดนซึ่งประกอบขึ้นเป็นรัฐเอกราชโดยแบ่งแยกมิได้จะถูกนับว่าเป็นส่วนหนึ่งของรัฐเอกราชด้วยเช่นกัน แต่ไม่รวมไปถึงองค์กรระหว่างประเทศ อย่างเช่น สหภาพยุโรป ซึ่งมิได้มีสถานะเป็นรัฐเอกราชและเขตปกครองพิเศษซึ่งไม่มีประชากรอยู่อาศัยอย่างถาวร อย่างเช่น การอ้างสิทธิ์ของหลายประเทศเหนือแอนตาร์กติกา ประมาณการประชากรทั่วโลกคิดเป็น คน ตัวเลขซึ่งใช้ในรายชื่อดังกล่าวตั้งอยู่บนประมาณการล่าสุดของสำนักงานสถิติแห่งชาตินั้น ๆ ที่สามารถยึดถือเอาได้ แต่ถ้าหากไม่มีสถิติที่สามารถถือเอาได้ ตัวเลขจะนำมาจากประมาณการเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..
ดู สหภาพยุโรปและรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร
รายชื่อเมืองใหญ่ที่สุดในสหภาพยุโรปเรียงตามจำนวนประชากร
รายชื่อของเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป จัดอันดับจากจำนวนประชากรที่อาศัยอยู่ในเมืองนั้น ๆ นับจากเมืองที่มีประชากรอาศัยอยู่มากกว่า 3 แสนคนขึ้นไป ในรายชื่อนี้เมืองบางเมืองอาจจะแคบมาก บางเมืองอาจจะใหญ่มาก รายชื่อที่จัดอันดับมานี้อาจจะมีข้อถกเถียง เช่น เขตมหานครลอนดอนและเขตมหานครปารีส (รวมปริมณฑล) เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป แต่ขอบเขตของเมืองปารีสที่แท้จริงมีขนาดเล็กกว่าลอนดอน ดังนั้นจึงมีอันดับน้อยกว่าในตารางด้านล่าง.
ดู สหภาพยุโรปและรายชื่อเมืองใหญ่ที่สุดในสหภาพยุโรปเรียงตามจำนวนประชากร
รายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร
นี่เป็นรายนามของ นายกรัฐมนตรีแห่งบริเตนใหญ่ ระหว่าง..
ดู สหภาพยุโรปและรายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร
รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ
รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ (Nobels fredspris, Nobel Peace Prize) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..
ดู สหภาพยุโรปและรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ
ริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช คณะกรรมการอำนวยการฯ พิจารณาเห็นชอบให้มีทั้งสิ้น 6 ริ้วขบวน ดังรายละเอียดต่อไปนี้.
ดู สหภาพยุโรปและริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
รถไฟใต้ดินมาดริด
ระบบการคมนาคมโดยรถไฟใต้ดินกรุงมาดริด (Metro de Madrid) ประเทศสเปน ได้เริ่มเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 17 มีนาคม..
ดู สหภาพยุโรปและรถไฟใต้ดินมาดริด
ลอนดอน
ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ.
ลัทธิกีดกันทางเพศ
กราฟฟิตีการต่อสู้เพศนิยมในตูรินพฤศจิกายน 2016 เพศนิยม (sexism) หรือ การกีดกันทางเพศ หมายถึงการแบ่งแยกทางเพศและเลือกที่รักมักที่ชังต่อเพศใดเพศหนึ่ง แต่ส่วนใหญ่จะมีผลกระทบต่อผู้หญิงและเด็กหญิงมีความเห็นร่วมกันอย่างชัดเจนและกว้างในหมู่นักวิชาการในสาขาต่างๆที่เกี่ยวกับเรื่องเพศ ซึ่งหมายถึงการเลือกปฏิบัติต่อสตรีและมีผลต่อผู้หญิงเป็นหลัก ดูตัวอย่างเช่น.
ดู สหภาพยุโรปและลัทธิกีดกันทางเพศ
ลุสปิตาแล็ตดายูบรากัต
ลุสปิตาแล็ตดายูบรากัต (L'Hospitalet de Llobregat) หรือย่อว่า ลุสปิตาแล็ต เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของบาร์เซโลนา ในแคว้นกาตาลุญญา ประเทศสเปน เป็นเมืองที่มีประชากรเป็นอันดับ 2 ของแคว้นกาตาลุญญา เป็นหนึ่งในเมืองที่มีความหนาแน่นของประชากรมากที่สุด ไม่เฉพาะในสเปน แต่รวมถึงในสหภาพยุโรป หมวดหมู่:เมืองในประเทศสเปน หมวดหมู่:แคว้นกาตาลุญญา.
ดู สหภาพยุโรปและลุสปิตาแล็ตดายูบรากัต
วันยุโรป
ในทวีปยุโรป วันยุโรป เป็นการเฉลิมฉลองสันติภาพและเอกภาพประจำปีในทวีปยุโรป มีการกำหนดวันยุโรปสองวัน คือ วันที่ 5 พฤษภาคมสำหรับสภายุโรป และวันที่ 9 พฤษภาคมสำหรับสหภาพยุโรป ซึ่งวันที่ 9 พฤษภาคมนี้เป็นวันธงของสหภาพยุโรปและเป็นที่รู้จักมากกว่า วันของสภายุโรปสะท้อนการสถาปนาสภาฯ ใน..
วิกฤตการณ์การเงิน พ.ศ. 2550–2551
วิกฤตการณ์การเงิน..
ดู สหภาพยุโรปและวิกฤตการณ์การเงิน พ.ศ. 2550–2551
วิกฤตการณ์ผู้ย้ายถิ่นยุโรป
ำขอที่ลี้ภัยในรัฐสหภาพยุโรปและสมาคมการค้าเสรียุโรประหว่าวันที่ 1 มกราคมถึง 30 มิถุนายน 2558 ตามข้อมูลของยูโรสแตต วิกฤตการณ์ผู้ย้ายถิ่นยุโรป หรือ วิกฤตการณ์ผู้ลี้ภัยยุโรป คือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปี 2558 จากการที่ผู้ลี้ภัยและผู้ย้ายถิ่นทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นจากพื้นที่อย่างตะวันออกกลาง เอเชียใต้ ทวีปแอฟริกา และคาบสมุทรบอลข่านตะวันตกหลั่งไหลสู่สหภาพยุโรปข้ามทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ และสมัครขอที่ลี้ภัย ผู้ลี้ภัยส่วนใหญ่มาจากประเทศซีเรีย อัฟกานิสถานและเอริเตรีย มีการใช้คำนี้ตั้งแต่เดือนเมษายน 2558 เมื่อเรืออย่างน้อยห้าลำที่บรรทุกผู้ย้ายถิ่นมุ่งทวีปยุโรปเกือบสองพันคนล่มในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน โดยมียอดผู้เสียชีวิตรวมประเมินไว้กว่า 1,200 คน วิกฤตการณ์นี้เกิดในบริบทความขัดแย้งที่ดำเนินอยู่ในประเทศแอฟริกาเหนือและตะวันออกกลางหลายประเทศ ตลอดจนรัฐบาลสหภาพยุโรปหลายแห่งที่ปฏิเสธสมทบตัวเลือกช่วยเหลือปฏิบัติการมาเรนอสตรัม (Operation Mare Nostrum) ที่ประเทศอิตาลีดำเนินการ ซึ่งปฏิบัติการไทรทันของฟรอนเท็กซ์ (Frontex) รับช่วงต่อในเดือนพฤศจิกายน 2557 เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2558 รัฐบาลสหภาพยุโรปตกลงอุดหนุนปฏิบัติการตระเวนชายแดนในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนเป็นสามเท่าเพื่อให้เท่ากับขีดความสามารถของปฏิบัติการมาเรนอสตรัมก่อนหน้า แต่องค์การนิรโทษกรรมสากลพลันวิจารณ์การสั่งการของสหภาพยุโรปที่ไม่ "ขยายพื้นที่ปฏิบัติการของไทรทัน" ไปพื้นที่ซึ่งเดิมครอบคลุมในมาเรนอสตรัม หลายสัปดาห์ต่อมา สหภาพยุโรปตัดสินใจเริ่มปฏิบัติการใหม่ซึ่งมีฐานที่กรุงโรม ชื่อว่า อียูเนฟฟอร์เมด (EU Navfor Med) ภายใต้การบังคับบัญชาของพลเรือเอกชาวอิตาเลียน เอนรีโก กรีเดนดีโน ตามข้อมูลของยูโรสแตด รัฐสมาชิกสหภาพยุโรปได้รับคำขอที่ลี้ภัย 626,000 ครั้งในปี 2557 เป็นจำนวนสูงสุดนับแต่คำขอ 672,000 ครั้งที่ได้ในปี 2535 ในปี 2557 การตัดสินใจเรื่องคำขอที่ลี้ภัยในสหภาพยุโรปในชั้นต้นส่งผลให้ผู้ขอที่ลี้ภัยกว่า 160,000 คนได้รับสถานภาพคุ้มครอง ขณะที่อีก 23,000 คนได้รับสถานภาพคุ้มครองระหว่างอุทธรณ์ (on appeal) อัตราการรับรองผู้ขอที่ลี้ภัยอยู่ที่ 45% ในชั้นต้นและ 18% ในชั้นอุทธรณ์ สี่รัฐ ได้แก่ ประเทศเยอรมนี สวีเดน อิตาลีและฝรั่งเศสได้รับคำขอที่ลี้ภัยราวสองในสามของสหภาพยุโรปและให้สถานภาพคุ้มครองเกือบสองในสามในปี 2557 ขณะที่สวีเดน ฮังการีและออสเตรียติดประเทศที่รับคำขอที่ลี้ภัยของสหภาพยุโรปต่อหัวมากที่สุด เมื่อปรับกับประชากรของตนแล้ว.
ดู สหภาพยุโรปและวิกฤตการณ์ผู้ย้ายถิ่นยุโรป
วิกฤติหนี้สาธารณะกรีซ
last.
ดู สหภาพยุโรปและวิกฤติหนี้สาธารณะกรีซ
วิกิเมเนีย
วิกิเมเนีย (Wikimania) เป็นการประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปีสำหรับผู้ใช้ของโครงการวิกิที่ดำเนินการโดยมูลนิธิวิกิมีเดีย (ประกอบด้วยวิกิพีเดียและโครงการพี่น้องอื่น ๆ) หัวข้อการนำเสนอและการอภิปรายประกอบด้วยโครงการมูลนิธิวิกิมีเดีย, วิกิอื่น ๆ, ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซ, ความรู้และเนื้อหาเสรี และสังคมที่แตกต่างรวมถึงเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อเหล่านี้.
ศาลยุติธรรมสหภาพยุโรป
ลยุติธรรมสหภาพยุโรป (Court of Justice of the European Union: CJEU) เป็นสถาบันหนึ่งของสหภาพยุโรป มีสถานะเหนือชาติ (supranational) เป็นหน่วยงานหลักทางตุลาการสำหรับสหภาพยุโรป กำกับดูแลการใช้และตีความกฎหมายสหภาพยุโรปให้เป็นไปโดยเอกภาพ โดยร่วมมือกับสถาบันตุลาการระดับชาติของรัฐสมาชิก นอกจากนี้ ยังมีหน้าที่ยุติกรณีพิพาทระหว่างรัฐบาลระดับชาติและสถาบันอื่นของสหภาพยุโรป ทั้งสามารถดำเนินคดีต่อสถาบันต่าง ๆ ของสหภาพยุโรปแทนบุคคล บริษัท หรือองค์การซึ่งถูกละเมิดสิทธิ ศาลยุติธรรมสหภาพยุโรปออกนั่งบัลลังก์ ณ นครลักเซมเบิร์ก ราชรัฐลักเซมเบิร์ก เป็นระบบศาลที่มีลักษณะเฉพาะตัว (sui generis) ประกอบด้วยศาลอิสระสองศาล คือ ศาลยุติธรรม (Court of Justice) และศาลกลาง (General Court) อนึ่ง ศาลยุติธรรมสหภาพยุโรปยังเคยมีคณะตุลาการราชการพลเรือน (Civil Service Tribunal) ซึ่งดำรงอยู่ในช่วง..
ดู สหภาพยุโรปและศาลยุติธรรมสหภาพยุโรป
ศิลปศาสตรบัณฑิต
ลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ., BA หรือ AB จาก baccalaureus artium และ artium baccalaureus ในภาษาละติน) คือปริญญาทางวิชาการที่ได้รับจากหลักสูตรในระดับปริญญาตรี ในสาขาศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือทั้งคู่ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตโดยทั่วไปใช้เวลาสามถึงสี่ปีขึ้นอยู่กับประเทศ สถาบัน และความเชี่ยวชาญเฉพาะ วิชาเอก หรือวิชาโท คำว่า baccalaureus (bacca หมายถึง เบอร์รี และ laureus หมายถึง "ของใบกระวาน" จากภาษาละติน) ไม่ควรสับสนกับ baccalaureatus (แปลว่า "คทาเคลือบทองคำ" จากคำว่า bacum และ aureatus ในภาษาละติน) ซึ่งมาจากการศึกษาหนึ่งถึงสองปีหลังปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิตด้วยเกียรตินิยม (Baccalaureatus in Artibus Cum Honore) ในบางประเทศ ประกาศนียบัตรโดยทั่วไปประกอบด้วยชื่อของสถาบัน ลายเซ็นเจ้าหน้าที่ของสถาบัน (โดยทั่วไปเป็นอธิการบดีของของมหาวิทยาลัยเช่นเดียวกับคณบดีของวิทยาลัยร่วม) ประเภทของปริญญา การมอบสิทธิ และสถานที่ที่ได้รับปริญญา ประกาศนียบัตรโดยทั่วไปจะพิมพ์ลงบนกระดาษคุณภาพสูงหรือแผ่นหนัง สถาบันแต่ละแห่งจะกำหนดตัวย่อพิเศษสำหรับปริญญาของตน ศิลปศาสตรบัณฑิตโดยปกติจะสำเร็จการศึกษาในระยะเวลาสี่ปีในอัฟกานิสถาน เลบานอน อาร์เมเนีย เคนยา แคนาดา กรีซ บังคลาเทศ อาเซอร์ไบจาน อียิปต์ อิหร่าน ญี่ปุ่น คาซัคสถาน ลิทัวเนีย ไนจีเรีย เซอร์เบีย สเปน ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ไทย รัสเซีย ไอร์แลนด์ เกาหลีใต้ อิรัก คูเวต ตุรกี ฮ่องกง สหรัฐ และส่วนใหญ่ในทวีปอเมริกา สำเร็จการศึกษาโดยทั่วไปเป็นระยะเวลาสามปีในสหภาพยุโรปเกือบทั้งหมดและแอลเบเนีย ออสเตรเลีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา อินเดีย อิสราเอล นิวซีแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ สิงคโปร์ แคริบเบียน แอฟริกาใต้ สวิตเซอร์แลนด์ และจังหวัดของรัฐควิเบกในแคนาดา ในปากีสถานศิลปศาสตรบัณฑิตสามารถสำเร็จการศึกษาในสองปีโดยได้รับเป็นปริญญาภายนอก.
ดู สหภาพยุโรปและศิลปศาสตรบัณฑิต
ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคแห่งยุโรป
ัญลักษณ์ของศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคแห่งสหภาพยุโรป (ECDC) ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคแห่งสหภาพยุโรป (European Centre for Disease Prevention and Control (ECDC)) เป็นหน่วยงานอิสระของสหภาพยุโรป มีหน้าที่รับผิดชอบด้านการป้องกันโรคติดเชื้อในยุโรป ศูนย์ดังกล่าวก่อตั้งเมื่อเดือนมีนาคม..
ดู สหภาพยุโรปและศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคแห่งยุโรป
สภายุโรป
รป (Council of Europe, ตัวย่อ CoE, Conseil de l'Europe) เป็นองค์การระหว่างรัฐบาลส่วนภูมิภาค (regional intergovernmental organisation) ที่ตั้งขึ้นในปี..
สภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติ
ในลิเบีย สภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติ (National Transitional Council; المجلس الوطني الانتقالي) เป็นองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นโดยกลุ่มผู้ก่อการกำเริบใน พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและสภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติ
สภานิติบัญญัติ
นิติบัญญัติเป็นสภาปรึกษาหารือชนิดหนึ่งซึ่งมีอำนาจผ่าน แก้ไขเพิ่มเติมและยกเลิกกฎหมาย กฎหมายที่เกิดจากสภานิติบัญญัติเรียก กฎหมายลายลักษณ์อักษร นอกเหนือไปจากการตรากฎหมายแล้ว สภานิติบัญญัติยังมีอำนาจสิทธิ์ขาดในการเพิ่มหรือลดภาษีและมีมติเห็นชอบงบประมาณและร่างกฎหมายเกี่ยวด้วยการเงินอื่น สภานิติบัญญัติมีหลายชื่อ ที่พบมากที่สุด คือ รัฐสภาและคองเกรส (congress) โดยสองคำนี้มีความหมายจำเพาะกว่า ในการปกครองระบบรัฐสภา ฝ่ายบริหารรับผิดชอบต่อสภานิติบัญญัติซึ่งอาจถอดถอนฝ่ายบริหารได้ด้วยการอภิปรายไม่ไว้วางใจ ในระบบประธานาธิบดี ตามลัทธิการแยกใช้อำนาจ สภานิติบัญญัติถูกมองว่าเป็นอิสระและเป็นการปกครองแขนงหนึ่งซึ่งเสมอกับฝ่ายตุลาการและฝ่ายบริหาร องค์ประกอบหลักของสภานิติบัญญัติ คือ มีตั้งแต่หนึ่งสภา (chamber/house) เป็นต้นไป สภา คือ การประชุมซึ่งสามารถอภิปรายและลงมติในร่างกฎหมายได้ สภานิติบัญญัติซึ่งมีสภาเดียว เรียก สภาเดียว ส่วนสภานิติบัญญัติที่มีสองสภา เรียก ระบบสองสภา ซึ่งปกติอธิบายเป็นสภาสูงและสภาล่าง โดยมักมีหน้าที่อำนาจและวิธีการเลือกสมาชิกต่างกัน นอกจากนี้ ยังมีสภานิติบัญญัติที่มีมากกว่าสองสภา แต่ไม่ค่อยพบ ในระบบรัฐสภาส่วนมาก สภาล่างเป็นสภาที่มีอำนาจกว่า ขณะที่สภาสูงเป็นเพียงสภาให้คำปรึกษาหรือทบทวน อย่างไรก็ดี ในระบบประธานาธิบดี อำนาจของสองสภามักคล้ายหรือเท่ากัน ในสหพันธรัฐ สภาสูงมักเป็นตัวแทนของรัฐที่มารวมกัน (component state) ซึ่งรวมถึงสภานิติบัญญัติเหนือชาติของสหภาพยุโรปด้วย ด้วยจุดประสงค์นี้ สภาสูงอาจมีผู้แทนจากรัฐบาลของรัฐ ดังเช่นในกรณีสหภาพยุโรปและเยอรมนี หรือมาจากการเลือกตั้งตามสูตรซึ่งให้การมีผู้แทนเท่าเทียมกันแก่รัฐซึ่งมีประชากรน้อยกว่า เช่นในกรณีออสเตรเลียและสหรัฐอเมริกาปัจจุบัน.
ดู สหภาพยุโรปและสภานิติบัญญัติ
สมาคมการค้าเสรียุโรป
อดีตรัฐสมาชิก ปัจจุบันเป็นรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป สมาคมการค้าเสรียุโรปหรือเอฟตา เป็นกลุ่มการค้าของทวีปยุโรป ตั้งขึ้นในปีพ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและสมาคมการค้าเสรียุโรป
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ทำเนียบเลขาธิการอาเซียน ที่ประเทศอินโดนีเซีย สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) เป็นองค์การทางภูมิรัฐศาสตร์และเศรษฐกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ไทย บรูไน พม่า ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย อาเซียนมีพื้นที่ราว 4,479,210 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 625 ล้านคน ในปี..
ดู สหภาพยุโรปและสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร
มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..
ดู สหภาพยุโรปและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย
หพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (Socialist Federal Republic of Yugoslavia, SFR Yugoslavia, SFRY) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมในคาบสมุทรบอลข่านและล่มสลายหลังจากสงครามยูโกสลาเวีย ในปี..
ดู สหภาพยุโรปและสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย
สหภาพแอฟริกา
ตราสัญลักษณ์ของสหภาพแอฟริกา สหภาพแอฟริกา (African Union, ย่อ: AU; Union africaine, ย่อ: UA) เป็นองค์กรประกอบจาก 53 ประเทศในทวีปแอฟริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ.
สหภาพโซเวียต
หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..
สหภาพเภสัชกรรมแห่งยุโรป
หภาพเภสัชกรรมแห่งยุโรป (European Pharmaceutical Union;EPU) คือสมาคมทางเภสัชกรรมแห่งยุโรป เป็นองค์กรระดับชาติและสหภาพยุโรป เป็นตัวแทนของเภสัชกร และเภสัชศาสตร์ ในยุโรป ก่อตั้งเมื่อ..
ดู สหภาพยุโรปและสหภาพเภสัชกรรมแห่งยุโรป
สหภาพเศรษฐกิจ
หภาพเศรษฐกิจ (Economic union) เป็นรูปแบบหนึ่งของการบูรณาการทางเศรษฐกิจซึ่งประเทศสมาชิกภายในกลุ่มจะดำเนินกิจการภายใต้ของเศรษฐกิจเดียวกัน เช่น ใช้ระบบการเงินการคลังเดียวกัน ไม่มีการเก็บภาษีการค้าระหว่างกัน มีการเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตระหว่างสมาชิกได้อย่างเสรีเปรียบเสมือนเป็นประเทศเดียวกัน วัตถุประสงค์คือ การเพิ่มประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจและการสร้างความสัมพันธ์กับเมืองใกล้ชิดและวัฒนธรรมระหว่างประเทศสมาชิก สหภาพเศรษฐกิจ คือ การตกลงผ่านการค้.
สหรัฐ
หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).
สหราชอาณาจักร
หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..
สหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 2016
หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2016 ในสหราชอาณาจักร.
ดู สหภาพยุโรปและสหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 2016
สาธารณสุข
รณสุข คือศาสตร์และศิลปะที่เกี่ยวข้องกับการดูแลและจัดการสุขภาพทั้งปวงของชุมชนโดยอิงตามการวิเคราะห์ด้านสุขภาพของประชากร คำว่าสุขภาพนั้นมีนิยามและจัดการในลักษณะต่างๆ กันจากหน่วยงานต่างๆ สำหรับองค์การอนามัยโลก แห่งสหประชาชาติ ซึ่งได้กำหนดมาตรฐานและเฝ้าระวังโรคทั่วโลก ได้นิยามคำว่า สุขภาพ ไว้ว่า "สภาพของการมีชีวิตทางกายภาพ ทางจิตใจ และทางสังคมที่สมบูรณ์ ไม่ใช้เพียงไม่มีโรคภัยหรือความแข็งแรงทางกายเท่านั้น" ประชากรที่กล่าวไว้ข้างต้นอาจมีเพียงน้อยนิด หรือปริมาณมหาศาลในระดับทวีปก็ได้ สาธารณสุขมีด้วยกันหลายสาขาย่อย แต่โดยทั่วไปจะแบ่งเป็นหมวดต่างๆ ได้แก่ ระบาดวิทยา (epidemiology), ชีวสถิติ (biostatistics) และบริการสุขภาพ (health services) นอกจากนี้แล้ว สุขภาพเชิงสิ่งแวดล้อม เชิงสังคม และเชิงพฤติกรรม รวมทั้งสุขภาพเชิงอาชีพ ก็เป็นสาขาที่สำคัญของสาธารณสุขด้ว.
สำนักงานผู้อำนวยการใหญ่เพื่อการคุ้มครองพลเมืองยุโรปและปฏิบัติการการช่วยเหลือมนุษยธรรม
รื่องบินของเอโก สำนักงานเพื่อความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแห่งสหภาพยุโรป (European Community Humanitarian aid Office; อักษรย่อ: ECHO) สหภาพยุโรปเป็นผู้ให้เงินสนับสนุนโครงการความช่วยเหลือทางด้านมนุษยธรรมต่าง ๆ ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ทั้งนี้ เงินช่วยเหลือที่คณะกรรมาธิการยุโรปซึ่งมีสำนักงานใหญ่ในกรุงบรัสเซลส์ และรัฐบาลของ 27 ประเทศสมาชิกสหภาพ ยุโรปให้รวมกันนั้น คิดเป็นมากกว่าร้อยละ 50 ของเงินช่วยเหลืออย่างเป็นทางการทั้งหมด โดยมีคณะกรรมาธิการยุโรปเป็นผู้รับผิดชอบบริหารเงินเกือบครึ่งหนึ่งของงบประมาณดังกล่าว สำหรับปี 2550 คณะกรรมาธิการยุโรปได้ให้การสนับสนุนโครงการด้านมนุษยธรรมเป็นเงินทั้งสิ้น 768 ล้านยูโร เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยจำนวนหลายล้านคนในกว่า 60 ประเทศ นอกสหภาพยุโรป โครงการต่าง ๆ ที่อยู่ในการดูแลของคณะกรรมาธิการยุโรปนั้น ดำเนินการโดยสำนักงานเพื่อความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแห่งสหภาพยุโรป หรือ ECHO โดยมีกรรมาธิการ หลุยส์ มิเชล เป็นผู้บริหารงาน การดำเนินการดังกล่าวรวมถึงการประเมินความจำเป็นทางด้านมนุษยธรรมในพื้นที่ที่ประสบภัยพิบัติ การจัดสรรเงินทุนสำหรับเครื่องสาธารณูปโภคและอุปโภคเช่น อาหาร ที่อยู่อาศัย การจัดหายา แหล่งน้ำ บริการด้านสาธารณสุข หรือการซ่อมแซมเร่งด่วน รวมทั้งการประเมินผลความช่วยเหลือที่ให้ไป นอกจากนี้ ECHO ยังให้เงินสนับสนุนกิจกรรมทางด้านการป้องกันรักษาชีวิต เช่น โครงการเตรียมความพร้อมในการรับมือภัยธรรมชาติ และการลดความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติในพื้นที่ที่เสี่ยงต่อการเกิดภัยพิบัติอีกด้วย ความช่วยเหลือนี้เป็นความช่วยเหลือที่ให้แก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบ โดยไม่เลือกฝ่าย ไม่คำนึงถึงความแตกต่างทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ ศาสนา เพศ วัย สัญชาติ หรือแม้แต่ความเกี่ยวข้องทางการเมือง โดยให้ผ่านทางองค์กรที่เป็นพันธมิตรในการทำงานอันรวมถึงองค์กรพัฒนาเอกชน (NGO) จากยุโรปกว่า 200 องค์กร และหลายหน่วยงานในองค์การสหประชาชาติ และ องค์การก.
ดู สหภาพยุโรปและสำนักงานผู้อำนวยการใหญ่เพื่อการคุ้มครองพลเมืองยุโรปและปฏิบัติการการช่วยเหลือมนุษยธรรม
สิทธิแรงงาน
ทธิแรงงาน (Labour Rights) หมายถึงสิทธิของผู้ใช้แรงงานในความสัมพันธ์ระหว่างลูกจ้างกับนายจ้าง ทั้งสิทธิทางกฎหมายและสิทธิมนุษยชน เช่น อัตราค่าจ้าง จำนวนชั่วโมงการทำงาน สภาพแวดล้อมและความปลอดภัยในที่ทำงาน สิทธิในการจัดตั้งสหภาพแรงงาน เป็นต้น สิทธิแรงงานมักจะได้รับการรับรองโดยการออกฎหมายว่าด้วยสิทธิแรงงาน การจำกัดชั่วโมงการทำงาน และการกำหนดอัตราค่าแรงขั้นต่ำ.
สื่อลามกอนาจารเด็ก
ื่อลามกอนาจารเด็ก (Child pornography) คือสื่อลามกอนาจารที่ฉวยประโยชน์จากเด็ก (รวมทั้งวัยรุ่น) มีจุดประสงค์เพื่อเร้าอารมณ์ทางเพศ ซึ่งอาจจะผลิตโดยทำร้ายเด็กทางเพศ (เช่น ภาพทารุณเด็กทางเพศ) หรืออาจจะเป็นสื่อแบบเทียมคือเป็นสื่อแต่ง ใช้ผู้ใหญ่ที่แต่งให้เหมือนเด็ก หรือเป็นภาพสร้างขึ้นโดยใช้คอมพิวเตอร์ล้วน ๆ โดยบางทีแม้ภาพวาดหรือแอนิเมชัน ก็สามารถพิจารณาว่าเป็นสื่อเทียมได้เหมือนกัน ทารุณกรรมต่อเด็กเกิดขึ้นเมื่อมีกิจกรรมทางเพศกับเด็ก หรือให้เด็กแสดงบริเวณอวัยวะเพศหรือบริเวณหัวหน่าวเพื่อเร้าอารมณ์ แล้วบันทึกลงในสื่อ สื่อที่ใช้อาจมีหลายแบบ รวมทั้งวรรณกรรม นิตยสาร ภาพถ่าย ประติมากรรม จิตรกรรม การ์ตูน แอนิเมชัน บันทึกเสียง วิดีโอ และวิดีโอเกม กฎหมายเกี่ยวกับสื่อลามกอนาจารเด็กมักจะรวมภาพทางเพศที่เกี่ยวกับเด็กก่อนวัยเจริญพันธุ์ เด็กวัยเจริญพันธุ์ ผู้เยาว์หลังวัยเจริญพันธุ์ และภาพเด็กที่สร้างโดยคอมพิวเตอร์ ผู้ทำผิดเกี่ยวกับสื่อลามกอนาจารเด็กที่ถูกจับโดยมากจะมีรูปเด็กก่อนวัยเจริญพันธุ์ ในประเทศสหรัฐอเมริกา ผู้ที่มีภาพเด็กหลังวัยเจริญพันธุ์มีโอกาสน้อยกว่าที่จะถูกดำเนินคดี แม้ว่าจะผิดกฎหมายเช่นกัน ผู้ผลิตสื่อนาจารเด็กพยายามจะหลีกเลี่ยงการถูกดำเนินคดีโดยขายสื่อนอกประเทศ แต่ก็มีการจับกุมผู้ทำผิดเช่นนี้เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในประเทศต่าง ๆ คนใคร่เด็กดูและเก็บสะสมสื่อเด็กก่อนวัยเจริญพันธุ์มีจุดประสงค์หลายอย่าง เริ่มตั้งแต่การใช้เพื่อประโยชน์ทางเพศส่วนตัว การแลกเปลี่ยนกับคนใคร่เด็กอื่น ๆ การเตรียมเด็กเพื่อทารุณกรรมทางเพศ หรือการหลอกล่อเด็กให้ติดกับเพื่อฉวยประโยชน์ทางเพศ เช่น เพื่อทำสื่อลามกหรือเพื่อการค้าประเวณี เด็กบางครั้งก็ผลิตสื่อลามกเองหรือเพราะถูกบีบบังคับโดยผู้ใหญ่ สื่อลามกอนาจารเด็กผิดกฎหมายและจะถูกตรวจพิจารณาในที่ต่าง ๆ โดยมากในโลก รวมทั้งประเทศไทยที่นิยามคำว่า "เด็ก" ว่าหมายถึงบุคคลที่มีอายุไม่เกิน 18 ปี ประเทศสมาชิกขององค์การตำรวจอาชญากรรมระหว่างประเทศ (Interpol) 94 ประเทศจาก 187 มีกฎหมายโดยเฉพาะในเรื่องนี้โดยปี 2551 และนี่ยังไม่ได้รวมประเทศที่ห้ามสื่อลามกทุกอย่าง ในบรรดา 94 ประเทศเหล่านี้ การมีสื่อลามกอนาจารเด็กจัดเป็นอาชญากรรมใน 58 ประเทศไม่ว่าตั้งใจจะขายหรือเผยแพร่หรือไม่ รวมทั้งประเทศไทย ทั้งการเผยแพร่และการมี จัดเป็นอาชญากรรมในประเทศตะวันตกโดยมาก มีขบวนการที่ขับเคลื่อนให้สื่อลามกอนาจารเด็กเป็นสิ่งผิดกฎหมายทั่วโลก รวมทั้งองค์กรเช่นสหประชาชาติและคณะกรรมาธิการยุโรป เหตุผลที่ต้องมีกฎหมายสื่อลามกเด็กเป็นการเฉพาะ เหตุผลที่ประเทศต่างๆ มีกฎหมายสื่อลามกเด็กโดยเฉพาะแยกต่างหากจากกฎหมายสื่อลามกผู้ใหญ่ เนื่องจากแนวคิดควบคุมสื่อลามกทั้งสองประเภทต่างกัน เหตุผลหลักในการกำหนดโทษอาญากับการกระทำที่เกี่ยวกับสื่อลามกผู้ใหญ่ตั้งอยู่บนแนวคิดเรื่องการปกป้องศีลธรรมโดยรวมของสังคม กล่าวคือ ภาครัฐเชื่อว่าการปล่อยให้มีการผลิต จำหน่าย หรือ เผยแพร่สื่อลามกผู้ใหญ่อย่างเสรีอาจก่อให้เกิดความเสื่อมทรามต่อศีลธรรมทางเพศของคนในสังคมได้ การกำหนดโทษอาญาเพื่อควบคุมและปราบปรามสื่อลามกเด็กมีเหตุผลพื้นฐานที่ต่างออกไป กล่าวคือ เพื่อปกป้องคุ้มครองเด็กจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ เพราะการผลิตสื่อลามกเด็ก (โดยเฉพาะที่ใช้เด็กจริงๆ แสดง) เป็นรูปแบบหนึ่งของการล่วงละเมิดทางเพศจากเด็ก ในด้านร่างกาย เด็กยังไม่เจริญเติบโตเต็มที่ การให้เด็กมีกิจกรรมทางเพศอาจก่อให้เกิดการบาดเจ็บในด้านจิตใจ เนื่องจากการเรียนรู้ของเด็กยังไม่พัฒนาเพียงพอที่จะเข้าใจในเรื่องความเหมาะสมของเรื่องเพศ การบังคับหรือล่อลวงให้เด็กมีกิจกรรมทางเพศหรือการถ่ายภาพยั่วยุทางเพศต่างๆ ถือได้ว่าเป็นการทำร้ายจิตใจเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อเด็กพบว่าสิ่งที่ตนกระทำไปเป็นเรื่องไม่เหมาะสมสำหรับวัยตัวเอง ก็อาจเกิดความอับอายกลายเป็นบาดแผลทางจิตใจซึ่งอาจจะฝังลึกในใจเด็กไปตลอดชีวิต นอกจากนี้ ในหลายๆ กรณี การที่เด็กเข้าร่วมกิจกรรมทางเพศโดยไม่สมัครใจหรือเกิดจากการล่อลวง บังคับข่มขู่ หรือความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นการแสวงหาประโยชน์อันมิชอบจากความเยาว์วัยของเด็กที่ยังไม่มีความสามารถในการตัดสินใจเพียงพอเกี่ยวกับความเหมาะสมของการมีเพศสัมพันธ์ ยิ่งในกรณีของสื่อลามกเด็กบนอินเทอร์เน็ต ผลกระทบร้ายแรงต่อตัวเด็กอาจขยายเป็นวงกว้างกว่า กล่าวคือ ภาพหรือคลิปวิดีโอบันทึกการล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็กดังกล่าวจะถูกส่งผ่านต่อกันไปและหมุนเวียนอยู่ในโลกไซเบอร์ไม่มีวันสิ้นสุด สิ่งนี้ยิ่งสร้างบาดแผลทางใจให้กับเด็กผู้ปรากฏในสื่อลามกอย่างไม่มีทางเยียวยาหรือลบเลือนออกไปได้.
ดู สหภาพยุโรปและสื่อลามกอนาจารเด็ก
สุริยุปราคา 20 มีนาคม พ.ศ. 2558
กิดสุริยุปราคาเต็มดวงเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2558 สุริยุปราคาเกิดเมื่อดวงจันทร์ผ่านระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ ฉะนั้นจึงขวางภาพดวงอาทิตย์ทั้งหมดหรือบางส่วนแก่ผู้สังเกตบนโลก สุริยุปราคาเต็มดวงเกิดเมื่อเส้นผ่านศูนย์กลางปรากฏของดวงจันทร์ใหญ่กว่าเส้นผ่านศูนย์กลางปรากฏของดวงอาทิตย์ จึงสกัดแสงอาทิตย์โดยตรงทั้งหมด แล้วทำให้ความมืดปกคลุม คราสเต็มดวง (totality) เกิดในวิถีแคบผ่านพื้นผิวโลกโดยสามารถเห็นสุริยุปราคาบางส่วนได้เหนือภูมิภาคโดยรอบกว้างหลายพันกิโลเมตร มีโชติมาตร (magnitude) 1.045 ช่วงเวลาคราสเต็มดวงนานที่สุด คือ 2 นาที 47 วินาที นอกหมู่เกาะแฟโร เป็นสุริยุปราคาเต็มดวงสุดท้ายที่เห็นได้ในทวีปยุโรปจนอุปราคา 12 สิงหาคม..
ดู สหภาพยุโรปและสุริยุปราคา 20 มีนาคม พ.ศ. 2558
สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์
ันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts Institute of Technology, ตัวย่อ เอ็มไอที, เรียกโดยชุมชน MIT ว่า "the Institute แปลว่า สถาบัน") เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ที่มีชื่อเสียงมานานในเรื่องงานวิจัยและการศึกษาในสาขาเคมี ฟิสิกส์ และวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่าง ๆ แล้วเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นต่อ ๆ มาในสาขาชีววิทยา เศรษฐศาสตร์ ภาษาศาสตร์ และการจัดการ MIT ตั้งขึ้นในปี..
ดู สหภาพยุโรปและสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์
สถาปัตยกรรมใน พ.ศ. 2555
ปัตยกรรมใน..
ดู สหภาพยุโรปและสถาปัตยกรรมใน พ.ศ. 2555
สถานีอวกาศนานาชาติ
นีอวกาศนานาชาติ (International Space Station, ISS, Междунаро́дная косми́ческая ста́нция, МКС, Station spatiale internationale, SSI) เป็นห้องทดลองและสถานอำนวยความสะดวกสำหรับงานค้นคว้าวิจัยในระดับนานาชาติซึ่งถูกประกอบขึ้นในวงโคจรต่ำของโลก การก่อสร้างเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ปี..
ดู สหภาพยุโรปและสถานีอวกาศนานาชาติ
สงครามกลางเมืองยุโรป
งครามกลางเมืองยุโรป เป็นคำซึ่งอธิบายถึงแนวคิดที่เชื่อว่าสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่สอง และสมัยระหว่างสองสงครามโลกเป็นสงครามกลางเมืองที่ยืดเยื้อซึ่งเกิดขึ้นในทวีปยุโรป คำดังกล่าวมักใช้อ้างอิงถึงการเผชิญหน้าหลายครั้งซึ่งเกิดขึ้นในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 แต่ไม่มีข้อยุติที่เหมาะสมเกี่ยวกับรายละเอียดและเหตุผลเชื้อมโยง เช่น ระดับความเกี่ยวพันของนานาชาติในสงครามกลางเมืองสเปน และในบางครั้ง สงครามกลางเมืองรัสเซีย คำดังกล่าวมักถูกใช้อธิบายแนวคิดของการเสื่อมสภาพความเป็นเจ้าในโลกของทวีปยุโรป และการเกิดขึ้นของสหภาพยุโรป ดร.
ดู สหภาพยุโรปและสงครามกลางเมืองยุโรป
สงครามกลางเมืองซีเรีย
งครามกลางเมืองซีเรีย เป็นการขัดกันด้วยอาวุธหลายฝ่ายที่กำลังดำเนินอยู่ในประเทศซีเรีย โดยมีต่างชาติเข้าแทรกแซง ความไม่สงบเริ่มในต้นฤดูใบไม้ผลิปี 2554 ในบริบทการประท้วงอาหรับสปริง โดยมีการประท้วงทั่วประเทศต่อรัฐบาลประธานาธิบดีบัชชาร อัลอะซัด ซึ่งกำลังของเขาสนองโดยการปราบปรามอย่างรุนแรง ความขัดแย้งค่อย ๆ กลายจากการประท้วงของประชาชนเป็นการกบฏมีอาวุธหลังการล้อมทางทหารหลายเดือน รายงานสหประชาชาติฉบับหนึ่งในปลายปี 2555 อธิบายความขัดแย้งว่า "มีสภาพนิยมนิกาย (sectarian) อย่างเปิดเผย" ระหว่างกำลังรัฐบาล ทหารอาสาสมัครซึ่งส่วนใหญ่เป็นอะละวี (Alawite) และกลุ่มชีอะฮ์อื่น ต่อสู้กับกลุ่มกบฏซึ่งมีซุนนีครอบงำเป็นส่วนใหญ่ แม้ทั้งฝ่ายค้านและกำลังรัฐบาลต่างปฏิเสธ ทีแรกรัฐบาลซีเรียอาศัยกองทัพเป็นหลัก แต่ตั้งแต่ปี 2557 หน่วยป้องกันท้องถิ่นซึ่งประกอบจากอาสาสมัครที่เรียก กำลังป้องกันชาติ (National Defence Force) ได้มีบทบาทมากขึ้น ค่อย ๆ กลายเป็นกำลังทหารหลักของรัฐซีเรีย รัฐบาลซีเรียได้รับความช่วยเหลือทางเทคนิค การเงิน การทหารและการเมืองจากประเทศรัสเซีย อิหร่านและอิรักมาตั้งแต่ต้น ในปี 2556 ฮิซบุลลอฮ์ที่อิหร่านสนับสนุนเข้าร่วมสงครามโดยสนับสนุนกองทัพซีเรีย รัสเซียเข้าร่วมปฏิบัติการทางอากาศตั้งแต่เดือนกัยายน 2558 เนื่องจากการเกี่ยวพันของต่างชาติ ความขัดแย้งนี้จึงถูกเรียกว่าเป็น สงครามตัวแทน ระหว่างชาติซุนนีและชีอะฮ์ภูมิภาค ที่สำคัญที่สุดคือความขัดแย้งตัวแทนระหว่างซาอุดีอาระเบียและอิหร่าน ในเดือนกันยายน 2558 รัสเซีย อิรัก อิหร่านและซีเรียตั้งห้องปฏิบัติการร่วม (ศูนย์สารสนเทศ) ในกรุงแบกแดดเพื่อประสานงานกิจกรรมของพวกตนในประเทศซีเรีย วันที่ 30 กันยายน 2558 ประเทศรัสเซียเริ่มการทัพทางอากาศของตนโดยเข้ากับฝ่ายและด้วยคำขอของรัฐบาลซีเรีย จึงเกิดสงครามตัวแทนระหว่างสหรัฐและรัสเซีย ซึ่งนักวิจารณ์บางส่วนบรรยายสถานการณ์ว่าเป็น "ก่อนสงครามโลกโดยมีประเทศเกือบโหลพัวพันในสองความขัดแย้งที่ทับซ้อนกัน" ฝ่ายค้านมีอาวุธประกอบด้วยหลายกลุ่มซึ่งก่อตั้งในห้วงความขัดแย้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กองทัพซีเรียเสรี (FSA) ซึ่งเป็นผู้แรกที่หยิบอาวุธในปี 2554 และแนวร่วมอิสลามซึ่งก่อตั้งในปี 2556 ฝ่ายทางตะวันออก รัฐอิสลามอิรักและเลแวนต์ (ISIL) กลุ่มนักรบญิฮัดซึ่งกำเนิดในประเทศอิรัก ได้ชัยชนะทางทหารอย่างรวดเร็วทั้งในประเทศซีเรียและอิรัก จนลงเอยด้วยพิพาทกับกบฏอื่น ฝ่ายแนวร่วมนานาชาติที่มีสหรัฐเป็นผู้นำมีการสถาปนาขึ้นในปี 2557 โดยมีวัตถุประสงค์ที่ประกาศไว้ว่าเพื่อตอบโต้ ISIL และได้ดำเนินการโจมตีทางอากาศต่อ ISIL ในซีเรีย ตลอดจนเป้าหมายบะอัธซีเรียและให้การสนับสนุนต่อสหพันธรัฐประชาธิปไตยซีเรียเหนือ สหรัฐเลิกให้การสนับสนุนด้านอาวุธโดยตรงต่อ FSA ในปี 2560; ปลายปี 2560 อิทธิพลและดินแดนควบคุมของ ISIL เสื่อมลง จนซีเรียประกาศว่าประเทศได้รับการปลดปล่อยจาก ISIL แล้ว ด้านตุรกีมีความเกี่ยวข้องในสงครามตั้งแต่ปี 2559 และสนับสนุนฝ่ายค้านซีเรียอย่างแข็งขันและยึดพื้นที่ได้เป็นบริเวณกว้างทางภาคเหนือของประเทศซีเรีย องค์การระหว่างประเทศกล่าวหารัฐบาลซีเรีย ISIL และกำลังฝ่ายค้านอื่นว่าละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างรุนแรง โดยเกิดการสังหารหมู่หลายครั้ง ความขัดแย้งนี้ทำให้เกิดการย้ายประชากรอย่างสำคัญ ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2558 สหประชาชาติประกาศเริ่มการเจรจาสันติภาพซีเรียเจนีวาที่สหประชาชาติเป็นสื่อกลางอย่างเป็นทางการ โดยการสู้รบยังดำเนินไปโดยไม่มีทีท่าลดลง.
ดู สหภาพยุโรปและสงครามกลางเมืองซีเรีย
สงครามรัสเซีย-จอร์เจีย
งครามรัสเซีย-จอร์เจีย หรือสงครามเซาท์ออสซีเชีย (ในรัสเซียมีอีกชื่อหนึ่งว่า สงครามห้าวัน) เป็นความขัดแย้งด้วยอาวุธในเดือนสิงหาคม พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและสงครามรัสเซีย-จอร์เจีย
สนธิสัญญา
นธิสัญญา (treaty) เป็นข้อตกลงเฉพาะหน้าภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศซึ่งเข้าทำสัญญาโดยตัวแสดงในกฎหมายระหว่างประเทศ ได้แก่ รัฐเอกราชและองค์การระหว่างประเทศ สนธิสัญญาอาจเรียกชื่อต่าง ๆ เช่น กติกา (covenant), กติกาสัญญา (pact), กรรมสาร (act), ข้อตกลง (accord), ความตกลง (agreement), แถลงการณ์ (communiqué), ปฏิญญา (declaration), พิธีสาร (protocol) และ อนุสัญญา (convention) แต่ไม่ว่าจะเรียกอย่างไร รูปแบบความตกลงทั้งหมดเหล่านี้ถือว่าเป็นสนธิสัญญาเท่าเทียมกันและมีหลักเกณฑ์เดียวกันภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศ สนธิสัญญาสามารถเปรียบได้หลวม ๆ กับสัญญา ทั้งสองต่างเป็นวิธีการที่ภาคีที่สมัครใจยอมรับพันธกรณีต่อกัน และภาคีซึ่งไม่สามารถยึดพันธกรณีสามารถรับผิดได้ภายใต้กฎหมายระหว่างประเท.
สนธิสัญญาลิสบอน
นธิสัญญาลิสบอน (Treaty of Lisbon) เป็นความตกลงระหว่างประเทศซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมสนธิสัญญาสองฉบับที่เป็นรากฐานทางกฎหมายของสหภาพยุโรป (EU) อันได้แก่สนธิสัญญามาสทริชท์ (พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและสนธิสัญญาลิสบอน
สนธิสัญญาโรม
นธิสัญญาโรม มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สนธิสัญญาจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรป เป็นความตกลงระหว่างประเทศซึ่งนำไปสู่การก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรปในวันที่ 1 มกราคม..
สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา
มสรฟุตบอลบาร์เซโลนา (Futbol Club Barcelona) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า บาร์เซโลนา หรือคุ้นเคยในอีกชื่อว่า บาร์ซา (Barça) เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพสเปน ตั้งอยู่ที่เมืองบาร์เซโลนา แคว้นกาตาลุญญา ประเทศสเปน เล่นอยู่ในลาลีกา สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาเป็นผู้ชนะเลิศในถ้วยสเปนปัจจุบัน เป็นสโมสรสเปนที่ประสบความสำเร็จในฟุตบอลสเปน ในแง่ของจำนวนถ้วยรางวัลภายในประเทศและทุกถ้วย โดยชนะในการแข่งลาลีกา 22 ครั้ง ชนะในโกปาเดลเรย์ 25 ครั้ง ชนะในซูเปร์โกปาเดเอสปาญา 10 ครั้ง ชนะในโกปาเอบาดัวร์เต 3 ครั้ง และได้รางวัล โกปาเดลาลีกา 2 ถ้วย นอกจากนี้ยังเป็นสโมสรที่ประสบความสำเร็จที่สุดในยุโรป โดยได้ชนะเลิศในยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 5 ครั้ง, ชนะในยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ 4 ครั้ง ชนะในยูฟ่าซูเปอร์คัพ 4 ครั้ง และชนะฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ 1 ครั้ง พวกเขายังมีสถิติชนะในอินเตอร์-ซิตีส์แฟร์สคัป 3 ครั้ง ถ้วยต้นแบบของยูฟ่าคัพ นอกจากนั้นยังเป็นสโมสรยุโรปสโมสรเดียวที่แข่งในฟุตบอลระหว่างทวีปในทุกฤดูกาลตั้งแต่ปี..
ดู สหภาพยุโรปและสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา
สโมสรฟุตบอลบาเยิร์นมิวนิกในฤดูกาล 2015–16
การแข่งขัน ฤดูกาล 2015–16 ของ สโมสรฟุตบอลบาเยิร์นมิวนิก ซึ่งเป็นฤดูกาลที่ 113 ของสโมสร และเป็นฤดูกาลที่ 53 ของการได้อยู่บนลีกสูง.
ดู สหภาพยุโรปและสโมสรฟุตบอลบาเยิร์นมิวนิกในฤดูกาล 2015–16
สโมสรฟุตบอลบาเยิร์นมิวนิกในฤดูกาล 2016–17
การแข่งขัน สโมสรฟุตบอลบาเยิร์นมิวนิก ฤดูกาล 2016–17 ซึ่งเป็นฤดูกาลที่ 118 ของประวัติศาสตร์สโมสร.
ดู สหภาพยุโรปและสโมสรฟุตบอลบาเยิร์นมิวนิกในฤดูกาล 2016–17
หมู่เกาะโอลันด์
หมู่เกาะโอลันด์ (ออกเสียง /'oːland/) เป็นหมู่เกาะในทะเลบอลติก ประกอบด้วยเกาะน้อยใหญ่ มากกว่า 6,500 เกาะ มีเกาะฟัสตาโอลันด์ (Fasta Åland) เป็นเกาะที่ใหญ่และสำคัญที่สุด หมู่เกาะโอลันด์ตั้งอยู่บริเวณทางเข้าอ่าวบอทเนียระหว่างสวีเดนกับฟินแลน.
ดู สหภาพยุโรปและหมู่เกาะโอลันด์
หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดา
หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดา หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดา หรือ หลอดความร้อน หรือ หลอดไส้ (incandescent light bulb, incandescent lamp หรือ incandescent light globe) ให้แสงสว่างโดยการให้ความร้อนแก่ไส้หลอดที่เป็นลวดโลหะกระทั่งมีอุณหภูมิสูงและเปล่งแสง หลอดแก้วที่เติมแก๊สเฉื่อยหรือเป็นสุญญากาศป้องไม่ให้ไส้หลอดที่ร้อนสัมผัสอากาศ ในหลอดฮาโลเจน กระบวนการทางเคมีคืนให้โลหะเป็นไส้หลอด ซึ่งขยายอายุการใช้งาน หลอดไฟฟ้านี้ได้รับกระแสไฟฟ้าจากเทอร์มินอลต่อสายไฟ (feed-through terminal) หรือลวดที่ฝังในแก้ว หลอดไฟฟ้าส่วนใหญ่ใช้ในเต้ารับซึ่งสนับสนุนหลอดไฟฟ้าทางกลไกและเชื่อมกระแสไฟฟ้าเข้ากับเทอร์มินัลไฟฟ้าของหลอด หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดาผลิตออกมาหลายขนาด กำลังส่องสว่าง และอัตราทนความต่างศักย์ ตั้งแต่ 1.5 โวลต์ถึงราว 300 โวลต์ หลอดประเภทนี้ไม่ต้องอาศัยอุปกรณ์ควบคุมภายนอก มีค่าบำรุงรักษาต่ำ และทำงานได้ดีเท่ากันทั้งไฟฟ้ากระแสสลับหรือกระแสตรง ด้วยเหตุนี้ หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดาจึงใช้กันอย่างกว้างขวางในครัวเรือนและไฟฟ้าใช้ในเชิงพาณิชย์ ตลอดจนไฟฟ้าแบบพกพา อย่างเช่น ไฟตั้งโต๊ะ ไฟหน้ารถยนต์ และไฟฉาย และไฟฟ้าสำหรับตกแต่งและโฆษณา บ้างใช้ประโยชน์จากใช้ความร้อนที่เกิดขึ้นจากไส้หลอดของหลอดไส้ร้อนแบบธรรมดา อาทิ เครื่องฟักไข่ กล่องฟักไข่สำหรับสัตว์ปีก ไฟความร้อนสำหรับสวนจำลองสภาพแวดล้อม (vivarium) ของสัตว์เลื้อยคลาน การให้ความร้อนอินฟราเรดในกระบวนการให้ความร้อนและอบแห้งในอุตสาหกรรม ความร้อนส่วนเกินนี้เพิ่มพลังงานที่ต้องใช้ในระบบปรับอากาศของอาคาร หลอดไฟฟ้าแบบอื่นค่อย ๆ แทนที่การใช้งานของหลอดไส้ร้อนแบบธรรมดาหลายด้าน อาทิ หลอดฟลูออเรสเซนต์, หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ (หลอดตะเกียบ), หลอดฟลูออเรสเซนต์แคโทดเย็น, หลอดอัดก๊าซความดันสูง และไดโอดเปล่งแสง เทคโนโลยีที่ใหม่กว่าเหล่านี้พัฒนาอัตราส่วนแสงที่มองเห็นได้ต่อการผลิตความร้อน เขตอำนาจบางแห่ง เช่น สหภาพยุโรป อยู่ในระหว่างกระบวนการเลิกใช้หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดาและหันไปใช้หลอดไฟที่มีประสิทธิภาพด้านพลังงานมากกว.
ดู สหภาพยุโรปและหลอดไส้ร้อนแบบธรรมดา
หลักระวังไว้ก่อน
หลักระวังไว้ก่อน (precautionary principle) เป็นวิธีการจัดการความเสี่ยงที่มีหลักว่า ถ้าการกระทำหรือนโยบายมีข้อน่าสงสัยว่า จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อสาธารณประโยชน์หรือต่อสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ โดยไม่มีมติส่วนใหญ่ของนักวิทยาศาสตร์ว่า การกระทำหรือนโยบายนั้นจะไม่ทำความเสียหาย การพิสูจน์ว่าจะไม่ก่อความเสียหาย ตกเป็นหน้าที่ของบุคคลที่ต้องการทำการนั้น ๆ ผู้ออกนโยบายได้ใช้หลักนี้เป็นเหตุผลการตัดสินใจ ในสถานการณ์ที่อาจเกิดความเสียหายเพราะการตัดสินใจบางอย่าง (เช่นเพื่อจะทำการใดการหนึ่ง หรืออนุมัติให้ทำการใดการหนึ่ง) ในกรณีความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไม่ชัดเจน หลักนี้แสดงนัยว่า ผู้ออกนโยบายมีหน้าที่ทางสังคมที่จะป้องกันสาธารณชนจากการได้รับสิ่งที่มีอันตราย เมื่อการสืบสวนทางวิทยาศาสตร์ได้พบความเสี่ยงที่เป็นไปได้ และการป้องกันเช่นนี้จะสามารถเพลาลงได้ ก็ต่อเมื่อมีงานศึกษาทางวิทยาศาสตร์ที่แสดงหลักฐานที่ชัดเจนว่าจะไม่มีอันตรายเกิดขึ้น กฎหมายของเขตบางเขต เช่นในสหภาพยุโรป ได้บังคับใช้หลักนี้ในบางเรื่อง ส่วนในระดับสากล มีการยอมรับใช้หลักนี้เป็นครั้งแรกในปี 2525 เมื่อสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติตกลงใช้กฎบัตรเพื่อธรรมชาติแห่งโลก (World Charter for Nature) แล้วต่อมาจึงมีผลเป็นกฎหมายจริง ๆ ในปี 2530 ผ่านพิธีสารมอนทรีออล (Montreal Protocol) ต่อจากนั้นจึงมีการใช้หลักนี้ตามสนธิสัญญาที่มีผลทางกฎหมายต่าง ๆ เช่น ปฏิญญารีโอ (Rio Declaration) และพิธีสารเกียวโต.
ดู สหภาพยุโรปและหลักระวังไว้ก่อน
หนังสือเดินทางชนิดอ่านด้วยเครื่องได้
ตัวอย่างหน้าหนังสือเดินทางแบบอ่านด้วยเครื่องได้ หนังสือเดินทางชนิดอ่านด้วยเครื่องได้ (Machine-readable passport) เป็นหนังสือเดินทางที่มีการพิมพ์แถบข้อมูลสรุปเกี่ยวกับตัวผู้ถือ เลขที่เอกสาร วันที่หมดอายุ สัญชาติ วันเกิด และรายละเอียดอื่นตามที่รัฐผู้ออกจะกำหนดไว้ มาตรฐานของหนังสือเดินทาง วิธีการพิมพ์ คุณสมบัติความปลอดภัยภาคบังคับ ตลอดจนข้อบังคับอื่นระบุไว้ในเอกสารหมายเลข 9303 ขององค์กรการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ตอนที่ 3 และ 4 รวมถึงมาตรฐาน ISO/IEC 7501-1:2008 ทั้งนี้ เพื่อให้การนำเข้าข้่อมูลเกี่ยวกับผู้เดินทางทำได้สะดวกรวดเร็วขึ้น ตรวจสอบบุคคลห้ามเข้าเมืองและบุคคลผู้มีหมายจับหรือหมายเรียกได้สะดวก การอ่านแถบข้อมูลกระทำได้ด้วยตาเปล่าหรือจะใช้เครื่องอ่านได้ทั้งสองวิธี ในประเทศไทย หนังสือเดินทางชนิดนี้เริ่มใช้มาตั้งแต่ พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและหนังสือเดินทางชนิดอ่านด้วยเครื่องได้
หน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ
นอกจากองค์การหลักทั้ง 6 องค์กรแล้ว (ยกเว้นคณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติที่ได้ยุติการปฏิบัติงานในปี พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ
ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย)
ริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด เป็นหน่วยงานตรวจสอบและรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร จัดตั้งขึ้นตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน..
ดู สหภาพยุโรปและห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย)
อภิมหาอำนาจ
แผนที่อภิมหาอำนาจในปีค.ศ. 1945 สหรัฐอเมริกา (น้ำเงิน), สหภาพโซเวียต (แดง), และ จักรวรรดิอังกฤษ (เขียวน้ำเงิน) รัสเซีย อภิมหาอำนาจ (superpower) คือ รัฐซึ่งเป็นผู้นำในระบบระหว่างประเทศและความสามารถในการใช้อำนาจชักจูงให้เกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ และก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนและวางแผนใช้อำนาจในระดับทั่วโลกเพื่อปกป้องผลประโยชน์เหล่านี้ รัฐ "อภิมหาอำนาจ" ถูกพิจารณาว่ามีความเหนือกว่ารัฐ "มหาอำนาจ" อลิซ ไลแมน มิลเลอร์ ศาสตราจารย์แห่งกิจการความมั่นคงแห่งชาติ ณ บัณฑิตวิทยาลัยกองทัพเรือ ให้คำจำกัดความของอภิมหาอำนาจว่า "ประเทศซึ่งมีความสามารถจะรักษาอำนาจครอบงำและส่งอิทธิพลได้ในทุกพื้นที่ในโลก และในบางครั้ง ในมากกว่าหนึ่งภูมิภาคของโลกในเวลาใดเวลาหนึ่ง และอาจกล่าวได้ว่าบรรลุสถานะความเป็นเจ้าโลก คำดังกล่าวเริ่มถูกใช้เป็นครั้งแรกในปี..
ออลดริน
ออลดริน (Aldrin) เป็นยาฆ่าแมลงกลุ่มออร์กาโนคลอรีนที่ใช้อย่างแพร่หลายจนถึงประมาณ..
อับดิเวลี ชีค อาห์เมด
อับดิเวลี ชีค อาห์เมด (Cabdiweli Sheekh Axmed, عبدالولي الشيخ أحمد; พ.ศ. 2502 —) หรือ อับดิเวลี ชีค อาห์เมด โมฮัมเหม็ด เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 18 ของโซมาเลีย อาห์เมดเป็นนักเศรษฐศาสตร์ นักการทูต และนักการเมือง เขาเคยทำงานในองค์กรสำคัญระหว่างประเทศหลายองค์กร ได้แก่ ธนาคารโลก องค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริกา สหภาพแอฟริกา สหภาพยุโรป ธนาคารแห่งประเทศแคนาดา ตลาดร่วมแอฟริกาตะวันออกและใต้ และธนาคารเพื่อการพัฒนาอิสลามในญ.
ดู สหภาพยุโรปและอับดิเวลี ชีค อาห์เมด
อัลกออิดะฮ์
อัลกออิดะฮ์ (القاعدة, al-Qā`ida "ฐาน") หรือ แอล-ไคดา (al-Qaeda) เป็นกลุ่มก่อการร้ายอิสลามสากล ก่อตั้งโดย อุซามะฮ์ บิน ลาดิน, อับดุลลาห์ อัซซัม (Abdullah Azzam) และนักรบอื่นอีกหลายคน บางช่วงระหว่างเดือนสิงหาคม 2531.
อัลติสอาเรนา
อัลติสอาเรนา (Altice Arena) เป็นสังเวียนหรือลานแสดงอเนกประสงค์ในร่ม (multi-purpose indoor arena) ตั้งอยู่ที่กรุงลิสบอน ประเทศโปรตุเกส สร้างขึ้นเพื่อใช้จัดการแสดงนิทรรศการนานาชาต..
อัปแซ็งต์
แก้วและช้อนที่ใช้เพื่อละลายน้ำตาลก้อนลงไปในอัปแซ็งต์ ภาพเขียน ''ภูตเขียว'' โดยอาลแบร์ แมญ็อง (ค.ศ. 1895) แสดงภาพกวีคนหนึ่งที่ตกอยู่ภายใต้อำนาจของภูตเขียว อัปแซ็งต์ (absinthe) เป็นเหล้าอาหนีชนิดหนึ่ง กลั่นจากสมุนไพรหลายชนิด ได้แก่ ดอกและใบของพรรณไม้ชนิด Artemisia absinthium ร่วมกับเมล็ดเทียนสัตตบุษย์, เมล็ดผักชีล้อม และสมุนไพรชนิดอื่น ๆ ที่ใช้เป็นยาหรือทำอาหาร แต่เดิมจะมีสีเขียวตามธรรมชาติ แต่อาจไม่มีสีก็ได้ วรรณคดีตะวันตกเรื่องต่าง ๆ มักเรียกเหล้าชนิดนี้ว่า "เจ้าภูตเขียว" (la fée verte) ตามธรรมเนียมแล้ว อัปแซ็งต์จะถูกบรรจุขวดโดยมีปริมาณแอลกอฮอล์โดยปริมาตรในระดับสูง โดยได้รับการอธิบายว่าเป็นเครื่องดื่มกลั่นที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ร้อยละ 45–74 โดยปริมาตร แต่ตามปกติก็ถูกทำให้เจือจางด้วยน้ำก่อนบริโภค แม้ว่าบางครั้งอัปแซ็งต์จะถูกเข้าใจผิดว่าเป็นเหล้าหวาน (liqueur) แต่ก็ไม่มีการบรรจุอัปแซ็งต์ลงขวดโดยเติมน้ำตาลเพิ่ม ดังนั้นจึงจัดว่าเป็นเหล้า (spirit) ชนิดหนึ่ง อัปแซ็งต์มีต้นกำเนิดในรัฐเนอชาแตลของสวิตเซอร์แลนด์ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 และได้รับความนิยมอย่างสูงในฐานะเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในฝรั่งเศสช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหมู่ศิลปินและนักเขียนชาวปารีส แต่เนื่องจากเหล้าชนิดนี้มีความเกี่ยวข้องบางอย่างกับวัฒนธรรมโบฮีเมีย การบริโภคอัปแซ็งต์จึงถูกต่อต้านจากนักอนุรักษนิยมทางสังคมและผู้นิยมหลักการห้าม (prohibitionism) แต่ก็เป็นที่ทราบกันดีว่านักเขียน กวี จิตรกร และนักประพันธ์ดนตรีหลายคนต่างเป็นนักดื่มอัปแซ็งต์ เช่น เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์, เจมส์ จอยซ์, ชาร์ล โบดแลร์, ปอล แวร์แลน, อาร์ตูร์ แร็งโบ, อ็องรี เดอ ตูลูซ-โลแทร็ก, อาเมเดโอ โมดิลยานี, ปาโบล ปีกัสโซ, ฟินเซนต์ ฟัน โคค, ออสการ์ ไวลด์, มาร์แซล พรุสต์, แอลัสเตอร์ โครว์ลีย์, เอริก ซาตี, เอดการ์ แอลลัน โพ, ลอร์ด ไบรอน, อาลแฟรด ฌารี เป็นต้น, Sarasota Herald-Tribune, September 18, 2008 ในอดีต อัปแซ็งต์มักได้รับการพรรณนาว่าเป็นยาเสพติดที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทและสารก่อประสาทหลอนที่มีอันตรายมาก โดยเชื่อกันว่าสารประกอบเคมีชนิดหนึ่งชื่อทูโจน (thujone) เป็นตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดผลดังกล่าว เมื่อถึงปี ค.ศ.
อาหาร
อาหาร หมายถึงสิ่งที่รับประทานเข้าไป ซึ่งบริโภคเพื่อเสริมโภชนาการให้แก่ร่างกาย อาหารมักมาจากพืชหรือสัตว์ และมีสารอาหารสำคัญ เช่น คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน วิตามิน หรือแร่ธาตุ สิ่งมีชีวิตย่อยและดูดซึมสสารที่เป็นอาหารเข้าสู่เซลล์เพื่อนำไปสร้างพลังงาน คงชีวิต และ/หรือ กระตุ้นการเจริญเติบโต ในอดีต มนุษย์ได้มาซึ่งอาหารด้วยสองวิธีการ คือ การล่าสัตว์และเก็บเกี่ยว (hunting and gathering) และเกษตรกรรม ปัจจุบัน พลังงานจากอาหารส่วนใหญ่ที่ประชากรโลกบริโภคนั้นผลิตจากอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งดำเนินการโดยบริษัทข้ามชาติซึ่งใช้เกษตรประณีต และอุตสาหกรรมการเกษตรเพื่อเพิ่มผลผลิตของระบบให้ได้มากที่สุด สมาคมระหว่างประเทศเพื่อคุ้มครองอาหาร สถาบันทรัพยากรโลก โครงการอาหารโลก องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ และสภาข้อมูลอาหารระหว่างประเทศเป็นหน่วยงานเฝ้าสังเกตความปลอดภัยของอาหารและความมั่นคงทางอาหาร องค์การทั้งหลายนี้จัดการกับประเด็นปัญหาอย่างความยั่งยืน ความหลากหลายทางชีวภาพ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เศรษฐศาสตร์สารอาหาร การเติบโตของประชากร ทรัพยากรน้ำ และการเข้าถึงอาหาร สิทธิในการได้รับอาหารเป็นสิทธิมนุษยชนซึ่งกำหนดขึ้นจากกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ICESCR) โดยตระหนักถึง "สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพอย่างพอเพียง รวมทั้งอาหารที่เพียงพอ" เช่นเดียวกับ "สิทธิขั้นพื้นฐานที่จะปลอดจากความหิวโหย".
อาเลชังดรี ปาตู
ทีมชาติบราซิล อาเลชังดรี โรดรีกิส ดา ซิลวา (Alexandre Rodrigues da Silva) หรือที่รู้จักกันในชื่อ อาเลชังดรี ปาตู (Alexandre Pato) เกิดเมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและอาเลชังดรี ปาตู
อาเลกซานดาร์ คาราจอร์เจวิช
อาเล็กซานดาร์ คาราจอร์เจวิช ทรงเป็นที่รู้จักในนาม เจ้าฟ้าชายอาเล็กซานดาร์ มกุฎราชกุมารแห่งยูโกสลาเวีย (Александар Карађорђевић, Aleksandar Karađorđević, พระราชสมภพ 17 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและอาเลกซานดาร์ คาราจอร์เจวิช
อควาวิต
อควาวิตในแก้ว อควาวิต (akvavit, aquavit) หรือในนอร์เวย์เรียก อคีวิต (akevitt) เป็นสุราที่ผลิตในแถบสแกนดิเนเวีย มีการผลิตมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 15 อควาวิตมีรสชาติหลักจากเทียนตากบและผักชีลาว มีปริมาณแอลกอฮอล์ต่อปริมาตร (ABV) 40% สหภาพยุโรปกำหนดให้อควาวิตมีปริมาณ ABV ขั้นต่ำ 37.5% อควาวิตมาจากคำในภาษาละติน aqua vitae แปลว่า "น้ำแห่งชีวิต" อควาวิตเหมือนกับวอดก้าคือได้จากการกลั่นธัญพืชหรือมันฝรั่ง หลังกลั่นจะผสมเครื่องเทศ สมุนไพรและน้ำมันผลไม้ เช่น เทียนตากบ, กระวาน, ยี่หร่า, เทียนสัตตบุษย์, ผักชีล้อม, เปลือกเลมอนหรือส้ม, ผักชีลาวและเกรนส์ออฟพาราไดส์ ชาวสแกนดิเนเวียนิยมดื่มอควาวิตในช่วงงานรื่นเริง เช่น คริสต์มาสหรืองานแต่งงาน หรือดื่มก่อนรับประทานอาหาร ในสวีเดน เดนมาร์กและเยอรมนีนิยมดื่มอควาวิตแบบเย็นจากแก้วเล็ก (shot glass) ในฟินแลนด์และสวีเดนจะดื่มอควาวิตร่วมกับทานเครย์ฟิชในงานเลี้ยงช่วงปลายเดือนสิงหาคมของทุกปี.
องค์กรปฏิวัติ 17 พฤศจิกายน
องค์กรปฏิวัติ 17 พฤศจิกายน (Revolutionary Organization 17 November) เป็นกลุ่มฝ่ายซ้ายในกรีซที่นิยมความรุนแรง ก่อตั้งเมื่อ..
ดู สหภาพยุโรปและองค์กรปฏิวัติ 17 พฤศจิกายน
อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม (Berne Convention for the Protection of Literary and Artistic Works) หรือมักเป็นที่รู้จักกันว่า อนุสัญญาเบิร์น เป็นความตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยเรื่องลิขสิทธิ์ ซึ่งได้รับการยอมรับเป็นครั้งแรกในเบิร์น ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ใน..
ดู สหภาพยุโรปและอนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
ฮัมบวร์ค
ัมบวร์ค (Hamburg) เป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศเยอรมนี รองลงมาจาก เบอร์ลิน และเป็นเมืองที่ใหญ่อันดับ 8 ของยุโรป โดยมีประชากรอาศัยอยู่ในเมืองฮัมบวร์คมากกว่า 1.8 ล้านคน ในขณะที่รวมปริมณฑลรอบ ๆ ไปด้วยแล้วจะทำให้ นครฮัมบวร์คมีประชากรทั้งสิ้น 5 ล้านคน ท่าเรือฮัมบวร์คเป็นท่าเรือสำคัญ ซึ่งนับเป็นท่าเรือที่ใหญ่เป็นอันดับสองของสหภาพยุโรป และใหญ่เป็นอันดับที่ 10 ของโลก พื้นที่ท่าเรือส่วนใหญ่เป็นบริเวณปลอดภาษี ฮัมบวร์ค ถือเป็นศูนย์กลางการขนส่งที่สำคัญและถือเป็นหนึ่งใน เมืองที่รวยที่สุดในยุโรปและเป็นเขตเมือง อุตสาหกรรมที่แห่งหนึ่งที่สำคัญของ เยอรมันมีบริษัท ห้างร้านที่สำคัญ ๆ ของเยอรมนี อยู่ที่เมืองนี้ และที่สะคัญ ฮัมบวร์คได้รับการศูนย์กลางทางการเงินที่สำคัญมานานหลายศตวรรษและเป็นที่ตั้งของธนาคารที่เก่าแก่ในประเทศเยอรมันคือ ธนาคารแบร์มเบริก ธนาคารนองจากนนี้ ฮัมบวร์คยังเป็น เมืองที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญสำหรับนักท่องเที่ยวทั้งในประเทศและต่างประเทศจากการจัดอันดับโดยได้อันดับที่ ที่ 17 ของโลกในปี 2555 และในปี 2553 ก็ได้อันดับที่ 10 ชื่ออย่างเป็นทางการของฮัมบวร์คคือ นครอิสระและฮันเซียติกแห่งฮัมบวร์ค (เยอรมัน: Freie und Hansestadt Hamburg) คำว่าฮันเซียติกนั้นหมายถึงการเป็นสมาชิกสันนิบาตฮันเซียติกของฮัมบวร์คตั้งแต่ยุคกลาง และบ่งบอกว่าฮัมบวร์คมีฐานะเป็นนครรัฐ ถือเป็น 1 ใน 16 รัฐสหพันธ์ของเยอรมนี ฮัมบวร์คอยู่ทางทิศใต้ของคาบสมุทรจัตแลนด์ ตำแหน่งทางภูมิศาสตร์นั้นอยู่ระหว่างสแกนดิเนเวียกับพื้นทวีปยุโรป ระหว่างทะเลเหนือกับทะเลบอลติก ปัจจุบันฮัมบวร์คเป็นศูนย์กลางการค้านานาชาติ และศูนย์กลางวัฒนธรรมของเยอรมนีทางภาคเหนือ.
ฌัก ชีรัก
ัก เรอเน ชีรัก (Jacques René Chirac; 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475 —) รัฐบุรุษฝรั่งเศส อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และนายกเทศมนตรีกรุงปารี.
จังหวัดของประเทศฝรั่งเศส
ังหวัดในประเทศฝรั่งเศส (départements; departments) ในบริบทของการเมืองและภูมิศาสตร์คือหน่วยการบริหาร (administrative division) ของประเทศฝรั่งเศสและอดีตอาณานิคมในระดับรองจากแคว้น ในปัจจุบันประกอบด้วย 101 จังหวัด แบ่งเป็นจังหวัดในฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ 96 จังหวัด และจังหวัดโพ้นทะเล (départements d'outre-mer, DOM) 5 จังหวัด แต่ละจังหวัด (ยกเว้นมายอต) แบ่งย่อยออกเป็นเขต (arrondissements) รวม 335 เขต.
ดู สหภาพยุโรปและจังหวัดของประเทศฝรั่งเศส
จังหวัดโพ้นทะเล
ังหวัดโพ้นทะเล (département d’outre-mer, DOM; overseas department) เป็นจังหวัดของฝรั่งเศสที่ตั้งอยู่นอกประเทศฝรั่งเศสภาคพื้นทวีปยุโรป ซึ่งหน่วยการบริหารเหล่านี้จะมีสถานะทางการเมืองเทียบเท่ากับจังหวัดในประเทศฝรั่งเศส เนื่องจากจังหวัดเหล่านี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของฝรั่งเศสและสหภาพยุโรปโดยสมบูรณ์ จังหวัดโพ้นทะเลเหล่านี้จึงสามารถมีตัวแทนในสภานิติบัญญัติ วุฒิสภา และสภาเศรษฐกิจและสังคม การลงคะแนนเสียงเลือกตั้งรัฐสภายุโรป ตลอดจนใช้เงินสกุลยูโร จังหวัดโพ้นทะเลถือว่าเป็น แคว้นโพ้นทะเล ด้วย เมื่อเดือนมีนาคม..
ดู สหภาพยุโรปและจังหวัดโพ้นทะเล
จี7
ี7 (G7) หรือในอดีตคือ จี8 (G8, เพิ่มรัสเซีย) เป็นกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำของโลก ประกอบไปด้วยประเทศสมาชิก 7 ประเทศคือ แคนาดา ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา โดยเศรษฐกิจของประเทศเหล่านี้นับเป็นกว่า 50% ของเศรษฐกิจโลก (ณ ปี 2012) นอกจากนั้น ยังมีประธานแห่งสหภาพยุโรปร่วมประชุมด้วย ในปี 2014 จากบทบาทของรัสเซียในวิกฤตการณ์ไครเมีย ทำให้รัสเซียถูกพักจากการเป็นสมาชิกกลุ่ม และประเทศที่เหลือได้มีการจัดประชุมในนามจี7 อีกครั้ง.
ธัชวิทยา
งของ ''Fédération internationale des associations vexillologiques''. ธัชวิทยา (vexillology) คือวิชาที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับธง ชื่อวิชา Vexillology เริ่มใช้เป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.
ธงชาติบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
งชาติบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เป็นธงพื้นสีน้ำเงิน ภายในมีสามเหลี่ยมสีเหลืองที่ด้านมุมฉากอยู่ด้านบนธง ด้านตรงข้ามมุมฉากประดับด้วยดาวห้าแฉกสีขาวเต็มดวง 7 ดวง ส่วนปลายของด้านตรงข้ามมุมฉากทั้งสองด้านมีดาวห้าแฉกสีขาวครึ่งดวง 2 ดวง โดยสามเหลี่ยมแทนกลุ่มชนหลักสามกลุ่มในประเทศ ได้แก่ ชาวบอสนีแอก, ชาวโครแอตและชาวเซิร์บ นอกจากนี้ยังใช้แทนดินแดนของบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาที่มีรูปร่างคล้ายสามเหลี่ยม ดาวแทนทวีปยุโรปและการเรียงตัวของดาวแทนจำนวนที่ไม่สิ้นสุด สีน้ำเงินและสีเหลืองมาจากธงยุโรปที่ใช้ในสภายุโรปและสหภาพยุโรป สีของธง 3 สีคือขาว, น้ำเงินและเหลืองแทนความเป็นกลางและสันต.
ดู สหภาพยุโรปและธงชาติบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
ธงชาติลิทัวเนีย
งชาติลิทัวเนีย มีลักษณะเป็นธงสามสีแบ่งตามแนวนอน พื้นสีเหลือง สีเขียวและสีแดง เรียงจากบนลงล่าง ความกว้างแต่ละแถบเท่ากัน ธงนี้เริ่มใช้เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและธงชาติลิทัวเนีย
ธงชาติเยอรมนี
งชาติเยอรมนี มีลักษณะเป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดกว้าง 3 ส่วน ยาว 5 ส่วน แบ่งเป็นแถบสี 3 แถบ ตามแนวนอน คือ สีดำ สีแดง และสีทอง มีชื่อเรียกในภาษาเยอรมันว่า "Schwarz-Rot-Gold" แปลว่า ธงดำ-แดง-ทอง ตามสีของธง.
ธนาคารกลางยุโรป
นาคารกลางยุโรป (European Central Bank) เป็นธนาคารกลางของสกุลเงินยูโรและเป็นผู้กำหนดนโยบายของยูโรโซนซึ่งประกอบด้วย 19 รัฐสมาชิก ธนาคารกลางยุโรปถือเป็นหนึ่งในสี่ธนาคารกลางที่สำคัญที่สุดของโลก และเป็นหนึ่งในเจ็ดสถาบันของสหภาพยุโรปตามที่บัญญัติไว้ในสนธิสัญญาว่าด้วยสหภาพยุโรป ทุนเรือนหุ้นของธนาคารกลางยุโรปอยู่ในการถือครองโดยบรรดาธนาคารกลางของรัฐสมาชิกทั้ง 28 ของอียู ธนาคารกลางยุโรปมีทุนสำรองคิดเป็นมูลค่ากว่า 5.26 แสนล้านยูโร ธนาคารกลางยุโรปจัดตั้งขึ้นใน..
ดู สหภาพยุโรปและธนาคารกลางยุโรป
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.
ที่ประชุมแห่งกรุงเฮกว่าด้วยกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล
ที่ประชุมแห่งกรุงเฮกว่าด้วยกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล (Hague Conference on Private International Law; Conférence de La Haye de droit international privé; ย่อ: HCCH (จาก Hague Conference/Conférence de La Haye)) เป็นองค์การระหว่างรัฐบาลที่มีชื่อเสียงด้านกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล ที่ประชุมจัดตั้งขึ้นเมื่อ..
ดู สหภาพยุโรปและที่ประชุมแห่งกรุงเฮกว่าด้วยกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล
ท่าอากาศยานนานาชาติตริภูวัน
ท่าอากาศยานนานาชาติตริภูวัน (त्रिभुवन अन्तर्राष्ट्रिय विमानस्थल) เป็นท่าอากาศยานนานาชาติในเขตกรุงกาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล ตั้งอยู่ในหุบเขากาฐมาณฑุ ห่างจากใจกลางนครประมาณ 6 กิโลเมตร เป็นท่าอากาศยานนานาชาติเพียงแห่งเดียวในเนปาล เริ่มต้นใช้งานในปี..
ดู สหภาพยุโรปและท่าอากาศยานนานาชาติตริภูวัน
ขบวนการประชาชนมุญาฮิดีนอิหร่าน
thumb ขบวนการประชาชนมุญาฮิดีนอิหร่าน หรือ กองกำลังเพื่อการปลดปล่อยแห่งชาติอิหร่าน (People ’s Mujahidin of Iran;PMOI, หรือ MEK, MKO; سازمان مجاهدين خلق ايران sāzmān-e mojāhedin-e khalq-e īrān) เป็นองค์กรสังคมนิยมอิสลามที่ต่อต้านรัฐบาลปัจจุบันของอิหร่าน นิยมลัทธิมาร์กและอิสลาม ก่อตั้งเมื่อ..
ดู สหภาพยุโรปและขบวนการประชาชนมุญาฮิดีนอิหร่าน
ขยะอิเล็กทรอนิกส์
มอนิเตอร์ที่ถูกทิ้ง ขยะอิเล็กทรอนิกส์ หรือ อีเวสต์ (e-waste) เป็นของเสียที่ประกอบด้วย เครื่องใช้ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เสียหรือไม่มีคนต้องการแล้ว ขยะอิเล็กทรอนิกส์เป็นประเด็นวิตกกังวล เนื่องจากชิ้นส่วนหลายชิ้นในอุปกรณ์เหล่านั้น ถือว่าเป็นพิษ และไม่สามารถย่อยสลายตามธรรมชาติได้ หลายประเทศโดยเฉพาะแถบยุโรปตะวันตกถึงกับออกกฎหมายออกมารองรับกรณีดังกล่าวนี้ โดยให้บริษัทผู้ผลิตที่จะวางตลาดในผลิตภัณฑ์ด้านคอนซูเมอร์อิเล็กทรอนิกส์ต้องจัดเก็บขยะอิเล็กทรอนิกส์ไปกำจัดก่อนถึงจะวางใหม่ได้ ซึ่งเป็นอีกหนึ่งมาตรการสำคัญที่ถูกนำออกมาใช้เพื่อแก้ปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นขยะพิษ ขณะเดียวกันด้วยพฤติกรรมการบริโภคที่มีลักษณะใช้แล้วทิ้งที่เกิดขึ้นทั่วโลก ส่งผลกระทบไม่เพียงแค่ในขอบข่ายของขยะอิเล็กทรอนิกส์เท่านั้น บรรจุภัณฑ์อื่น ๆ ก็ถูกทิ้งลงถังขยะมากมายจนล้นเกิน หลาย ๆ ประเทศต้องสูญเสียงบประมาณเพื่อทำการจัดเก็บและทำลายขยะแต่ละปีเป็นมูลค่ามหาศาล ซึ่งพฤติกรรมการใช้แล้วทิ้งที่เกิดขึ้นทั่วโลกนี้ หากยังไม่สามารถพัฒนาวัสดุที่สามารถย่อยสลายได้ง่าย หรือประเภทใช้แล้วสามารถนำมารีไซเคิลใหม่ได้ อาจก่อให้เกิดปัญหาขยะล้นโลกได้.
ดู สหภาพยุโรปและขยะอิเล็กทรอนิกส์
ข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม
้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม (Genetically modified food controversies) เป็นความขัดแย้งกันในเรื่องการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์อย่างอื่น ๆ ที่ทำมาจากพืชดัดแปรพันธุกรรม ไม่ใช่จากพืชปลูกโดยวิธีตามที่เคยทำมาก่อน (คือแบบธรรมดา) และในเรื่องการใช้พันธุวิศวกรรมแบบอื่น ๆ ในกระบวนการผลิตอาหาร เป็นความขัดแย้งกันระหว่างผู้บริโภค เกษตรกร บริษัทเทคโนโลยีชีวภาพ องค์กรควบคุมของรัฐ องค์การนอกภาครัฐ และนักวิทยาศาสตร์ ข้อโต้เถียงสำคัญรวมทั้ง.
ดู สหภาพยุโรปและข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม
ดรีมแคสต์
รีมแคสต์ (Dreamcast) เป็นเครื่องเล่นวิดีโอเกมรุ่นสุดท้ายของบริษัทเซก้า โดยเป็นความพยายามของเซก้าในการชิงตลาดเกมคอนโซลคืนมา มันถูกออกแบบให้เหนือกว่านินเทนโด 64 และเพลย์สเตชัน แต่ไม่สามารถสร้างยอดขายและความสนใจได้มากพอก่อนการวางจำหน่ายเพลย์สเตชัน 2 หลังจากนั้นเซก้าได้ออกจากธุรกิจฮาร์ดแวร์เกมคอนโซล และมุ่งเน้นยังซอฟต์แวร์เกมเพียงอย่างเดียว ดรีมแคสต์วางจำหน่ายในประเทศญี่ปุ่นวันที่ 27 พฤศจิกายน ค.ศ.
ดอน ปรมัตถ์วินัย
นายดอน ปรมัตถ์วินัย (Don Pramudwinai; เกิด: 25 มกราคม พ.ศ. 2493) เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และเป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนักการทูตชาวไทย อดีตอธิบดีกรมสารนิเทศและโฆษกกระทรวงการต่างประเทศ อดีตเอกอัครราชทูตประจำสหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐประชาชนจีน สหภาพยุโรป และในอีกหลายประเท.
ดู สหภาพยุโรปและดอน ปรมัตถ์วินัย
ดินแดนปาเลสไตน์
นแดนปาเลสไตน์หรือดินแดนปาเลสไตน์ที่ถูกยึดครองประกอบด้วยเวสต์แบงก์ (รวมเยรูซาเลมตะวันออก) และฉนวนกาซา ในปี 2536 ตามข้อตกลงออสโล ในทางการเมือง บางส่วนของดินแดนดังกล่าวอยู่ภายใต้เขตอำนาจขององค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ (พื้นที่เอและบี) ในปี 2550 ฉนวนกาซาที่ฮามาสปกครองแยกจากองค์การบริหารปาเลไสตน์อย่างรุนแรง และปกครองพื้นที่กาซาเป็นอิสระนับแต่นั้น อิสราเอลยังควบคุมทางทหาร (military control) สมบูรณ์ และตามข้อตกลงออสโล ควบคุมทางพลเรือน (civil control) เหนือ 61% ของเวสต์แบงก์ (พื้นที่ซี) ในเดือนเมษายน 2554 ภาคีปาเลสไตน์ลงนามความตกลงปรองดอง แต่การนำไปปฏิบัติยังสะดุดอยู่หลังจากนั้น ความพยายามปรองดองต่อมาในปี 2555 ก็ไม่ประสบความสำเร็จเช่นเดียวกัน พื้นที่เวสต์แบงก์และฉนวนกาซาเป็นส่วนของดินแดนทางตะวันตกของแม่น้ำจอร์แดนในปาเลสไตน์ในอาณัติภายใต้การปกครองของอังกฤษ ซึ่งก่อตั้งในปี 2465 นับแต่สงครามอาหรับ–อิสราเอล ปี 2491 กระทั่งสงครามหกวัน ปี 2510 เวสต์แบงก์ถูกจอร์แดนยึดครองและผนวก (เฉพาะสหราชอาณาจักรและปากีสถานรับรองการผนวก) และฉนวนกาซาถูกอียิปต์ยึดครอง แม้รัฐบาลปาเลสไตน์ล้วน (All-Palestine Government) ใช้อำนาจอย่างจำกัดในกาซาตั้งแต่เดือนกันยายน 2491 ถึงปี 2502 ก็ตาม แนวพรมแดนซึ่งเป็นเรื่องของการเจรจาในอนาคต ประชาคมนานาชาติถือโดยทั่วไปว่านิยามโดยเส้นสีเขียวอันแทนเส้นการสงบศึกภายใต้ความตกลงการสงบศึกปี 2492 ซึ่งประกาศเส้นการสงบศึกอย่างชัดเจน มิใช่พรมแดนระหว่างประเทศ เนื่องจากอิสราเอลยึดดินแดนเวสต์แบงก์และฉนวนกาซาจากจอร์แดนและอียิปต์ตามลำดับในสงครามหกวัน ปี 2510 และได้รักษาการควบคุมดินแดนดังกล่าวนับแต่นั้น ประชาคมนานาชาติ รวมทั้งสหประชาชาติและองค์การกฎหมายระหว่างประเทศจึงมักเรียกพื้นที่ดังกล่าวว่า "ดินแดนปาเลสไตน์ที่ถูกยึดครอง" ในปี 2523 อิสราเอลผนวกเยรูซาเลมตะวันออกอย่างเป็นทางการ การผนวกดังกล่าวถูกนานาชาติประณามและคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติประกาศให้ "ไม่มีผลและเป็นโมฆะ" ขณะที่ชาติอิสราเอลมองว่า เยรูซาเลมทั้งหมดเป็นเมืองหลวงของประเทศ ในปี 2531 ด้วยองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์มีเจตนาประกาศรัฐปาเลสไตน์ จอร์แดนจึงยอมสละการอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนเวสต์แบงก์ รวมเยรูซาเลมตะวันออก ตั้งแต่คำประกาศอิสรภาพปาเลสไตน์ในปี 2531 มีชาติสมาชิกสหประชาชาติประมาณ 130 ชาติรับรองรัฐปาเลสไตน์ อันประกอบด้วยดินแดนปาเลสไตน์ แต่อิสราเอลและชาติตะวันตกบางชาติ รวมทั้งสหรัฐอเมริกา ยังไม่รับรอง ทว่า ไม่นาน องค์การบริหารปาเลสไตน์ถูกตั้งขึ้นตามผลของข้อตกลงออสโล ปี 2536 โดยควบคุมเหนือบางส่วนของเวสต์แบงก์และฉนวนกาซาอย่างจำกัด องค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ สหภาพยุโรป ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศและกาชาดสากลถือว่าเยรูซาเลมตะวันออกเป็นส่วนหนึ่งของเวสต์แบงก์ และจึงเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนปาเลสไตน์ตามลำดับ ขณะที่อิสราเอลถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของตนอันเป็นผลจากการผนวกในปี 2523 ตามศาลสูงสุดอิสราเอล อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สี่ ซึ่งห้ามการผนวกดินแดนที่ถูกยึดครองฝ่ายเดียว ใช้ไม่ได้กับเยรูซาเลมตะวันออก เพราะอิสราเอลและพันธมิตรไม่รับรอง "องค์อธิปัตย์ที่ชอบด้วยกฎหมาย" ที่เดิมเคยควบคุมดินแดนนั้น องค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ (ซึ่งล่าสุดเปลี่ยนชื่อเป็นรัฐปาเลสไตน์ อันเป็นผลจากสหประชาชาติรับรองเอกราช) ซึ่งรักษาการอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนเยรูซาเลมตะวันออก ไม่เคยใช้อำนาจอธิปไตยเหนือพื้นที่ดังกล่าว ทว่า ไม่มีประเทศใดรับรองอำนาจอธิปไตยของอิสราเอล นับแต่การผนวกดินแดนที่ถูกยึดครองระหว่างสงครามฝ่ายเดียวโดยฝ่าฝืนอนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สี่ ข้อตกลงออสโล (2538) สถาปนาการออกสู่ทะเลสำหรับกาซาภายใน 20 ไมล์ทะเลจากฝั่ง ข้อผูกมัดเบอร์ลินปี 2545 ลดเหลือ 19 กิโลเมตร ในเดือนตุลาคม 2549 อิสราเอลกำหนดขีดจำกัด 6 ไมล์ และผลของสงครามกาซาจำกัดการออกลงเหลือขีดจำกัด 3 ไมล์ทะเล ซึ่งเกินกว่านั้นมีเขตห้ามเข้า (no-go zone) ผลคือ ชาวประมงกว่า 3,000 คนถูกปฏิเสธการออกสู่ 85% ของพื้นที่ทะเลตามที่ตกลงกันในปี 2538 พื้นที่เดดซีส่วนใหญ่ถูกห้ามไม่ให้ชาวปาเลสไตน์ใช้ และชาวปาเลสไตน์ถูกห้ามไม่ให้ออกสู่แนวชายฝั่ง การยึดกาซาของฮามาสแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ทางการเมือง โดยฟาตาห์ของอับบาสส่วนใหญ่ปกครองเวสต์แบงก์ และนานาชาติรับรองเป็นองค์การบริหารปาเลสไตน์อย่างเป็นทางการ ฉนวนกาซาภายในพรมแดนถูกฮามาสปกครอง ขณะที่พื้นที่เวสต์แบงก์ส่วนมากปกครองโดยองค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ซึ่งตั้งอยู่ที่รอมัลลอฮ์ ทว่า มีความตกลงเมื่อเดือนเมษายน 2557 ระหว่างสองกลุ่มการเมืองจะจัดการเลือกตั้งในปลายปี 2557 และตั้งรัฐบาลเอกภาพปรองดอง.
ดู สหภาพยุโรปและดินแดนปาเลสไตน์
ดูไบเวิลด์
ูไบเวิลด์ (Dubai World; دبي العالمية) เป็นบริษัทมหาชนเพื่อการลงทุน ก่อตั้งโดยพระราชกฤษฎีกาที่ตราขึ้นเมื่อวันที่ 2 มีนาคม..
คริสต์ทศวรรษ 2020
..
ดู สหภาพยุโรปและคริสต์ทศวรรษ 2020
ความพยายามรัฐประหารในประเทศตุรกี พ.ศ. 2559
ระหว่างวันที่ 15–16 กรกฎาคม..
ดู สหภาพยุโรปและความพยายามรัฐประหารในประเทศตุรกี พ.ศ. 2559
ความพิการ
ัญลักษณ์สากลของคนพิการ คนพิการ หมายความว่า บุคคลซึ่งมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคม เนื่องจากมีความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญาและการเรียนรู้หรือความบกพร่องอื่นใด ประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่างๆ และมีความจำเป็นเป็นพิเศษที่จะต้องได้รับความช่วยเหลือด้านหนึ่งด้านใด เพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมได้อย่างบุคคลทั่วไป ทั้งนี้ ตามประเภทและหลักเกณฑ์ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ประกาศกำหน.
