เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา

ดัชนี สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา

ท่านผู้หญิง สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา (10 มกราคม 2456 - 5 มีนาคม 2550) เป็นผู้ประพันธ์คำร้องในเพลงพระราชนิพนธ์ ค่ำแล้ว, มหาจุฬาลงกรณ์, เมื่อโสมส่อง, ลมหนาว, พณิชยการพระนคร.

สารบัญ

  1. 9 ความสัมพันธ์: มหาจุฬาลงกรณ์รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)ลมหนาวสุภร ผลชีวินค่ำแล้วแถมสิน รัตนพันธุ์เพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเพ็ญศรี พุ่มชูศรีเมื่อโสมส่อง

มหาจุฬาลงกรณ์

มหาจุฬาลงกรณ์ เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 11 ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชชมรมนักร้องประสานเสียง สโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยาและมหาจุฬาลงกรณ์

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ท..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานทั้งฝ่ายหน้า (บุรุษ) และฝ่ายใน (สตรี) โดยทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 13 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย สำหรับฝ่ายใน ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษมีจำนวน 100 สำรับ สตรีที่ได้รับพระราชานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นนี้ สามารถใช้คำนำหน้านามว่า "ท่านผู้หญิง" สำหรับผู้ที่สมรสแล้ว หรือ "คุณ" สำหรับผู้ที่ยังไม่ได้สมรส สำหรับสตรีในราชสกุล ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไปให้ใช้คำนำพระนามตามเดิม.

ดู สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยาและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)

ลมหนาว

ลมหนาว อาจหมายถึง.

ดู สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยาและลมหนาว

สุภร ผลชีวิน

ร ผลชีวิน นักประพันธ์ เป็นผู้คิดค้นฉันทลักษณ์ "เปษณนาทฉันท์ 16" และ "มุทิงคนาท 14" และเป็นผู้ประพันธ์คำร้องเพลงพระราชนิพนธ์มหาจุฬาลงกรณ์ ร่วมกับท่านผู้หญิงสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อ.

ดู สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยาและสุภร ผลชีวิน

ค่ำแล้ว

ำแล้ว หรือ Lullaby เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๒๔ พระราชนิพนธ์เมื่อเดือนกรกฎาคม..

ดู สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยาและค่ำแล้ว

แถมสิน รัตนพันธุ์

นายแถมสิน รัตนพันธุ์ อดีตคอลัมนิสต์ผู้เขียนเรื่องราว ในวงการสังคมชั้นสูง ในหนังสือพิมพ์ และนิตยสารหลายฉบับ เช่น ไทยรัฐ ผู้จัดการรายวัน โพสต์ทูเดย์ สกุลไทย เป็นต้น โดยใช้นามปากกาว่า “ลัดดา” ซึ่งเป็นชื่อภรรยาของเขาเอง.

ดู สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยาและแถมสิน รัตนพันธุ์

เพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ลงพระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชปรีชาญาณในเรื่องของดนตรี ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองเพลงตั้งแต่ยังทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช รวมบทเพลงพระราชนิพนธ์ทั้งสิ้น 48 เพลง เพลงที่ทรงพระราชนิพนธ์ทำนอง และคำร้องภาษาอังกฤษด้วยพระองค์เอง มี 5 เพลง คือ "Echo", "Still on My Mind", "Old-Fashioned Melody", "No Moon" และ "Dream Island" นอกจากนี้ มีเพลงที่ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองขึ้นภายหลังใส่ในคำร้องที่มีผู้ประพันธ์ไว้แล้ว คือ ความฝันอันสูงสุด เราสู้ และ รัก ผู้ที่โปรดเกล้าฯ ให้แต่งคำร้องประกอบเพลงพระราชนิพนธ์มีหลายท่าน ได้แก่ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์, ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา, ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร, ท่านผู้หญิงสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา, นายจำนงราชกิจ (จรัล บุณยรัตพันธุ์), ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ม.ล.ประพันธ์สนิทวงศ์ และท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค เป็นต้น ในยุคแรก หลังจากที่เพลงพระราชนิพนธ์มีทำนองและคำร้องสมบูรณ์แล้ว จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ครูเอื้อ สุนทรสนาน นำไปบรรเลงในวงดนตรีกรมโฆษณาการหรือวงกรมประชาสัมพันธ์ เพื่อให้แพร่หลายทั่วไป และโดยพระองค์ท่านเองทรงดนตรีร่วมกับวงดนตรี วง อ.ส.

ดู สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยาและเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

เพ็ญศรี พุ่มชูศรี

็ญศรี พุ่มชูศรี (17 มิถุนายน พ.ศ. 2472—14 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) หรือชื่อเดิม ผ่องศรี พุ่มชูศรี รู้จักกันในชื่อเล่น ป้าโจ๊ว เป็นนักร้อง และครูสอนขับร้องเพลงไทยสากล เป็นนักร้องประจำวงดนตรีกรมโฆษณาการ หรือสุนทราภรณ์ ได้รับการคัดเลือกให้ขับร้องเพลงพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาตั้งแต่ครั้งแรกที่มีการบันทึกแผ่นเสียง ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล-ขับร้อง) ประจำปี พ.ศ.

ดู สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยาและเพ็ญศรี พุ่มชูศรี

เมื่อโสมส่อง

หรือ I Never Dream เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๑๘ ทรงพระราชนิพนธ์ใน..

ดู สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยาและเมื่อโสมส่อง

หรือที่รู้จักกันในชื่อ ท่านผู้หญิงสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา