เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย

ดัชนี สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย

หพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย (date|r.

สารบัญ

  1. 131 ความสัมพันธ์: ฟิโอดอร์ สโมลอฟพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียกรมการเมืองรัฐกระทรวงการต่างประเทศ (สหภาพโซเวียต)กองทัพโซเวียตกองเรือบอลติกกองเรือทะเลดำการกวาดล้างใหญ่การยึดครองรัฐบอลติกการลงประชามติสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534การล้อมเลนินกราดการล้อมเซวัสโตปอล (ค.ศ. 1941–1942)การต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์การปฏิวัติรัสเซียการปฏิวัติเดือนตุลาคมการเลือกตั้งประธานาธิบดีรัสเซีย พ.ศ. 2534มาเรีย ชาราโปวามิสรัสเซียมีฮาอิล ฟรุนเซมีฮาอิล กอร์บาชอฟมีฮาอิล อุลยานอฟมีฮาอิล คาลีนินมีฮาอิล ซุสลอฟมีฮาอิล โรมม์มีคาอิล ตูคาเชฟสกียุทธการที่รเจฟยุทธการที่สโมเลนสค์ (ค.ศ. 1941)ยุทธการที่คาบสมุทรเคียร์ชยุทธการที่โปรโฮรอฟกายูริ กาการินยูรี จีร์คอฟยูรี โอเซรอฟยูรี โซโลมินรองประธานาธิบดีรัสเซียรัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่รัสเซีย (แก้ความกำกวม)ราชอาณาจักรฟินแลนด์ (ค.ศ. 1918)รายชื่อธงในสหภาพโซเวียตรายชื่อธงในประเทศรัสเซียรายชื่อธงในประเทศอุซเบกิสถานรายการแผ่นดินไหวราโบชายา มาร์เซลเยซาลัฟเรนตีย์ เบรียาลัทธิเลนินวยาเชสลาฟ โมโลตอฟวลาดีมีร์ กลาซูนอฟวลาดีมีร์ ครัมนิควาซีลี บลูย์เคียร์วาเลรี เลโอนตีเยฟวาเลนตีนา เตเรชโควา... ขยายดัชนี (81 มากกว่า) »

ฟิโอดอร์ สโมลอฟ

ฟิโอดอร์ มิไคลอวิช สโมลอฟ (Фёдор Миха́йлович Смо́лов, เกิด 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1990) เป็นนักฟุตบอลชาวรัสเซีย ปัจจุบันลงเล่นตำแหน่งกองหน้าให้กับสโมสรฟุตบอลครัสโนดาร์และทีมชาติรัสเซีย โดยก่อนหน้านี้เคยเล่นให้กับดีนาโมมอสโก, ไฟเยอโนร์ด, อันจีมาคาชกาลา และอูรัล สโมลอฟถูกเรียกตัวติดทีมชาติครั้งแรกเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและฟิโอดอร์ สโมลอฟ

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย (Коммунистическая партия Российской Советской Федеративной Социалистической Республики, Kommunisticheskaya partiya Rossiyskoy Sovetskoy Federativnoy Sotsialisticheskoy Respubliki) เป็นพรรคการเมืองระดับสาธารณรัฐของสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย หมวดหมู่:พรรคการเมืองในสหภาพโซเวียต หมวดหมู่:พรรคคอมมิวนิสต์ หมวดหมู่:พรรคการเมืองรัสเซีย.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย

กรมการเมืองรัฐ

ณะกรรมาธิการทางการเมืองของรัฐ (ยังได้ให้ความหมายอีกว่า องค์การบริหารด้านการเมืองของรัฐ) (GPU) เป็นหน่วยสืบราชการลับและตำรวจลับแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย (RSFSR) ตั้งแต่วันที่ 6 กุมภาพัน..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและกรมการเมืองรัฐ

กระทรวงการต่างประเทศ (สหภาพโซเวียต)

กระทรวงการต่างประเทศแห่งสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Министерство внешних сношений СССР) เป็นหน่วยงานราชการของสหภาพโซเวียตประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการต่างประเทศและราชการอื่น ตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงการต่างประเทศ หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงการต่างประเท.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและกระทรวงการต่างประเทศ (สหภาพโซเวียต)

กองทัพโซเวียต

กองทัพโซเวียต หรือ กองทัพสหภาพโซเวียต มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า กองทัพแห่งสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Вооружённые Силы Союза Советских Социалистических Республик, Вооружённые Силы Советского Союза) หมายถึง กองกำลังทหารของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย (1917–1922) และสหภาพโซเวียต (1922–1991) นับแต่การเริ่มต้นหลังสงครามกลางเมืองรัสเซียสิ้นสุดกระทั่งล่มสลายในเดือนธันวาคม 1991 ตามกฎหมายราชการทหารทั่วสหภาพ เดือนกันยายน 1925 กองทัพโซเวียตประกอบด้วยห้าเหล่า ได้แก่ กองทัพบก กองทัพอากาศ กองทัพเรือ หน่วยอำนวยการการเมืองรัฐ (OGPU) และ กองกำลังภายใน (convoy guards) ภายหลัง OGPU แยกเป็นอิสระและรวมเข้ากับ NKVD ในปี 1934 หลังสงครามโลกครั้งที่สอง มีการเพิ่มหน่วยขีปนาวุธทางยุทธศาสตร์ (1960) กองกำลังป้องกันภัยทางอากาศ (1948) และกำลังประชาชนแห่งชาติทั่วสหภาพ (1970) ซึ่งจัดเป็นอันดับที่หนึ่ง สามและหกในการนับความสำคัญเปรียบเทียบอย่างเป็นทางการของโซเวียต (โดยกำลังภาคพื้นดินมีความสำคัญเป็นอันดับสอง กองทัพอากาศเป็นอันดับสี่ และกองทัพเรือเป็นอันดับห้า) อำนาจทางทหารของโซเวียตในขณะนั้นใหญ่ที่สุดและทรงอำนาจที่สุดของโลก โครงสร้างการบังคับบัญชาของกองทัพแห่งสหภาพ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและกองทัพโซเวียต

กองเรือบอลติก

กองเรือบอลติก (Балтийский флот, Baltiysky Flot) เป็นกองเรือของกองทัพเรือรัสเซีย ในทะเลบอลติก กองเรือบอลติก สถาปนาขึ้นในวันที่ 18 พฤษภาคม 1703 โดยจักรพรรดิปีเตอร์มหาราช โดยเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพเรือจักรวรรดิรัสเซีย กองเรือบอลติกเป็นองค์กรของกองทัพเรือรัสเซียที่เก่าแก่ที่สุด กองเรือได้ถูกโอนเปลี่ยนยังสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย และต่อมาคือ สหภาพโซเวียต ในปี 1922 โดยเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพเรือโซเวียต กองเรือยังเป็นที่รู้จักในชื่อของ ดวัจดืยครัสโนซนามิออนนืยบัลตีสกีโฟลต์ (Два́жды Краснознамённый Балти́йский фло́т) เนื่องจากในช่วงยุคโซเวียตกองเรือบอลติกได้รับเครื่องอิสริยาภรณ์ธงแดง 2 ครั้ง หลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในเดือน ธันวาคม 1991 กองเรือบอลติกได้ถูกโอนเปลี่ยนยังสหพันธรัฐรัสเซีย โดยกลับไปใช้ชื่อเดิมในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพเรือรัสเซีย กองบัญชาการของกองเรือบอลติกตั้งอยู่ในเมืองคาลีนินกราด ซึ่งฐานทัพหลักตั้งอยู่ในเมืองบัลตีสค์ โดยทั้งสองอยู่ในแคว้นคาลีนินกราด และมีฐานทัพอื่นตั้งอยู่ในเมืองโครนสตัดต์, เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ในอ่าวฟินแลน.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและกองเรือบอลติก

กองเรือทะเลดำ

กองเรือทะเลดำ (Черноморский Флот, Chernomorsky Flot) เป็นกองเรือของกองทัพเรือรัสเซีย ในทะเลดำ, ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และ ทะเลอะซอฟ เจ้าชายโปติออมกินทรงสถาปนากองเรือทะเลดำขึ้นในวันที่ 13 พฤษภาคม 1783 กองเรือได้ถูกโอนเปลี่ยนยังสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย ต่อมาคือ สหภาพโซเวียต ในปี 1922 โดยเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพเรือโซเวียต หลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในเดือน ธันวาคม 1991 กองเรือทะเลดำและเรือส่วนใหญ่ได้ถูกโอนเปลี่ยนยังสหพันธรัฐรัสเซีย กองบัญชาการและที่ตั้งหลักอย่างเป็นทางการของกองเรือทะเลดำตั้งอยู่ในเมืองเซวัสโตปอล ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของประเทศยูเครน โดยนิตินัย แต่เป็นส่วนหนึ่งของประเทศรัสเซีย โดยพฤตินัย ส่วนที่เหลือของกองเรือและยานพาหนะจะอยู่ในสถานที่ต่าง ๆ บนทะเลดำ และ ทะเลอะซอฟ เช่น ดินแดนครัสโนดาร์, แคว้นรอสตอฟ และ ไครเมีย ผู้บัญชาการกองเรือทะเลดำคนปัจจุปันคือ พลเรือเอก Aleksandr Vitko โดยเขาดำรงตำแหน่งมาตั้งแต่เดือนเมษายน 2013.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและกองเรือทะเลดำ

การกวาดล้างใหญ่

อัยการสูงสุด อันเดรย์ วืยชินสกี (คนกลาง), กำลังอ่านข้อกล่าวหาต่อ Karl Radek ในช่วง การพิจารณาคดีมอสโกครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและการกวาดล้างใหญ่

การยึดครองรัฐบอลติก

การยึดครองรัฐบอลติก (occupation of the Baltic states) เป็นการยึดครองด้วยทหารต่อรัฐบอลติกทั้งสามคือลิทัวเนีย ลัตเวีย และเอสโตเนีย โดยสหภาพโซเวียตตามสนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพในวันที่ 14 กรกฎาคม..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและการยึดครองรัฐบอลติก

การลงประชามติสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534

แบบลงประชามติ การลงประชามตินี้ มีขึ้นที่สหภาพโซเวียตเมื่อวันที่ 17 มีนาคม..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและการลงประชามติสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534

การล้อมเลนินกราด

การล้อมเลนินกราด (блокада Ленинграда blokada Leningrada) เป็นการล้อมยืดเยื้อซึ่งกลุ่มกองทัพเหนือของเยอรมันกระทำต่อเลนินกราด ซึ่งก่อนหน้านี้และปัจจุบันคือ เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ในแนวรบด้านตะวันออกของสงครามโลกครั้งที่สอง การล้อมเริ่มต้นเมื่อวันที่ 8 กันยายน 1941 เมื่อถนนเส้นสุดท้ายสู่นครถูกตัดขาด แม้ฝ่ายโซเวียตสามารถเปิดฉนวนทางบกแคบ ๆ สู่นครได้เมื่อวันที่ 18 มกราคม 1943 กว่าการล้อมจะยุติก็วันที่ 27 มกราคม 1944 กินเวลา 872 วัน เป็นการล้อมที่ยาวนานและทำลายล้างสูงสุดในประวัติศาสตร์ และอาจเป็นการล้อมที่มียอดผู้เสียชีวิตสูงสุดด้ว.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและการล้อมเลนินกราด

การล้อมเซวัสโตปอล (ค.ศ. 1941–1942)

การล้อมเซวัสโตปอล ยังเป็นที่รู้จักกันคือ การป้องกันที่เซวัสโตปอล (Оборона Севастополя, transliteration: Oborona Sevastopolya) หรือ ยุทธการที่เซวัสโตปอล (German: Schlacht um Sewastopol) เป็นการสู้รบทางทหารที่เกิดขึ้นบนแนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง การทัพครั้งนี้เป็นการสู้รบโดยฝ่ายอักษะ อันได้แก่ เยอรมนี โรมาเนีย และอิตาลี เข้าปะทะกับสหภาพโซเวียตจากพื้นที่ควบคุมที่เซวัสโตปอล ท่าเรือในแหลมไครเมียบนทะเลดำ เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและการล้อมเซวัสโตปอล (ค.ศ. 1941–1942)

การต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์

การต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์เป็นการต่อต้านต่อลัทธิคอมมิวนิสต์ การจัดตั้งองค์กรเพื่อต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ได้ถูกพัฒนาขึ้นหลังปี..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์

การปฏิวัติรัสเซีย

การปฏิวัติรัสเซีย (Russian Revolution) คือภาพรวมของระลอกการปฏิวัติในรัสเซียช่วงปี..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและการปฏิวัติรัสเซีย

การปฏิวัติเดือนตุลาคม

การปฏิวัติเดือนตุลาคม (October Revolution, Октя́брьская револю́ция) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า การปฏิวัติสังคมนิยมแห่งเดือนตุลาคมอันยิ่งใหญ่ (Great October Socialist Revolution, Вели́кая Октя́брьская социалисти́ческая револю́ция) และเรียกโดยทั่วไปว่า ตุลาคมแดง, การลุกฮือเดือนตุลาคม หรือ การปฏิวัติบอลเชวิก เป็นการยึดอำนาจรัฐ ซึ่งมีความสำคัญส่วนหนึ่งของการปฏิวัติรัสเซีย ค.ศ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและการปฏิวัติเดือนตุลาคม

การเลือกตั้งประธานาธิบดีรัสเซีย พ.ศ. 2534

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย เป็นการเลือกตั้งสายเสรีครั้งแรกของประเทศ โดยมีขึ้นเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและการเลือกตั้งประธานาธิบดีรัสเซีย พ.ศ. 2534

มาเรีย ชาราโปวา

มาเรีย ยูรืยเอฟนา ชาราโปวา (Maria Yuryevna Sharapova; Мари́я Ю́рьевна Шара́пова; เกิด 19 เมษายน 2530) เป็นนักเทนนิสอาชีพชาวรัสเซีย ซึ่งสมาคมนักเทนนิสอาชีพหญิงจัดให้อยู่ในอันดับ 7 ของโลก เป็นผู้เข้ามามีถิ่นที่อยู่ในสหรัฐตั้งแต่ปี 2537 แข่งขันดับเบิลยูทีเอทัวร์ตั้งแต่ปี 2544 เธอเคยถูกจัดอยู่อันดับ 1 ของโลกโดยดับเบิลยูทีเอในห้าโอกาส รวม 21 สัปดาห์ เธอเป็นหญิงหนึ่งในสิบคนและชาวรัสเซียคนเดียวที่ครองแกรนด์สแลมอาชีพ เธอยังได้เหรียญโอลิมปิก โดยคว้าเหรียญเงินให้ประเทศรัสเซียในประเภทหญิงเดี่ยวในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 ในกรุงลอนดอน ชาราโปวาเป็นหมายเลข 1 ของโลกเป็นครั้งแรกในวันที่ 22 สิงหาคม 2548 ขณะอายุ 18 ปี และครั้งสุดท้ายครองตำแหน่งเป็นครั้งที่ห้าเป็นเวลาสี่สัปดาห์ตั้งแต่วันที่ 11 มิถุนายน 2555 ถึง 8 กรกฎาคม 2555 การชนะเลิศประเภทเดี่ยวของเธอ 35 ครั้ง และแกรนด์สแลม 5 ครั้ง สองครั้งทีเฟรนช์โอเพนและที่ออสเตรเลียนโอเพน วิมเบิลดันและยูเอสโอเพนอีกที่ละครั้ง อยู่ในอันดับสามในบรรดานักกีฬาที่ยังแข่งขันอยู่ ตามหลังเซเรนาและวีนัส วิลเลียมส์ เธอชนะรอบสุดท้ายดับเบิลยูทีเอสิ้นปีในการเปิดตัวเธอในปี 2547 เธอยังชนะเลิศประเภทคู่สามครั้ง แม้เป็นอาชีพที่เสี่ยงต่อการบาดเจ็บ แต่ชาราโปวามีช่วงเวลาระดับที่หาได้ยากในกีฬาหญิง เธอชนะเลิศประเภทเดี่ยวอย่างน้อยหนึ่งรายการต่อปีตั้งแต่ปี 2546 ถึง 2558 เป็นสถิติต่อเนื่องที่เป็นรองเพียงสเตฟฟี กราฟ, มาร์ตินา นาฟราติโลวา, และคริส เอเวิร์ต ผู้เชี่ยวชาญเทนนิสหลายคนและอดีตนักกีฬาเรียกชาราโปวาว่าเป็นผู้เข้าแข่งขันเทนนิสยอดเยี่ยมคนหนึ่ง โดยจอห์น แม็กเอ็นโรเรียกเธอว่าเป็นผู้ยอดเยี่ยมที่สุดคนหนึ่งที่กีฬาเทนนิสเคยเห็น ชาราโปวายังได้งานเดินแบบจำนวนหนึ่ง ซึ่งรวมถึงเป็นนางแบบในสปอตส์อิลละสเตรติดสวิมสูตอิชชู (Sports Illustrated Swimsuit Issue) เธอปรากฏในหลายโฆษณา ซึ่งรวมไนกี พรินซ์และแคนอน นับแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2550 เธอเป็นทูตสันถวไมตรีโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ โดยสนใจโครงการฟื้นฟูและพัฒนาเชอร์โนบิลเป็นพิเศษ ในเดือนมิถุนายน 2554 เธอได้รับขนานนามเป็นหนึ่งใน "30 ตำนานเทนนิสหญิง: อดีต ปัจจุบันและอนาคต" โดยไทม์ และในเดือนมีนาคม 2555 เทนนิสแชนเนลยังยกให้เป็นหนึ่งใน "100 ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาล" จากข้อมูลของฟอบส์ เธอเป็นนักกีฬาหญิงที่มีรายได้สูงสุดในโลก 11 ปีติดต่อกัน และทำรายได้ 285 ล้านดอลลาร์สหรัฐซึ่งรวมเงินรางวัลตั้งแต่เธอเล่นอาชีพในปี 2544 ในเดือนมีนาคม 2559 ชาราโปวาเปิดเผยว่าเธอไม่ผ่านการทดสอบสารกระตุ้นที่ออสเตรเลียนโอเพน.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและมาเรีย ชาราโปวา

มิสรัสเซีย

มิสรัสเซีย (Мисс Россия) เป็นการประกวดนางงามในประเทศรัสเซีย เริ่มจัดขึ้นตั้งแต่ปี..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและมิสรัสเซีย

มีฮาอิล ฟรุนเซ

มีฮาอิล วาซีเลียวิช ฟรุนเซ (Михаи́л Васи́льевич Фру́нзе; Mihail Vasilievici Frunză; 2 กุมภาพันธ์ 1885 – 31 ตุลาคม 1925) เป็นหนึ่งในผู้นำพรรคบอลเชวิคในช่วงการปฏิวัติรัสเซียในปี 1917และเป็นหนึ่งในผู้บัญชาการทหารในช่วงสงครามกลางเมืองรัสเซียเขาเป็นที่รู้จักในการปกป้อง Baron Wrangel ที่ไครเมี.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและมีฮาอิล ฟรุนเซ

มีฮาอิล กอร์บาชอฟ

มีฮาอิล เซียร์เกเยวิช กอร์บาชอฟ (Михаи́л Серге́евич Горбачёв, Mikhail Sergeyevich Gorbachyov) เป็นอดีตประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต ทั้งยังเคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตอีกด้วย ความพยายามปฏิรูปสหภาพของกอร์บาชอฟได้นำไปสู่การล่มสลายของสหภาพโซเวียต และการยุติสงครามเย็น เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพประจำปี..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและมีฮาอิล กอร์บาชอฟ

มีฮาอิล อุลยานอฟ

มีฮาอิล อะเลคซันโดรวิช อุลยานอฟ (Михаи́л Алекса́ндрович Улья́нов) เป็นนักแสดงภาพยนตร์ชาวโซเวียต และ รัสเซีย อุลยานอฟเป็นที่รู้จักในบทบุคคลสำคัญในสหภาพโซเวียต (เช่น วลาดีมีร์ เลนิน และ เกออร์กี จูคอฟ) ทั้งในวงการภาพยนตร์ และ โรงละคร อุลยานอฟได้รับลำดับเกียรติ ศิลปินของประชาชนสหภาพโซเวียต (1969) และ วีรชนแรงงานแห่งสังคมนิยม (1986) และได้รับรางวัลพิเศษจากงานเทศกาลภาพยนตร์เวนิส ในปี 1992.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและมีฮาอิล อุลยานอฟ

มีฮาอิล คาลีนิน

มีฮาอิล อีวาโนวิซ คาลีนิน (Михаи́л Ива́нович Кали́нин; 3 มิถุนายน ค.ศ. 1946), ได้เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายโดยพลเมืองชาวโซเวียตว่า "Kalinych",เป็นนักปฏิวัติบอลเชวิกและเจ้าหน้าที่โซเวียต เขาได้ทำหน้าที่ในฐานะประมุขแห่งรัฐของสหพันธรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและต่อมาได้เป็นสหภาพโซเวียตตั้งแต่ ปี..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและมีฮาอิล คาลีนิน

มีฮาอิล ซุสลอฟ

มีฮาอิล อันเดรย์เยวิช ซุสลอฟ (21 พฤษจิกายน [O.S. 8 พฤษจิกายน] 1902 – 25 มกราคม 1982) ป็นรัฐบุรุษโซเวียตในช่วงสงครามเย็น.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและมีฮาอิล ซุสลอฟ

มีฮาอิล โรมม์

มีฮาอิล อิลลิช โรมม์ (Михаи́л Ильи́ч Ромм) เป็น ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวโซเวียต.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและมีฮาอิล โรมม์

มีคาอิล ตูคาเชฟสกี

มีคาอิล นีโคลาเยวิช ตูคาเชฟสกี (Михаи́л Никола́евич Тухаче́вский, Mikhail Nikolayevich Tukhachevsky; 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1893 – 12 มิถุนายน ค.ศ. 1937) เป็นผู้นำทหารและนักทฤษฎีชาวโซเวียตระหว่าง..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและมีคาอิล ตูคาเชฟสกี

ยุทธการที่รเจฟ

ทธการที่รเจฟ(Ржевская битва) เป็นหนึ่งในปฏิบัติการโซเวียตในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างวันที่ 8 มกราคม..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและยุทธการที่รเจฟ

ยุทธการที่สโมเลนสค์ (ค.ศ. 1941)

ทธการที่สโมเลนสค์ครั้งที่หนึ่งเป็นการสู้รบในช่วงขั้นที่สองของปฏิบัติการบาร์บารอสซา ฝ่ายอักษะเข้ารุกรานสหภาพโซเวียต, ในสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นสู้รบบริเวณรอบๆของเมืองสโมเลนสค์ ในช่วงระหว่างวันที่ 10 กรกฏาคม และ 10 กันยายน..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและยุทธการที่สโมเลนสค์ (ค.ศ. 1941)

ยุทธการที่คาบสมุทรเคียร์ช

ทธการที่คาบสมุทรเคียร์ช ซึ่งเริ่มต้นด้วยปฏิบัติการยกพลขึ้นบกเคียร์ช-ฟีโอโดซียาของโซเวียต(Керченско-Феодосийская десантная операция, Kerchensko-Feodosiyskaya desantnaya operatsiya) และยุติลงด้วยปฏิบัติการบัสตาร์ด ฮัทของเยอรมัน(Unternehmen Trappenjagd), เป็นการสู้รบในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองระหว่างกองทัพที่ 11 ของเยอรมันภายใต้การบัญชาการของจอมพลแอริช ฟอน มันชไตน์และโรมาเนียและกองกำลังแนวรบไครเมียของโซเวียตในคาบสมุทรเคียร์ช ในทางด้านตะวันออกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของไครเมีย เริ่มต้นเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและยุทธการที่คาบสมุทรเคียร์ช

ยุทธการที่โปรโฮรอฟกา

ทธการที่โปรโฮรอฟกา เป็นการสู้รบเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและยุทธการที่โปรโฮรอฟกา

ยูริ กาการิน

นาวาอากาศเอก ยูริ อะเลคเซเยวิช กาการิน (Юрий Алексеевич Гагарин; อักษรโรมัน: Yuri Alekseyevich Gagarin) ชาวโซเวียต เป็นนักบินอวกาศคนแรกของโลกที่สามารถเดินทางกลับโลกอย่างปลอดภัย เกิดเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและยูริ กาการิน

ยูรี จีร์คอฟ

ูรี วาเลนตีนอวิช จีร์คอฟ (Ю́рий Валенти́нович Жирко́в; เกิด 20 สิงหาคม ค.ศ. 1983) เป็นนักฟุตบอลชาวรัสเซีย ปัจจุบันสังกัดสโมสรฟุตบอลเซนิตเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กและทีมชาติรัสเซีย โดยสามารถเล่นได้ทั้งตำแหน่งกองหลังและปีกฝั่งซ้าย จีร์คอฟเริ่มต้นอาชีพนักฟุตบอลกับสปาร์ตัคตัมบอฟ ก่อนที่จะย้ายไปเล่นในลีกสูงสุดให้กับซีเอสเคเอ มอสโกในปี..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและยูรี จีร์คอฟ

ยูรี โอเซรอฟ

ูรี นีโคลาเยวิช โอเซรอฟ (Ю́рий Никола́евич О́зеров) เป็น ผู้กำกับภาพยนตร์ และ นักเขียนบทชาวรัสเซีย เขากำกับภาพยนตร์มากถึง 20 เรื่อง ในช่วงปี 1950 ถึงปี 1995.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและยูรี โอเซรอฟ

ยูรี โซโลมิน

ูรี มีโฟเยวิช โซโลมิน (Ю́рий Мефо́диевич Соло́мин) เป็นนักแสดงชาวรัสเซียและเป็นผู้กำกับโรงละคร Maly Theatre ในมอสโก ตั้งแต่ปี 1988 และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย ในปี 1990 ถึงปี 1991.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและยูรี โซโลมิน

รองประธานาธิบดีรัสเซีย

รองประธานาธิบดีแห่งสหพันธรัฐรัสเซีย (Вице-президент Российской Федерации, ก่อนวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2534 รองประธานาธิบดีแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย) เป็นตำแหน่งแรกในการสืบตำแหน่งประธานาธิบดีที่จะได้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีรัสเซียคนใหม่ เมื่อประธานาธิบดี ตาย ลาออกหรือพ้นจากตำแหน่ง นอกจากนี้รองประธานจะปฏิบัติหน้าที่ประธานาธิบดีในกรณีที่ประธานาธิบดีไม่มีความสามารถในการดำเนินการตามหน้าที่ประธานาธิบดี.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและรองประธานาธิบดีรัสเซีย

รัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่

ต้นฉบับรัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่ที่ลงนามโดยคณะผู้แทนฝ่ายต่าง ๆ รัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่ หรือ รัฐบัญญัติ 11 มีนาคม (Aktas dėl Lietuvos nepriklausomos valstybės atstatymo; Act of the Re-Establishment of the State of Lithuania; Act of March 11) เป็นรัฐบัญญัติของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย ร่างขึ้นในวันที่ 11 มีนาคม..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและรัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่

รัสเซีย (แก้ความกำกวม)

รัสเซีย (Russia) เป็นประเทศในทวีปยุโรปและเอเชีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย รัสเซีย ยังอาจหมายถึง.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและรัสเซีย (แก้ความกำกวม)

ราชอาณาจักรฟินแลนด์ (ค.ศ. 1918)

ราชอาณาจักรฟินแลนด์ (Suomen kuningaskunta; Konungariket Finland) เป็นรัฐที่เกิดจากความพยายามจะสถาปนาระบอบราชาธิปไตยขึ้นในประเทศฟินแลนด์ หลังฟินแลนด์ประกาศเอกราชจากรัสเซีย โดยเยอรมนีส่งเจ้าชายเฟรเดอริก ชาร์ลแห่งเฮสส์ ขึ้นเป็นกษัตริย์พระองค์แรกของฟินแลน.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและราชอาณาจักรฟินแลนด์ (ค.ศ. 1918)

รายชื่อธงในสหภาพโซเวียต

ตารางเบื้องล่างต่อไปนี้คือข้อมูลเกี่ยวกับธงต่างๆ ที่ใช้อยู่ในสหภาพโซเวียตอย่างสังเขป.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและรายชื่อธงในสหภาพโซเวียต

รายชื่อธงในประเทศรัสเซีย

ตารางเบื้องล่างต่อไปนี้คือข้อมูลเกี่ยวกับธงต่างๆ ที่ใช้อยู่ในสหพันธรัฐรัสเซียอย่างสังเขป.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและรายชื่อธงในประเทศรัสเซีย

รายชื่อธงในประเทศอุซเบกิสถาน

ตารางข้างล่างนี้แสดงภาพธงต่างๆที่ใช้ในประเทศอุซเบกิสถาน.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและรายชื่อธงในประเทศอุซเบกิสถาน

รายการแผ่นดินไหว

นี่เป็นเนื้อหาของรายการแผ่นดินไหวและอันดับแผ่นดินไหวแบ่งตามแมกนิจูดและผู้เสียชีวิต.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและรายการแผ่นดินไหว

ราโบชายา มาร์เซลเยซา

ราโบชายา มาร์เซลเยซา (Рабочая Марсельеза, Rabochaya Marselyeza) หรือ มาร์แซแยซของกรรมกร เป็นเพลงชาติในสมัยของสาธารณรัฐรัสเซีย และใช้จนถึงสมัยของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียก่อนที่จะเปลี่ยนแปลงเป็นสหภาพโซเวียตอย่างเต็มตัว และเป็นเพลงที่ใช้ในช่วงของการปฏิวัติรัสเซีย เพลงชาตินี้เลิกใช้ไปในสมัยที่เปลี่ยนแปลงเป็นสหภาพโซเวียตอย่างเต็มตัว ในปี พ.ศ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและราโบชายา มาร์เซลเยซา

ลัฟเรนตีย์ เบรียา

ลัฟเรนตีย์ ปัฟโลวิช เบรียา (Лавре́нтий Па́влович Бе́рия; ლავრენტი პავლეს ძე ბერია; 29 มีนาคม พ.ศ. 2442 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2496) เป็นนักการเมืองโซเวียตเชื้อชาติจอร์เจีย จอมพลสหภาพโซเวียตและหัวหน้าคณะกรรมาธิการประชาชนด้านกิจการภายในประเทศ (NKVD) ภายใต้โจเซฟ สตาลินในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและรองนายกรัฐมนตรี.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและลัฟเรนตีย์ เบรียา

ลัทธิเลนิน

ในปรัชญาลัทธิมากซ์ ลัทธิเลนิน (Leninism) เป็นทฤษฎีการเมืองส่วนสำหรับการจัดระเบียบพรรคการเมืองแนวหน้าปฏิวัติอย่างเป็นประชาธิปไตย และการบรรลุลัทธิเผด็จการโดยชนกรรมาชีพซึ่งเป็นประชาธิปไตยทางตรง เช่นเดียวกับสังคมนิยม เลนินเป็นผู้พัฒนา และเป็นชื่อของลัทธิเลนิน ประกอบด้วยทฤษฎีการเมืองและเศรษฐกิจสังคมนิยม พัฒนามาจากลัทธิมากซ์ และการตีความทฤษฎีลัทธิมากซ์ของเลนิน เพื่อการประยุกต์ปฏิบัติเข้ากับสภาพทางสังคมและการเมืองของจักรวรรดิรัสเซียซึ่งเป็นประเทศเกษตรกรรมในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในเดือนกุมภาพันธ์ 1917 เป็นเวลาห้าปี ลัทธิเลนินเป็นการประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจและการเมืองลัทธิมากซ์ของรัสเซีย ผู้นำไปปฏิบัติ คือ พรรคบอลเชวิก ในการนำไปปฏิบัติ พรรคแนวหน้าแบบลัทธิเลนินให้ความสำนึกทางการเมือง (การศึกษาและการจัดระเบียบ) แก่ชนชั้นกรรมกร และผู้นำปฏิบัติที่จำเป็นต่อการโค่นทุนนิยมในจักรวรดิรัสเซีย หลังการปฏิวัติตุลาคม ค.ศ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและลัทธิเลนิน

วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ

วยาเชสลาฟ มีฮาอิลโลวิช โมโลตอฟ (Вячесла́в Миха́йлович Мо́лотов; 9 มีนาคม 1890 – 8 พฤษจิกายน 1986) เป็นนักการเมืองและนักการทูตโซเวียตในสมัยของโจเซฟ สตาลิน เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในช่วงสงครามโลกครั่งที่สองและในช่วงปี 1957 ก็ถูกไล่ออกจากประธานคณะกรรมาธิการกลางด้วยนีกีตา ครุชชอฟ และไม่เล่นการเมืองอีกเลยจนเขาเสียชีวิตลง.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและวยาเชสลาฟ โมโลตอฟ

วลาดีมีร์ กลาซูนอฟ

วลาดีมีร์ อะนาโตลเยวิช กลาซูนอฟ (Влади́мир Анато́льевич Глазуно́в) เป็นผู้ดำเนินรายการ, โปรดิวเซอร์ และผู้กำกับชาวรัสเซีย เขาได้ร่วมสมาชิกของสมาคมสื่อสารมวลชนรัสเซีย และเป็นผู้ดำเนินรายการประจำรายการสดรายวันโรจดิออนนืยเอวะแอสแอสแอสเอร์ ทางช่องนอสทัลกียา เขาได้ดำเนินการออกอากาศสดมากกว่า 3,000 ตอน กับนักศิลปินที่มีชีวิตชีวามากที่สุด, นักบทกวี, นักการเมือง, นักเขียน, นักแสดง, นักกีฬา, นักร้อง.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและวลาดีมีร์ กลาซูนอฟ

วลาดีมีร์ ครัมนิค

วลาดีมีร์ โบรีโซวิช ครัมนิค (Владимир Борисович Крамник; Vladimir Borisovich Kramnik; 25 มิถุนายน ค.ศ. 1975 —) เป็นนักหมากรุกสากลระดับแกรนด์มาสเตอร์ชาวรัสเซีย เขาเป็นแชมป์โลกหมากรุกสากลคลาสสิกตั้งแต่ปี..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและวลาดีมีร์ ครัมนิค

วาซีลี บลูย์เคียร์

วาซีลี คอนสตันตีโนวิช บลูย์เคียร์ (Васи́лий Константи́нович Блю́хер​; Vasily Konstantinovich Blyukher) เป็นหนึ่งในห้าจอมพลแรก ๆ ของสหภาพโซเวียต.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและวาซีลี บลูย์เคียร์

วาเลรี เลโอนตีเยฟ

วาเลรี ยาคอฟเลวิช เลโอนตีเยฟ (Валерий Яковлевич Леонтьев; เกิด 19 มีนาคม ค.ศ. 1949) เป็นนักร้องชาวโซเวียตและรัสเซียที่ได้รับความนิยมสูงสุดในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 จนได้ขึ้นชื่อว่าเป็นพีเพิลส์อาร์ตออฟรัสเซียในปี..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและวาเลรี เลโอนตีเยฟ

วาเลนตีนา เตเรชโควา

วาเลนตีนา วลาดีมีรอฟนา เตเรชโควา (Валенти́на Влади́мировна Терешко́ва; 6 มีนาคม 2479 -) นักบินอวกาศรัสเซียเกษียณอายุ นักบินอวกาศสตรีคนแรกของโลกขึ้นสู่วงโคจรกับยานอวกาศชื่อ "ยานวอสตอค 6" เมื่อปี พ.ศ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและวาเลนตีนา เตเรชโควา

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและสหภาพโซเวียต

สาธารณรัฐรัสเซีย

รณรัฐรัสเซีย (p) เป็นองค์การทางการเมืองอายุสั้นซึ่งในทางนิตินัยควบคุมดินแดนของอดีตจักรวรรดิรัสเซียหลังการสละราชสมบัติของจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 เมื่อวันที่ 15 มีนาคม..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและสาธารณรัฐรัสเซีย

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช (Karjalais-suomalainen sosialistinen neuvostotasavalta; Каре́ло-Фи́нская Сове́тская Социалисти́ческая Респу́блика) เป็นสาธารณรัฐของสหภาพโซเวียตมาตั่งแต่ปี 1940 จนถูกผนวกกลับเข้าไปในสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียในปี 1956 และลดสถานะเป็นสาธารณรัฐปกครองตนเองสังคมนิยมโซเวียตคาเรลียาจนล่มสลายในปี 1991 และแทนที่โดยสาธารณรัฐคาเรลียาในปัจจุบัน หมวดหมู่:สาธารณรัฐโซเวียต หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปยุโรป.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย (Byelorussian Soviet Socialist Republic; Белару́ская Саве́цкая Сацыялісты́чная Рэспу́бліка; Белору́сская Сове́тская Социалисти́ческая Респу́блика) เป็นหนึ่งในสาธารณรัฐสิบห้าแห่งที่ประกอบกันเป็นสหภาพโซเวียต หลังการประกาศเอกราชของสาธารณรัฐประชาชนเบลารุสเมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย

สาธารณรัฐของสหภาพโซเวียต

รณรัฐแห่งสหภาพโซเวียต หรือ สาธารณรัฐสหภาพ (союзные республики, soyuznye respubliki, Republics of the Soviet Union) ของสหภาพโซเวียตชึ่งแบ่งตามเชื้อชาติ การบริหารจะขึ้นตรงไปยังรัฐบาลของสหภาพโซเวียตในประวัติศาสตร์ สหภาพโซเวียตเป็นประเทศที่มีรัฐรวมมากเป็นจำนวนมาก; การปฏิรูปการกระจายอำนาจในยุคของเปเรสตรอยคา ("การปรับโครงสร้าง") และกลัสนอสต์ ("การเปิดกว้าง") ดำเนินการของมีฮาอิล กอร์บาชอฟ จนนำไปสู่การล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและสาธารณรัฐของสหภาพโซเวียต

สาธารณรัฐประชาชนฮังการี

รณรัฐประชาชนฮังการี (Magyar Népköztársaság), หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ฮังการี เป็นยุคหนึ่งของ ประวัติศาสตร์ฮังการี ตั้งแต่ปี 1949 ถึงปี 1989 โดยประเทศนี้เป็น สาธารณรัฐสังคมนิยม สาธารณรัฐประชาชนฮังการีถูกปกครองโดย พรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการี, ภายได้การหนุนหลังของ สหภาพโซเวียตRao, B.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและสาธารณรัฐประชาชนฮังการี

สงครามกลางเมืองรัสเซีย

งครามกลางเมืองรัสเซีย (Grazhdanskaya voyna v Rossiyi)Mawdsley, pp.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและสงครามกลางเมืองรัสเซีย

สงครามประกาศอิสรภาพตุรกี

งครามประกาศอิสรภาพตุรกี (Turkish War of Independence) สู้รบกันระหว่างรัฐบาลชาตินิยมตุรกีกับตัวแทนฝ่ายสัมพันธมิตร คือ กรีซบนแนวรบด้านตะวันตก และอาร์มีเนียบนแนวรบด้านตะวันออก หลังประเทศถูกยึดครองและแบ่งหลังจักรวรรดิออตโตมันปราชัยในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและสงครามประกาศอิสรภาพตุรกี

สงครามโปแลนด์–โซเวียต

งครามโปแลนด์-โซเวียต (เดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1919 – เดือนมีนาคม ค.ศ. 1921) เป็นการขัดกันด้วยอาวุธระหว่างtitle.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและสงครามโปแลนด์–โซเวียต

สนธิสัญญาการก่อตั้งสหภาพโซเวียต

นธิสัญญาการก่อตั้งสหภาพโซเวียต หรือชื่อเต็มว่า สนธิสัญญาการก่อตั้งสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต เป็นเอกสารซึ่งทำให้การสร้างสหภาพอันเกิดจากการวมตัวของสาธารณรัฐโซเวียตในรูปแบบของสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเป็นไปอย่างถูกต้องตามกฎหมาย นอกจากนี้ยังมีการตรา คำประกาศก่อตั้งสหภาพโซเวียต ด้วย ซึ่งอาจพิจารณาได้ว่าเป็นอารัมภกถาของสนธิสัญญาดังกล่าว วันที่ 29 ธันวาคม..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและสนธิสัญญาการก่อตั้งสหภาพโซเวียต

สนธิสัญญาราพาลโล (ค.ศ. 1922)

นธิสัญญาราพาลโล (Treaty of Rapallo) เป็นข้อตกลงที่ลงนามเมื่อวันที่ 16 เมษายน..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและสนธิสัญญาราพาลโล (ค.ศ. 1922)

สนธิสัญญาสันติภาพริกา

นธิสัญญาสันติภาพรีกา (Treaty of Riga; Ри́жский ми́рный договóр (Rízhsky Mírny dogovór); Rīgas miera līgums; Traktat Ryski) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพซึ่งมีการลงนามกันที่เมืองรีกา เมื่อวันที่ 18 มีนาคม ค.ศ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและสนธิสัญญาสันติภาพริกา

สนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์

นธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์ เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่ลงนามเมื่อวันที่ 3 มีนาคม..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและสนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์

สเวตลานา อัลลีลูเยวา

สเวตลานา อีโอซีฟอฟนา อีลลีลูเยวา (Svetlana Iosifovna Alliluyeva; Светла́на Ио́сифовна Аллилу́ева; 28 กุมภาพันธ์ 1926 – 22 พฤศจิกายน 2011) ชื่อเมื่อเกิด สเวตลานา อีโอซีฟอฟนา สตาลีนา (Svetlana Iosifovna Stalina; Светла́на Ио́сифовна Сталина) ต่อมาชื่อ ลานา ปีเตอส์ เป็นบุตรคนสุดท้องและธิดาคนเดียวของนายกรัฐมนตรีโซเวียต โจเซฟ สตาลิน และนาเดชดา อัลลีลูเยวา ภรรยาคนที่สองของสตาลิน ในปี 1967 เธอแปรพักตร์และเป็นพลเมืองโดยการแปลงสัญชาติของสหรัฐ ในปี 1984 เธอกลับสหภาพโซเวียตและได้รับสถานะพลเมืองโซเวียตคืน ต่อมาเธอกลับไปสหรัฐและใช้เวลาในประเทศฝรั่งเศส ก่อนลงหลักปักฐานในสหราชอาณาจักรและเป็นพลเมืองบริติชในปี 1992 หมวดหมู่:เสียชีวิตจากมะเร็งลำไส้ หมวดหมู่:บุคคลจากมอสโก.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและสเวตลานา อัลลีลูเยวา

อะเลคซันดร์ รุตสคอย

อะเลคซันดร์ วลาดิมิโรวิช รุตสคอย (Алекса́ндр Влади́мирович Руцко́й) (เกิด 16 กันยายน พ.ศ. 2490) เป็นนักการเมืองรัสเซียและอดีตนายทหารโซเวียต รุตสคอยเป็นบุคคลเดียวที่ได้ดำรงตำแหน่งรองประธานาธิบดีรัสเซีย ซึ่งตำแหน่งนี้ถูกยกเลิกหลังวิกฤตการณ์รัฐธรรมนูญรัสเซีย พ.ศ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและอะเลคซันดร์ รุตสคอย

อะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซีย

แกรนด์ดุ๊กอะเลกเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซีย (Алексе́й Никола́евич, Alexei Nikolaevich) (12 สิงหาคม พ.ศ. 2447 - 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2461) มกุฎราชกุมารองค์สุดท้ายของรัสเซีย เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย แห่งราชวงศ์โรมานอฟ และจักรพรรดินีอเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย ประสูติ ณ พระราชวังฤดูร้อนปีเตอร์ฮอฟ มีพระภคินี 4 พระองค์คือ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและอะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซีย

อะเลคเซย์ โคซีกิน

อะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช โคซีกิน (Алексе́й Никола́евич Косы́гин; Alexei Nikolayevich Kosygin; 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2447 - 18 ธันวาคม พ.ศ. 2523) เป็นประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียตในช่วงสงครามเย็น ดำรงตำแหน่งคู่กับเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต เลโอนิด เบรจเนฟ จึงเรียกยุคนี้ว่าสมัยผู้นำร่วมเบรจเนฟ-โคชิกิน.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและอะเลคเซย์ โคซีกิน

อะเลคเซย์ เลโอนอฟ

อะเลคเซย์ อาร์ฮีโปวิช เลโอนอฟ (p เป็นทหารอากาศโซเวียตที่ปลดประจำการแล้ว เขาเป็นบุคคลคนแรกของโลกที่เดินบนอวกาศ หมวดหมู่:นักบินอวกาศชาวโซเวียต หมวดหมู่:บุคคลจากเคเมโรโวโอบลาสต์‎ หมวดหมู่:ภารกิจอวกาศในปี พ.ศ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและอะเลคเซย์ เลโอนอฟ

อัครบิดรคีริลล์แห่งมอสโก

อัครบิดรคีริลล์ (Патриарх кирилл ชื่อจริง:วลาดีมีร์ มีไคโลวิช กันดาเยฟ Владимир Михайлович Гундяев) หรือที่ชาวออร์ทอดอกซ์ในประเทศไทยเรียกว่าพระสังฆราชคีริลล์ และชาวโรมันคาทอลิกในประเทศไทยเรียกว่าพระอัยกาคิริลล์ เป็นประมุขสูงสุดของคริสตจักรรัสเซียออร์ทอดอกซ์ ทั้งในประเทศรัสเซียและนอกประเทศ ได้ดำรงตำแหน่งอัครบิดรแห่งมอสโกและรัสทั้งปวงตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพัน..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและอัครบิดรคีริลล์แห่งมอสโก

อันเดรย์ วลาซอฟ

อันเดรย์ อันเดรเยวิช วลาซอฟ หรือ วลาสซอฟ (Андрéй Андрéевич Влáсов, - 1 สิงหาคม ค.ศ. 1946) เป็นนายพลชาวรัสเซียแห่งกองทัพแดง ในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้ต่อสู้ในยุทธการที่มอสโกและต่อมาได้ถูกจับกุมตัวจากความพยายามที่จะเปิดวงล้อมเลนินกราด ภายหลังการจับกุม เขาได้แปรพักตร์ให้กับนาซีเยอรมนีและเป็นผู้นำของกองทัพที่เรียกว่า กองทัพปลดปล่อยรัสเซีย (Russkaya osvoboditel'naya armiya (ROA) ในช่วงปลายสงคราม เขาได้เปลี่ยนฝ่ายอีกและได้ออกคำสั่งในการช่วยเหลือในการก่อการกำเริบปรากเพื่อต่อกรกับเยอรมัน เขาและกองทัพปลดปล่อยรัสเซียได้พยายามที่จะหลบหนีไปยังแนวรบด้านตะวันตก แต่กลับถูกจับกุมโดยกองกำลังโซเวียต วลาซอฟได้ถูกนำตัวขึ้นศาลในข้อหาทรยศและถูกประหารด้วยการแขวนคอ หมวดหมู่:ชาวรัสเซีย หมวดหมู่:ทหารชาวโซเวียต หมวดหมู่:ผู้ถูกประหารชีวิตโดยการแขวนคอ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและอันเดรย์ วลาซอฟ

อันเดรย์ คาร์ลอฟ

อันเดรย์ เกนนาเดียวิช คาร์ลอฟ (Андре́й Генна́дьевич Ка́рлов, Andrei Gennadyevich Karlov) เป็นนักการทูตชาวรัสเซีย ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตรัสเซียประจำประเทศตุรกี เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและอันเดรย์ คาร์ลอฟ

อันเดรย์ ซาคารอฟ

ตึกนี้เป็นอพาตเมนท์ของซาคารอฟที่เคจีบีคุมตัวระหว่าง ปี1980 ถึง ปี1986 อันเดรย์ ดมีตรีเยวิช ซาคารอฟ (Андре́й Дми́триевич Са́харов; 21 พฤษภาคม ค.ศ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและอันเดรย์ ซาคารอฟ

อันเดรย์ เกรชโค

อันเดรย์ อันโตโนวิช เกรชโค (17 ตุลาคม [O.S. 4 ตุลาคม] 1903 – 26 เมษายน 1976) เป็นผู้บัญญาการโซเวียต, จอมพลแห่งสหภาพโซเวียต และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมโซเวียต.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและอันเดรย์ เกรชโค

อีวาน โคเนฟ

อีวาน สเตปาโนวิช โคเนฟ (Ива́н Степа́нович Ко́нев; 28 ธันวาคม 1897– 21 พฤษภาคม 1973) เป็นผู้บัญชาการกองทัพโซเวียต ผู้นำกองทัพแดงในแนวรบด้านตะวันออกระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง มีส่วนร่วมในการยึดดินแดนจำนวนมากในยุโรปตะวันออกกลับคืนมาจากภายใต้อำนาจปกครองของฝ่ายอักษะ และช่วยเหลือในการเข้ายึดกรุงเบอร์ลินของเยอรมนี ในปี 1956 โคเนฟได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการกองกำลังแห่งกติกาสัญญาวอร์ซอ โคเนฟได้นำกองกำลังเข้าปราบปรามในเหตุการณ์การปฏิวัติฮังการีด้วยกองพลยานเกราะโซเวียต.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและอีวาน โคเนฟ

อีนโนเคนตี สโมคตูนอฟสกี

อีนโนเคนตี มีไคโลวิช สโมคตูนอฟสกี (Иннокентий Михайлович Смоктуновский) เป็นนักแสดงชายชาวโซเวียตที่รับการยกย่องให้เป็น "ราชาแห่งนักแสดงโซเวียต" เขาได้รับรางวัล ศิลปินของประชาชนสหภาพโซเวียต ในปี 1974 และ วีรชนแรงงานแห่งสังคมนิยม ในปี 1990.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและอีนโนเคนตี สโมคตูนอฟสกี

องค์การคอมมิวนิสต์สากล

นิตยสารของโคมินเทิร์นชื่อ''คอมมิวนิสต์ อินเตอร์เนชันเนล''เป็นนิตยสารที่แปลทุกภาษาในยุโรปพิมพ์ตั้งแต่ปี 1919 ถึง 1943 องค์การคอมมิวนิสต์สากล (Comintern หรือ Communist International; Коммунистический Интернационал) หรือเรียกว่า โคมินเทิร์น เป็นองค์การที่ทำหน้าที่เผยแพร่แนวความคิดปฏิวัติ ล้มล้างนายทุนและจักรวรรดินิยมตามแบบการปฏิวัติของบอลเชวิก เมื่อโจเซฟ สตาลินขึ้นมามีอำนาจสืบต่อจากเลนิน ซึ่งถึงแก่กรรมในปี ค.ศ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและองค์การคอมมิวนิสต์สากล

อเล็กซานเดอร์ เยโกรอฟ (ทหาร)

อเล็กซานเดอร์ อิลลิช เยโกรอฟ หรือ อีโกรอฟ (Алекса́ндр Ильи́ч Его́ров, Alexander Ilyich Yegorov, 25 ตุลาคม พ.ศ. 2426 พ.ศ. 2436 -23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481) เป็นหนึ่งในแม่ทัพในสงครามกลางเมืองรัสเซียเป็นผู้กองทัพแดงแนวรบทางตอนใต้และด้านหน้าในยูเครน และมีส่วนสำคัญในการเอาชนะกองทัพฝ่ายขาวในยูเครน ในปี..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและอเล็กซานเดอร์ เยโกรอฟ (ทหาร)

ฮอโลคอสต์ในรัสเซีย

ฮอโลคอสต์ในรัสเซีย หมายถึงอาชญากรรมของนาซีในช่วงการยึดครองดินแดนรัสเซีย(สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย)โดยนาซีเยอรมนี หมวดหมู่:การล้างชาติพันธุ์โดยนาซี หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์รัสเซีย.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและฮอโลคอสต์ในรัสเซีย

จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย

ระราชพิธีบรมราชาภิเษกของจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 (1896) จักรพรรดินีโคไลที่ 2 (Николай II, Николай Александрович Романов, tr.) หรือ นิโคลัสที่ 2 (Nicholas II; 18 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย

ธงชาติรัสเซีย

งชาติสหพันธรัฐรัสเซีย มีลักษณะเป็นธงสามสี รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งเป็น 3 แถบ ความกว้างเท่ากัน เรียงเป็นสีขาว-น้ำเงิน-แดง จากบนลงล่างตามลำดับ ธงนี้เริ่มใช้ครั้งแรกเป็นธงสำหรับเรือค้าขายและเรือรบ (ธงนาวี) และได้ประกาศใช้เป็นธงอย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและธงชาติรัสเซีย

ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย

งราชการของสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย มีลักษณะเป็นรูปสีเหลี่ยมผืนผ้าพื้นแดง (หมายถึงธงแดงรูปค้อนเคียวของสหภาพโซเวียต) มีแถบสีฟ้าที่ด้านติดคันธงยาวตลอดด้านกว้างของธง โดยแถบนี้กว้างหนึ่งในแปดส่วนของด้านยาวของธง.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย

ธงชาติสาธารณรัฐโซเวียต

งชาติสาธารณรัฐโซเวียต (Флаги союзных республик СССР; Flags of the Soviet Republicsเป็นธงพื้นสีแดง มีรูปค้อนเคียวสีทอง ซึ่งหมายถึงลัทธิคอมมิวนิสต์ ซึ่งถือได้ว่ามีรูปแบบที่ใกล้เคียงกับธงชาติสหภาพโซเวียตมาก ตารางธงเบื้องล่างนี้ แสดงภาพธงชาติของบรรดาสาธารณรัฐโซเวียตต่างๆ ที่ใช้สืบมาจนถึงการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ใน พ.ศ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและธงชาติสาธารณรัฐโซเวียต

ดมีตรี ชอสตโกวิช

องชอสตาโกวิช เมื่อปี ค.ศ. 1950 ดมีตรี ดมีตรีเยวิช ชอสตโกวิช (Dmitri Dmitrievich Shostakovich; Дмитрий Дмитриевич Шостакович; เกิดเมื่อวันที่ 25 กันยายน ค.ศ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและดมีตรี ชอสตโกวิช

ดมีตรี วอสโคบอยนีคอฟ

มีตรี วยาเชสลาโววิช วอสโคบอยนีคอฟ (Дмитрий Вячеславович Воскобойников; 6 มีนาคม ค.ศ. 1941 — 2 ธันวาคม ค.ศ. 2001) เป็นอดีตนักวอลเลย์บอลชาวรัสเซีย เขาได้เข้าร่วมการแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1964 ในปี..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและดมีตรี วอสโคบอยนีคอฟ

ดมีตรี อุสตีนอฟ

มีตรี เฟโอโดโรวิช อุสตีนอฟ (Дми́трий Фёдорович Усти́нов; Dmitriy Feodorovich Ustinov; 30 ตุลาคม พ.ศ. 2451 – 20 ธันวาคม พ.ศ. 2527) เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของสหภาพโซเวียต..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและดมีตรี อุสตีนอฟ

ดีนียาร์ บิลยาเลตดีนอฟ

ีนียาร์ รีนาโตวิช บิลยาเลตดีนอฟ (Dibiər Rinat ulı Bilaletdinev, Динияр Ринатович Билялетдинов) เกิดเมื่อวันที่ 27 กุมภาพัน..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและดีนียาร์ บิลยาเลตดีนอฟ

คลีเมนต์ โวโรชีลอฟ

ลีเมนต์ เยฟรีโมวิช โวโรชีลอฟ (Климе́нт Ефре́мович Вороши́лов​; Kliment Yefremovich Voroshilov) หรือเรียกขานกันในรัสเชียว่าคลิม เยฟรีโมวิช โวโรชีลอฟ (Клим Вороши́лов; Klim Voroshilov) (4 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและคลีเมนต์ โวโรชีลอฟ

ความพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534

วามพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและความพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534

คอนสตันติน เชียร์เนนโค

คอนสตันติน อุสตีโนวิช เชียร์เนนโค(Константи́н Усти́нович Черне́нко, Konstantin Ustinovich Chernenko)(24 กันยายน 1911 - 10 มีนาคม 1985) เป็นนักการเมืองโซเวียตและห้าเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต เขานำสหภาพโซเวียตจาก 13 กุมภาพันธ์ 1984 จนกระทั่งเขาตายสิบสามเดือนต่อมาเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 1985 Chernenko ยังประธานรัฐสภาของสูงสุดสหภาพโซเวียตจาก 11 เมษายน 1984 จนกระทั่งเขาตาย หมวดหมู่:ผู้นำในสงครามเย็น หมวดหมู่:นักการเมืองโซเวียต.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและคอนสตันติน เชียร์เนนโค

คณะกรรมการความมั่นคงแห่งรัฐ (สหภาพโซเวียต)

ณะกรรมการความมั่นคงแห่งรัฐ หรือ เคจีบี (Комите́т госуда́рственной безопа́сности; ย่อ: КГБ) เป็นอดีตหน่วยงานกลาง ดูแลการข่าว ความมั่นคง ตำรวจสันติบาล และ กิจการชายแดนของสหภาพโซเวียตตั้งแต่ปี..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและคณะกรรมการความมั่นคงแห่งรัฐ (สหภาพโซเวียต)

ตราแผ่นดินของรัสเซีย

ตราแผ่นดินของรัสเซีย ประกอบด้วยรูปนกอินทรีสองเศียรซึ่งเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของรัสเซีย อินทรีสองหัวมีความหมายแสดงถึงความกว้างใหญ่ของประเทศรัสเซีย โดยแต่ละหัวหันไปทางซ้ายและขวา หมายถึงการดูแลดินแดนของรัสเซียทั้งทางฝั่งตะวันตกและฝั่งตะวันออก และส่วนไม้คทาหมายถึงอำนาจ ส่วนลูกโลกประดับกางเขนหมายถึงนิติบัญญัติ ตราแผ่นดินนี้มีต้นแบบสืบเนื่องมาจากตราแผ่นดินในช่วงต้นของจักรวรรดิรัสเซีย ซึ่งในปี พ.ศ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและตราแผ่นดินของรัสเซีย

ตราแผ่นดินของสาธารณรัฐของสหภาพโซเวียต

ในประเทศสัญลักษณ์ของสหภาพสาธารณรัฐก่อนและหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ตราแผ่นดินของสาธารณรัฐ (Гербы республик СССР, Emblems of the Soviet Republics) ส่วนใหญ่ประกอบไปด้วยค้อนและเคียวและดาวสีแดงที่เป็นสัญลักษณ์ของลัทธิคอมมิวนิสต์เช่นเดียวกับพระอาทิตย์ขึ้น (แต่ในกรณีสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย ตั้งแต่ทะเลบอลติกทางตะวันตก ลัตเวียก็อาจจะตีความว่าเป็นพระอาทิตย์ตก) ล้อมรอบด้วยพวงข้าวสาลี (ยกเว้น สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช เป็นพวงข้าวไร) มีคำขวัญของสหภาพโซเวียต" ชนกรรมาชีพทั่วโลกจงสามัคคีกัน!.", ทั้งในภาษาของสาธารณรัฐรัสเซียและภาษาประจำแต่ละรัฐ นอกเหนือไปจากนี้เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงลักษณะของภูมิทัศน์ท้องถิ่นเศรษฐกิจหรือวัฒนธรรมในแต่ละรั.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและตราแผ่นดินของสาธารณรัฐของสหภาพโซเวียต

ซามูอิล มาร์ชัค

ซามูอิล ยาคอฟเลวิช มาร์ชัค (Самуи́л Я́ковлевич Марша́к) เป็นชาวรัสเซียเชี้อสายยิว และเป็นนักเขียน, นักแปล และนักแต่งกวีนิพนธ์สำหรับเด็กชาวโซเวียต เขาเป็นผู้แปลวรรณกรรมเรื่อง The Sonnets และผลงานเรื่องอื่น ๆ ของวิลเลียม เชกสเปียร์, กวีนิพนธ์อังกฤษ (ส่วนใหญ่เป็นวรรณกรรมเด็ก) และกวีนิพนธ์อื่น ๆ ในภาษาต่างประเทศ แมกซิม กอร์กี ได้ขนานนามมาร์ชัคว่าเป็น "บิดาวรรณกรรมเด็กของรัสเซีย (สหภาพโซเวียต)"Samuil Marshak.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและซามูอิล มาร์ชัค

ปฏิบัติการมาส์

ปฏิบัติการมาส์ อีกชื่อคือ ปฏิบัติการการรุก Rzhev-Sychevka ครั้งที่สอง (Вторая Ржевско-Сычёвская наступательная операция) เป็นชื่อรหัสปฏิบัติการรุกที่กองทัพโซเวียตกระทำต่อกองทัพเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 25 พฤศจิกายน ถึง 20 ธันวาคม..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและปฏิบัติการมาส์

ปฏิบัติการซิทาเดล

ปฏิบัติการซิทาเดล(Unternehmen Zitadelle)เป็นปฏิบัติการการรุกของเยอรมันที่ต่อกรกับกองทัพโซเวียตในส่วนที่ยืดออกของคูสค์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองบนแนวรบด้านตะวันออก เป็นการริเริ่มของยุทธการที่คูสค์ ด้วยความตั้งใจของปฏิบัติการการป้องกันที่โซเวียตได้นำไปใช้เพื่อต่อต้านการรุกของเยอรมันที่เรียกว่า ปฏิบัติการป้องกันทางยุทธศาสตร์คูสค์ การรุกของเยอรมันได้ถูกตีโต้กลับด้วยปฏิบัติการ Polkovodets Rumyantsev (Полководец Румянцев) และปฏิบัติการคูตูซอฟ(Кутузов) สำหรับเยอรมัน การรบครั้งนี้เป็นการรุกทางยุทธศาสตร์ครั้งสุดท้ายที่พวกเขาจะสามารถเปิดฉากบนแนวรบด้านตะวันออก เมื่อฝ่ายสัมพันธมิตรบุกเข้ายึดครองที่เกาะซิซิลีได้เริ่มต้นขึ้น อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้ถูกบังคับให้หันเหการฝึกกองกำลังทหารในฝรั่งเศสเพื่อเผชิญหน้าการคุกคามของฝ่ายสัมพันธมิตรในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แทนที่จะใช้เป็นยุทธศาสตร์ในการสำรองกองกำลังสำหรับแนวรบด้านตะวันออก เยอรมันได้สูญเสียกำลังพลและรถถังอย่างกว้างขวางได้ทำให้เกิดความมั่นใจของกองทัพแดงแห่งสหภาพโซเวียตที่ได้รับชัยชนะนั้นได้มีความสุขกับการริเริ่มทางยุทธศาสตร์สำหรับช่วงที่เหลือของสงคราม เยอรมันได้คาดหวังว่าจะลดศักยภาพของการรุกฝ่ายโซเวียตลงสำหรับช่วงฤดูร้อนในปี..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและปฏิบัติการซิทาเดล

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและประเทศรัสเซีย

ประเทศองค์ประกอบ

ประเทศองค์ประกอบ (constituent country) เป็นคำที่บางครั้งใช้เรียกประเทศที่มีฐานะเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยทางการเมืองที่ใหญ่กว่า เช่น รัฐเอกราช คำว่าประเทศองค์ประกอบนี้ไม่มีความหมายในทางกฎหมาย และใช้เรียก ประเทศ ที่เป็นส่วนประกอบหนึ่งของหน่วยอื่นเท่านั้น.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและประเทศองค์ประกอบ

ประเทศไอร์แลนด์

อร์แลนด์ (Ireland, หรือ; Éire เอเหรอะ) คำบรรยายระบอบการปกครองของประเทศนี้ (ไม่ใช่ชื่อทางการ) คือ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ (Republic of Ireland; Poblacht na hÉireann) นับเป็นสมาชิกที่อยู่ไกลสุดทางตะวันตกของสหภาพยุโรป มีประชากร 4 ล้านกว่าคน เป็นประเทศบนเกาะไอร์แลนด์ อยู่ห่างจากทวีปยุโรปไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ โดยครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 5 ใน 6 ของเกาะดังกล่าว (ส่วนที่เหลืออีก 1 ใน 6 ของเกาะไอร์แลนด์ เรียกว่า ไอร์แลนด์เหนือ เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ) ในการแข่งขันรักบี้ระดับนานาชาติ นักกีฬาจากทั้งสาธารณรัฐไอร์แลนด์ และแคว้นไอร์แลนด์เหนือ จะเข้าร่วมในทีมเดียวกัน ในชื่อทีมสหพันธ์รักบี้ไอร์แลนด์ นอกจากนี้ไอร์แลนด์เป็นอีกประเทศหนึ่งที่ใช้เงินยูโร.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและประเทศไอร์แลนด์

ปาตรีโอตีเชสกายาเปสเนีย

ปาตรีโอตีเชสกายาเปสเนีย (Патриотическая Песня, Patrioticheskaya Pesnya; คำแปลในภาษาอังกฤษ: "A Patriotic Song" หรืออาจแปลเป็นชื่อภาษาไทยได้ว่า "เพลงของผู้รักชาติ") เป็นเพลงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย (Russian SFSR) และสหพันธรัฐรัสเซีย ตั้งแต่ พ.ศ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและปาตรีโอตีเชสกายาเปสเนีย

นิโคไล นอสคอฟ

นิโคไล อีวาโนวิช นอสคอฟ (Николай Иванович Носков) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์ชาวรัสเซีย และอดีตนักร้องนำของวงดนตรีฮาร์ดร็อก กอร์กีพาร์ก (ระหว่าง 1987–1990) ผู้ชนะเลิศรางวัลแผ่นเสียงทองคำ 5 ครั้ง นอกจากนี้ เขายังเป็นสมาชิกของมอสโก ซึ่งเป็นวงดนตรีในต้นทศวรรษ 1980, วงแกรนด์ปรีซ์ ในปี..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและนิโคไล นอสคอฟ

นีกีตา ครุชชอฟ

นีกีตา เซียร์เกเยวิช ครุชชอฟ (Никита Сергеевич Хрущёв; Nikita Sergeyevich Khrushchev 17 เมษายน ค.ศ. 1894 - 11 กันยายน ค.ศ. 1971) เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากโจเซฟ สตาลิน ซึ่งได้ถึงแก่อสัญกรรมในปี 1953 ประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากนิโคไล บัลกานิน.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและนีกีตา ครุชชอฟ

นีโคไล บุลกานิน

นีโคไล อะเลคซันโดรวิช บุลกานิน (Никола́й Алекса́ндрович Булга́нин; Nikolai Alexandrovich Bulganin; 11 มิถุนายน 2438 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518) เป็นนักการเมืองโซเวียต เป็น ผู้บัญชาการประชากลาโหม แห่งสหภาพโซเวียตภายใต้รัฐบาลโจเซฟ สตาลิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (พ.ศ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและนีโคไล บุลกานิน

นีโคไล เยจอฟ

นีโคไล อีวาโนวิซ เยจอฟ (Никола́й Ива́нович Ежо́в) เป็นเจ้าหน้าที่ตำรวจลับของโซเวียตภายใต้การนำของโจเซฟ สตาลิน ผู้เป็นหัวหน้าของหน่วยพลาธิการกิจการภายในประชาชนหรือเอ็นเควีดี ตั้งแต่ปี..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและนีโคไล เยจอฟ

แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์ก (Maria Adelheid Theresia Hilda Antonia Wilhelmina vu Lëtzebuerg, Marie Adélaïde Thérèse Hilda Antonie Wilhelmine, พระนามเต็ม: มารี อเดเฮด เทเรซ ฮิลดา วิลเฮลมิเน ฟอน นัสเซา-ไวล์บวร์ก; 14 มิถุนายน พ.ศ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและแกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์ก

แกออร์กี ดีมีตรอฟ

แกออร์กี ดีมีตรอฟ มีไคลอฟ (Гео̀рги Димитро̀в Миха̀йлов) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ เกออร์กี มีฮาอิลโลวิช ดีมีตรอฟ (Гео́ргий Миха́йлович Дими́тров) เป็นนักการเมืองคอมมิวนิสต์ชาวบัลแกเรีย เขาเป็นผู้นำคอมมิวนิสต์คนแรกของสาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรีย ตั้งแต่ปี 1946 ถึงปี 1949 หลังการอสัญกรรมของดีมีตรอฟ รัฐบาลบัลแกเรียได้นำร่างของเขาไปไว้ที่สุสานแกออร์กี ดีมีตรอฟ จนหลังการล่มสลายของระบอบคอมมิวนิสต์ในบัลแกเรียร่างของเขาถูกฝังที่สุสานกลางที่นครโซเฟียในปี 1990 ส่วนสุสานเดิมถูกรื้อถอนในปี 1999.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและแกออร์กี ดีมีตรอฟ

แองเตอร์นาซิอองนาล

เออแฌน ปอตีเย (Eugène Pottier) ผู้ประพันธ์คำร้องของเพลงแล็งแตร์นาซียอนาล แองเตอร์นาซิอองนาล (L'Internationale; แล็งแตร์นาซียอนาล, The Internationale; ดิอินเตอร์แนชนาล, Die Internationale; "ดี อินเทอร์นาโชนาล") เป็นเพลงปลุกใจที่ใช้ในการต่อสู้ของชนชั้นกรรมาชีพ มีที่มาจากบทกวีต้นฉบับภาษาฝรั่งเศสของ เออแฌน ปอตีเย (Eugène Pottier) ในปี..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและแองเตอร์นาซิอองนาล

แอนทอน เยลชิน

แอนทอน วิกโตโรวิช เยลชิน (Anton Viktorovich Yelchin; Антон Викторович Ельчин; 11 มีนาคม ค.ศ. 1989 – 19 มิถุนายน ค.ศ. 2016) เป็นนักแสดงภาพยนตร์และโทรทัศน์ชาวอเมริกัน เขาเพิ่มมีผลงานการแสดงช่วงปลายทศวรรษ 1990 โดยปรากฏตัวในรายการโทรทัศน์หลายบทบาท รวมถึงผลงานแสดงภาพยนตร์ฮอลลีวูดอย่างเรื่อง Along Came a Spider และ Hearts in Atlantis ต่อมาเยลชินมีผลงานในซีรีส์โทรทัศน์เรื่อง Huff และยังแสดงในภาพยนตร์ House of D, Alpha Dog, Charlie Bartlett, ภาพยนตร์ปี 2009 เรื่อง Star Trek และ Terminator Salvation.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและแอนทอน เยลชิน

แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)

แนวรบด้านตะวันออก เคยเป็นเขตสงครามในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก คำดังกล่าวขัดกับแนวรบด้านตะวันตก แม้จะแยกกันทางภูมิศาสตร์ เหตุการณ์ในเขตสงครามทั้งสองมีอิทธิพลต่อกันอย่างมาก ในแหล่งข้อมูลรัสเซีย บางครั้งเรียกสงครามนี้ว่า สงครามปุติภูมิครั้งที่สอง.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)

โบริส สปัสสกี

ริส วาซีเลียวิช สปัสสกี (Бори́с Васи́льевич Спа́сский; Boris Vasilievich Spassky; 30 มกราคม ค.ศ. 1937 —) เป็นนักหมากรุกสากลระดับแกรนด์มาสเตอร์ชาวรัสเซีย ผู้เคยมีสัญชาติโซเวียตและฝรั่งเศส เขาเป็นแชมป์โลกหมากรุกสากลคนที่สิบ โดยเป็นผู้ครองตำแหน่งตั้งแต่ปี..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและโบริส สปัสสกี

โรมัน ปัฟลูย์เชนโค

รมัน อะนาโตเลียวิช ปัฟลูย์เชนโค (Роман Анатольевич Павлюченко, Roman Anatolyevich Pavlyuchenko) เป็นนักฟุตบอลชาวรัสเซีย เกิดเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ปี ค.ศ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและโรมัน ปัฟลูย์เชนโค

โคลปีนา

ลปีนา (Колпинa, Kulkna) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในทะเลสาบไปปัส เกาะแห่งนี้เคยเป็นส่วนหนึ่งของ ตำบลเพคโคสกี้ ประเทศเอสโตเนียตั้งแต่ปี..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและโคลปีนา

โซเวียตท็อปลีก

ซเวียตท็อปลีก (Soviet Top League) เป็นลีกฟุตบอลสูงสุดของสหภาพโซเวียต ก่อตั้งในปี..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและโซเวียตท็อปลีก

ไรซา กอร์บาโชวา

รซา มักซีมอฟนา กอร์บาโชวา (Раи́са Макси́мовна Горбачёва tr. Raisa Maksimovna Gorbachyova, née Titarenko, Титаре́нко; 5 มกราคม 1933 – 20 กันยายน 1999) เป็นภรรยาของมีฮาอิล กอร์บาชอฟเธอให้การสนับสนุนเงินทุนสำหรับการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของรัสเซียและการรักษา โรคมะเร็งเม็ดเลือด ของเด็ก.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและไรซา กอร์บาโชวา

เชการ์

ณะกรรมการพิเศษ หรือ เชการ์ (чрезвыча́йная коми́ссия; ย่อ:ЧК)เป็นองค์กรความมั่นคงแรกของโซเวียต ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและเชการ์

เฟลิกซ์ ดเซียร์จินสกี

ฟลิกซ์ เอดมุนโดวิช ดเซียร์จินสกี (Фе́ликс Эдму́ндович Дзержи́нский.; ''Feliks Dzierżyński''.) ชื่อเล่น ไอออนเฟลิกซ์ เป็นนักปฏิวัติบอลเชวิคชาวรัสเซียเชื้อสายโปแลนด์ และรัฐบุรุษชาวโซเวียต เขามีชื่อปลอมในพรรคคือ Yatsek, Yakub, Pereplyotchik (meaning "bookbinder"), Franek, Astronom, Yuzef และ Domanski.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและเฟลิกซ์ ดเซียร์จินสกี

เพลงชาติสหภาพโซเวียต

Slav’sya, Otechestvo nashe svobodnoye! (Славься, Отечество наше свободное!; Slav’sya, Otechestvo nashe svobodnoye!, แปล "Be glorious, our free Fatherland!"), หรือมีชื่อที่รู้จักอย่างเป็นทางการคือ "เพลงชาติสหภาพโซเวียต" (r) เป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการของสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตประกาศใช้อย่างเป็นทางการในวันที่ 15 มีนาคม 1944 ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง หลังการปฏิวัติสังคมนิยมในรัสเซียโดยพวกบอลเชวิคเมื่อเดือนตุลาคม ค.ศ.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและเพลงชาติสหภาพโซเวียต

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช (Karjalais-suomalaisen sosialistisen neuvostotasavallan hymni) เป็นเพลงชาติของสาธารณรัฐคาเรลียาสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช

เกออร์กี ฟลิโอรอฟ

เกออร์กี นีโคลาเยวิช ฟลิโอรอฟ (Georgy Nikolayevich Flyorov; Гео́ргий Никола́евич Флёров; 2 มีนาคม ค.ศ. 1913 – 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1990) เป็นนักฟิสิกส์ชาวรัสเซีย/โซเวียต เกิดที่เมืองรอสตอฟ-นา-โดนู เรียนที่สถาบันสารพัดช่างเลนินกราด (ปัจจุบันคือมหาวิทยาลัยสารพัดช่างเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก) ในปี..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและเกออร์กี ฟลิโอรอฟ

เกออร์กี มาเลนคอฟ

กออร์กี มักซีมีลีอะโนวิช มาเลนคอฟ (Гео́ргий Максимилиа́нович Маленко́в; Georgy Maximilianovich Malenkov; 8 มกราคม พ.ศ. 2445 - 14 มกราคม พ.ศ. 2531) เป็นนักการเมืองโซเวียตและผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์ ครอบครัวของเขาความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับวลาดิมีร์ เลนินทำให้ช่วยส่งเสริมเขาในการเข้าพรรคและในปี..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและเกออร์กี มาเลนคอฟ

เกออร์กี จูคอฟ

กออร์กี คอนสตันตีโนวิช จูคอฟ (Georgy Konstantinovich Zhukov; Гео́ргий Константи́нович Жу́ков; 1 ธันวาคม พ.ศ. 2439 – 18 มิถุนายน พ.ศ. 2517) เป็นนายทหารอาชีพชาวโซเวียตในกองทัพแดง ซึ่งในห้วงสงครามโลกครั้งที่สองมีบทบาทสำคัญที่สุดในการนำกองทัพแดงยกผ่านยุโรปตะวันออกส่วนใหญ่เพื่อปลดปล่อยสหภาพโซเวียตและชาติอื่นจากการยึดครองของฝ่ายอักษะและพิชิตกรุงเบอร์ลินได้ในที่สุด เขาเป็นนายพลที่ได้รางวัลมากที่สุดในประวัติศาสตร์สหภาพโซเวียตและรัสเซีย เป็นนายพลที่ขึ้นชื่อที่สุดคนหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งได้อันดับต้น ๆ เพราะจำนวนและขนาดของชัยชนะ และคนจำนวนมากยอมรับความสามารถในการบังคับบัญชาทางปฏิบัติการและยุทธศาสตร์ของเขา สัมฤทธิภาพการรบของเขาพัฒนาความรู้ทางทหารของมนุษยชาติอย่างสำคัญ โดยมีอิทธิพลมากทั้งต่อทฤษฎีทางทหารของโซเวียตและทั้งโลก.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและเกออร์กี จูคอฟ

เกนนาดี โรจเดียซ์เตวนสกี

กนนาดี นีโคลาเยวิช โรจเดียซ์เตวนสกี (Генна́дий Никола́евич Рожде́ственский; 4 พฤษภาคม 1931 – 16 มิถุนายน 2018) เป็นวาทยากรชาวโซเวียตและรัสเซีย ศิลปินของประชาชนสหภาพโซเวียต (1976) และ วีรชนแรงงานแห่งสังคมนิยม (1990) โรจเดียซ์เตวนสกีเกิดที่กรุงมอสโก พ่อแม่ของเขาเป็นวาทยากรและนักนิเทศศาสตร์ นีโคไล อะโนซอฟ และนักร้องโซปราโน นาตาเลีย โรจเดียซ์เตวนสกายา ชื่อของเขาคือ เกนนาดี นีโคลาเยวิช อะโนซอฟ แต่เขาได้รับเอานามสกุลเดิมของแม่รูปแบบผู้ชายสำหรับอาชีพของเขา เพื่อหลีกเลี่ยงการเห็นแก่ญาติ แต่จิตรกร P.N.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและเกนนาดี โรจเดียซ์เตวนสกี

เลฟ ยาชิน

ลฟ อิวาโนวิช ยาชิน (Лев Ива́нович Я́шин; 22 ตุลาคม ค.ศ. 1929 — 20 มีนาคม ค.ศ. 1990) เจ้าของฉายา "แมงมุมดำ", "เสือดำ" หรือ "หมึกยักษ์ดำ" เป็นนักฟุตบอลผู้รักษาประตูชาวโซเวียตเชื้อสายรัสเซีย ที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้รักษาประตูที่ดีที่สุดในประวัติศาสตร์กีฬาฟุตบอล ยาชินมีชื่อเสียงอย่างมากจากปฏิกิริยาการป้องกันลูกอันน่าทึ่ง และการคิดค้นแนวคิดเด็ดขาดสำหรับการป้องกันประตู ยาชินได้รับเลือกให้เป็นผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมยุโรป‎ประจำคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยสหพันธ์ประวัติศาสตร์และสถิติฟุตบอลนานาชาติ และเป็นผู้รักษาประตูคนเดียวที่ได้รับรางวัลนักฟุตบอลยอดเยี่ยมแห่งปีของทวีปยุโรปหรือบาลงดอร์ในปี..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและเลฟ ยาชิน

เลโอนิด เบรจเนฟ

ลโอนิด อิลลิช เบรจเนฟ (Леонид Ильич Брежнев; Leonid Illyich Brezhnev; 19 ธันวาคม 2449 – 10 ธันวาคม 2525) เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตและประธานาธิบดีโซเวียตคนที่ 8 ระหว่างสงครามเย็น.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและเลโอนิด เบรจเนฟ

เครื่องอิสริยาภรณ์ธงแดง

รื่องอิสริยาภรณ์ธงแดง (Орден Красного Знамени) เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์ทางทหารดวงแรกของสหภาพโซเวียต สถาปนาเมื่อวันที่ 16 กันยายน..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและเครื่องอิสริยาภรณ์ธงแดง

เครื่องอิสริยาภรณ์ธงแดงแห่งแรงงาน

รื่องอิสริยาภรณ์ธงแดงแห่งแรงงาน (Орден Трудового Красного Знамени) เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์ของสหภาพโซเวียต โดยมอบให้กับแรงงานที่ทำงานอย่างโดดเด่นในด้านการผลิต, ศิลปะ, วัฒนธรรม, การสาธารณสุข สังคม และ อื่น ๆ โดยแรงงานที่ได้รับเครื่องอิสริยาภรณ์นี้เปรียบเหมือนการได้รับเครื่องอิสริยาภรณ์ธงแดงในทางทหาร นอกจากนี้เครื่องอิสริยาภรณ์ยังมอบให้กับองค์กรและโรงงานในสหภาพโซเวียต เครื่องอิสริยาภรณ์ธงแดงแห่งแรงงานมอบครั้งแรกในรัสเซียโซเวียต ในวันที่ 28 ธันวาคม 1920 ก่อนที่จะได้รับการประกาศอย่างเป็นทางการตามประกาศจากคณะผู้บริหารสูงสุดแห่งสภาโซเวียตสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียตในวันที่ 7 กันยายน 1928.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและเครื่องอิสริยาภรณ์ธงแดงแห่งแรงงาน

เซมิออน บูดิออนนืย

ซมิออน มิคาอิลโลวิช บูดิออนนืย (Семён Миха́йлович Будённый, Semyon Mikhailovich Budyonny, 25 เมษายน พ.ศ. 2426 - 26 ตุลาคม พ.ศ. 2516) เป็นทั้งแม่ทัพทหารม้ารัสเซียและจอมพลแห่งสหภาพโซเวียตในสงครามโลกครั้งที่สอง ในสงครามกลางเมืองรัสเซียกองทหารม้าขนาดใหญ่ของบูดิออนนืย เป็นส่วนช่วยให้พรรคบอลเชวิกได้รับชัยชนะ เขากลายเป็นเพื่อนของโจเซฟ สตาลินและได้รับการเลื่อนยศเป็นจอมพลแห่งสหภาพโซเวียตในปี..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและเซมิออน บูดิออนนืย

เซอร์เกย์ บริน

ซอร์เกย์ มีไคโลวิช บริน (Сергей Михайлович Брин; เกิด 21 สิงหาคม พ.ศ. 2516) เป็นชาวอเมริกันเชื้อสายรัสเซีย ผู้ร่วมก่อตั้งกูเกิลร่วมกับแลร์รี เพจ ปัจจุบัน เซอร์เกย์ บรินอยู่ในตำแหน่งประธานฝ่ายเทคโนโลยีของกูเกิล และผู้อำนวยการของกูเกิล เอ็กซ์ จากรายงานว่ามีทรัพย์สินส่วนตัวประมาณ 2 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งถูกจัดเป็นบุคคลที่รวยที่สุดอันดับที่ 26 ของโลก และ อันดับ 5 ของสหรัฐอเมริการ่วมกับแลร์รี เพจ ซึ่งตัวเซอร์เกย์เองยังเป็นหนึ่งในเศรษฐีที่อายุน้อยที่สุดในโลกเช่นกัน.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและเซอร์เกย์ บริน

เซียร์เกย์ ชอยกู

ซียร์เกย์ คูจูเกโตวิช ชอยกู (Серге́й Кужуге́тович Шойгу́, Сергей Күжүгет оглу Шойгу, Sergey Küjüget oglu Şoygu) เป็นนักการเมืองชาวรัสเซีย เขาทำงานให้กับรัฐบาลรัสเซียโดยเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ตั้งแต่ปี 2012 ก่อนหน้านี้ ชอยกูดำรงตำแหน่ง Minister of Emergency Situations ตั้งแต่ปี 1991 ถึงปี 2012 และเคยเป็นผู้ว่าการแคว้นมอสโก ในปี 2012 ชอยกู ได้รับการเลื่อนยศเป็น พลเอกแห่งกองทัพ นอกจากนี้ ชอยกูยังเป็นประธานสหพันธ์กีฬายิงปืน และ Rescuers ระหว่างประเทศอีกด้ว.

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและเซียร์เกย์ ชอยกู

เซียร์เกย์ อิกนาเชวิช

ซียร์เกย์ นีโคลาเยวิช อิกนาเชวิช (Сергей Николаевич Игнашевич) เกิดเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและเซียร์เกย์ อิกนาเชวิช

เซียร์เกย์ โคโรเลฟ

ซียร์เกย์ ปัฟโลวิช โคโรเลฟ (a, translit) Sergei Pavlovich Korolev,12 มกราคม..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและเซียร์เกย์ โคโรเลฟ

เซดด์

อันทอน ซาสลัฟสกี (Anton Zaslavski) หรือรู้จักในชื่อ เซดด์ (Zedd) เกิดวันที่ 2 กันยายน..

ดู สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและเซดด์

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Russian SFSRRussian Soviet Federative Socialist Republicรัสเซียโซเวียตสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย

สหภาพโซเวียตสาธารณรัฐรัสเซียสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิชสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซียสาธารณรัฐของสหภาพโซเวียตสาธารณรัฐประชาชนฮังการีสงครามกลางเมืองรัสเซียสงครามประกาศอิสรภาพตุรกีสงครามโปแลนด์–โซเวียตสนธิสัญญาการก่อตั้งสหภาพโซเวียตสนธิสัญญาราพาลโล (ค.ศ. 1922)สนธิสัญญาสันติภาพริกาสนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์สเวตลานา อัลลีลูเยวาอะเลคซันดร์ รุตสคอยอะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซียอะเลคเซย์ โคซีกินอะเลคเซย์ เลโอนอฟอัครบิดรคีริลล์แห่งมอสโกอันเดรย์ วลาซอฟอันเดรย์ คาร์ลอฟอันเดรย์ ซาคารอฟอันเดรย์ เกรชโคอีวาน โคเนฟอีนโนเคนตี สโมคตูนอฟสกีองค์การคอมมิวนิสต์สากลอเล็กซานเดอร์ เยโกรอฟ (ทหาร)ฮอโลคอสต์ในรัสเซียจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซียธงชาติรัสเซียธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียธงชาติสาธารณรัฐโซเวียตดมีตรี ชอสตโกวิชดมีตรี วอสโคบอยนีคอฟดมีตรี อุสตีนอฟดีนียาร์ บิลยาเลตดีนอฟคลีเมนต์ โวโรชีลอฟความพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534คอนสตันติน เชียร์เนนโคคณะกรรมการความมั่นคงแห่งรัฐ (สหภาพโซเวียต)ตราแผ่นดินของรัสเซียตราแผ่นดินของสาธารณรัฐของสหภาพโซเวียตซามูอิล มาร์ชัคปฏิบัติการมาส์ปฏิบัติการซิทาเดลประเทศรัสเซียประเทศองค์ประกอบประเทศไอร์แลนด์ปาตรีโอตีเชสกายาเปสเนียนิโคไล นอสคอฟนีกีตา ครุชชอฟนีโคไล บุลกานินนีโคไล เยจอฟแกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กแกออร์กี ดีมีตรอฟแองเตอร์นาซิอองนาลแอนทอน เยลชินแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)โบริส สปัสสกีโรมัน ปัฟลูย์เชนโคโคลปีนาโซเวียตท็อปลีกไรซา กอร์บาโชวาเชการ์เฟลิกซ์ ดเซียร์จินสกีเพลงชาติสหภาพโซเวียตเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิชเกออร์กี ฟลิโอรอฟเกออร์กี มาเลนคอฟเกออร์กี จูคอฟเกนนาดี โรจเดียซ์เตวนสกีเลฟ ยาชินเลโอนิด เบรจเนฟเครื่องอิสริยาภรณ์ธงแดงเครื่องอิสริยาภรณ์ธงแดงแห่งแรงงานเซมิออน บูดิออนนืยเซอร์เกย์ บรินเซียร์เกย์ ชอยกูเซียร์เกย์ อิกนาเชวิชเซียร์เกย์ โคโรเลฟเซดด์