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก
วามร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (เอเปก) (Asia-Pacific Economic Cooperation: APEC) เป็นกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ระหว่างเขตเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก เอเปคก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
วามหลากหลายทางวัฒนธรรม (cultural diversity) เป็นความเชื่อที่ค่อนข้างตรงกันในหมู่นักมานุษยวิทยาว่ามนุษย์มีกำเนิดในทวีปแอฟริกาเมื่อประมาณ 2 ล้านมาแล้ว จากนั้นได้เริ่มกระจายตัวไปทั่วโลก ประสบความสำเร็จในการปรับตัวให้เข้ากับสภาพการณ์ที่แตกต่างหลากหลาย และบ่อยครั้งที่ต้องประสบกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากภัยพิบัติร้ายแรงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศทั้งในระดับพื้นถิ่นและระดับทั่วโลก สังคมที่แยกจากห่างกันที่เกิดขึ้นในที่ต่างๆ ของโลกมีความแตกต่างกันชัดเจน และความแตกต่างกันระหว่างวัฒนธรรมยังคงมีความต่อเนื่องสืบมาถึงปัจจุบัน แม้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมหรือเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมระหว่างหมู่ชนจะยังคงมีอยู่ เช่นความแตกต่างทางภาษา การแต่งกายและประเพณีก็ตาม แต่ในความแตกต่างที่หลากหลายในสังคมต่างๆ ก็ยังปรากฏให้เห็นความคล้ายในตัวของสังคมที่หลากหลาย คือแนวคิดทางศีลธรรมและวิธีที่กลุ่มชนในสังคมมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม โจ เนลสันจากแสตมฟอร์ด เวอร์จิเนียเป็นผู้ทำให้วลี "วัฒนธรรมและความหลากหลาย" เป็นที่รู้จักแพร่หลายในช่วงที่เขาอยู่ในแอฟริกา เป็นที่ถกเถียงกันว่าความแตกต่างเหล่านี้เป็นเพียงสิ่งมนุษย์สร้างที่เกิดขึ้นตามธรรมดาอยู่แล้วตามรูปแบบของการย้ายถิ่นของมนุษย์ไปในที่ต่างๆ หรือว่านี่คือตัวการที่เป็นหัวใจของของการสืบสายพันธ์ในช่วงวิวัฒนาการที่ทำให้สายพันธุ์ของมนุษย์ประสบความสำเร็จมากกว่าสัตว์พันธุ์อื่นๆ ด้วยการเทียบเทียบแนวกับ "ความหลากหลายทางชีวภาพ" ที่เชื่อกันว่ามีความสำคัญยิ่งยวดต่อการมีชีวิตรอดในระยะยาวของทุกชีวิตบนโลก ความหลากหลายทางวัฒนธรรมย่อมมีความสำคัญยิ่งต่อการอยู่รอดในระยะยาวของมวลมนุษยชาติด้วย นั่นคือ การอนุรักษ์วัฒนธรรมพื้นถิ่นไว้ย่อมมีความสำคัญเท่าๆ กันกับกับการอนุรักษ์ชนิดพันธุ์และระบบนิเวศเพื่อให้สิ่งมีชีวิตบนโลกโดยรวมอยู่ได้ บทอภิปรายนี้ไม่ได้รับการยอมรับจากหลายฝ่ายด้วยเหตุผลที่แตกต่างกัน ประการแรก เช่นเดียวกับความน่าเชื่อของการวิวัฒนาการตามธรรมชาติของมนุษย์ ความสำคัญของความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่เป็นสิ่งทำให้มนุษย์อยู่รอดได้ยังคงเป็นสมมุติฐานที่ยังไม่ได้รับการทดสอบซึ่งอาจไม่มีความชอบธรรมทางจรรยาบรรณที่จะอนุรักษ์ "สังคมที่ยังพัฒนาน้อย" ไว้เพราะอาจเป็นการห้ามผู้คนในสังคมนั้นไม่ให้ได้รับประโยชน์จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการแพทย์ที่สร้างความสะดวกสบายและสวัสดิภาพแก่ "สังคมพัฒนาแล้ว" ประการสุดท้าย มีชนหลายหมู่โดยเฉพาะที่หมู่ชนมีความเชื่อทางศาสนาอย่างแรงกล้า ที่เชื่อว่าศาสนานั้นคือสิ่งที่ให้คุณประโยชน์ที่ดีที่สุดแก่ตัวบุคคลและมวลมนุษย์โดยรวม ดังนั้นจึงควรมุ่งติดอยู่กับรูปแบบการดำรงชีวิตเพียงแบบเดียวที่หมู่ชนนั้นๆ เห็นว่าถูกต้องที่สุด ตัวอย่างเช่น องค์การสอนศาสนา "ฟันดาเมนทอลลิสต์อีแวนเจลิสต์" เช่น "นิวไทรบ์มิสชัน" ซึ่งทำงานอย่างแข็งขันเพื่อลดความหลากหลายทางวัฒนธรรมโดยการเลือกสังคมชนเผ่าที่อยู่ห่างไกล จับพวกชนเผ่าเหล่านั้นเข้ารีตกับความเชื่อของพวกเขาเองแล้วโน้มนำให้ชนเผ่าเหล่านั้นปรับเปลี่ยนรูปแบบสังคมของตนเองตามหลักการของพวกเขาเอง การแจงนับความหลากหลายทางวัฒนธรรมนับเป็นเรื่องยุ่งยาก แต่ตัวบ่งชี้ที่นับได้ว่าใช้ได้ดีตัวหนึ่งคือการนับจำนวนภาษาที่ใช้พูดในภูมิภาคนั้น หรือในโลกโดยรวม วิธีการนี้ จะช่วยให้มองเห็นระยะของการถดถอยที่รวดเร็วขึ้นในความหลากหลายทางวัฒนธรรมของโลก งานวิจัยที่ทำเมื่อช่วงทศวรรษ 1990 (พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและความหลากหลายทางวัฒนธรรม
ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก
วามตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (Trans-Pacific Partnership, ย่อ: TPP) เป็นความตกลงการค้าระหว่างประเทศขอบแปซิฟิกสิบสองประเทศ ว่าด้วยประเด็นนโยบายสาธารณะต่าง ๆ ซึ่งบรรลุเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2558 หลังเจรจานาน 7 ปี และลงนามเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2559 ในออกแลนด์ ประเทศนิวซีแลนด์ เป้าหมายที่แถลงของความตกลงฯ คือ เพื่อ "ส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจ สนับสนุนการสร้างและรักษางาน การเสริมสร้างนวัตกรรม ผลิตภาพและความสามารถการแข่งขัน ยกระดับมาตรฐานการครองชีพ ลดความยากจนในประเทศ และส่งเสริมความโปร่งใส ธรรมาภิบาลและเสริมสร้างการคุ้มครองแรงงานและสิ่งแวดล้อม" ความตกลง TPP มีมาตรการเพื่อลดอุปสรรคทางการค้า เช่น พิกัดอัตรา และสถาปนากลไกการระงับข้อพิพาทผู้ลงทุน-รัฐ (แต่รัฐเลือกได้ว่าไม่ดำเนินมาตรการที่เกี่ยวข้องกับยาสูบ) รัฐบาบลสหรัฐถือว่า TPP เป็นความตกลงเคียงคู่กับความตกลงหุ้นส่วนการค้าและการลงทุนภาคพื้นแอตแลนติก (Transatlantic Trade and Investment Partnership, TTIP) ที่มีการเสนอ ซึ่งเป็นความตกลงที่คล้ายกันอย่างกว้าง ๆ ระหว่างสหรัฐและสหภาพยุโรป ในอดีต TPP เป็นการขยายความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจยุทธศาสตร์ภาคพื้นแปซิฟิก (Trans-Pacific Strategic Economic Partnership Agreement) ซึ่งประเทศบรูไน ชิลี นิวซีแลนด์และสิงคโปร์ลงนามในปี 2549 เริ่มตั้งแต่ปี 2551 มีประเทศอื่นเข้าร่วมการอภิปรายสำหรับความตกลงที่กว้างขึ้น ได้แก่ ออสเตรเลีย แคนาดา ญี่ปุ่น มาเลเซีย เม็กซิโก เปรู สหรัฐและเวียดนาม ทำให้มีจำนวนประเทศผู้เข้าร่วมการเจรจาสิบสองประเทศ ความตกลงการค้าปัจจุบันระหว่างประเทศผู้เข้าร่วม เช่น ความตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ จะลดบทบัญญัติเหล่านั้นซึ่งไม่ขัดต่อ TPP หรือกำหนดให้เปิดเสรีการค้าเกินกว่า TPP ชาติผู้เข้าร่วมมุ่งสำเร็จการเจรจาในปี 2555 แต่ประเด็นที่มีข้อพิพาทอย่างเกษตรกรรม ทรัพย์สินทางปัญญาและการบริการและการลงทุนทำให้การเจรจายืดเยื้อ สุดท้ายชาติต่าง ๆ บรรลุความตกลงเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2558 การนำความตกลงฯ ไปปฏิบัติเป็นเป้าหมายวาระการค้าของรัฐบาลโอบามาในสหรัฐ วันที่ 5 ตุลาคม 2558 นายกรัฐมนตรีแคนาดา สตีเฟน ฮาร์เปอร์ คาดหมายว่า "ลายมือชื่อบนข้อความฉบับสมบูรณ์และตกลงเร็วในปีใหม่ และให้สัตยาบันในอีกสองปีถัดไป" มีการเผยแพร่ฉบับข้อความของสนธิสัญญา "ภายใต้การทบทวนทางกฎหมาย (...) เพื่อความแม่น ความกระจ่างและความสอดคล้อง" ต่อสาธารณะเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2558 วันเดียวกับที่ประธานาธิบดีโอบามาแจ้งรัฐสภาว่าเขาเจตนาลงนาม มีวิชาชีพสุขภาพโลก (global health) นักกิจกรรมเสรีภาพอินเทอร์เน็ต นักสิ่งแวดล้อม สหภาพแรงงาน กลุ่มผลประโยชน์และข้าราชการจากการเลือกตั้งจำนวนหนึ่งวิจารณ์และประท้วงต่อสนธิสัญญานี้ ส่วนใหญ่เพราะการเจรจาทางลับ ขอบข่ายกว้างขวางของความตกลงและข้อความซึ่งมีการโต้เถียงที่รั่วต่อสาธารณะ การลงนาม TPP ในออกแลนด์ ประเทศนิวซีแลนด์เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2559 มีการประท้วงสาธารณะเป็นวงกว้างในประเทศนิวซีแลนด์ พรรคฝ่ายค้านทุกพรรคและพรรครัฐบาลหนึ่งพรรค (พรรคเมารี พรรคชาตินิยมฝ่ายขวา) ในรัฐสภานิวซีแลนด์ประกาศคัดค้าน TPP และกล่าวในการชุมนุมประท้วงในกรุงเวลลิงตัน เมืองหลวงของประเทศ ในวันที่ลงนาม.
ดู สหภาพยุโรปและความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก
ความตกลงป้องกันและปราบปรามการค้าสิ่งปลอม
วามตกลงป้องกันและปราบปรามการค้าสิ่งปลอม (Anti-Counterfeiting Trade Agreement) หรือเรียกโดยย่อว่า แอกตา (ACTA) เป็นความตกลงพหุภาคีอันมีวัตถุประสงค์เพื่อสถาปนามาตรฐานสากลสำหรับบังคับใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา และมุ่งหวังจะสร้างกรอบกฎหมายระหว่างประเทศสำหรับขจัดสินค้าปลอม ยาเทียม และการละเมิดลิขสิทธิ์บนโลกออนไลน์ กับทั้งจะมีผลเป็นการสร้างองค์กรควบคุมองค์กรใหม่นอกเหนือไปจากที่มีอยู่แล้วคือองค์การค้าโลก องค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก และสหประชาชาติ วันที่ 1 ตุลาคม 2554 ประเทศออสเตรเลีย ประเทศแคนาดา ประเทศญี่ปุ่น ประเทศโมร็อกโก ประเทศนิวซีแลนด์ ประเทศสิงคโปร์ ประเทศเกาหลีใต้ และสหรัฐอเมริกาลงนามในความตกลงนี้ ครั้นเดือนมกราคม 2555 สหภาพยุโรปและรัฐสมาชิกอีกยี่สิบสองรายพร้อมใจกันลงนามตามลำดับ ยังให้มีผู้ลงนามแล้วสามสิบเอ็ดราย สนธิสัญญานี้จะมีผลใช้บังคับเมื่อมีผู้ลงนามให้สัตยาบันแล้วเป็นจำนวนหกราย ประเทศทั้งหลายทั้งที่สนับสนุนความตกลงนี้ก็ดี และที่กำลังเจรจาอยู่ก็ดี เชิดชูความตกลงว่าเป็น การตอบโต้ "การค้าสิ่งปลอมและการละเมิดงานที่ได้รับความคุ้มครองลิขสิทธิ์อันทวีอัตราขึ้นทั่วทุกหัวระแหง" ขณะที่เหล่าผู้ต่อต้านว่า สนธิสัญญาดังกล่าวเป็นปฏิปักษ์อย่างร้ายแรงต่อสิทธิพลเมืองและสิทธิทางดิจิทัลขั้นพื้นฐาน อันรวมถึงสิทธิในการแสดงออกและความเป็นส่วนตัวในการคมนาคม.
ดู สหภาพยุโรปและความตกลงป้องกันและปราบปรามการค้าสิ่งปลอม
ความตกลงเชงเกน
ป้ายข้ามเขตแดนระหว่างประเทศเยอรมนีและประเทศออสเตรีย ซึ่งเป็นประเทศในกลุ่มเชงเกนซึ่งไม่มีป้อมตรวจคนเข้าเมือง ความตกลงเชงเกน (Schengen Agreement) เป็นความตกลงระหว่างประเทศส่วนใหญ่ในทวีปยุโรปอันให้สัตยาบันเมื่อ..
ดู สหภาพยุโรปและความตกลงเชงเกน
ความแพร่หลายของภาษาสเปน
ษาสเปนมีสถานะทางการในรัฐ เคาน์ตี และเมืองบางแห่งของสหรัฐอเมริกา ภาษาสเปนเป็นภาษาซึ่งใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลก โดยเป็นภาษาราชการใน 21 ประเทศ องค์การระหว่างประเทศจำนวนหนึ่ง และมีผู้พูดราว 329-500 ล้านคน คิดเป็นอันดับ 2 หรือ 3 ของโลก.
ดู สหภาพยุโรปและความแพร่หลายของภาษาสเปน
ความเสมอภาคของอัตราดอกเบี้ย
วามเสมอภาคของอัตราดอกเบี้ย (Interest rate parity) เป็นภาวะที่ไม่สามารถแสวงหากำไรโดยปราศจากความเสี่ยง (arbitrage) เป็นจุดดุลยภาพ (equilibrium) ซึ่งไม่มีความแตกต่างระหว่างอัตราดอกเบี้ย (interest rates) เงินฝาก (bank deposits) ในสองประเทศ ในความเป็นจริงภาวะดุลยภาพนี้ไม่ได้เกิดขึ้นตลอดเวลาจึงมีโอกาสในการทำกำไรโดยปราศจากความเสี่ยงโดยการแสวงหาผลประโยชน์จากอัตราดอกเบี้ยโดยได้ป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน (covered interest arbitrage) สองสมมุติฐานหลักที่ทำให้เกิดความเสมอภาคของอัตราดอกเบี้ยได้ คือ การเคลื่อนย้ายของเงินทุน (capital mobility) และ การทดแทนกันได้โดยสมบรูณ์ (perfect substitutability) ของสินทรัพย์ (assets) ในประเทศและต่างประเทศ ที่ดุลยภาพของตลาดปริวรรตเงินตรา (foreign exchange market) ความเสมอภาคของอัตราดอกเบี้ยแสดงว่าผลตอบแทน (return) ที่คาดหวังจากสินทรัพย์ในประเทศจะเท่ากับผลตอบแทนที่คาดหวังจากสินทรัพย์ในต่างประเทศซึ่งปรับด้วยอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา (exchange rate) แล้ว นักลงทุนจึงไม่สามารถทำกำไรด้วยการทำอาร์บิทราจ (arbitrage) โดยการกู้ยืมเงินในประเทศซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยต่ำกว่า จากนั้นนำไปแลกเป็นเงินตราต่างประเทศ แล้วจึงนำไปลงทุนในต่างประเทศซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยที่สูงกว่าได้เนื่องจากผลกำไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยนกลับเป็นเงินสกุลท้ัองถิ่น ณ.เมื่อครบกำหนดไถ่ถอน (maturity) ความเสมอภาคของอัตราดอกเบี้ยมี 2 รูปแบบที่แตกต่างกัน 1.
ดู สหภาพยุโรปและความเสมอภาคของอัตราดอกเบี้ย
คณะกรรมาธิการยุโรป
ณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission, Europäische Kommission) เป็นองค์กรฝ่ายบริหารของสหภาพยุโรป รับผิดชอบการออกกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆของสหภาพยุโรป รวมไปถึงดำเนินกิจการต่างๆของสหภาพยุโรปให้เป็นไปอย่างเรียบร้อยในทุกๆวัน ก่อนเข้าปฏิบัติหน้าที่ สมาชิกคณะกรรมาธิการจะต้องให้สัตย์สาบานต่อศาลยุติธรรมแห่งยุโรปซึ่งตั้งอยู่ในลักเซมเบิร์ก ว่าจะเคารพซึ่งสนธิสัญญาต่างๆรวมถึงจะเป็นกรรมาธิการซึ่งมีอิสระในการตัดสินใจโดยไม่ขึ้นแก่ผู้ใดในระหว่างที่ดำรงตำแหน่ง คณะกรรมาธิการยุโรปปฏิบัติหน้าที่เสมือนคณะรัฐมนตรีซึ่งประกอบด้วยสมาชิก 28 คน(ที่เรียกว่า "กรรมาธิการ")จาก 28 ชาติสมาชิกสหภาพยุโรป แม้จะเป็นตัวแทนของแต่ละชาติ แต่กรรมาธิการจะต้องสาบานตนว่าจะดำรงตำแหน่งและปฏิบัติหน้าที่เพื่อพิทักษ์ซึ่งผลประโยชน์ของสหภาพยุโรป กระบวนการสรรหาคณะกรรมาธิการจะเริ่มที่คณะกรรมการยุโรป (European Council) เสนอชื่อบุคคลหนึ่งเพื่อให้รัฐสภายุโรปลงมติรับรองให้ดำรงตำแหน่งประธานกรรมาธิการ หลังจากนั้นคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรปจะเสนอชื่อกรรมาธิการอีก 27 คนให้ประธานกรรมาธิการพิจารณาเห็นชอบ หลังจากเห็นชอบแล้ว จึงเสนอชื่อกรรมาธิการทั้งคณะ 28 คนให้รัฐสภายุโรปลงมติรับรองอีกครั้งหนึ่ง เป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการสรรหา คณะกรรมาธิการยุโรปถือเป็นฝ่ายบริหารของสหภาพยุโรป มีเจ้าหน้าที่ในกำกับกว่า 23,000 คนซึ่งจะถูกแบ่งออกเป็นหลายกองที่เรียกว่า "กองอำนวยการ" (directorate-general) แต่ละกองมีผู้อำนวยการ (director-general) เป็นหัวหน้ากอง ทุกกองมีที่ทำการอยู่ในกรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม.
ดู สหภาพยุโรปและคณะกรรมาธิการยุโรป
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เป็นหน่วยงานระดับคณะ ในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เริ่มเปิดทำการเรียนการสอนเมื่อปี..
ดู สหภาพยุโรปและคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
คณะผู้แทนทางทูต
ณะผู้แทนทางทูต (diplomatic mission) หรือ คณะผู้แทนต่างชาติ (foreign mission) เป็นกลุ่มบุคคลจากรัฐหรือองค์การหนึ่ง (เรียกว่า ผู้ส่ง) ซึ่งไปอยู่ในอีกรัฐหนึ่ง (เรียกว่า ผู้รับ) เพื่อเป็นปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นทางการในรัฐผู้รับ แทนรัฐหรือองค์การผู้ส่ง ในทางปฏิบัติแล้ว คณะผู้แทนทางทูตมักได้แก่กลุ่มผู้แทนที่มาพำนักอยู่ในรัฐผู้รับ กลุ่มหลัก คือ คณะเอกอัครราชทูต (embassy) แต่สถานที่พำนักไม่จำเป็นต้องเป็นเมืองหลวงของรัฐผู้รับเสมอไป ส่วนคณะกงสุล (consulate) เป็นคณะผู้แทนทางทูตที่มีขนาดเล็กกว่าคณะเอกอัครราชทูต และมักตั้งอยู่นอกเมืองหลวง (แต่อาจตั้งอยู่ในเมืองหลวงได้ ถ้าไม่มีคณะเอกอัครราชทูตในเมืองหลวง) คณะผู้แทนถาวรซึ่งไม่พำนักอยู่ในรัฐผู้รับก็มี.
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูต
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศบังกลาเทศ
รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศบังกลาเทศในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศบังกลาเทศ
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศบาห์เรน
ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตบาห์เรน สถานทูตและสถานกงสุลบาห์เรนในต่างแดน.
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศบาห์เรน
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศฟิลิปปินส์
นทูตและสถานกงสุลฟิลิปปินส์ในประเทศต่าง.
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศฟิลิปปินส์
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศพม่า
ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตของพม่า สถานทูตพม่าในกรุงวอร์ชิงตัน สถานทูตและสถานกงสุลพม่าในประเทศต่าง.
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศพม่า
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศกัมพูชา
นทูตกัมพูชาในกรุงเบอร์ลิน สถานทูตกัมพูชาในกรุงวอร์ซอ สถานทูตกัมพูชาในกรุงปักกิ่ง สถานทูตและสถานกงสุลกัมพูชาในประเทศต่าง.
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศกัมพูชา
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศกาตาร์
ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตกาตาร์ รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศกาตาร์ในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศกาตาร์
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศญี่ปุ่น
ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตญี่ปุ่นประจำอยู่ รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศญี่ปุ่นในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศญี่ปุ่น
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศมองโกเลีย
ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตมองโกเลีย สถานทูตและสถานกงสุลมองโกเลียในต่างแดน.
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศมองโกเลีย
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศมาเลเซีย
ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตมาเลเซีย สถานทูต สถานกงสุล ฯลฯ มาเลเซียในต่างแดน.
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศมาเลเซีย
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศศรีลังกา
รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศศรีลังกาในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศศรีลังกา
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศสิงคโปร์
ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตของสิงคโปร์ สถานทูตและสถานกงสุลสิงคโปร์ในประเทศต่าง ๆ สิงคโปร์เปิดความสัมพันธ์ทางการทูตครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศสิงคโปร์
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศสเปน
ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตสเปน ประเทศสเปนเป็นประเทศหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ทางการทูตกว้างขวางเกือบทั่วโลก รายชื่อข้างล่างนี้คือสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของสเปนในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศสเปน
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศอาร์มีเนีย
ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตอาร์มีเนีย รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศอาร์มีเนียในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอาร์มีเนีย
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิตาลี
ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตอิตาลี รายชื่อข้างล่างคือสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศอิตาลีในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิตาลี
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์แดน
ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตจอร์แดน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของจอร์แดนในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์แดน
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์เจีย
ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตจอร์เจีย รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลของจอร์เจียในประเทศต่างๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์เจีย
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศจีน
ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตจีน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของสาธารณรัฐประชาชนจีนในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจีน
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศคีร์กีซสถาน
ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตคีร์กีซสถาน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลของคีร์กีซสถานในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศคีร์กีซสถาน
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศติมอร์-เลสเต
ประเทศที่มีคณะทูตประจำอยู่ สถานทูตและสถานกงสุลติมอร์-เลสเตในประเทศต่าง.
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศติมอร์-เลสเต
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศซาอุดีอาระเบีย
รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศซาอุดีอาระเบียในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศซาอุดีอาระเบีย
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศซีเรีย
รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศซีเรียในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศซีเรีย
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศปากีสถาน
ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตปากีสถาน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศปากีสถานในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศปากีสถาน
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศโปรตุเกส
ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตโปรตุเกส ประเทศโปรตุเกสเป็นประเทศหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ทางการทูตกว้างขวางเกือบทั่วโลก รายชื่อข้างล่างนี้คือสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของโปรตุเกสในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศโปรตุเกส
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศไทย
ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางทูตไทย สถานทูตและสถานกงสุลไทยในต่างแดน.
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศไทย
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศไซปรัส
ประเทศที่มีคณะทูตไซปรัสประจำอยู่ รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศไซปรัสในประเทศต่างๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศไซปรัส
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเกาหลีใต้
ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตเกาหลีใต้ รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของเกาหลีใต้ในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเกาหลีใต้
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเยเมน
ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตเยเมน สถานทูตและสถานกงสุลเยเมนในประเทศต่าง.
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเยเมน
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเลบานอน
ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตเลบานอน รายชื่อสถานทูตและสถานกงสุลเลบานอนในประเทศต่าง.
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเลบานอน
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเวียดนาม
ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตเวียดนาม สถานทูตและสถานกงสุลเวียดนามในต่างแดน.
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเวียดนาม
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเติร์กเมนิสถาน
ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตเติร์กเมนิสถาน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศเติร์กเมนิสถานในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเติร์กเมนิสถาน
คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเนปาล
รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศเนปาลในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).
ดู สหภาพยุโรปและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเนปาล
ตราแผ่นดินของออสเตรีย
ตราแผ่นดินของออสเตรีย รุ่นล่าสุดที่ปราศจากโซ่ที่ขาดออก เดิมถูกใช้โดยสาธารณรัฐออสเตรียที่หนึ่ง ตั้งแต่ปี ค.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและตราแผ่นดินของออสเตรีย
ซาโปนิน
รงสร้างทางเคมีของโซลานีน ซาโปนิน (saponin) เป็นสารกลุ่มไกลโคไซด์ที่มีสมบัติเป็นแอมฟิฟิล (amphiphile) สามารถละลายได้ทั้งในน้ำและไขมัน จะเกิดเป็นฟองเมื่อนำมาผสมกับสารละลายในน้ำ สารกลุ่มซาโปนินมักมีโครงสร้างเป็นไกลโคไซด์ชนิดไฮโดรฟิลิก (ละลายน้ำ) จับกับสารอนุพันธ์ไตรเทอร์พีนชนิดไลโพฟิลิก (ละลายในไขมัน).
ซูเปอร์แฟมิคอม
ซูเปอร์แฟมิคอม (Super Famicom) หรือ ซูเปอร์ฟามิคอม หรือชื่อที่วางจำหน่ายในสหรัฐอเมริกาคือ Super Nintendo Entertainment System (SNES) เป็นเครื่องเล่นวิดีโอเกมของบริษัทนินเทนโด ซูเปอร์แฟมิคอมเป็นเครื่องเล่นเกมรุ่นที่สองของนินเทนโด (นับเป็นเครื่องเล่นวิดีโอเกมยุคที่สี่) ถัดจากแฟมิคอมเครื่องซูเปอร์แฟมิคอมเป็นเครื่องเกมคอนโซลแบบ 16 บิทที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในยุคนั้น สามารถเอาชนะคู่แข่งอย่างเครื่องเมกะไดรฟ์ของเซก้าได้ แม้แต่หลังจากที่ยุคของเกม 16 บิทจะสิ้นสุดลงไปนานแล้ว เครื่องซูเปอร์แฟมิคอมก็ยังเป็นที่นิยมของนักสะสม และนักพัฒนาอีมูเลเตอร.
ดู สหภาพยุโรปและซูเปอร์แฟมิคอม
ปฏิกิริยาของนานาชาติต่อรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549
ปฏิกิริยาของนานาชาติต่อรัฐประหารในประเทศไท..
ดู สหภาพยุโรปและปฏิกิริยาของนานาชาติต่อรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549
ปฏิกูล
ปฏิกูล, ขยะ, ของเสีย หรือ ของทิ้ง (waste) หมายถึง สิ่งที่มนุษย์ไม่ต้องการและหมดประโยชน์แล้ว ปฏิกูลคือสสารใด ๆ ที่ถูกทิ้งหลังจากใช้งานหลัก ไม่มีค่า มีตำหนิ หรือใช้การไม่ได้แล้ว คำว่าปฏิกูล หรือขยะ มักจะเป็นอัตวิสัย (เนื่องจากปฏิกูลของคนคนหนึ่งอาจไม่จำเป็นต้องเป็นปฏิกูลของอีกคนหนึ่ง) และบางครั้งไม่เป็นที่ถูกต้องตามปรวิสัย (ตัวอย่างเช่น การส่งเศษโลหะไปยังหลุมฝังกลบปฏิกูลเป็นการจัดให้เป็นปฏิกูลที่ไม่ถูกต้อง เนื่องจากมันสามารถแปรใช้ใหม่ได้) ตัวอย่างปฏิกูลได้แก่ปฏิกูลจากชุมชน (ขยะจากบ้านเรือน) ปฏิกูลที่เป็นสารอันตราย น้ำเสีย (เช่น น้ำโสโครก ซึ่งประกอบด้วยของเสียจากร่างกาย (อุจจาระ และปัสสาวะ) และน้ำผิวดิน) ปฏิกูลกัมมันตรังสี และอื่น.
ปฏิญญาชูมาน
ปฏิญญาชูมาน เป็นปฏิญญาที่ประกาศเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม..
ประชาธิปไตยโดยตรง
การชุมนุมตามกระบวนการประชาธิปไตยโดยตรงที่เรียกว่า Landsgemeinde ในแคนทอนกลารุสปี พ.ศ. 2549 ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ประชาธิปไตยโดยตรง (direct democracy) หรือ ประชาธิปไตยบริสุทธิ์ (pure democracy.) เป็นการปกครองแบบประชาธิปไตย ที่ประชาชนตัดสินการริเริ่มออกกฎหมาย/นโยบายต่าง ๆ โดยตรง ไม่ว่าจะโดยออกเสียงลงคะแนนหรือลงประชามติเป็นต้น ซึ่งต่างจากรัฐประชาธิปไตยปัจจุบันโดยมากอันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน ที่ประชาชนออกเสียงเลือกผู้แทนเพื่อทำหน้าที่ริเริ่มแล้วออกเสียงตัดสินนโยบายอีกทอดหนึ่ง ในระบอบนี้ ประชาชนอาจมีอำนาจการตัดสินใจทางฝ่ายบริหาร ริเริ่มแล้วตัดสินการออกกฎหมายทางฝ่ายนิติบัญญัติ เลือกตั้งและถอดถอนเจ้าหน้าที่ และดำเนินการทางฝ่ายตุลาการ ประชาธิปไตยโดยตรงมีรูปแบบหลัก ๆ สองอย่างคือประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมและประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ.
ดู สหภาพยุโรปและประชาธิปไตยโดยตรง
ประชาธิปไตยเสรีนิยม
รัฐสภาของประเทศฟินแลนด์ (Eduskunta) - มีประเทศและอาณาเขตหลายแห่งที่เรียกได้ว่า มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปเป็นแห่งแรก รัฐ Grand Duchy of Finland (ก่อนจะเป็นประเทศฟินแลนด์) ได้มีตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและประชาธิปไตยเสรีนิยม
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส
ฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่เคยอยู่ใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันมาก่อน โดยรู้จักกันในชื่อของชนเผ่า หรือแคว้นกอล ซึ่งเป็นกลุ่มชนเผ่าขนาดใหญ่ที่พูดภาษาเคลท์ ในช่วงท้ายก่อนที่จักรวรรดิโรมันจะล่มสลายลง ดินแดนกอลถูกรุกรานจากทั้งการโจมตีของกลุ่มอนารยชนและการอพยพของกลุ่มคนเร่ร่อน โดยเฉพาะชาวแฟรงก์เชื้อสายเจอร์มานิค พระมหากษัตริย์แฟรงก์นามว่า โคลวิสที่ 1 ได้ทรงรวบรวมดินแดนส่วนมากของกอลภายใต้การปกครองของพระองค๋ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 นับเป็นจุดเริ่มต้นของอิทธิพลชาวแฟรงก์ในภูมิภาคนี้ที่ดำเนินต่อไปอีกหลายร้อยปี อำนาจของแฟรงก์ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดในช่วงของพระเจ้าชาร์เลอมาญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสยุคกลางก็ได้ถือกำเนิดขึ้นจากการเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งทางทิศตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงของชาร์เลอมาญ ซึ่งรู้จักกันในนาม ฟรังเกียตะวันตก และเพิ่มพูนอิทธิพลของตนขึ้นเรื่อยมาภายใต้การปกครองของตระกูลกาแปซึ่งก่อตั้งโดยอูก กาแปในปี..
ดู สหภาพยุโรปและประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส
ประวัติศาสตร์สเปน
ตราสัญลักษณ์ของประเทศสเปน โบสถ์ซานตามารีอาเดลนารังโก เมืองโอเบียโด ภาคเหนือ อารามหลวงเอลเอสโกเรียล กรุงมาดริด ภาคกลาง พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ เมืองบาเลนเซีย ภาคตะวันออก ปราสาทอาลัมบรา เมืองกรานาดา ภาคใต้ ประวัติศาสตร์สเปน คือเรื่องราวความเป็นมาเกี่ยวกับอาณาบริเวณส่วนใหญ่บนคาบสมุทรไอบีเรียในภูมิภาคยุโรปใต้ซึ่งมีพัฒนาการสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ผ่านยุครุ่งเรืองและยุคตกต่ำของจักรวรรดิสากลแห่งแรกของโลกจนกลายมาเป็นราชอาณาจักรสเปนในปัจจุบัน อันเป็นช่วงฟื้นฟูตนเองหลังสมัยการปกครองแบบเผด็จการของนายพลฟรังโกได้ผ่านพ้นไป มีอยู่หลายช่วงที่ประวัติศาสตร์การเมืองและการทหารของสเปนเต็มไปด้วยความวุ่นวายและความรุนแรง ส่วนใหญ่เกิดจากนโยบายและความพยายามที่จะจัดการกับความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา และความคิดความเชื่อในดินแดนของตนนั่นเอง มนุษย์สมัยใหม่เข้ามาในคาบสมุทรไอบีเรียเป็นเวลานานกว่า 35,000 ปีมาแล้ว ตามมาด้วยคลื่นผู้รุกรานและผู้ตั้งอาณานิคมชนชาติต่าง ๆ ได้แก่ ชาวเคลต์ ชาวฟินิเชีย ชาวคาร์เทจ และชาวกรีกตลอดระยะเวลานับพัน ๆ ปี เมื่อถึงประมาณ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทั้งคาบสมุทรจึงตกเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโรมัน ก่อนจะตกไปอยู่ภายใต้การปกครองจากชาววิซิกอท และในปี ค.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและประวัติศาสตร์สเปน
ประวัติศาสตร์ออสเตรีย
ตราแผ่นดินของออสเตรียปัจจุบัน ประวัติศาสตร์ออสเตรีย ในช่วงก่อนปลายศตวรรษที่ 8 ประเทศออสเตรียมีชนชาติอพยพต่าง ๆ อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐาน ได้แก่ ชนเผ่าเยอรมันที่ข้ามแม่น้ำดานูบลงมาทางตอนใต้ และชาวสลาฟที่อาศัยอยู่ทางตอนใต้ออสเตรีย จนสิ้นสุดศตวรรษที่ 8 ชาร์เลอมาญ (Charlemagne) ได้ก่อตั้งเขตชายแดนระหว่างแม่น้ำอินส์ แรบและดราวา เพื่อเป็นป้อมปราการ ป้องกันการรุกราน ของชาวเอวาร์ และภายหลังจากที่ชาวโรมันได้อพยพออกไป นักบวชชาวไอริชและสก็อตจึงได้เข้ามาเผยแพร่คริสต์ศาสนา ในดินแดนบริเวณเทือกเขาอัลไพน์แห่งนี้ ราชวงศ์บาเบนแบร์ก (Babenberg) ของชาวบาวาเรียนได้เข้าปกครองออสเตรียในปี..
ดู สหภาพยุโรปและประวัติศาสตร์ออสเตรีย
ประวัติศาสตร์เบลารุส
ประวัติศาสตร์เบลารุสเริ่มจากการตั้งถิ่นฐานของชาวสลาฟ เกิดเป็นราชอาณาจักร ภายหลังสวามิภักดิ์ต่อราชอาณาจักรเคียฟ ต่อมาถูกลิธัวเนียยึดครอง เมื่อประกาศเอกราชได้ไม่นานก็ถูกสหภาพโซเวียตเข้ายึดครองอีก ได้เป็นเอกราชอีกครั้งเมื่อสหภาพโซเวียตล่มสลายไป.
ดู สหภาพยุโรปและประวัติศาสตร์เบลารุส
ประวัติศาสตร์เยอรมนี (ค.ศ. 1945–1990)
กความพ่ายแพ้ของนาซีเยอรมนีในสงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีก็ได้ถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตก และเยอรมนีต้องเสียค่าปฏิกรรมสงครามโดยการเสียดินแดนทางตะวันออกของประเทศให้แก่โปแลนด์และสหภาพโซเวียต ในช่วงท้ายของสงครามมีชาวเยอรมนีพลัดถิ่นถึง 8,000,000 คน ส่วนใหญ่ถูกใช้แรงงานและเป็นนักโทษ มีประมาณ 400,000 คนรอบค่ายกักกันอันเข้มงวด ที่รอดชีวิตจากประชาชนจำนวนมากที่เสียชีวิตจากความอดอยาก สภาวะอันโหดเหี้ยม ฆาตกรรม หรือการทำงานที่หนักเกินไปจนมีอันตรายถึงแก่ชีวิต กว่า 10 ล้านผู้ลี้ภัยที่พูดภาษาเยอรมันได้เข้ามาในเยอรมนีจากประเทศอื่น ๆ ในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก ส่วนชาวเยอรมัน 9,000,000 คนถูกจับเป็นเชลยศึก และถูกใช้แรงงานเป็นเวลาหลายปีเพื่อให้ชดใช้ความเสียหายให้กับเยอรมนีที่แพ้สงคราม และอุปกรณ์อุตสาหกรรมบางชิ้นก็ถูกใช้เป็นค่าปฏิกรรมสงคราม ในช่วงสงครามเย็น เยอรมนีถูกแบ่งเป็น 2 ส่วน คือส่วนของฝ่ายสัมพันธมิตรทางฝั่งตะวันตก และส่วนของสหภาพโซเวียตทางฝั่งตะวันออก ส่วนรัฐบาลเยอรมนีได้เสียงเพียงเล็กๆ น้อยๆ เท่านั้น จนกระทั่ง ค.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและประวัติศาสตร์เยอรมนี (ค.ศ. 1945–1990)
ประเทศบังกลาเทศ
ังกลาเทศ (বাংলাদেশ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ (গণপ্রজাতন্ত্রী বাংলাদেশ) เป็นประเทศในเอเชียใต้ ซึ่งครอบครองเนื้อที่ในส่วนตะวันตกของภูมิภาคเบงกอล คำว่า "บังกลาเทศ (Bangladesh)" แปลว่า "ประเทศแห่งเบงกอล" ถูกล้อมรอบประเทศอินเดีย 3 ด้าน ยกเว้นพรมแดนด้านใต้ติดอ่าวเบงกอล และตะวันออกเฉียงใต้ติดประเทศพม.
ดู สหภาพยุโรปและประเทศบังกลาเทศ
ประเทศฟินแลนด์
ประเทศฟินแลนด์ (ซูโอมี) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐฟินแลนด์ เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป เขตแดนด้านตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลบอลติก ทางด้านใต้จรดอ่าวฟินแลนด์ ทางตะวันตกจรดอ่าวบอทเนีย ประเทศฟินแลนด์มีชายแดนติดกับประเทศสวีเดน นอร์เวย์ และรัสเซีย สำหรับหมู่เกาะโอลันด์ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้นั้น อยู่ภายใต้การปกครองของฟินแลนด์ แต่เป็นเขตปกครองตนเอง เคยถูกรัสเซียยึดครองและเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย ฟินแลนด์มีประชากรเพียง 5 ล้านคน ในพื้นที่ 338,145 ตารางกิโลเมตร นับว่ามีประชากรที่เบาบาง แต่มีดัชนีการพัฒนามนุษย์ตามสถิติของสหประชาชาติ พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและประเทศฟินแลนด์
ประเทศพม่า
ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..
ประเทศกรีซ
กรีซ (Greece; Ελλάδα, Elládha เอลาฑา หรือ Ελλάς, Ellás) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐเฮลเลนิก (Hellenic Republic; Ελληνική Δημοκρατία, Ellinikí Dhimokratía) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป ตอนใต้สุดของคาบสมุทรบอลข่าน มีพรมแดนทางเหนือติดกับประเทศบัลแกเรีย มาซิโดเนีย และแอลเบเนีย มีพรมแดนทางตะวันออกติดกับประเทศตุรกี อยู่ติดทะเลอีเจียนทางด้านตะวันออก ติดทะเลไอโอเนียนและทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านตะวันตกและใต้ กรีซนับว่าเป็นแหล่งอารยธรรมตะวันตกอันยิ่งใหญ่ และมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ซึ่งกรีซได้แผ่อิทธิพลไปยัง 3 ทวีป ชาวกรีกเรียกประเทศตัวเองว่า Hellas ซึ่งภาษากรีกในปัจจุบันออกเสียง ว่า Ellas โดยในการพูดทั่วไปจะใช้คำว่า Ellada และมักจะเรียกตัวเองว่า Hellenes แม้กระทั่งในภาษาอังกฤษ ซึ่งคำภาษาอังกฤษ "Greece" มาจากชื่อละตินว่า Graecia หมายถึงพื้นที่ทางเหนือของกรีซในปัจจุบัน ซึ่งมีกลุ่มคนที่เรียกว่า Graikos อาศัยอยู.
ประเทศฝรั่งเศส
ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.
ดู สหภาพยุโรปและประเทศฝรั่งเศส
ประเทศมอลตา
มอลตา (Malta) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมอลตา (Repubblika ta' Malta) เป็นประเทศที่เป็นเกาะขนาดเล็กสองเกาะในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แต่มีประชากรหนาแน่น (1,262 คน ต่อตารางกิโลเมตร) มีประชากรทั้งหมด (ล่าสุด พ.ศ.
ประเทศมอนเตเนโกร
มอนเตเนโกร (Montenegro ออกเสียง:; มอนเตเนโกร: มีความหมายว่า "ภูเขาสีดำ") เป็นประเทศเอกราชซึ่งตั้งอยู่ในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตจรดทะเลเอเดรียติกและโครเอเชียทางทิศตะวันตก จรดบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาทางทิศเหนือ จรดเซอร์เบียทางทิศตะวันออก และจรดแอลเบเนียทางทิศใต้ มีพอดกอรีตซาเป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ ในอดีต มอนเตเนโกรมีสถานะเป็นสาธารณรัฐในสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย และต่อมาได้เป็นส่วนหนึ่งในสหภาพการเมืองของเซอร์เบีย-มอนเตเนโกร หลังจากมีการลงประชามติเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและประเทศมอนเตเนโกร
ประเทศรัสเซีย
รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..
ประเทศลักเซมเบิร์ก
ลักเซมเบิร์ก (Luxembourg; ลักเซมเบิร์ก: Lëtzebuerg; Luxembourg; Luxemburg) หรือชื่อทางการคือ ราชรัฐลักเซมเบิร์ก (Grand Duchy of Luxembourg; ลักเซมเบิร์ก: Groussherzogtum Lëtzebuerg; Grand-Duché de Luxembourg; Großherzogtum Luxemburg) เป็นนครรัฐที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป มีพรมแดนด้านตะวันออกติดกับประเทศเยอรมนี ด้านใต้ติดกับฝรั่งเศส และด้านตะวันตกติดกับเบลเยียม.
ดู สหภาพยุโรปและประเทศลักเซมเบิร์ก
ประเทศลิกเตนสไตน์
ลิกเตนสไตน์ (Liechtenstein) หรือชื่ออย่างเป็นทางการ ราชรัฐลิกเตนสไตน์ (Fürstentum Liechtenstein) เป็นประเทศเล็กๆที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในทวีปยุโรปกลาง มีพรมแดนด้านตะวันออกติดกับประเทศออสเตรีย และด้านตะวันตกติดกับสวิตเซอร์แลนด์ ถึงแม้ประเทศนี้จะมีขนาดเล็ก และเต็มไปด้วยภูเขาสูง แต่ก็มีสถานที่ท่องเที่ยวมากมาย นอกจากนี้ลิกเตนสไตน์ยังเป็นที่นิยมของนักเล่นกีฬาฤดูหนาว และยังมีชื่อเสียงในฐานะเป็นประเทศที่เก็บภาษีต่ำมากประเทศหนึ่ง.
ดู สหภาพยุโรปและประเทศลิกเตนสไตน์
ประเทศลิทัวเนีย
ลิทัวเนีย (Lithuania; Lietuva เลฺยียทุวะ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐลิทัวเนีย (Republic of Lithuania; Lietuvos Respublika) ตั้งอยู่กลางทวีปยุโรป ทางฝั่งตะวันออกของทะเลบอลติก ทิศเหนือจรดลัตเวีย ทิศตะวันออกและทิศใตัจรดเบลารุส และทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดโปแลนด์และรัสเซีย (แคว้นคาลินินกราด) เคยเป็นส่วนหนึ่งของประเทศรัสเซี.
ดู สหภาพยุโรปและประเทศลิทัวเนีย
ประเทศสกอตแลนด์
กอตแลนด์ (Scotland; Alba อาละเปอะ) เป็นชาติของชนชาวสก็อตและเป็นส่วนหนึ่งของประเทศสหราชอาณาจักร โดยครอบคลุมพื้นที่หนึ่งในสามทางตอนเหนือของเกาะบริเตนใหญ่ มีพรมแดนร่วมกับประเทศอังกฤษทางทิศใต้ ส่วนที่เหลือล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเป็นทะเลเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต้จดช่องแคบเหนือและทะเลไอร์แลนด์ นอกเหนือจากแผ่นดินใหญ่แล้ว ประเทศสกอตแลนด์ยังมีเกาะอีกกว่า 790 เกาะ เอดินบะระ เมืองหลวงและนครใหญ่ที่สุดอันดับสองของประเทศ เป็นศูนย์กลางยุคเรืองปัญญาของชาวสกอตในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเปลี่ยนสกอตแลนด์มาเป็นมหาอำนาจทางพาณิชย์ ทางการศึกษา และทางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งของทวีปยุโรป ฯ กลาสโกว์ นครใหญ่สุดของสกอตแลนด์ เคยเป็นนครอุตสาหกรรมชั้นนำของโลกและปัจจุบันเป็นศูนย์กลางของเขตเมืองขยายเกรตเตอร์กลาสโกว์ น่านน้ำสกอตแลนด์ประกอบด้วยทะเลแอตแลนติกเหนือและทะเลเหนือ ซึ่งมีปริมาณน้ำมันสำรองใหญ่สุดในสหภาพยุโรป ทำให้เมืองแอเบอร์ดีน นครใหญ่สุดอันดับสามในสกอตแลนด์ ได้ชื่อว่าเป็นเมืองหลวงน้ำมันของทวีปยุโรป เดิมราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นประเทศอิสระที่ไม่ขึ้นกับประเทศอังกฤษจนถึง..
ดู สหภาพยุโรปและประเทศสกอตแลนด์
ประเทศสวีเดน
วีเดน (Sweden; สฺแวรฺแย) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรสวีเดน (Kingdom of Sweden) เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิกตั้งอยู่บนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ในยุโรปเหนือ เขตแดนทางตะวันตกจรดประเทศนอร์เวย์ ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศฟินแลนด์ และช่องแคบ สแกเกอร์แรก (Skagerrak) ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดช่องแคบแคทีแกต (Kattegat) และทางตะวันออกจรดทะเลบอลติก และอ่าวบอทเนีย มีกรุงสต็อกโฮล์มเป็นเมืองหลวง ประเทศสวีเดนมีประชากรที่เบาบาง เว้นแต่ในเขตเมืองใหญ่ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศประกอบด้วยป่าไม้ และภูเขาสูง หลังจากสิ้นสุดยุคไวกิง สวีเดนกลายเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพคาลมาร์ ร่วมกับเดนมาร์กและนอร์เวย์ (ในช่วงเวลานี้ ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสวีเดน) สวีเดนได้ออกจากสหภาพในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และได้รบสู้กับประเทศเพื่อนบ้านเป็นเวลาหลายปี โดยเฉพาะรัสเซีย และเดนมาร์กกับนอร์เวย์ที่ยังเป็นสหภาพอยู่ ซึ่งไม่ยอมรับการที่สวีเดนออกจากสหภาพ ในคริสศตวรรษที่ 17 สวีเดนได้ขยายเขตด้วยสงครามและกลายเป็นมหาอำนาจด้วยขนาด 2 เท่าของปัจจุบัน ถึง..
ประเทศสโลวาเกีย
ลวาเกีย (Slovakia; Slovensko) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสโลวัก (Slovak Republic; Slovenská republika) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางตะวันตกเฉียงเหนือติดต่อกับเช็กเกีย ทางเหนือติดต่อกับโปแลนด์ ทางตะวันออกติดต่อกับยูเครน ทางใต้ติดต่อกับฮังการี และทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับออสเตรีย เมืองใหญ่ที่สุดของประเทศคือเมืองหลวงบราติสลาวา ปัจจุบันสโลวาเกียเป็นรัฐสมาชิกรัฐหนึ่งของสหภาพยุโรป และได้เปลี่ยนสกุลเงินของประเทศจากกอรูนาสโลวักมาเป็นยูโรเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและประเทศสโลวาเกีย
ประเทศสโลวีเนีย
ประเทศสโลวีเนีย (Slovenia; Slovenija) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐสโลวีเนีย (Slovene:, abbr.: RS) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในยุโรปกลาง ซึ่งเป็นเส้นทางการค้าและแหล่งวัฒนธรรมหลักของทวีปยุโรป มีอาณาเขตทางตะวันตกจรดอิตาลี ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลเอเดรียติก ทางใต้และตะวันออกจรดโครเอเชีย ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดฮังการีและทางเหนือจรดออสเตรีย มีพื้นที่ประมาณ 20,273 ตารางกิโลเมตรและมีประชากร 2.06 ล้านคน สโลวีเนียเป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภาและเป็นสมาชิกของสหประชาชาติ สหภาพยุโรปและเนโท เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดคือลูบลิยานา พื้นที่ส่วนใหญ่ของสโลวีเนียเป็นภูเขาและมีลักษณะอากาศแบบภูมิอากาศภาคพื้นทวีปหลัก ยกเว้นภูมิภาคชายฝั่งจะมีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนและภูมิภาคตะวันตกเฉียงเหนือซึ่งมีภูมิอากาศแบบเทือกเขาแอลป์ นอกจากนี้ไดนาริกแอลป์และที่ราบพันโนเนียก็พอได้ในสโลวีเนียเช่นกัน สโลวีเนียเป็นหนึ่งประเทศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพเป็นหนึ่งในพื้นที่ ๆ มีแหล่งน้ำอุดมสมบูรณ์มากในยุโรป ทั้งแม่น้ำจำนวนมาก ชั้นหินอุ้มน้ำและแหล่งธารน้ำใต้ดิน สโลวีเรียมีป่าปกคลุมมากกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศ ส่วนการตั้งถิ่นฐานของประชากรก็จะกระจักกระจายกันไป ประวัติศาสตร์สโลวีเนียได้รับทั้งวัฒนธรรมและภาษาจากสลาวิกตะวันตก สลาวิกใต้ เจอร์แมนิก โรมานซ์และฮังกาเรียน ถึงแม้ประชากรในประเทศจะไม่ได้เป็นเอกพันธุ์เดียวกันแต่ส่วนใหญ่เป็นชาวสโลวีน ภาษาสโลวีเนียซึ่งเป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาสลาวิกใต้เป็นภาษาราชการของประเทศ ประชากรส่วนใหญ่ในประเทศไม่นับถือศาสนาอย่างแท้จริง แต่วัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของประเทศได้รับอิทธิพลจากโรมันคาทอลิกและลูเทอแรน เศรษฐกิจของประเทศสโลเวเนียเป็นแบบเปิดขนาดเล็กและเป็นอุตสาหกรรมมุ่งการส่งออก ที่ได้รับอิทธิพลจากต่างประเทศ และได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากวิกฤติหนี้สาธารณะยุโรปที่เริ่มช่วงปลายยุค 2000 เศรษฐกิจหลักคืออุตสาหกรรมบริการตามด้วยอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมการก่อสร้าง ในอดีตพื้นที่ของสโลเวเนียเป็นส่วนหนึ่งของรัฐที่แตกต่างกันหลายแห่งทั้งจักรวรรดิโรมัน จักรวรรดิไบแซนไทน์ จักรวรรดิการอแล็งเฌียง จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ปกครองโดยราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค สาธารณรัฐเวนิส จังหวัดอิลลิเรียของนโปเลียนที่ 1ที่ปกครองโดยฝรั่งเศส จักรวรรดิออสเตรียและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ในเดือนตุลาคม..
ดู สหภาพยุโรปและประเทศสโลวีเนีย
ประเทศอิตาลี
อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.
ประเทศอุซเบกิสถาน
อุซเบกิสถาน (Uzbekistan; O'zbekiston) หรือชื่ออย่างเป็นทางการก็คือ สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน (Republic of Uzbekistan; O‘zbekiston Respublikasi) เป็นประเทศในทวีปเอเชียกลางที่ถูกล้อมรอบด้วยประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตติดกับประเทศอัฟกานิสถานในทวีปเอเชียใต้ ประเทศคาซัคสถาน คีร์กีซสถาน ทาจิกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลอารัล อุซเบกิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.
ดู สหภาพยุโรปและประเทศอุซเบกิสถาน
ประเทศอียิปต์
รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.
ประเทศฮังการี
ังการี (Hungary, Magyarország มอยอโรรฺซาก) เป็นประเทศในภูมิภาคยุโรปกลางที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตทิศเหนือจรดประเทศสโลวาเกีย ทิศตะวันออกจรดประเทศโรมาเนียและประเทศยูเครน ทิศใต้จรดประเทศเซอร์เบียและประเทศโครเอเชีย ทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศสโลวีเนียและทิศตะวันตกจรดประเทศออสเตรีย เมืองที่ใหญ่ที่สุดและเป็นเมืองหลวงของประเทศคือเมืองบูดาเปสต์ ชื่อประเทศฮังการีในภาษาฮังการี แปลว่า "ประเทศของชาวม็อดยอร์" (Country of the Magyars) ประเทศฮังการีมีพื้นที่ 93,030 ตารางกิโลเมตร ซึ่งมีอาณาเขตเพียงร้อยละ 28 ของพื้นที่ราชอาณาจักรฮังการีเดิมก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยพื้นที่ปัจจุบันนับเป็นอันดับที่ 110 ของโลก โดยมีลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบในที่ราบพันโนเนีย และมีประชากร 9,919,128 คน นับเป็นอันดับที่ 90 ของโลก ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวม็อดยอร์ ใช้ภาษาฮังการีเป็นภาษาราชการซึ่งเป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฟินแลนด์ และภาษามอลต.
ประเทศคอซอวอ
อซอวอ (Косово, Kosovo; Kosovë, Kosova) เป็นภูมิภาคหนึ่งในคาบสมุทรบอลข่าน ติดกับประเทศเซอร์เบียทางทิศเหนือ มอนเตเนโกรทางตะวันตก แอลเบเนียและสาธารณรัฐมาซิโดเนียทางใต้ ไม่มีทางออกสู่ทะเล คอซอวอได้ประกาศเป็นรัฐเอกราชแบบเอกภาคีในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ประเทศซานมารีโน
ซานมารีโน หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซานมารีโน และอีกชื่อหนึ่งคือ "'สาธารณรัฐอันสงบสุขยิ่งซานมารีโน"' เป็นประเทศในยุโรปใต้บนเทือกเขาแอเพนไนน์ ล้อมรอบโดยประเทศอิตาลี เป็นหนึ่งในจุลรัฐยุโรป.
ดู สหภาพยุโรปและประเทศซานมารีโน
ประเทศนอร์เวย์
นอร์เวย์ (Norway; Norge; Noreg) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (Kingdom of Norway; Kongeriket Norge; Kongeriket Noreg) เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ในยุโรปเหนือ ส่วนตะวันตกของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย มีอาณาเขตจรดประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และรัสเซีย และมีอาณาเขตทางทะเลจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ใกล้กับประเทศเดนมาร์กและสหราชอาณาจักร นอร์เวย์เป็นประเทศที่มีชายฝั่งยาวและเป็นที่ตั้งของฟยอร์ดที่มีชื่อเสียง ดินแดนหมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ สฟาลบาร์และยานไมเอน ต่างก็อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของนอร์เวย์และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร ในขณะที่เกาะบูแวในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ และเกาะปีเตอร์ที่ 1 ในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้นั้น มีฐานะเป็นอาณานิคมของนอร์เวย์เท่านั้น ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร นอกจากนี้ นอร์เวย์ยังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดรอนนิงมอดแลนด์ในทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยอีกด้ว.
ดู สหภาพยุโรปและประเทศนอร์เวย์
ประเทศโรมาเนีย
รมาเนีย (Romania; România) แต่ก่อนเรียกว่า รูมาเนีย (Rumania หรือ Roumania) เป็นประเทศในทวีปยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตทิศตะวันออกเฉียงเหนือจดประเทศยูเครนและประเทศมอลโดวา ทิศตะวันตกจดประเทศฮังการีและประเทศเซอร์เบีย ทิศใต้จดประเทศบัลแกเรีย โรมาเนียมีชายฝั่งบนทะเลดำด้ว.
ดู สหภาพยุโรปและประเทศโรมาเนีย
ประเทศโครเอเชีย
รเอเชีย (Croatia; Hrvatska) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโครเอเชีย (Republic of Croatia; Republika Hrvatska) เป็นประเทศรูปเสี้ยววงเดือนในยุโรปที่มีอาณาเขตจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปกลาง และบอลข่าน เมืองหลวงชื่อซาเกร็บ ในประวัติศาสตร์ปัจจุบัน โครเอเชียเคยเป็นสาธารณรัฐในยูโกสลาเวียเดิม แต่ได้รับเอกราชในพ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและประเทศโครเอเชีย
ประเทศโปรตุเกส
ปราสาทแห่งกีมารานช์ (Castle of Guimarães) ที่ถูกสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของประเทศโปรตุเกส เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ต้นกำเนิดของโปรตุเกส" ศึกแห่งเซามาเมเด (São Mamede) เกิดขึ้นใกล้ๆ กับที่นี่ในปี พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและประเทศโปรตุเกส
ประเทศไอร์แลนด์
อร์แลนด์ (Ireland, หรือ; Éire เอเหรอะ) คำบรรยายระบอบการปกครองของประเทศนี้ (ไม่ใช่ชื่อทางการ) คือ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ (Republic of Ireland; Poblacht na hÉireann) นับเป็นสมาชิกที่อยู่ไกลสุดทางตะวันตกของสหภาพยุโรป มีประชากร 4 ล้านกว่าคน เป็นประเทศบนเกาะไอร์แลนด์ อยู่ห่างจากทวีปยุโรปไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ โดยครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 5 ใน 6 ของเกาะดังกล่าว (ส่วนที่เหลืออีก 1 ใน 6 ของเกาะไอร์แลนด์ เรียกว่า ไอร์แลนด์เหนือ เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ) ในการแข่งขันรักบี้ระดับนานาชาติ นักกีฬาจากทั้งสาธารณรัฐไอร์แลนด์ และแคว้นไอร์แลนด์เหนือ จะเข้าร่วมในทีมเดียวกัน ในชื่อทีมสหพันธ์รักบี้ไอร์แลนด์ นอกจากนี้ไอร์แลนด์เป็นอีกประเทศหนึ่งที่ใช้เงินยูโร.
ดู สหภาพยุโรปและประเทศไอร์แลนด์
ประเทศไอซ์แลนด์
อซ์แลนด์ (Iceland; อิสตลันต์) เป็นประเทศนอร์ดิกในยุโรปเหนือ ตั้งอยู่บนเกาะในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ระหว่างกรีนแลนด์ นอร์เวย์ และสหราชอาณาจักร มีเมืองหลวงคือเรคยาวิก ไอซ์แลนด์มีประชากรประมาณสามแสนคน มีพื้นที่ประเทศรวม 102,775 ตารางกิโลเมตร เรียกข้อมูลวันที่ 2008-03-03 นับว่ามีประชากรเบาบาง จากดัชนีการพัฒนามนุษย์ ปี..
ดู สหภาพยุโรปและประเทศไอซ์แลนด์
ประเทศไทยใน พ.ศ. 2547
หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2547 ในประเทศไท.
ดู สหภาพยุโรปและประเทศไทยใน พ.ศ. 2547
ประเทศไต้หวัน
ประเทศไต้หวัน (Taiwan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในทวีปเอเชียตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน (金門), ไต้หวัน, เผิงหู (澎湖), หมาจู่ (馬祖), และอูชิว (烏坵) กับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" (臺灣地區) ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง ส่วนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคชาตินิยม (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยม (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็นอันดับที่ 19 ของโลก อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูงด้วยhttp://www.dgbas.gov.tw/public/Data/366166371.pdf.
ประเทศไซปรัส
ซปรัส (Cyprus; Κύπρος คีโปรส; Kıbrıs) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐไซปรัส (Republic of Cyprus; Κυπριακή Δημοκρατία; Kıbrıs Cumhuriyeti) เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางตะวันออก อยู่ทางใต้ของประเทศตุรกี 44 ไมล์ อยู่ทางตะวันตกของชายฝั่งประเทศซีเรียประมาณ 64 ไมล์ และห่างจากเกาะโรดส์ และเกาะคาร์ปาทอส ทางตะวันออกเฉียงใต้ของกรีซ 240 ไมล์ ไซปรัสเป็นจุดหมายหนึ่งในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่นักท่องเที่ยวนิยมไปมากที่สุด โดยมีจำนวนนักท่องเที่ยวประมาณ 2.4 ล้านคนต่อปี ไซปรัสได้รับเอกราชจากการเป็นอาณานิคมจากสหราชอาณาจักร เมื่อปี 1960 และเป็นประเทศสมาชิกในเครือจักรภพในปี 1961.
ประเทศเบลเยียม
ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.
ดู สหภาพยุโรปและประเทศเบลเยียม
ประเทศเช็กเกีย
็กเกีย (Czechia; Česko) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐเช็ก (Czech Republic; Česká republika) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล อยู่ในภูมิภาคยุโรปกลาง พรมแดนทางตอนเหนือจรดประเทศโปแลนด์ ทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงเหนือจรดเยอรมนี ทางใต้จรดออสเตรีย และทางตะวันออกจรดสโลวาเกีย เช็กเกียประกอบด้วยภูมิภาคที่เก่าแก่สองส่วน คือ โบฮีเมียและมอเรเวีย และส่วนหนึ่งของภูมิภาคที่สาม เรียกว่า ไซลีเซีย ประเทศนี้ได้เข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและประเทศเช็กเกีย
ประเทศเยอรมนี
ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.
ประเทศเอสโตเนีย
อสโตเนีย (Estonia; Eesti) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเอสโตเนีย (Republic of Estonia; Eesti Vabariik) เป็นรัฐอธิปไตยในภูมิภาคบอลติก ในยุโรปเหนือ มีอาณาเขตทางทิศเหนือติดกับอ่าวฟินแลนด์ ทิศตะวันตกติดกับทะเลบอลติก มีพรมแดนทางทิศใต้ติดกับประเทศลัตเวีย (ระยะทาง 343 กิโลเมตร) และทางทิศตะวันออกติดกับประเทศรัสเซีย (ระยะทาง 338.6 กิโลเมตร) เอสโตเนียมีพื้นที่ 45,227 ตารางกิโลเมตร (17,462 ตารางไมล์) (อันดับที่ 131 ของโลก) ประเทศเอสโตเนียปกครองด้วยระบอบสาธารณรัฐประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขและมีการแบ่งเขตการปกครองออกเป็นเทศมณฑลจำนวน 15 เทศมณฑล โดยมีเมืองหลวงชื่อว่า ทาลลินน์ โดยเอสโตเนียมีจำนวนประชากรของประเทศที่น้อยที่สุดในประเทศสมาชิกของสหภาพยุโรป เอสโตเนียประกาศเอกราชครั้งแรกในปีพ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและประเทศเอสโตเนีย
ประเทศเดนมาร์ก
นมาร์ก (Denmark; แดนมาก) (Danmark) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรเดนมาร์ก เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิก มีแผ่นดินหลักตั้งอยู่บนคาบสมุทรจัตแลนด์ ทางทิศเหนือของประเทศเยอรมนี ซึ่งเป็นเพื่อนบ้านทางบกเพียงประเทศเดียว ทางทิศใต้ของประเทศนอร์เวย์ และตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศสวีเดน มีพรมแดนจรดทะเลเหนือและทะเลบอลติก เดนมาร์กมีดินแดนนอกชายฝั่งห่างไกลออกไปสองแห่ง คือหมู่เกาะแฟโรและกรีนแลนด์ ซึ่งแต่ละแห่งมีอำนาจปกครองตนเอง เดนมาร์กเป็นประเทศองค์ประกอบที่มีการปกครองระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรป แต่ยังไม่เข้าร่วมใช้สกุลเงินยูโร เดนมาร์กเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ.
ดู สหภาพยุโรปและประเทศเดนมาร์ก
ประเทศเซาท์ซูดาน
ซาท์ซูดาน (South Sudan) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐเซาท์ซูดาน (Republic of South Sudan) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออก เมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดมีชื่อว่า จูบา ซึ่งตั้งอยู่ในรัฐอิเควทอเรียลกลางที่อยู่ทางตอนใต้ของประเทศ เซาท์ซูดานเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ทางตะวันออกมีอาณาเขตติดต่อกับเอธิโอเปีย ทางใต้ติดต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ทางตะวันตกติดต่อกับสาธารณรัฐแอฟริกากลาง และทางเหนือติดต่อกับซูดาน พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นบึงตมซึ่งเกิดขึ้นจากแม่น้ำไนล์ขาว หลังจากซูดานได้รับเอกราชเมื่อปี..
ดู สหภาพยุโรปและประเทศเซาท์ซูดาน
ประเทศเนเธอร์แลนด์
นเธอร์แลนด์ (Nederland เนเดอร์ลอนต์; Netherlands) หรือที่มักเรียกกันว่า ฮอลแลนด์ (Holland) หรือ ฮอลันดา หรือ วิลันดา เป็นประเทศองค์ประกอบ (constituent country) ของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ประกอบด้วยสิบสองจังหวัดในยุโรปตะวันตก และสามเกาะในแคริบเบียน เนเธอร์แลนด์ส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรปมีอาณาเขตทิศเหนือและตะวันตกจดทะเลเหนือ ทิศใต้จดประเทศเบลเยียม และทิศตะวันออกจดประเทศเยอรมนี และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับเบลเยียม เยอรมนีและสหราชอาณาจักร ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศแรก ๆ ของโลกที่มีรัฐสภาจากการเลือกตั้ง และปกครองด้วยประชาธิปไตยระบบรัฐสภา จัดระเบียบเป็นรัฐเดี่ยว เมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ คือ อัมสเตอร์ดัม ทว่า ที่ทำการรัฐบาลตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ทั้งหมดมักเรียกว่า "ฮอลแลนด์" ซึ่งในการใช้อย่างเข้มงวดจะหมายความถึงจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์และเซาท์ฮอลแลนด์เท่านั้น ถือกันว่าการใช้แบบแรกนั้นไม่ถูกต้อง หรือไม่เป็นทางการ ขึ้นอยู่กับบริบท ทว่า เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปเมื่อหมายถึงฟุตบอลทีมชาติ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศที่มีพื้นที่ต่ำ โดย 20% ของพื้นที่อยู่ และ 21% ของประชากรอาศัยอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล และ 50% ของพื้นที่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลไม่เกินหนึ่งเมตร ซึ่งลักษณะเด่นนี้เป็นที่มาของชื่อประเทศ ในภาษาดัตช์ อังกฤษและภาษาอื่นของยุโรปอีกหลายภาษา ชื่อประเทศหมายถึง "แผ่นดินต่ำ" หรือ "กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ" พื้นที่ส่วนใหญ่ที่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลเกิดจากฝีมือมนุษย์ ซึ่งเกิดจากการสกัดพีต (peat) อย่างกว้างขวางและมีการควบคุมไม่ดีหลายศตวรรษทำให้พื้นผิวต่ำลงหลายเมตร แม้ในพื้นที่น้ำท่วมถึง การสกัดพีตยังดำเนินต่อไปโดยการขุดลอกพื้นที่ ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 เริ่มมีการฟื้นสภาพที่ดินและปัจจุบันมีการสงวนพื้นที่โพลเดอร์ (polder) ขนาดใหญ่ด้วยระบบการระบายน้ำที่ซับซ้อนซึ่งมีทั้งพนัง คลองและสถานีสูบ พื้นที่เกือบ 17% ของประเทศเป็นพื้นที่ที่เกิดจากการถมทะเล พื้นที่บริเวณกว้างของเนเธอร์แลนด์เกิดจากชะวากทะเลของแม่น้ำสำคัญของทวีปยุโรปสามสายและลำน้ำแตกสาขาเกิดเป็นสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไรน์–เมิซ–ซเกลดะ (Rhine–Meuse–Scheldt delta) พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นที่ราบ ยกเว้นเนินเขาทางตะวันออกเฉียงใต้และเทือกเขาเตี้ย ๆ หลายเทือกทางตอนกลาง ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป จี-10 นาโต้ องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) องค์การการค้าโลก และเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพเศรษฐกิจไตรภาคีเบเนลักซ์ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นที่ตั้งขององค์การห้ามอาวุธเคมี และศาลระหว่างประเทศห้าศาล ได้แก่ ศาลอนุญาโตตุลาการถาวร ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ศาลอาญาระหว่างประเทศ คณะตุลาการอาญาระหว่างประเทศสำหรับอดีตยูโกสลาเวียและคณะตุลาการพิเศษสำหรับเลบานอน สี่ศาลแรกตั้งอยู่ในกรุงเฮก เช่นเดียวกับยูโรโปล สำนักข่าวกรองอาชญากรรมของสหภาพยุโรป และยูโรจัสต์ สำนักความร่วมมือทางตุลาการ ทำให้กรุงเฮกได้รับสมญาว่า "เมืองหลวงกฎหมายโลก" ประเทศเนเธอร์แลนด์ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมอิงตลาด โดยอยู่ในอันดับที่ 17 จาก 177 ประเทศในดัชนีเสรีภาพทางเศรษฐกิจ ในปี 2554 เป็นประเทศที่มีรายได้ต่อหัวสูงสุดเป็นอันดับที่ 10 ของโลก ในเดือนพฤษภาคม ปีเดียวกัน OECD จัดให้เนเธอร์แลนด์เป็นประเทศ "ที่มีความสุขที่สุด" ในโลก ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการครองชีพที่สูง.
ดู สหภาพยุโรปและประเทศเนเธอร์แลนด์
ปรากฏการณ์รังผึ้งล่มสลาย
ปรากฏการณ์รังผึ้งล่มสลาย (colony collapse disorder, ย่อ: CCD) เป็นปรากฏการณ์ที่ผึ้งงานจากรังหรือนิคมผึ้งพันธุ์ (Western honey bee) หายไปอย่างฉับพลัน การหายไปดังกล่าวเกิดขึ้นตลอดประวัติศาสตร์การเลี้ยงผึ้ง และรู้จักกันในหลายชื่อ ก่อนจะเปลี่ยนมาใช้ชื่อ "colony collapse disorder" ในปลายปี 2549 พร้อมกับการหายไปของนิคมผึ้งพันธุ์ที่เพิ่มขึ้นมากในขณะนั้น ผู้เลี้ยงผึ้งสังเกตปรากฏการณ์ที่คล้ายกันในเบลเยียม ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ กรีซ อิตาลี โปรตุเกสและสเปนGaëlle Dupont,, Le Monde, 29 August 2007.
ดู สหภาพยุโรปและปรากฏการณ์รังผึ้งล่มสลาย
ปีเตอร์ ซุนเด
ปีเตอร์ ซุนเด โกลมิซอปปิ (Peter Sunde Kolmisoppi) เกิด 13 กันยายน พ.ศ. 2521 นามแฝง โบรค เป็น นักการเมือง ผู้เชี่ยวชาญคอมพิวเตอร์ และโฆษก ที่มีต้นตระกูลจากประเทศนอร์เวย์และประเทศฟินแลนด์ เขาเป็นที่รู้จักในฐานะผู้ร่วมก่อตั้งและอดีตโฆษกของเว็ปไซต์เดอะไพเรตเบย์ ซึ่งเป็นเสิร์ชเอนจินบิตทอร์เรนต์ เขาเป็นผู้สนับสนุนความเท่าเทียมและแสดงความกัลวลเกี่ยวกับการรวมตัวของอำนาจในสหภาพยุโรปในบล็อกของเขา ซุนเดได้เข้าร่วม พรรคไพเรตแห่งประเทศฟินแลนด์ (Pirate Party of Finland) อีกด้ว.
นักวิทยุสมัครเล่น
"นักวิทยุสมัครเล่น" ภาษาอังกฤษเรียกว่า "amateur radio operator" หมายถึงบุคคลที่ได้รับใบอนุญาตการเป็นนักวิทยุสมัครเล่นจากรัฐบาลหรือจากผู้ที่มีอำนาจของแต่ละประเทศ นักวิทยุสมัครเล่นจะใช้อุปกรณ์ต่างๆ ในสถานีของนักวิทยุสมัครเล่นสำหรับติดต่อสื่อสารระหว่างนักวิทยุสมัครเล่นที่ได้รับอนุญาตเช่นเดียวกัน รวมทั้งใช้ความถี่ที่กำหนดให้เฉพาะกิจการวิทยุสมัครเล่นเท่านั้น ซึ่งการใช้งานจะต้องเป็นตามเงื่อนไขที่ได้รับอนุญาต นักวิทยุสมัครเล่นจะได้รับการกำหนดสัญญาณเรียกขาน เพื่อระบุตัวตนในการติดต่อสื่อสาร ปัจจุบันมีนักวิทยุสมัครเล่นทั่วโลกประมาณ 3 ล้านคน นักวิทยุสมัครเล่นมักเรียกตัวเองว่า "ham" สำหรับที่มาของคำว่า "ham" นั้นยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ว่าเริ่มใช้ตั้งแต่เมื่อใด และนักวิทยุสมัครเล่นมักจะเรียกหรือกล่าวถึงนักวิทยุสมัครเล่นที่เสียชีวิตว่า "silent key".
ดู สหภาพยุโรปและนักวิทยุสมัครเล่น
นีคอลา กรูเอฟสกี
นีคอลา กรูเอฟสกี (Никола Груевски - Грујо; เกิด 31 สิงหาคม ค.ศ. 1970) เขาเป็นนักการเมืองชาวมาซิโดเนีย เขาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีมาซิโดเนียตั้งแต่วันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและนีคอลา กรูเอฟสกี
นโยบายการขอรับลงตราของประเทศไทย
วีซ่าไทยในหนังสือเดินทางไต้หวัน ผู้เดินทางเข้ามาในประเทศไทยจะต้องถือวีซ่าที่ออกโดยคณะผู้แทนทางการทูตไทย เว้นแต่เข้าข่ายได้รับยกเว้นวีซ่าหรือเป็นประเทศที่สามารถขอรับวีซ่าเมื่อเดินทางมาถึงได้ ปัจจุบันประเทศไทยทำความตกลงทวิภาคียกเว้นวีซ่าเพื่อให้สิทธิยกเว้นวีซ่ากับคนชาติของ 56 ประเทศ ประเทศในซีกโลกตะวันตกส่วนมากได้รับยกเว้นวีซ่า อย่างไรก็ดีประเทศทางตะวันออกบางส่วนของสหภาพยุโรปเช่นลัตเวีย ลิทัวเนีย โรมาเนีย บัลแกเรีย มอลตาและไซปรัสจะต้องมีวีซ่า แต่วีซ่าดังกล่าวสามารถขอได้เมื่อเดินทางมาถึง (ในจุดเข้าเมืองที่กำหนดไว้) ตั้งแต่พฤษภาคม พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและนโยบายการขอรับลงตราของประเทศไทย
นโยบายเกษตรร่วม
นโยบายเกษตรร่วม (Common Agricultural Policy, ย่อ: CAP) เป็นระบบเงินอุดหนุนและโครงการการเกษตรของสหภาพยุโรป มีงบประมาณ 48% ของสหภาพยุโรป หรือคิดเป็นมูลค่า 49,800 ล้านยูโรใน..
ดู สหภาพยุโรปและนโยบายเกษตรร่วม
น้ำตาล
องน้ำตาลดิบ (ไม่ขัดและไม่ฟอกขาว) น้ำตาล เป็นชื่อเรียกทั่วไปของคาร์โบไฮเดรตชนิดละลายน้ำ โซ่สั้น และมีรสหวาน ส่วนใหญ่ใช้ประกอบอาหาร น้ำตาลเป็นคาร์โบไฮเดรตที่ประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน มีน้ำตาลหลายชนิดเกิดมาจากที่มาหลายแหล่ง น้ำตาลอย่างง่ายเรียกว่าโมโนแซ็กคาไรด์และหมายรวมถึงกลูโคส (หรือ เด็กซ์โตรส) ฟรุกโตส และกาแลกโตส น้ำตาลโต๊ะหรือน้ำตาลเม็ดที่ใช้เป็นอาหารคือซูโครส เป็นไดแซ็กคาไรด์ชนิดหนึ่ง (ในร่างกาย ซูโครสจะรวมตัวกับน้ำแล้วกลายเป็นฟรุกโตสและกลูโคส) ไดแซ็กคาไรด์ชนิดอื่นยังรวมถึงมอลโตส และแลกโตสด้วย โซ่ของน้ำตาลที่ยาวกว่าเรียกว่า โอลิโกแซ็กคาไรด์ สสารอื่น ๆ ที่แตกต่างกันเชิงเคมีอาจมีรสหวาน แต่ไม่ได้จัดว่าเป็นน้ำตาล บางชนิดถูกใช้เป็นสารทดแทนน้ำตาลที่มีแคลอรีต่ำ เรียกว่าเป็น วัตถุให้ความหวานทดแทนน้ำตาล (artificial sweeteners) น้ำตาลพบได้ทั่วไปในเนื้อเยื่อของพืช แต่มีเพียงอ้อย และชูการ์บีตเท่านั้นที่พบน้ำตาลในปริมาณความเข้มข้นเพียงพอที่จะสกัดออกมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ อ้อยหมายรวมถึงหญ้ายักษ์หลายสายพันธุ์ในสกุล Saccharum ที่ปลูกกันในเขตร้อนอย่างเอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่สมัยโบราณ การขยายการผลิตเกิดขึ้นในคริสศตวรรษที่ 18 พร้อมกับการสร้างไร่น้ำตาลในเวสต์อินดีส และอเมริกา เป็นครั้งแรกที่คนทั่วไปได้ใช้น้ำตาลเป็นสิ่งที่ให้ความหวานแทนน้ำผึ้ง ชูการ์บีต โตเป็นพืชมีรากในที่ที่มีอากาศเย็นกว่าและเป็นแหล่งที่มาส่วนใหญ่ของน้ำตาลในศตวรรษที่ 19 หลังจากมีวิธีสกัดน้ำตาลเกิดขึ้นหลายวิธี การผลิตและการค้าน้ำตาลเปลี่ยนแปลงไปตามวิถีชีวิตของมนุษย์ มีอิทธิพลต่อการก่อตั้งอาณานิคม การมีอยู่ของทาส การเปลี่ยนผ่านไปสู่สัญญาแรงงาน การย้ายถิ่นฐาน สงครามระหว่างชาติที่ครอบครองน้ำตาลในศตวรรษที่ 19 การรวมชนชาติและโครงสร้างทางการเมืองของโลกใหม่ โลกผลิตน้ำตาลประมาณ 168 ล้านตันในปี..
แฟรงก์เฟิร์ต
แฟรงก์เฟิร์ต (Frankfurt) หรือ ฟรังค์ฟวร์ทอัมไมน์ (Frankfurt am Main) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของรัฐเฮสส์และใหญ่เป็นอันดับ 5 ของประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำไมน์ (Main river) และเป็นที่ตั้งของตลาดหลักทรัพย์แฟรงก์เฟิร์ตและธนาคารกลางยุโรป แฟรงก์เฟิร์ตเป็นเมืองที่ร่ำรวยที่สุดในกลุ่มสหภาพยุโรป โดยในเขตเมืองและปริมณฑลมีประชากรประมาณ 5 ล้านคน ชื่อเมืองแฟรงก์เฟิร์ตในประเทศเยอรมนี นิยมเรียกชื่อเต็มคือ "ฟรังค์ฟวร์ทอัมไมน์" หมายถึงเมืองแฟรงก์เฟิร์ตที่อยู่บนแม่น้ำไมน์ เพื่อแยกความแตกต่างจากเมืองฟรังค์ฟวร์ทอันเดอร์โอเดอร์ (Frankfurt an der Oder) ริมฝั่งแม่น้ำโอเดอร์ในรัฐบรันเดนบูร์กทางด้านตะวันออกของประเท.
แม่น้ำดานูบ
แม่น้ำดานูบ (Danube River) เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในสหภาพยุโรป และยาวเป็นอันดับสองของทวีปยุโรป (รองจากแม่น้ำวอลกา) มีต้นกำเนิดที่แถบป่าดำ (Black Forest; Schwarzwald) ในประเทศเยอรมนี เกิดจากแม่น้ำเล็กๆ สองสาย คือ Brigach และ Breg ซึ่งไหลมารวมกันเป็นแม่น้ำดานูบที่เมือง Donaueschingen แม่น้ำดานูบไหลจากป่าดำไปทางทิศตะวันออกผ่านเมืองหลวงและเมืองสำคัญๆ ของประเทศต่างๆ ในยุโรปตะวันตกและยุโรปตะวันออก ก่อนที่จะไหลผ่านดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำดานูบ (Danube Delta) และแยกลงสู่ทะเลดำที่ประเทศโรมาเนียและยูเครน มีความยาวประมาณ 2,845 กม.
แร่ใยหิน
ก้อนแร่และเส้นใย แร่ใยหิน (asbestos) เป็นกลุ่มของแร่ซิลิเกตที่เกิดตามธรรมชาติหกชนิดที่นิยมนำมาใช้ทางการค้าเพราะคุณสมบัติเฉพาะตัวที่ดี แร่ใยหินมีผลึกที่เป็นเส้นใยยาว (อัตราส่วนขนาดต่อความยาวราว 1:20) การหายใจเอาใยหินเข้าไปเป็นเวลานานอาจก่อให้เกิดโรคปอดได้ ซึ่งมักพบบ่อยในคนงานเหมืองใยหิน การทำเหมืองแร่ใยหินเริ่มขึ้นกว่า 4,000 ปีมาแล้ว แต่มีขนาดจำกัดจนกระทั่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 การทำเหมืองแร่ใยหินมีปริมาณสูงสุดในราว..
แอร์คีร์กีซสถาน
Now retired Antonov An-24 of Kyrgyzstan Air Company Now retired Tupolev Tu-154 of Kyrgyzstan Air Company Boeing 737-300 (EX-37301) in current livery of Air Kyrgyzstan แอร์คีร์กีซสถาน หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ บริษัทอากาศคีร์กีซสถาน (Эйр Кыргызстан Авиакомпаниясы, Авиакомпания «Эйр Кыргызстан») เป็นสายการบินของคีร์กีซสถาน มีฐานที่ บิชเคก สายการบินมีท่าอากาศยานหลักคือที่ ท่าอากาศยานนานาชาติมารนัส และมีท่าอากาศยานหลักอีกที่คือ ท่าอากาศยานนานาชาติออช ใน ออช แอร์คีร์กีซสถานเป็นหนึ่งในสายการบินที่ถูกแบนในสหภาพยุโรป.
ดู สหภาพยุโรปและแอร์คีร์กีซสถาน
แอร์โครยอ
แอร์โครยอ (context, โครยอฮังกง; ชื่อเดิมคือ โชซ็อนมินฮัง (조선민항)) เป็นสายการบินประจำชาติของประเทศเกาหลีเหนือ ดำเนินการโดยรัฐบาล มีศูนย์บัญชาการในเขตซูนัน กรุงเปียงยาง และมีฐานการบินหลักอยู่ที่ ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนัน (IATA: FNJ) โดยให้บริการเที่ยวบินประจำและเที่ยวบินพิเศษไปยังจุดหมายปลายทางในทวีปเอเชียและยุโรป แอร์โครยอ มีสำนักงานสายการบินในกรุงปักกิ่ง กับนครเสิ่นหยาง ประเทศจีน, นครวลาดีวอสตอค ประเทศรัสเซีย, กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย และกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี และมีสำนักงานขายในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น, กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย, ประเทศสิงคโปร์, กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน, เขตบริหารพิเศษฮ่องกง, ประเทศคูเวต, ประเทศอิตาลี, ประเทศออสเตรีย และประเทศเยอรมนี.
แอซีซัลเฟมโพแทสเซียม
แอซีซัลเฟมโพแทสเซียม (acesulfame potassium) หรือ แอซีซัลเฟมเค (acesulfame K) (K เป็นสัญลักษณ์ธาตุโพแทสเซียม) เป็นวัตถุให้ความหวานทดแทนน้ำตาล มีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาว มีสูตรเคมีคือ C4H4KNO4S มีเลขอีคือ E950 ค้นพบในปี..
ดู สหภาพยุโรปและแอซีซัลเฟมโพแทสเซียม
แผนปฏิบัติการเบ็ดเสร็จร่วม
แผนปฏิบัติการเบ็ดเสร็จร่วม (Joint Comprehensive Plan of Action, ย่อ: JCPOA; برنامه جامع اقدام مشترک, ย่อ: برجام BARJAM) เป็นความตกลงระหว่างประเทศต่อโครงการนิวเคลียร์อิหร่านซึ่งบรรลุในกรุงเวียนนาเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2558 ระหว่างประเทศอิหร่าน พี5+1 (สมาชิกถาวรคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติห้าประเทศ ได้แก่ ประเทศจีน ฝรั่งเศส รัสเซีย สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา บวกเยอรมนี) และสหภาพยุโรป การเจรจาอย่างเป็นทางการสู่แผนปฏิบัติการเบ็ดเสร็จร่วมต่อโครงการนิวเคลียร์อิหร่านเริ่มด้วยการลงมติรับแผนปฏิบัติการร่วม ซึ่งเป็นความตกลงชั่วคราวที่ลงนามระหว่างอิหร่านและประเทศพี5+1 ในเดือนพฤศจิกายน 2556 อีกยี่สิบเดือนถัดมา ประเทศอิหร่านและประเทศพี5+1 เจรจากัน และในเดือนเมษายน 2558 มีการตกลงกรอบข้อตกลงนิวเคลียร์อิหร่านสำหรับความตกลงสุดท้ายและในเดือนกรกฎาคม 2558 ประเทศอิหร่านและพี5+1 ตกลงกับแผนนี้ ภายใต้ความตกลงนี้ ประเทศอิหร่านตกลงกำจัดคลังยูเรเนียมเสริมสมรรถนะปานกลาง ตัดคลังยูเรเนียมเสริมสมรรถนะต่ำ 98% และลดเครื่องหมุนเหวี่ยงแก๊สลงประมาณสองในสามเป็นเวลา 13 ปี อีก 15 ปีถัดจากนี้ อิหร่านจะเสริมสมรรถนะยูเรเนียมได้ไม่เกิน 3.67% ประเทศอิหร่านยังตกลงไม่สร้างเครื่องปฏิกรณ์น้ำหนักใหม่เป็นระยะเวลาเดียวกัน กิจกรรมเสริมสมรรถนะยูเรเนียมใด ๆจะถูกจำกัดอยู่ที่สิ่งอำนวยความสะดวกเดี่ยวที่ใช้เครื่องปั่นเหวี่ยงรุ่นแรกเป็นเวลา 10 ปี สิ่งอำนวยความสะดวกอื่นจะถูกแปลงเพื่อลดความเสี่ยงการแพร่ขยาย เพื่อเฝ้าสังเกตและพิสูจน์ยืนยันการปฏิบัติตามของอิหร่านกับความตกลงนี้ ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (IAEA) จะสามารถเข้าถึงสิ่งอำนวยความสะดวกนิวเคลียร์ทั้งหมดของอิหร่านสม่ำเสมอ ความตกลงนี้กำหนดว่าเพื่อแลกเปลี่ยนกับการปฏิบัติตามข้อผูกมัดของตนอย่างพิสูจน์ยืนยันได้ ประเทศอิหร่านจะได้รับการช่วยเหลือจากสหรัฐ สหภาพยุโรปและวิธีการบังคับที่เกี่ยวข้องกับนิวเคลียร์ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาต.
ดู สหภาพยุโรปและแผนปฏิบัติการเบ็ดเสร็จร่วม
แขวงหลวงน้ำทา
หลวงน้ำทา (ຫຼວງນໍ້າທາ, ຫລວງນໍ້າທາ) เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือสุดของประเทศ ทิศเหนือติดกับประเทศจีน ทิศใต้ติดกับแขวงบ่อแก้ว ทิศตะวันออกติดกับแขวงอุดมไซ และทิศตะวันตกติดกับประเทศพม.
แคว้นกัสติยาและเลออน
กัสติยาและเลออน (Castilla y León), กัสติเอลยาและยิออง (เลออน: Castiella y Llión) หรือ กัสแตลาและเลโอง (Castela e León) เป็นแคว้นปกครองตนเองแคว้นหนึ่งของประเทศสเปน อยู่ในบริเวณที่แต่เดิมเคยเป็นราชอาณาจักรเลออนและภูมิภาคกัสติยาเก่า (Castilla la Vieja) แคว้นกัสติยาและเลออนเป็นเขตการปกครองที่มีเนื้อที่กว้างขวางที่สุดในประเทศสเปนและใหญ่เกือบที่สุดในสหภาพยุโรป ครอบคลุมพื้นที่ 94,223 ตารางกิโลเมตร และมีจำนวนประชากรอย่างไม่เป็นทางการประมาณ 2.5 ล้านคน.
ดู สหภาพยุโรปและแคว้นกัสติยาและเลออน
แคว้นกาลิเซีย
กาลิเซีย (กาลิเซียและGalicia) เป็นภูมิภาคหนึ่งของประเทศสเปนที่มีฐานะเป็นแคว้นปกครองตนเองตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521 ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของคาบสมุทรไอบีเรีย มีพรมแดนร่วมกับประเทศโปรตุเกสทางทิศใต้ และมีพรมแดนร่วมกับแคว้นคาสตีล-เลออนและแคว้นอัสตูเรียสทางทิศตะวันออก.
แคว้นกาตาลุญญา
กาตาลุญญา (Catalunya; Cataluña), กาตาลุญญอ (อารัน: Catalonha) หรือ แคทาโลเนีย (Catalonia) เป็นภูมิภาคหนึ่งทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือสุดของคาบสมุทรไอบีเรีย ปัจจุบัน สถานะทางรัฐธรรมนูญของภูมิภาคนี้เป็นประเด็นข้อพิพาทระหว่างราชอาณาจักรสเปนซึ่งถือว่ากาตาลุญญาเป็นแคว้นปกครองตนเองแห่งหนึ่งของตน กับฌานาราลิตัตดากาตาลุญญา (ทบวงการปกครองในท้องถิ่น) ซึ่งถือว่ากาตาลุญญาเป็นสาธารณรัฐเอกราชหลังจากที่สภานิติบัญญัติกาตาลุญญาประกาศเอกราชจากสเปนเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม..
ดู สหภาพยุโรปและแคว้นกาตาลุญญา
แนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์
แนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์ (Popular Front for the Liberation of Palestine; ภาษาอาหรับ الجبهة الشعبية لتحرير فلسطين, al-Jabhah al-Sha`biyyah li-Tahrīr Filastīn) เป็นกลุ่มติดอาวุธและพรรคการเมืองนิยมลัทธิมากซ์ ก่อตั้งเมื่อ..
ดู สหภาพยุโรปและแนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์
แนวร่วมปลดปล่อยอาหรับ
แนวร่วมปลดปล่อยอาหรับ (ภาษาอังกฤษ:Arab Liberation Front; ภาษาอาหรับ: جبهة التحريرالعربية, jabha at-tahrir al-arabia) เป็นขบวนการทางการเมืองของชนกลุ่มน้อยชาวปาเลสไตน์ มีความใกล้ชิดกับพรรคบาธของซัดดัม ฮุสเซน.
ดู สหภาพยุโรปและแนวร่วมปลดปล่อยอาหรับ
โบสถ์นักบุญโธมัส (ไลพ์ซิก)
นักบุญโธมัส (Thomaskirche) เป็นโบสถ์เก่าแก่ของเมืองไลพ์ซิก มีหลักฐานการสร้างโบถส์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1212 ปัจจุบันมีความสำคัญเนื่องจากเป็นโบสถ์ที่ โยฮันน์ เซบาสเตียน บาค คีตกวีชื่อดังชาวเยอรมัน เคยทำงานเพลง และยังเป็นสถานที่ฝังศพของเขาอีกด้วย โบสถ์นักบุญโธมัส เมืองไลพ์ซิก โบสถ์นักบุญโธมัส เมืองไลพ์ซิกทางด้านทิศเหนือ.
ดู สหภาพยุโรปและโบสถ์นักบุญโธมัส (ไลพ์ซิก)
โบฮีเมีย
ีเมีย (Čechy; Bohemia; Czechy) เป็นดินแดนในประวัติศาสตร์ของยุโรปกลาง กินเนื้อที่สองในสามทางตะวันตกของดินแดนเช็ก ซึ่งปัจจุบันคือประเทศเช็กเกีย ในความหมายที่กว้างกว่านั้น ในบางครั้งยังใช้เรียกเขตแดนเช็กทั้งหมด รวมถึงมอเรเวียและเช็กไซลิเซีย โดยเฉพาะในบริบททางประวัติศาสตร์ เช่น ราชอาณาจักรโบฮีเมี.
โรม
ลอสเซียม สัญลักษณ์ที่สำคัญของโรม โรม (Rome; Roma) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของแคว้นลัตซีโยและประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ ในเขตตัวเมืองมีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 2.5 ล้านคน ถ้ารวมเมืองโดยรอบจะมีประมาณ 4.3 ล้านคน โดยมีจำนวนประชากรใกล้เคียงกับมิลานและเนเปิลส์ นอกจากนี้ โรมยังเป็นที่ตั้งของนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นดินแดนที่ประทับของพระสันตะปาปาแห่งศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกอีกด้วย หลังสิ้นสุดยุคกลาง โรมได้อยู่ภายใต้การปกครองของพระสันตะปาปา เช่น สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 และสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ผู้ซึ่งสร้างสรรค์ให้โรมกลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีเช่นเดียวกับฟลอเรนซ์ ซึ่งในยุคสมัยดังกล่าว ได้มีการก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์แบบที่เห็นในปัจจุบัน และมีเกลันเจโลได้วาดภาพปูนเปียกประดับภายในโบสถ์น้อยซิสทีน ศิลปินและสถาปนิกที่มีชื่อเสียงอย่างบรามันเต แบร์นินี และราฟาเอล ซึ่งพำนักอยู่ในโรมเป็นครั้งคราว ได้มีส่วนช่วยสรางสรรค์สถาปัตยกรรมแบบสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแบบบารอกในโรมด้วยเช่นกัน ใน พ.ศ.
โรคจอตามีสารสี
Retinitis pigmentosaหรือว่า โรคอาร์พี (ตัวย่อ RP) เป็นโรคจอตาเสื่อมที่สามารถสืบทอดทางกรรมพันธุ์ที่เป็นเหตุแห่งความเสียหายต่อการเห็นอย่างรุนแรงบ่อยครั้งถึงขั้นตาบอด แต่ว่าการเสื่อมของ RP มีความต่าง ๆ กัน บางคนแสดงอาการตั้งแต่เป็นทารก บางคนอาจจะไม่เห็นอาการอะไรจนกระทั่งเลยวัยกลางคนไป โดยทั่วไป ยิ่งปรากฏอาการสายเท่าไร ความเสื่อมก็ยิ่งเป็นไปเร็วเท่านั้น บุคคลผู้ไม่มีอาร์พีสามารถเห็นได้ 90 องศาโดยรอบ (จากตรงกลางของลานสายตา) แต่บางคนที่มีอาร์พีเห็นได้น้อยกว่า 90 องศา โดยเป็นประเภทหนึ่งของโรคจอตาเสื่อม (retinopathy) อาร์พีเกิดจากความผิดปกติของเซลล์รับแสง (คือเซลล์รูปแท่งและเซลล์รูปกรวย) หรือของเซลล์ retinal pigment epithelium (ในชั้น pigmented layer) ในเรตินาที่มีผลเป็นเป็นการสูญเสียการเห็นไปตามลำดับ ผู้ที่มีโรคนี้อาจประสบความผิดปกติในการปรับตัวจากที่สว่างไปที่มืด หรือจากที่มืดไปที่สว่าง เป็นอาการที่ใชเรียกว่า ตาบอดแสง (nyctalopia หรือ night blindness) ซึ่งเป็นผลจากความเสื่อมลานสายตาส่วนรอบ ๆ แต่บางครั้ง จะมีการสูญเสียการเห็นในส่วนตรงกลางก่อน ทำให้บุคคลนั้นต้องแลดูวัตถุต่าง ๆ ทางข้างตา ผลของการมีอาร์พีเห็นได้ง่ายถ้าเปรียบเทียบกับทีวีหรือจอคอมพิวเตอร์ คือ แสงจากพิกเซลที่สร้างภาพบนจอเหมือนกับเซลล์รับแสงเป็นล้าน ๆ ตัวในเรตินา ยิ่งมีพิกเซลน้อยลงเท่าไร ภาพที่เห็นก็ชัดน้อยลงเท่านั้น มีเซลล์รับแสงจำนวนน้อยกว่า 10% ที่สามารถรับภาพสี โดยเป็นแสงมีความเข้มสูงเหมือนกับที่มีในช่วงกลางวัน เซลล์เหล่านี้อยู่ตรงกลางของเรตินาที่มีรูปเป็นวงกลม เซลล์รับแสงกว่า 90% ที่เหลือรับแสงมีความเข้มต่ำ เป็นภาพขาวดำ ซึ่งใช้ในที่สลัวและในตอนกลางคืน เป็นเซลล์ซึ่งอยู่รอบ ๆ เรตินา RP ทำลายเซลล์รับแสงจากนอกเข้ามาส่วนตรงกลาง หรือจากส่วนตรงกลางออกไปด้านนอก หรือทำลายเป็นย่อม ๆ ที่ทำให้เซลล์ส่วนตรงนั้นมีประสิทธิภาพในการตรวจจับแสงได้น้อยลง ความเสื่อมจากโรคนี้จะมีการลุกลาม และยังไม่มีวิธีรักษ.
ดู สหภาพยุโรปและโรคจอตามีสารสี
โรงเรียนวัดสุทธิวราราม
รงเรียนวัดสุทธิวราราม (Wat Suthiwararam School) (อักษรย่อ: ส.ธ., ST) เป็นโรงเรียนแรกในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ราษฎรสร้างขึ้นแล้วยกให้กระทรวงธรรมการ มีพระราชหัตถเลขาชมเชยให้การสร้างโรงเรียนวัดสุทธิวรารามเป็นแบบอย่างของการบำเพ็ญกุศลที่ต้องด้วยพระราชนิยมเป็นอย่างยิ่ง โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระองค์เสด็จพระราชดำเนินมาทรงทำพิธีเปิดเป็นโรงเรียนแรกในรัชกาลวรชาติ มีชูบท, พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าแผ่นดินสยาม, สำนักพิมพ์ สร้างสรรค์บุ๊คส์, 2552 เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและโรงเรียนวัดสุทธิวราราม
โลกาภิวัตน์
ลกาภิวัตน์ (มักเขียนผิดเป็น โลกาภิวัฒน์) หรือ โลกานุวัตร (globalization) คือ ผลจากการพัฒนาการติดต่อสื่อสาร การคมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยีสารสนเทศ อันแสดงให้เห็นถึงการเจริญเติบโตของความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงระหว่างปัจเจกบุคคล ชุมชน หน่วยธุรกิจ และรัฐบาล ทั่วทั้งโลก โลกาภิวัตน์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.
โลกที่หนึ่ง
ติเป็นกลาง และประเทศไม่สังกัดพันธมิตรใด แนวคิดของ โลกที่หนึ่ง (First World) ถือกำเนิดขึ้นระหว่างสงครามเย็น เป็นคำซึ่งใช้เพื่ออธิบายถึงประเทศที่เข้าเป็นฝ่ายเดียวกับสหรัฐอเมริกา ประเทศเหล่านี้มักมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย และมีระบบเศรษฐกิจทุนนิยม หลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต และการสิ้นสุดของสงครามเย็น ความหมายของคำว่า "โลกที่หนึ่ง" ได้เปลี่ยนไปให้สามารถปรับใช้ได้กับยุคสมัย จากการจำกัดความดั้งเดิม คำว่า "โลกที่หนึ่ง" ได้มามีความหมายในทำนองเดียวกับประเทศพัฒนาแล้ว (ขึ้นอยู่กับว่ากำลังใช้คำจำกัดความใด) ประเทศโลกที่หนึ่งโดยทั่วไปมักมีเศรษฐกิจที่เจริญก้าวหน้าและมีดัชนีการพัฒนามนุษย์ในระดับสูงมาก ในอีกมุมมองหนึ่ง สหประชาชาติจำกัดความ "โลกที่หนึ่ง" ขึ้นอยู่กับความมั่งคั่งของรายรับและผลผลิตของชาติต่าง ๆ การจำกัดความของ "โลกที่หนึ่ง" ในปัจจุบัน จึงประจักษ์ชัดเจนน้อยกว่าระหว่างสงครามเย็น ความเคลื่อนไหวในระดับโลกระหว่างโลกที่หนึ่งและโลกอื่น ๆ สามารถแบ่งออกได้เป็นสองส่วน ความสัมพันธ์กับโลกที่สองเป็นไปในเชิงการแข่งขัน และความเป็นปรปักษ์ทางความคิด ความสัมพันธ์กับโลกที่สาม โดยปกติมักเป็นไปในเชิงบวกตามทฤษฎี ในขณะที่อาจมีความสัมพันธ์ในเชิงลบอยู่บ้างในทางปฏิบัติ แต่ความสัมพันธ์ระหว่างโลกในปัจจุบันมิได้เป็นไปอย่างตายตัวอย่างในอดีต ถึงแม้ว่าจะมีความไม่เสมอกันซึ่งโลกที่หนึ่งมีอิทธิพล ความมั่งคั่ง ข้อมูลข่าวสาร และความเจริญก้าวหน้าเหนือกว่าโลกอื่น ๆ โลกาภิวัตน์ได้เป็นปรากฏการณ์ที่ค่อย ๆ มีความสำคัญมากยิ่งขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลมาจากโลกที่หนึ่งและความเชื่อมโยงกับโลกอื่น ๆ ตัวอย่างของโลกาภิวัตน์ภายในโลกที่หนึ่ง คือ สหภาพยุโรป ซึ่งได้นำความร่วมมือและการบูรณาการเข้ามาสู่ภูมิภาคเป็นอันมาก บริษัทข้ามชาติยังเป็นตัวอย่างของผลกระทบของโลกที่หนึ่งซึ่งมีต่อโลกาภิวัตน์ เมื่อบริษัทเหล่านี้ได้นำมาซึ่งการรวมเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมในหลายประเทศ ด้วยการเติบโตของบริษัทข้ามชาติมักมีปัญหาในกระบวนการติดต่อกับบุคคลที่สามในหลายประเทศโลกที่หนึ่ง.
โลกตะวันตก
ลกตะวันตก (Western world และอาจเรียก The West หรือ Occident) เป็นคำซึ่งใช้กล่าวถึงประเทศได้หลายประเทศ โดยประเทศที่หมายถึงอาจแตกต่างกันไปตามบริบทของการใช้คำศัพท์ นอกจากนี้เป็นคำซึ่งมีคำจำกัดความอยู่มากมาย, Our Tradition; James Kurth; accessed 30 August 2011 แนวคิดส่วนของโลกซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกมีรากฐานมาจากอารยธรรมกรีกโรมันในยุโรปและการกำเนิดของศาสนาคริสต์Cambridge University Historical Series, An Essay on Western Civilization in Its Economic Aspects, p.40: Hebraism, like Hellenism, has been an all-important factor in the development of Western Civilization; Judaism, as the precursor of Christianity, has indirectly had had much to do with shaping the ideals and morality of western nations since the christian era.
โอเพนด็อกคิวเมนต์
อเพนด็อกคิวเมนต์ (OpenDocument) หรือ โอดีเอฟ (ODF: Open Document Format for Office Applications รูปแบบเอกสารเปิดสำหรับโปรแกรมสำนักงาน) เป็นชื่อของรูปแบบแฟ้มสำหรับจัดเก็บเอกสารสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ อย่าง ตารางคำนวณ, แผนภูมิ, เอกสารนำเสนอ ฐานข้อมูล และเอกสารข้อความ (เช่น บันทึกข้อความ รายงาน จดหมาย) มาตรฐานนี้ถูกพัฒนาโดยคณะกรรมการเทคนิคของสมาคม Organization for the Advancement of Structured Information Standards (OASIS - เป็นหน่วยงานมาตรฐานกลางที่ไม่หวังผลกำไร มีหน้าที่ในการออกมาตรฐานสำหรับธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์) โดยออกแบบอยู่บนพื้นฐานของรูปแบบ XML ที่เดิมทีออกแบบและสร้างใช้จริงโดยชุดโปรแกรมสำนักงานโอเพ่นออฟฟิศดอทอ็อก (OpenOffice.org) OpenDocument นอกจากจะเป็นเป็นมาตรฐาน OASIS แล้ว ยังเป็นมาตรฐานนานาชาติ ISO และ IEC อีกด้วย (ISO/IEC 26300:2006) มาตรฐานโอเพนด็อกคิวเมนต์ตรงกับคำจำกัดความพื้นฐานของมาตรฐานเปิด ซึ่งหมายความว่าข้อกำหนดดังกล่าวนั้นเปิดให้ดูได้โดยอิสระและไม่มีค่าใช้จ่าย รวมถึงสามารถนำไปสร้างผลิตภัณฑ์ได้โดยอิสระและไม่มีค่าใช้จ่ายเช่นกัน.
ดู สหภาพยุโรปและโอเพนด็อกคิวเมนต์
โครงการเอรัสมุส
รงการเอรัสมุส (Erasmus - EuRopean Community Action Scheme for the Mobility of University Students) เป็นโครงการนักศึกษาแลกเปลี่ยนของสหภาพยุโรปที่เริ่มก่อตั้งในปี..
ดู สหภาพยุโรปและโครงการเอรัสมุส
โซเฟีย
ซเฟีย (Sofia) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสาธารณรัฐบัลแกเรีย และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเรื่องจำนวนประชากรเป็นอันดับที่ 47 ของสหภาพยุโรป ตั้งอยู่ทางตะวันตกของบัลแกเรีย บริเวณตีนเขาวิโตชา เป็นเมืองศูนย์กลางของการขนส่งสินค้าทางบกที่สำคัญของคาบสมุทรบอลข่าน.
ไมโครซอฟท์
มโครซอฟท์ (Microsoft) เป็นหนึ่งในบริษัทผู้ผลิตและพัฒนาซอฟต์แวร์รายใหญ่ของโลก มีฐานการผลิตอยู่ที่เมืองเรดมอนด์ รัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา โดยผลิตภัณฑ์ของไมโครซอฟท์ที่มีกำลังการตลาดมากที่สุดคือ ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์ และ ไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ จุดเริ่มต้นของบริษัทคือการพัฒนาและออกจำหน่ายตัวแปลภาษาเบสิก สำหรับเครื่องแอทแอร์ 8800 หลังจากนี้น ไมโครซอฟท์เริ่มมีอิทธิพลต่อผู้ใช้คอมพิวเตอร์ภายในบ้าน โดยการออกระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ดอสเมื่อช่วงกลางยุค 1980 ในสายการผลิตของไมโครซอฟท์ วินโดวส์ โดยได้รับความนิยมจากผู้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี นักวิจารณ์ผู้หนึ่งกล่าวถึงเป้าหมายแรกของไมโครซอฟท์ว่า ไมโครซอฟท์ได้เริ่มครอบงำตลาดซอฟต์แวร์อื่นๆ โดยไมโครซอฟท์มีกิจการอื่นๆ ของตัวเองเช่น MSNBC (ดำเนินธุรกิจเคเบิลทีวี), เอ็มเอสเอ็น (ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต),และเอ็นคาร์ทาร์ (ดำเนินธุรกิจสารานุกรมออนไลน์) บริษัทยังดำเนินกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์อีกด้วย เช่น เมาส์ และอุปกรณ์ความบันเทิงต่าง ๆ เช่น Xbox, Xbox 360, Xbox One, ซูน และ เอ็มเอสเอ็น ทีวี.
ไอโอเอส 8
อโอเอส 8 (iOS 8) คือระบบปฏิบัติการรุ่นที่ 8 ของ ไอโอเอส ออกแบบโดยแอปเปิล ซึ่งเป็นรุ่นต่อจาก ไอโอเอส 7 เปิดตัวครั้งแรกในงานดับเบิลยูดับเบิลยูดีซีเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน..
ไขมันทรานส์
มันทรานส์ ที่ ไขมันทรานส์ (trans fat) เป็นไขมันไม่อิ่มตัวซึ่งพบได้ไม่บ่อยในธรรมชาติ แต่สามารถสังเคราะห์ขึ้นได้ ไขมันมีสายไฮโดรคาร์บอนขนาดใหญ่ยาว ซึ่งอาจเป็นไขมันไม่อิ่มตัว คือ มีพันธะคู่อย่างน้อยหนึ่งตำแหน่ง หรือไขมันอิ่มตัว คือ ไม่มีพันธะคู่เลย ก็ได้ tyในธรรมชาติ โดยทั่วไปกรดไขมันมีการจัดเรียงแบบซิส (ซึ่งตรงข้ามกับแบบทรานส์) แม้ว่าไขมันทราน์จะกินได้ แต่มีการแสดงแล้วว่าไขมันทรานส์เพิ่มความเสี่ยงของโรคหัวใจขาดเลือด ส่วนหนึ่งไปเพิ่มไลโพโปรตีนความหนาแน่นต่ำ (LDL) ลดระดับไลโพโปรตีนความหนาแน่นสูง (HDL) เพิ่มไตรกลีเซอไรด์ในกระแสเลือดและเพิ่มการอักเสบทั่วร่างกาย ไขมันทรานส์ยังเกิดขึ้นตามธรรมชาติได้ แต่น้อย เช่น กรดแวกซีนิก (vaccenic acid) และกรดคอนจูเกตเต็ดไลโนเลอิก (conjugated linoleic acid) มีไขมันทรานส์ที่เกิดเองตามธรรมชาติในปริมาณหนึ่งในเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์นมจากสัตว์เคี้ยวเอื้อง ไขมันธรรมชาติและไขมันสังเคราะห์มีความแตกต่างทางเคมี แต่ไม่มีความเห็นพ้องกันทางวิทยาศาสตร์ถึงความแตกต่างในผลกระทบต่อสุขภาพ การศึกษาสองชิ้นในประเทศแคนาดาได้แสดงว่ากรดแวกซีนิกซึ่งเป็นไขมันทรานส์ธรรมชาติ ที่พบในเนื้อวัวและผลิตถัณฑ์นม แท้จริงแล้วอาจเป็นประโยชน์เมื่อเทียบกับน้ำมันพืชที่ผ่านปฏิกิริยาไฮโดรจีเนชัน (hydrogenated vegetable shortening) หรือมันหมูและน้ำมันถั่วเหลือง โดยลดระดับคอเลสเตอรอลรวม LDL และไตรกลีเซอไรด์ ในทางตรงข้าม การศึกษาโดยกระทรวงการเกษตรสหรัฐอเมริกาแสดงว่า กรดแวกซีนิกมีผลเสียต่อ LDL และ HDL เหมือนกับไขมันทรานส์อุตสาหกรรม เมื่อขาดหลักฐานอันเป็นที่ยอมรับและการตกลงทางวิทยาศาสตร์ หน่วยงานโภชนาการจึงพิจารณาไขมันทรานส์ทั้งหมดว่ามีผลเสียต่อสุขภาพเท่ากัน และแนะนำให้ลดการบริโภคไขมันทรานส์ลงเหลือน้อยที่สุด องค์การอาหารและยาสหรัฐอเมริกาออกข้อกำหนดเบื้องต้นว่าน้ำมันที่ผ่านปฏิกิริยาไฮโดรจีเนชันบางส่วน (ซึ่งมีไขมันทรานส์) โดยทั่วไปไม่ผ่านการรับรองว่าปลอดภัย ซึ่งคาดว่าจะนำไปสู่การห้ามไขมันทรานส์ที่ผลิตเป็นอุตสาหกรรมจากอาหารอเมริกา ในประเทศอื่น มีข้อจำกัดทางกฎหมายต่อปริมาณไขมันทรานส์ สามารถลดระดับไขมันทรานส์ได้ โดยการใช้ไขมันอิ่มตัว เช่น มันหมู น้ำมันปาล์ม หรือไขมันที่ผ่านปฏิกิริยาไฮโดรจีเนชันอย่างสมบูรณ์ ไขมันที่ผ่านปฏิกิริยาอินเทอร์เอสเทอริฟิเคชัน (interesterified fat) และสูตรทางเลือกซึ่งใช้ไขมันไม่อิ่มตัวแทนไขมันไม่อิ่มตัวหรือผ่านปฏิกิริยาไฮโดรจีเนชันบางส่วน ไขมันที่ผ่านปฏิกิริยาไฮโดรจีเนชันไม่ใช่ไวพจน์กับไขมันทรานส์ เพราะปฏิกิริยาไฮโดรจีเนชันที่สมบูรณ์จะขจัดไขมันไม่อิ่มตัวทั้งหมด คือ ทั้งซิสและทราน.
ไข่ (อาหาร)
ทางซ้ายคือไข่ไก่ ซึ่งโดยทั่วไปได้ใช้ในการกินมากที่สุดโดยมนุษย์ และทางขวาคือไข่นกกระทาสองฟอง ที่สุนัขจิ้งจอกมักนำมากินเป็นอาหาร สัตว์ว่าตัวเมียหลายสปีชีส์วางไข่ รวมทั้งนก สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก และปลา และอาจเป็นอาหารที่มนุษย์ชาติรับประทานมานับสหัสวรรษ ไข่นกและสัตว์เลื้อยคลานประกอบด้วยเปลือกไข่ที่ทำหน้าที่ปกป้องอันตรายต่อไข่, ไข่ขาวและไข่แดง รวมกันอยู่ภายในเยื่อบาง ๆ หลายชั้น ไข่สัตว์ที่นิยมรับประทานกันมีไก่ เป็ด นกกระทา ปลาและคาเวียร์ แต่มนุษย์นิยมรับประทานไข่ไก่มากที่สุด และทิ้งช่วงห่างไข่สัตว์อื่นอยู่มาก ไข่แดงและไข่ทั้งฟองมีปริมาณโปรตีนและโคลีนอยู่มาก และพบใช้บ่อยในการครัว เนื่องจากโปรตีนที่มีอยู่ กระทรวงการเกษตรสหรัฐอเมริกาจึงจัดประเภทไข่ว่าเป็น เนื้อสัตว์ ในพีระมิดอาหาร อย่างไรก็ดี แม้ไข่จะมีคุณค่าทางโภชนาการ แต่ก็มีแนวโน้มก่อปัญหาสุขภาพบางอย่างเกิดขึ้นจากคุณภาพ การเก็บ และการเกิดการแพ้ในผู้ที่มีอาการแพ้ ไก่และสิ่งมีชีวิตวางไข่อื่น ๆ เก็บเลี้ยงอย่างกว้างขวางทั่วโลก และการผลิตไข่ไก่จำนวนมากเป็นอุตสาหกรรมระดับโลก มีปัญหาในอุปสงค์และความคาดหมายที่แตกต่างกันในแต่ละภูมิภาค เช่นเดียวกับการถกเถียงกันในปัจจุบันเกี่ยวกับวิธีการผลิตจำนวนมาก โดยสหภาพยุโรปวางแผนห้ามการเลี้ยงแบบแบตเตอรี (battery farming) หลัง..
เบราน์ชไวค์
ราน์ชไวค์ (Braunschweig; อังกฤษ, ฝรั่งเศส: Brunswick) เป็นเมืองหนึ่งในรัฐนีเดอร์ซัคเซิน ประเทศเยอรมนี มีฐานะเป็นเมืองอิสระ (kreisfreie Stadt) ตามการบริหารเขตปกครองของเยอรมนี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของรัฐ ปัจจุบันมีประชากรราว 247,000 คน ถือเป็นเมืองใหญ่อันดับที่ 2 ของรัฐนีเดอร์ซัคเซินรองจากฮันโนเวอร์ เมื่อรวมเขตปริมณฑลของเมืองเข้าด้วยจะมีประชากรราว 1 ล้านคน เบราน์ชไวค์เป็นเมืองศูนย์กลางด้านการวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของประเทศและสหภาพยุโรป, Ec.europa.eu, 2014.
เบวะซิซิวแมบ
วะซิซิวแมบ (Bevacizumab) ที่วางตลาดในชื่อการค้า Avastin เป็นยาที่ใช้รักษาโรคมะเร็งบางอย่างและโรคตาอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ สำหรับมะเร็ง มันปล่อยเข้าเส้นเลือดดำอย่างช้า ๆ เพื่อรักษามะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งปอด, มะเร็งสมอง (glioblastoma), และมะเร็งเซลล์ไต (renal cell carcinoma) สำหรับรักษาจุดภาพชัดเสื่อมเนื่องกับอายุ (AMD) มันใช้ฉีดเข้าในตา ผลข้างเคียงสามัญเมื่อใช้รักษามะเร็งรวมทั้งเลือดกำเดาไหล ปวดหัว ความดันโลหิตสูง และผื่น ผลข้างเคียงรุนแรงรวมทั้งทางเดินอาหารทะลุ (gastrointestinal perforation) เลือดออก แพ้ ลิ่มเลือด และความเสี่ยงติดเชื้อสูงขึ้น เมื่อใช้รักษาตา ผลข้างเคียงรวมทั้งการเสียการเห็นและจอตาลอก bevacizumab อยู่ในหมู่ยายับยั้งกำเนิดหลอดเลือด (angiogenesis inhibitor) และสารภูมิต้านทานโมโนโคลน (monoclonal antibody) มันทำงานโดยชะลอการเกิด/การเติบโตของเส้นเลือด bevacizumab อนุมัติให้ใช้รักษาในสหรัฐอเมริกาปี 2004 เป็นยาอย่างหนึ่งในรายการยาจำเป็นขององค์การอนามัยโลก คือเป็นยาที่มีประสิทธิผลและปลอดภัยที่สุดและจำเป็นในระบบสาธารณสุข โดยติดรายการเพราะใช้รักษาโรคตา ในประเทศกำลังพัฒนา ราคาขายส่งของมันอยู่ที่ 638.54 เหรียญสหรัฐ (ประมาณ 20,741 บาท) ต่อขวดในปี 2014 เพื่อขวดขนาดเดียวกันองค์การอนามัยสหราชอาณาจักร (NHS) ต้องจ่าย 242.66 ปอนด์สเตอร์ลิง (ประมาณ 12,700 บาท).
เบอร์ลิน
อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.
เบือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุค
ือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุค หรือ ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน เป็นประมวลกฎหมายแพ่งของประเทศเยอรมนีซึ่งเริ่มร่างเมื่อ ค.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและเบือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุค
เบเนลักซ์
นแดนประเทศสมาชิกเบเนลักซ์ ที่ตั้งของเบเนลักซ์ในทวีปยุโรป ธงเบเนลักซ์ สาธารณรัฐเบเนลักซ์ หรือ สหภาพเศรษฐกิจเบเนลักซ์ (Bénélux) เป็นกลุ่มเศรษฐกิจในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ของสามประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ประเทศเบลเยียม เนเธอร์แลนด์ และลักเซมเบิร์ก โดยการนำเอาพยางค์หน้าชื่อของแต่ละประเทศดังกล่าวมาตั้งเป็นชื่อ "สหภาพปลอดภาษีเบเนลักซ์" (Benelux Customs Union) ปัจจุบันสหภาพเบเนลักซ์มีขนาด 74,102 ตร.กม.
เฟรนช์เกียนา
ฟรนช์เกียนา (French Guiana) หรือ กุยยานฟร็องแซซ (Guyane française) เป็นจังหวัดโพ้นทะเล (département d'outre-mer) ของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่บนชายฝั่งทางเหนือของทวีปอเมริกาใต้ ทิศเหนือจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับประเทศบราซิล และทางทิศตะวันตกติดกับประเทศซูรินาม เช่นเดียวกับจังหวัดโพ้นทะเลของฝรั่งเศสจังหวัดอื่น ๆ เฟรนช์เกียนายังมีฐานะเป็นแคว้นโพ้นทะเล (région d'outre-mer) ซึ่งเป็น 1 ใน 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศสด้วย โดยถือเป็นส่วนหนึ่งส่วนเดียวกับประเทศฝรั่งเศสในทวีปยุโรปและใช้สกุลเงินยูโรเช่นกัน.
เกมคิวบ์
นินเทนโด เกมคิวบ์ (Nintendo GameCube) เป็นเครื่องเล่นวิดีโอเกมรุ่นที่สี่ของบริษัทนินเทนโด จัดเป็น เครื่องเล่นวิดีโอเกมยุคที่หก ออกวางจำหน่ายครั้งแรกวันที่ 14 กันยายน ค.ศ.
เภสัชกร
ัชกร (pharmacist) คือผู้ที่มีวิชาชีพทางด้านสาธารณสุข (health profession) มีหน้าที่จ่ายยา ให้ผู้ป่วย แนะนำการใช้ยา ติดตามการใช้ยาให้ผู้ป่วย และเป็นผู้ผลิตยา เภสัชกรจะต้องเป็นผู้มีความรู้ความสามารถหลายสาขาโดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านการแพทย์ไม่ว่าจะเป็นทางด้านคลินิก โรงพยาบาล และเภสัชชุมชนซึ่งจะต้องเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก ทางเลือกหนึ่งของวิชาชีพเภสัชกรคือการปฏิบัติงานในร้านขายยาซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นเจ้าของร้านเอง (small business) ในงานด้านนี้เภสัชกรนอกจากจะมีความชำนาญในธุรกิจร้านค้าแล้วยังมีความรู้และข้อมูลการใช้ยาทั้งประสิทธิภาพและผลข้างเคียงของยา ตลอดจนการให้ข้อมูลความรู้ให้คำปรึกษาการใช้ยาแก่ชุมชนด้วย เภสัชกรบางครั้งเรียกว่านักเคมี เพราะในอดีตมีการให้ผู้สำเร็จการศึกษาในวิชาเคมีสาขาเภสัชกรรม (Pharmaceutical Chemistry: PhC) มาเป็นเภสัชกรซึ่งเรียกกันว่านักเคมีเภสัชกรรม (Pharmaceutical Chemists) โดยเฉพาะในประเทศอังกฤษ เช่น เครือข่ายร้านขายยาของบู๊ตส์เรียกเภสัชกรของบู๊ตส์ว่า "นักเคมีบูตส์" (Boots The Chemist).
เมือกชมพู
เนื้อวัวบด จากภาพปฏิบัติการบดเนื้อวัวของกระทรวงการเกษตรสหรัฐ "เมือกชมพู" (pink slime) เป็นฉายาของผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ซึ่งอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์เรียก "เนื้อวัวเนื้อละเอียดบาง" (lean finely textured beef, LFTB), "เนื้อวัวเนื้อละเอียด" และ "การเล็มเนื้อวัวบางไร้กระดูก" (boneless lean beef trimmings, BLBT) ในปี 2544 กระทรวงการเกษตรสหรัฐอนุมัติผลิตภัณฑ์ให้มนุษย์บริโภคโดยจำกัด และใช้เป็นสารเติมแต่งอาหารแก่เนื้อวัวบดและเนื้อสัตว์แปรรูปที่มีเนื้อวัวเป็นตัวเสริม ที่สัดส่วนปกติไม่เกินร้อยละ 25 ของทุกผลิตภัณฑ์ แต่ถูกห้ามขายให้มนุษย์บริโภคในสหภาพยุโรป ในกระบวนการผลิต ความร้อนและการปั่นเหวี่ยง (centrifuge) แยกไขมันจากเนื้อสัตว์ในการเล็มเนื้อวัว แล้วให้ผลิตภัณฑ์ที่ได้สัมผัสกับแก๊สแอมโมเนียหรือกรดซิตริกเพื่อฆ่าแบคทีเรีย หมวดหมู่:เนื้อวัว หมวดหมู่:อุตสาหกรรมเนื้อสัตว์.
เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป
มืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป เป็นเมืองที่ได้รับเลือกจากสหภาพยุโรปเป็นช่วงเวลาหนึ่งปี ซึ่งในช่วงเวลานั้นเมืองจะได้รับโอกาสให้แสดงวัฒนธรรมและการพัฒนาวัฒนธรรมของตน เมืองในยุโรปจำนวนมากได้ใช้โอกาสนี้ในการเปลี่ยนแปลงทั้งฐานวัฒนธรรมของตนและมุมมองจากนานาชาติต่อเมืองของตนอย่างสิ้นเชิง.
ดู สหภาพยุโรปและเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป
เมธีนามีน
มธีนามีน หรือ เฮกซะเมทิลีนเตตรามีน (Methenamine หรือ Hexamethylenetetramine) เป็นสารประกอบอินทรีย์เฮเทอโรไซคลิก มีสูตรโครงสร้างคือ (CH2)6N4 ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ละลายได้ดีในน้ำและตัวทำละลายอินทรีย์ที่มีขั้ว โครงสร้างโมเลกุลมีลักษณะคล้ายกรงเหมือนกับอะดาแมนแทน เมธีนามีนถูกนำมาใช้ประโยชน์ในการสังเคราะห์สารประกอบเคมีอื่น เช่น พลาสติก ยา สารเติมแต่งยาง สารนี้มีจุดระเหิด ณ สภาวะสุญญากาศที่ 280 องศาเซลเซียส เมธีนามีนเป็นสารที่ได้จากการเกิดปฏิกิริยาระหว่างงฟอร์มาลดีไฮด์กับแอมโมเนีย ถูกค้นพบโดยอเล็กซานเดอร์ บัทเลรอฟ เมื่อ..
เรอูนียง
รอูนียง หรือ เรอูว์นียง (La Réunion) เป็นเกาะตั้งอยู่บริเวณมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกของมาดากัสการ์ และห่างจากมอริเชียสไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 200 กิโลเมตร (130 ไมล์) ในระบบบริหาร เรอูนียงเป็นหนึ่งในจังหวัดโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส เหมือนกับจังหวัดโพ้นทะเลอื่น ๆ เรอูนียงก็เป็นหนึ่งใน 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศส (ในฐานะแคว้นโพ้นทะเล) และเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโดยมีสถานะเท่ากับแคว้นอื่น ๆ ในภาคพื้นทวีปยุโรป เรอูนียงเป็นแคว้นที่อยู่ห่างไกลที่สุดในกลุ่มสหภาพยุโรปและใช้สกุลเงินยูโร ตามความจริง ตำแหน่งที่ตั้งของเรอูนียงในเขตเวลาทางด้านตะวันออกของทวีปยุโรป ทำให้เรอูนียงเป็นแคว้นแรกในโลกที่ใช้สกุลเงินยูโร และการใช้สกุลเงินยูโรเป็นครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อเวลา 00.01 นาฬิกา เมื่อนายกเทศมนตรีเมืองแซง-เดอนี เรอเน-ปอล วิกโตเรีย ซื้อลิ้นจี่ถุงหนึ่งในตล.
เรดอน
รดอน (อังกฤษ: Radon) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 86 และสัญลักษณ์คือ Rn เรดอนเป็นธาตุกัมมันตรังสีที่เป็นก๊าซเฉื่อย (radioactive noble gas) ได้จากการแยกสลายธาตุเรเดียม เรดอนเป็นก๊าซที่หนักที่สุดและเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ไอโซโทปของเรดอนคือ Rn-222 ใช้ในงานรักษาผู้ป่วยแบบเรดิโอเธอราปี (radiotherapy) ก๊าซเรดอนที่สะสมในบ้านเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งปอดและทำให้ผู้ป่วยในสหภาพยุโรปเสียชีวิตปีละ 20,000 คน เรดอนถูกสร้างขึ้นโดยผ่านกระบวนการอีกขั้นหนึ่งของการย่อยสลายธาตุกัมมันตรังสีทั่วไป โดยที่ธอเรียมและยูเรเนียมซึ่งเป็นธาตุกัมมันตภาพดึกดำบรรพ์ที่มีอยู่ตั้งแต่ครั้งที่โลกเริ่มก่อตัวขึ้น ได้เกิดการสลายตัวของธาตุและให้ผลเป็นธาตุเรเดียม และการสลายตัวของเรเดียมจึงทำให้เกิดธาตุเรดอน ซึ่งเมื่อเรดอนสลายตัว ก็ทำให้เกิดธาตุ radon daughter อันเป็นชื่อเรียกของธาตุกัมมันตรังสีใหม่ที่ได้มา ซึ่งต่างจากเรดอนที่มีสถานะเป็นแก๊ซตรงที่มีสถานะเป็นของแข็งและเกาะติดกับพื้นผิว.
เลขอี
รละลายไรโบเฟลวิน (วิตามินบี2) (E101) ผลึกโมโนโซเดียมกลูตาเมต (E621) เลขอี (E number; E มาจากคำว่า "ยุโรป") เป็นรหัสที่ใช้บ่งชี้วัตถุเจือปนอาหารที่ใช้ในสหภาพยุโรป และสวิตเซอร์แลนด์ โดยวัตถุเจือปนอาหารเหล่านี้ต้องผ่านการรับรองจากหน่วยงานความปลอดภัยด้านอาหารแห่งสหภาพยุโรป (EFSA).
เศรษฐกิจยุโรป
รษฐกิจยุโรป ประกอบด้วยผู้คนกว่า 731 ล้านคนในประเทศต่าง ๆ 48 ประเทศ เช่นเดียวกับทวีปอื่น ๆ ความร่ำรวยของรัฐในทวีปยุโรปมีความแตกต่างกันออกไป แม้ว่าคนยากจนที่สุดของทวีปนี้จะดีกว่าคนยากจนที่สุดของทวีปอื่น ๆ ในแง่ของจีดีพีและมาตรฐานการครองชีพก็ตาม การสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่สองทำให้ประเทศในยุโรปใกล้ชิดกันมากขึ้น ปิดท้ายในการก่อตัวสหภาพยุโรป (อียู) และในปี..
เศรษฐกิจจีน
รษฐกิจจีนเป็นเศรษฐกิจแบบตลาดสังคมนิยม เป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดอันดับสองของโลกตามจีดีพีราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่สุดของโลกตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ (PPP) จากข้อมูลของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ประเทศจีนเป็นเศรษฐกิจใหญ่เติบโตเร็วสุดของโลกก่อนปี 2558 โดยมีอัตราการเติบโตโดยเฉลี่ย 10% ในช่วงกว่า 30 ปี เนื่องจากข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์และการเมืองของเศรษฐกิจกำลังพัฒนาของจีน ภาครัฐของจีนจึงมีสัดส่วนเศรษฐกิจของประเทศมากกว่าภาคเอกชนที่กำลังเฟื่องฟู สำหรับรายได้ต่อหัวนั้น ประเทศจีนอยู่ในอันดับที่ 71 ตามจีดีพี (ราคาตลาด) และที่ 78 ตามจีดีพี (PPP) ในปี 2559 จากข้อมูลของ IMF ประเทศจีนมีทรัพยากรธรรมชาติประเมินมูลค่า 23 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งจำนวนนี้กว่า 90% เป็นถ่านหินและโลหะหายาก ประเทศจีนเป็นเศรษฐกิจการผลิตและผู้ส่งสินค้าออกรายใหญ่สุดของโลก มักได้รับขนานนามเป็น "โรงงานของโลก" ประเทศจีนยังเป็นตลาดผู้บริโภคเติบโตเร็วสุดของโลก และผู้นำสินค้าเข้ารายใหญ่สุดอันดับสองของโลก ประเทศจีนเป็นผู้นำเข้าสุทธิซึ่งผลิตภัณฑ์บริการ ในปี 2559 ประเทศจีนเป็นประเทศการค้าใหญ่สุดอันดับสองของโลกและมีบทบาทเด่นในการค้าระหว่างประเทศ และเข้าร่วมองค์การและสนธิสัญญาการค้าเพิ่มขึ้นในปีหลัง ๆ ประเทศจีนเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกในปี 2544 ประเทศจีนยังมีความตกลงการค้าเสรีกับหลายชาติ รวมทั้งอาเซียน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ปากีสถาน เกาหลีใต้และสวิสเซอร์แลนด์ มณฑลในแถบชายฝั่งของจีนมีแนวโน้มกลายเป็นอุตสาหกรรมมากขึ้น ส่วนบริเวณในแผ่นดินยังด้อยพัฒนากว่า เพื่อเลี่ยงค่าใช้จ่ายทางสังคมและเศรษฐกิจระยะยาวของมลภาวะสิ่งแวดล้อมในประเทศจีน นิโคลัส สเทิร์นและเฟอร์กัส กรีนแห่งสถาบันวิจัยแกรนแธมว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Grantham Research Institute on Climate Change and the Environment) แนะนำว่า เศรษฐกิจจีนควรเปลี่ยนเป็นการพัฒนาอุตสาหกรรมก้าวหน้าที่มีการปลดปล่อยคาร์บอนต่ำไฮเท็คที่มีการจัดสรรทรัพยากรของชาติไปยังนวัตกรรมและการวิจัยและพัฒนาสำหรับการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนให้ดีขึ้นเพื่อผลกระทบของอุตสาหกรรมหนักของจีน ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายการวางแผนของรัฐบาลกลาง ฝันจีนของสี จิ้นผิงอธิบายว่าบรรลุ "สองร้อย" คือ เป้าหมายของจีนทางวัตถุให้กลายเป็น "สังคมกินดีอยู่ดีปานกลาง" ภายในปี 2564 ซึ่งปีครบรอบ 100 ปีพรรคคอมมิวนิสต์จีน และเป้าหมายการทำให้จีนทันสมัยเป็นประเทศพัฒนาแล้วอย่างสมบูรณ์ในปี 2592 ซึ่งเป็นปีที่ 100 ของการก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชน สากลวิวัฒน์ของเศรษฐกิจจีนยังมีผลกระทบต่อการพยากรณ์เศรษฐกิจปรับเป็นมาตรฐานซึ่งดัชนีผู้จัดการซื้อออกในประเทศจีนอย่างเป็นทางการในปี 2543 ต่อมาในปี 2549 ประเทศจีนเป็นประเทศในทวีปเอเชียประเทศเดียวที่มีจีดีพี (PPP) เกิน 10 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ (ร่วมกับสหรัฐและสหภาพยุโรป) ในปี 2558 ประเทศจีนเป็นประเทศแรกที่มีจีดีพี (PPP) เกิน 20 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ เมื่อเศรษฐกิจจีนเติบโต เงินตราเหรินหมินปี้ของจีนก็เติบโตด้วย ซึ่งผ่านกระบวนการที่จำเป็นสำหรับสากลวิวัฒน์ ประเทศจีนริเริ่มการก่อตั้งธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเอเชียในปี 2558 การพัฒนาเศรษฐกิจของเซินเจิ้นถูกเรียกว่าเป็นซิลิคอนแวลลีย์แห่งถัดไปของโลก.
เศรษฐกิจและการค้าของประเทศลิทัวเนีย
ประเทศลิทัวเนีย ใช้สกุลเงินลิตัส (Litas) เริ่มใช้ตั้งแต่ปี 2536 แทนเงินสกุลรูเบิล อัตราแลกเปลี่ยน 1 Euro.
ดู สหภาพยุโรปและเศรษฐกิจและการค้าของประเทศลิทัวเนีย
เศรษฐกิจเยอรมนี
ประเทศเยอรมนี ถือเป็นประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในยุโรป มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลกหากวัดตามราคาตลาด และเป็นอันดับ 5 ของโลกหากวัดตามอำนาจซื้อ ทั้งนี้ใน..
ดู สหภาพยุโรปและเศรษฐกิจเยอรมนี
เส้นทางการค้า
้นทางการค้า (trade route) คือเส้นทางที่ในเครือข่ายที่บ่งว่าเป็นเส้นทางและจุดหยุดพักที่ใช้ในการขนส่งสินค้าไปยังตลาดที่อยู่ในดินแดนที่ไกลออกไปจากต้นแหล่งที่ผลิตสินค้ามาก เส้นทางการค้าแต่ละเส้นทางก็จะประกอบด้วยถนนสายหลัก (Arterial road) ที่อาจจะมีเครือข่ายย่อยๆ ที่ใช้เป็นเส้นทางการค้าและการคมนาคมมาบรรจบ ในประวัติศาสตร์ช่วงตั้งแต่ปี 1532 ก่อนคริสต์ศักราช จนถึง..
เหตุระเบิดรถไฟฟ้าใต้ดินมินสค์ พ.ศ. 2554
หตุระเบิดรถไฟฟ้าใต้ดินมิน..
ดู สหภาพยุโรปและเหตุระเบิดรถไฟฟ้าใต้ดินมินสค์ พ.ศ. 2554
เหตุระเบิดในลอนดอน 7 กรกฎาคม 2548
ในช่วงเวลาเร่งด่วนตอนเช้าของวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 เกิดการระเบิดขึ้นสี่ครั้งต่อเนื่อง ที่กรุงลอนดอน ในอังกฤษ สหราชอาณาจักร รถไฟใต้ดินสามขบวนถูกวางระเบิดภายในช่วงเวลาครึ่งชั่วโมง จากนั้นอีกครึ่งชั่วโมงรถเมล์สองชั้นอีกหนึ่งคันก็ถูกระเบิด ได้รับการยืนยันว่ามีผู้เสียชีวิต 56 ศพ และผู้ได้รับบาดเจ็บมากกว่า 700 คน เนื่องมาจากการก่อการร้ายนี้ ตัวเลขดังกล่าวคาดว่าน่าจะเพิ่มมากขึ้น เมื่อทางการได้ตรวจสอบผลอย่างละเอียด เหตุการณ์นี้ทำให้มีการสั่งปิดระบบรถไฟใต้ดินของลอนดอน และระบบรถประจำทาง รวมไปถึงถนนอีกหลายสายใกล้กับกับสถานีที่เกิดเหตุ เหตุระเบิดคราวนี้มีลักษณะใกล้เคียงกับ เหตุการณ์ระเบิดรถไฟที่มาดริด ประเทศสเปน เหตุก่อการร้ายนี้ เป็นการก่อการร้ายที่รุนแรงที่สุดที่เกิดขึ้นในสหราชอาณาจักร นับตั้งแต่การวางระเบิดเที่ยวบินแพนแอมที่ 103 เหนือเมืองล็อกเกอร์บี ในปี พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและเหตุระเบิดในลอนดอน 7 กรกฎาคม 2548
เหตุสารฟิโปรนิลปนเปื้อนในไข่ พ.ศ. 2560
หตุสารฟิโปรนิลปนเปื้อนใน..
ดู สหภาพยุโรปและเหตุสารฟิโปรนิลปนเปื้อนในไข่ พ.ศ. 2560
เหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555
หตุจลาจลในรั..
ดู สหภาพยุโรปและเหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555
เหตุจลาจลในสาธารณรัฐมาซิโดเนีย พ.ศ. 2544
หตุจลาจลในสาธารณรัฐมาซิโดเนี..
ดู สหภาพยุโรปและเหตุจลาจลในสาธารณรัฐมาซิโดเนีย พ.ศ. 2544
เหตุโจมตีในนอร์เวย์ พ.ศ. 2554
หตุโจมตีในนอร์เว..
ดู สหภาพยุโรปและเหตุโจมตีในนอร์เวย์ พ.ศ. 2554
เอรัสมุสมุนดุส
อรัสมุสมุนดุส (Erasmus Mundus) เป็นส่วนหนึ่งของโครงการเอรัสมุสของสหภาพยุโรปที่มีเป้าหมายที่จะพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยให้ความช่วยเหลือด้านการศึกษาผ่านทางทุนการศึกษาและความร่วมมือระหว่างสถาบันในทวีปยุโรป และประเทศโลกที่ 3.
ดู สหภาพยุโรปและเอรัสมุสมุนดุส
เอลีโย ดี รูโป
อลีโย ดี รูโป (Elio Di Rupo,; เกิดวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2494) เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรเบลเยียม คนที่ 40 และหัวหน้าคณะรัฐมนตรีชุดที่ 68 ดำรงตั้งแต่วันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและเอลีโย ดี รูโป
เอนโดซัลแฟน
อนโดซัลแฟน (Endosulfan) เป็นยาฆ่าแมลงกลุ่มออร์กาโนคลอรีน เป็นของแข็ง ไม่มีสี เป็นสารที่มีความเป็นพิษสูง สะสมในสิ่งมีชีวิตได้ดี และรบกวนระบบการทำงานของต่อมไร้ท่อ ถูกห้ามใช้แล้วใน 50 ประเทศ แต่ยังคงใช้อยู่ในอินเดีย บราซิล และออสเตรเลี.
เอเชียออนไลน์
อเชียออนไลน์ เป็นบริษัทเอกชนซึ่งได้รับการสนับสนุนโดยนักลงทุนและธุรกิจเงินร่วมลงทุนสถาบัน มีสำนักงานใหญ่อยู่ในประเทศสิงคโปร์ และมีการปฏิบัติงานที่สำคัญอยู่ในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมการวิจัยและพัฒนาทั่วทวีปเอเชีย และการดำเนินการเพิ่มการขายในทวีปยุโรปและอเมริกาเหนือ เอเชียออนไลน์กำลังดำเนินการในสิ่งที่เรียกว่า โครงการเรียนรู้ที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยการแปลความรู้ในภาษาอังกฤษจำนวนมากไปเป็นภาษาของประเทศเอเชีย ซึ่งใช้เทคโนโลยีเครื่องแปลภาษาแบบใช้สถิติ (SMT) ซึ่งได้รับการพัฒนาและปรับปรุงในประเทศไทย โดยมุ่งเน้นให้ความสนใจในภาษาเอเชีย แต่ไม่เพียงเฉพาะภาษาในทวีปเอเชียตามชื่อบริษัทเท่านั้น เอเชียออนไลน์ยังสนับสนุนภาษาราชการของสหภาพยุโรปอีก 23 ภาษา บริษัทดังกล่าวก่อตั้งขึ้นใน..
เทศมณฑลอารัด
อารัด (Arad) เป็นเขตการปกครองระดับเทศมณฑล (judeţ) ของประเทศโรมาเนีย มีพรมแดนติดกับประเทศฮังการี ศูนย์กลางการบริหารเทศมณฑลตั้งอยู่ที่เมืองอารัด เทศมณฑลอารัดยังเป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคดานูบ–กริช–มูเรช–ตีซาของสหภาพยุโรป.
เขตการค้าเสรี
MERCOSUR เป็นตัวอย่างของเขตการค้าเสรีระหว่างประเทศกรวยภาคใต้ เขตการค้าเสรี (Free trade area, FTA) เป็นกลุ่มประเทศที่ได้ทำข้อตกลงที่จะทำการค้าแบบเสรี โดยกำจัด การเก็บภาษีศุลกากร การจำกัดส่วนแบ่ง (โควตา) และการให้สิทธิพิเศษ กับสินค้าส่วนใหญ่ (ถ้าไม่ทั้งหมด) ที่ทำการค้าขายระหว่างกัน.
เขตเศรษฐกิจยุโรป
เขตเศรษฐกิจยุโรป หรืออีอีเอ (European Economic Area หรือ EEA) เป็นผลจากข้อตกลงระหว่างรัฐสมาชิกของสมาคมการค้าเสรียุโรป (เอฟตา) ประชาคมยุโรป (อีซี) และสหภาพยุโรป (อียู) ทำให้ประเทศสมาชิกของเอฟตาสามารถเข้าร่วมตลาดร่วมกับสมาชิกสหภาพยุโรปได้ สมาชิกของเขตเศรษฐกิจยุโรปได้แก่ 27 รัฐสมาชิกอียูและอีอีซี และอีกสามประเทศจากเอฟตา ได้แก่ ไอซ์แลนด์ ลิกเตนสไตน์ และนอร์เวย์ สวิตเซอร์แลนด์เป็นสมาชิกของเอฟตา แต่ไม่เข้าร่วมเขตเศรษฐกิจยุโรปนี้ ขเตเศรษฐกิจยุโรป ขเตเศรษฐกิจยุโรป ขเตเศรษฐกิจยุโรป.
ดู สหภาพยุโรปและเขตเศรษฐกิจยุโรป
เดวิด แคเมอรอน
วิด วิลเลียม ดอนัลด์ แคเมอรอน (David William Donald Cameron) เกิดเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 1966 เป็นนักการเมืองชาวอังกฤษ อีกทั้งเดวิดยังดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 53 คนปัจจุบันแห่งสหราชอาณาจักรตั้งแต่ปี..
ดู สหภาพยุโรปและเดวิด แคเมอรอน
เคมบริดจ์แอนะลิติกา
มบริดจ์แอนะลิติกา (Cambridge Analytica, ย่อ: CA) เป็นบริษัทที่ปรึกษาการเมืองบริติชซึ่งใช้การทำเหมืองข้อมูล การเป็นนายหน้าข้อมูล (data brokerage) และการวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกับการสื่อสารยุทธศาสตร์สำหรับกระบวนการเลือกตั้ง บริษัทฯ ก่อตั้งเป็นสาขาหนึ่งของเอสซีแอลกรุ๊ป (SCL Group) ครอบครัวของรอเบิร์ต เมอร์เซอร์ (Robert Mercer) ผู้จัดการกองทุนบริหารความเสี่ยงชาวอเมริกันผู้สนับสนุนอุดมการณ์อนุรักษนิยมทางการเมืองหลายอุดมการณ์ เป็นเจ้าของบริษัทฯ บางส่วน ปัจจุบันบริษัทฯ มีสำนักงานในกรุงลอนดอน นครนิวยอร์ก และวอชิงตัน ดี.ซี.
ดู สหภาพยุโรปและเคมบริดจ์แอนะลิติกา
เครื่องหมายยูโร
เครื่องหมายยูโร (euro; สัญลักษณ์: €) เป็นเครื่องหมายสกุลเงินใช้กับสกุลเงินยูโร สกุลเงินทางการของเขตยูโรโซนในสหภาพยุโรป คณะกรรมการยุโรปเสนอการออกแบบสัญลักษณ์ในวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและเครื่องหมายยูโร
เซก้า แซทเทิร์น
เซก้า แซทเทิร์น (Sega Saturn) เป็นเครื่องเล่นวิดีโอเกมแบบ 32 บิตของบริษัทเซก้า ออกวางจำหน่ายครั้งแรกวันที่ 22 พฤศจิกายน ค.ศ.
ดู สหภาพยุโรปและเซก้า แซทเทิร์น
เซวตา
ซวตา (Ceuta) หรือ ซับตะฮ์ (سبتة) เป็นนครปกครองตนเองแห่งหนึ่งของประเทศสเปนในแอฟริกาเหนือ ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งด้านใต้ของช่องแคบยิบรอลตาร์ มีเนื้อที่ประมาณ 28 ตารางกิโลเมตร ประเทศโมร็อกโกได้อ้างกรรมสิทธิ์เหนือเมืองนี้รวมทั้งเมลียาและหมู่เกาะเล็ก ๆ ของสเปนในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน.
เซอเริมบัน
ซอเริมบัน (Seremban) เป็นหนี่งในเขตทั้งเจ็ดเขตของรัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน เป็นเมืองหลวงของรัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน อยู่ในประเทศมาเลเซีย เริ่มก่อตั้งเมื่อปี..
เนปาลแอร์ไลน์
นปาลแอร์ไลน์ (เคยรู้จักกันในชื่อ รอยัลเนปาลแอร์ไลน์) เป็นสายการบินประจำชาติของประเทศเนปาล มีสำนักงานใหญ่ในกรุงกาฐมาณฑุ มีฐานการบินหลักอยู่ที่ ท่าอากาศยานนานาชาติตริภูวัน ชานกรุงกาฐมาณฑุ ก่อตั้งในเดือนกรกฎาคม..
BRICS
แผนที่กลุ่มประเทศ BRICS BRICS เป็นอักษรย่อใช้เรียกกลุ่มประเทศที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วอันประกอบด้วย บราซิล (Brazil) รัสเซีย (Russia) อินเดีย (India) จีน (China) และแอฟริกาใต้ (South Africa) ศัพท์คำนี้ถูกสร้างขึ้นมาโดย จิม โอนีลล์ ในบทวิจัยในปี 2544 ชื่อ "The World Needs Better Economic BRICs" ชื่อ BRICS ถูกใช้เป็นสัญลักษณ์แสดงถึงการย้ายอำนาจเศรษฐกิจโลกจากกลุ่มพัฒนาแล้วอย่าง G7 มาสู่กลุ่มประเทศกำลังพัฒนา ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในปี 2548 กล่าวถึงประเทศเม็กซิโกและเกาหลีใต้ว่าเป็นประเทศที่เทียบเท่าได้กับ BRICS แต่ถูกตัดออกจากกลุ่มตั้งแต่ต้น เพราะถือว่าเป็นประเทศมีการพัฒนามากกว่า เนื่องจากเป็นสมาชิกของกลุ่ม OECD โกลด์แมน แซคส์ กล่าวว่า กลุ่ม BRICS พัฒนาอย่างรวดเร็วมากจนประมาณปี..
EU
EU หรือ Eu อักษรย่อในภาษาอังกฤษ สามารถหมายถึง.
Piazza telematica
ปีอัซซา เทเลมาตีกา (Piazza Telematica) ในภาษาอิตาลีมีความหมายว่า จัตุรัสแห่งการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ (Telematic Square) มีการจัดตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกในการแข่งขันฟุตบอลโลก Italia 90 เพื่อใช้เป็นศูนย์รับส่งข้อมูลข่าวสารสำหรับผู้สื่อข่าวที่อยู่ในจำนวน 12 เมืองที่จัดการแข่งขันสำหรับฟุตบอลโลกในครั้งนั้น ในปี..
ดู สหภาพยุโรปและPiazza telematica
WWWJDIC
WWWJDIC เป็นพจนานุกรมภาษาญี่ปุ่นออนไลน์ ซึ่งมีพื้นฐานมาจากพจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ที่แปลและรวบรวมโดย จิม บรีน (Jim Breen) นักวิชาการชาวออสเตรเลีย แฟ้มพจนานุกรมหลักแปลจากภาษาญี่ปุ่นไปเป็นภาษาอังกฤษ และแปลจากภาษาอังกฤษไปเป็นภาษาญี่ปุ่น (EDICT) มีคำศัพท์ประมาณ 130,000 รายการ (และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ) มีพจนานุกรมการอ่านชื่อเฉพาะในภาษาญี่ปุ่น (ENAMDICT) กว่าแสนชื่อ และยังมีพจนานุกรมเฉพาะทางเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ นิติศาสตร์ คอมพิวเตอร์ วิศวกรรมศาสตร์ ฯลฯ ให้เลือกแปล นอกจากจะสามารถแปลเป็นภาษาอังกฤษแล้ว ยังสามารถแปลเป็นภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย ภาษาฮังการี และภาษาสวีเดนได้ด้วย WWWJDIC เป็นการใช้ประโยชน์จากรุ่นปรับแต่งของ แฟ้มข้อความสาธารณสมบัติ เป็นการรวบรวมประโยคต่างๆ ในภาษาญี่ปุ่นแล้วแปลจับคู่กับภาษาอังกฤษ ซึ่งมีจำนวนมากกว่า 160,000 คู่ในรุ่นปัจจุบัน ส่วนข้อมูลแฟ้มพจนานุกรมสามารถดาวน์โหลด แก้ไข และคัดลอกได้อย่างเสรี เนื่องจากอยู่ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ ประเภท Attribution-ShareAlike รุ่น 3.0 การเข้าถึงนอกจากจะสามารถเปิดเว็บไซต์โดยตรงได้แล้ว ยังสามารถใช้กับกล่องค้นหาในไฟร์ฟอกซ์ และมีแถบเครื่องมือสืบค้นที่สามารถเชื่อมโยงมายังเว็บไซต์ เว็บไซต์หลักของ WWWJDIC ตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยโมนาช (Monash University) ประเทศออสเตรเลีย ปัจจุบันมีไซต์เสมือนอีก 5 แห่งได้แก่ กลุ่มวิจัยและพัฒนาพจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ สหรัฐอเมริกา, ศูนย์วิจัยแห่งชาติ ประเทศแคนาดา, มหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น, ประเทศสวีเดน, และที่สหภาพยุโรป.
.eu
.eu เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับสหภาพยุโรป เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2548.
1 กรกฎาคม
วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นวันที่ 182 ของปี (วันที่ 183 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 183 วันในปีนั้น.
1 มกราคม
วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).
1 E+12 m²
1 E+12 m² เป็นอันดับของขนาดของสิ่งที่มีพื้นที่ระหว่าง 1,000,000 ถึง 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ---- พื้นที่ขนาดน้อยกว่า 1 ล้านตารางกิโลเมตร ---- ประเทศอียิปต์ มีพื้นที่ประมาณ 1 ล้าน ตร.กม.
7 กุมภาพันธ์
วันที่ 7 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 38 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 327 วันในปีนั้น (328 วันในปีอธิกสุรทิน).
หรือที่รู้จักกันในชื่อ European Unionอียู
การเลือกตั้งในฝรั่งเศสสมัยสาธารณรัฐที่ 5ญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์ภาษาฟินแลนด์ภาษากรีกภาษากาลิเซียภาษาฝรั่งเศสภาษามอลตาภาษาลัตเวียภาษาลิทัวเนียภาษาสวีเดนภาษาสโลวักภาษาสโลวีเนียภาษาสเปนภาษาอังกฤษภาษาอิตาลีภาษาฮังการีภาษาดัตช์ภาษาโปรตุเกสภาษาโปแลนด์ภาษาไอริชภาษาเช็กภาษาเยอรมันภาษาเอสโตเนียภาษาเดนมาร์กภูมิศาสตร์เอเชียมอซซาเรลลามอซซาเรลลาควายมาเซล คาซิมอฟมิวนิกมิตซูบิชิ แลนเซอร์ อีโวลูชันมณฑลกวางตุ้งยาปฏิชีวนะยุโรป (แก้ความกำกวม)ยูโรยูโรโซนยูโรไมดานระบบกำหนดตำแหน่งบนโลกระบอบสหพันธรัฐระเบียบการคุ้มครองข้อมูลทั่วไปรัฐสภายุโรปรัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557ราชอาณาจักรเดนมาร์กราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์รามิโล่ ชเคนิสสการายชื่อสนธิสัญญารายชื่อตัวละครในกันดั้มดับเบิลโอรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรมรายชื่อประเทศตามอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางรายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดรายชื่อประเทศในทวีปยุโรปเรียงตามประชากรรายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตถ่านหินรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากรรายชื่อเมืองใหญ่ที่สุดในสหภาพยุโรปเรียงตามจำนวนประชากรรายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพริ้วขบวนในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรถไฟใต้ดินมาดริดลอนดอนลัทธิกีดกันทางเพศลุสปิตาแล็ตดายูบรากัตวันยุโรปวิกฤตการณ์การเงิน พ.ศ. 2550–2551วิกฤตการณ์ผู้ย้ายถิ่นยุโรปวิกฤติหนี้สาธารณะกรีซวิกิเมเนียศาลยุติธรรมสหภาพยุโรปศิลปศาสตรบัณฑิตศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคแห่งยุโรปสภายุโรปสภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติสภานิติบัญญัติสมาคมการค้าเสรียุโรปสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวียสหภาพแอฟริกาสหภาพโซเวียตสหภาพเภสัชกรรมแห่งยุโรปสหภาพเศรษฐกิจสหรัฐสหราชอาณาจักรสหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 2016สาธารณสุขสำนักงานผู้อำนวยการใหญ่เพื่อการคุ้มครองพลเมืองยุโรปและปฏิบัติการการช่วยเหลือมนุษยธรรมสิทธิแรงงานสื่อลามกอนาจารเด็กสุริยุปราคา 20 มีนาคม พ.ศ. 2558สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์สถาปัตยกรรมใน พ.ศ. 2555สถานีอวกาศนานาชาติสงครามกลางเมืองยุโรปสงครามกลางเมืองซีเรียสงครามรัสเซีย-จอร์เจียสนธิสัญญาสนธิสัญญาลิสบอนสนธิสัญญาโรมสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาสโมสรฟุตบอลบาเยิร์นมิวนิกในฤดูกาล 2015–16สโมสรฟุตบอลบาเยิร์นมิวนิกในฤดูกาล 2016–17หมู่เกาะโอลันด์หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดาหลักระวังไว้ก่อนหนังสือเดินทางชนิดอ่านด้วยเครื่องได้หน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย)อภิมหาอำนาจออลดรินอับดิเวลี ชีค อาห์เมดอัลกออิดะฮ์อัลติสอาเรนาอัปแซ็งต์อาหารอาเลชังดรี ปาตูอาเลกซานดาร์ คาราจอร์เจวิชอควาวิตองค์กรปฏิวัติ 17 พฤศจิกายนอนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรมฮัมบวร์คฌัก ชีรักจังหวัดของประเทศฝรั่งเศสจังหวัดโพ้นทะเลจี7ธัชวิทยาธงชาติบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาธงชาติลิทัวเนียธงชาติเยอรมนีธนาคารกลางยุโรปทวีปยุโรปที่ประชุมแห่งกรุงเฮกว่าด้วยกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลท่าอากาศยานนานาชาติตริภูวันขบวนการประชาชนมุญาฮิดีนอิหร่านขยะอิเล็กทรอนิกส์ข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรมดรีมแคสต์ดอน ปรมัตถ์วินัยดินแดนปาเลสไตน์ดูไบเวิลด์คริสต์ทศวรรษ 2020ความพยายามรัฐประหารในประเทศตุรกี พ.ศ. 2559ความพิการความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิกความหลากหลายทางวัฒนธรรมความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิกความตกลงป้องกันและปราบปรามการค้าสิ่งปลอมความตกลงเชงเกนความแพร่หลายของภาษาสเปนความเสมอภาคของอัตราดอกเบี้ยคณะกรรมาธิการยุโรปคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือคณะผู้แทนทางทูตคณะผู้แทนทางทูตของประเทศบังกลาเทศคณะผู้แทนทางทูตของประเทศบาห์เรนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศฟิลิปปินส์คณะผู้แทนทางทูตของประเทศพม่าคณะผู้แทนทางทูตของประเทศกัมพูชาคณะผู้แทนทางทูตของประเทศกาตาร์คณะผู้แทนทางทูตของประเทศญี่ปุ่นคณะผู้แทนทางทูตของประเทศมองโกเลียคณะผู้แทนทางทูตของประเทศมาเลเซียคณะผู้แทนทางทูตของประเทศศรีลังกาคณะผู้แทนทางทูตของประเทศสิงคโปร์คณะผู้แทนทางทูตของประเทศสเปนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอาร์มีเนียคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิตาลีคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์แดนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์เจียคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจีนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศคีร์กีซสถานคณะผู้แทนทางทูตของประเทศติมอร์-เลสเตคณะผู้แทนทางทูตของประเทศซาอุดีอาระเบียคณะผู้แทนทางทูตของประเทศซีเรียคณะผู้แทนทางทูตของประเทศปากีสถานคณะผู้แทนทางทูตของประเทศโปรตุเกสคณะผู้แทนทางทูตของประเทศไทยคณะผู้แทนทางทูตของประเทศไซปรัสคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเกาหลีใต้คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเยเมนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเลบานอนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเวียดนามคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเติร์กเมนิสถานคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเนปาลตราแผ่นดินของออสเตรียซาโปนินซูเปอร์แฟมิคอมปฏิกิริยาของนานาชาติต่อรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549ปฏิกูลปฏิญญาชูมานประชาธิปไตยโดยตรงประชาธิปไตยเสรีนิยมประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสประวัติศาสตร์สเปนประวัติศาสตร์ออสเตรียประวัติศาสตร์เบลารุสประวัติศาสตร์เยอรมนี (ค.ศ. 1945–1990)ประเทศบังกลาเทศประเทศฟินแลนด์ประเทศพม่าประเทศกรีซประเทศฝรั่งเศสประเทศมอลตาประเทศมอนเตเนโกรประเทศรัสเซียประเทศลักเซมเบิร์กประเทศลิกเตนสไตน์ประเทศลิทัวเนียประเทศสกอตแลนด์ประเทศสวีเดนประเทศสโลวาเกียประเทศสโลวีเนียประเทศอิตาลีประเทศอุซเบกิสถานประเทศอียิปต์ประเทศฮังการีประเทศคอซอวอประเทศซานมารีโนประเทศนอร์เวย์ประเทศโรมาเนียประเทศโครเอเชียประเทศโปรตุเกสประเทศไอร์แลนด์ประเทศไอซ์แลนด์ประเทศไทยใน พ.ศ. 2547ประเทศไต้หวันประเทศไซปรัสประเทศเบลเยียมประเทศเช็กเกียประเทศเยอรมนีประเทศเอสโตเนียประเทศเดนมาร์กประเทศเซาท์ซูดานประเทศเนเธอร์แลนด์ปรากฏการณ์รังผึ้งล่มสลายปีเตอร์ ซุนเดนักวิทยุสมัครเล่นนีคอลา กรูเอฟสกีนโยบายการขอรับลงตราของประเทศไทยนโยบายเกษตรร่วมน้ำตาลแฟรงก์เฟิร์ตแม่น้ำดานูบแร่ใยหินแอร์คีร์กีซสถานแอร์โครยอแอซีซัลเฟมโพแทสเซียมแผนปฏิบัติการเบ็ดเสร็จร่วมแขวงหลวงน้ำทาแคว้นกัสติยาและเลออนแคว้นกาลิเซียแคว้นกาตาลุญญาแนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์แนวร่วมปลดปล่อยอาหรับโบสถ์นักบุญโธมัส (ไลพ์ซิก)โบฮีเมียโรมโรคจอตามีสารสีโรงเรียนวัดสุทธิวรารามโลกาภิวัตน์โลกที่หนึ่งโลกตะวันตกโอเพนด็อกคิวเมนต์โครงการเอรัสมุสโซเฟียไมโครซอฟท์ไอโอเอส 8ไขมันทรานส์ไข่ (อาหาร)เบราน์ชไวค์เบวะซิซิวแมบเบอร์ลินเบือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุคเบเนลักซ์เฟรนช์เกียนาเกมคิวบ์เภสัชกรเมือกชมพูเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรปเมธีนามีนเรอูนียงเรดอนเลขอีเศรษฐกิจยุโรปเศรษฐกิจจีนเศรษฐกิจและการค้าของประเทศลิทัวเนียเศรษฐกิจเยอรมนีเส้นทางการค้าเหตุระเบิดรถไฟฟ้าใต้ดินมินสค์ พ.ศ. 2554เหตุระเบิดในลอนดอน 7 กรกฎาคม 2548เหตุสารฟิโปรนิลปนเปื้อนในไข่ พ.ศ. 2560เหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555เหตุจลาจลในสาธารณรัฐมาซิโดเนีย พ.ศ. 2544เหตุโจมตีในนอร์เวย์ พ.ศ. 2554เอรัสมุสมุนดุสเอลีโย ดี รูโปเอนโดซัลแฟนเอเชียออนไลน์เทศมณฑลอารัดเขตการค้าเสรีเขตเศรษฐกิจยุโรปเดวิด แคเมอรอนเคมบริดจ์แอนะลิติกาเครื่องหมายยูโรเซก้า แซทเทิร์นเซวตาเซอเริมบันเนปาลแอร์ไลน์BRICSEUPiazza telematicaWWWJDIC.eu1 กรกฎาคม1 มกราคม1 E+12 m²7 กุมภาพันธ์