เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)

ดัชนี สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)

มเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ นามเดิม ช่วง บุนนาค (พ.ศ. 2351 – พ.ศ. 2425) เป็นขุนนางชั้นผู้ใหญ่ของสยามในสมัยรัตนโกสินทร์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการเมืองการปกครองของสยาม โดยเริ่มเข้ารับราชการเป็นมหาดเล็กในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งนับเป็นผู้ที่ดำรงตำแหน่ง "สมเด็จเจ้าพระยา" เป็นคนสุดท้าย นอกจากนี้ ท่านยังมีบทบาทในการอัญเชิญพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นครองสิริราชสมบัติและได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตั้งแต่ปี พ.ศ.

สารบัญ

  1. 97 ความสัมพันธ์: บรรดาศักดิ์ไทยช่วงบ้วนฮ่วยเหลาพ.ศ. 2351พ.ศ. 2425พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวพระยามนตรีสุริยวงศ์ (ชุ่ม บุนนาค)พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค)พระยาดำรงราชพลขันธ์ (จุ้ย คชเสนี)พระอภิเนาว์นิเวศน์พระธาตุจอมเพชรพระที่นั่งจักรีมหาปราสาทพระปรีชากลการ (สำอาง อมาตยกุล)พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัณฑรวรรณวโรภาษพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาสพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุวพักตร์วิไลยพรรณพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรองค์อรรคยุพาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภาพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดชพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคลพันธุ์วโรภาส เศวตรุนทร์กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญกลิ่น บุนนาคกองทัพบกไทยกองทัพเรือไทยการปฏิรูปนครเชียงใหม่สู่มณฑลพายัพการเลิกทาสและไพร่ในประเทศไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยรายชื่อคลองในกรุงเทพมหานครรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน น.ร.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้ารายนามผู้บัญชาการทหารเรือไทยวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหารวัดราชคามวัดประยุรวงศาวาสวรวิหารวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติสกุลบุนนาคสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)สะพานพิทยเสถียร... ขยายดัชนี (47 มากกว่า) »

บรรดาศักดิ์ไทย

ในฐานันดรศักดิ์ไทย บรรดาศักดิ์ คือ ระดับชั้นหรือยศของข้าราชการไทยในสมัยโบราณ เทียบกับคำภาษาอังกฤษคือ Title.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และบรรดาศักดิ์ไทย

ช่วง

วง อาจหมายถึง.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และช่วง

บ้วนฮ่วยเหลา

้วนฮ่วยเหลา ตามสำเนียงฮกเกี้ยน หรือ วั่นฮวาโหลว ตามสำเนียงกลาง แปลว่า หอหมื่นบุปผา (Pavilion of Ten Thousand Flowers) เป็นชื่อนิยายจีนซึ่ง หลีโหวตึ๊ง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน หรือ หลี อวี่ถัง ตามสำเนียงกลาง (李雨堂) ประพันธ์ขึ้นในสมัยราชวงศ์ชิง.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และบ้วนฮ่วยเหลา

พ.ศ. 2351

ทธศักราช 2351 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพ.ศ. 2351

พ.ศ. 2425

ทธศักราช 2425 ตรงกั.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพ.ศ. 2425

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปวเรนทราเมศมหิศเรศรังสรรค์ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระอนุชาธิราชในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ทรงได้รับพระบวรราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 รองจากพระบรมเชษฐา สูงศักดิ์กว่า "วังหน้า" กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (พระมหาอุปราช)พระองค์ใดในอดีต เมื่อวันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระยามนตรีสุริยวงศ์ (ชุ่ม บุนนาค)

ระยามนตรีสุริยวงศ์ มีนามเดิมว่า ชุ่ม เป็นบุตรคนที่ 9 ของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยุรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) กับท่านผู้หญิงจันทร์ และเป็นน้องชายแท้ๆ ของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ได้เป็นราชทูตไปยังราชสำนักอังกฤษเพื่อถวายพระราชสาส์นของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแก่ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร ในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพระยามนตรีสุริยวงศ์ (ชุ่ม บุนนาค)

พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค)

มหาอำมาตย์เอก พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค) เป็นบุตรพระยามนตรีสุริยวงศ์ (ชุ่ม) มารดาชื่อ ศิลา เกิดเมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค)

พระยาดำรงราชพลขันธ์ (จุ้ย คชเสนี)

ระยาดำรงราชพลขันธ์รามัญราชชาติเสนาบดีศรีสิทธิสงคราม (จุ้ย คชเสนี) เจ้าเมืองนครเขึ่อนขันธ์คนที่ 2 (จังหวัดพระประแดงในอดีต) โดยดำรงตำแหน่งต่อจากพระยานครเขื่อนขันธ์รามัญราชชาติเสนาบดีศรีสิทธิสงคราม (ทอมา คชเสนี)เจ้าคุณอาของท่านลำดับสกุลคชเสนี กับ โบราณคดีมอญ ๒๕.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพระยาดำรงราชพลขันธ์ (จุ้ย คชเสนี)

พระอภิเนาว์นิเวศน์

ระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงฉายภาพ ณ พระอภิเนาว์นิเวศน์ พระอภิเนาว์นิเวศน์ เป็นพระราชมนเทียร (เรือนหลวง) ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นภายในพระบรมมหาราชวัง โดยทรงเลือกบริเวณที่เรียกว่า "สวนขวา" เป็นที่จัดสร้างพระราชมนเทียรขึ้นใหม่ สร้างในรูปแบบสถาปัตยกรรมของชาติตะวันตก ทั้งนี้เพื่อจะใช้เป็นที่ต้อนรับแขกบ้านแขกเมื่อและเป็นที่แสดงเครื่องบรรณาการที่ประเทศแถบยุโรปส่งมาถวาย และเป็นพระเกียรติยศของพระองค์อีกประการหนึ่ง พระราชมนเทียรแห่งนี้เป็นสถานที่สำคัญในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากใช้เป็นที่ประทับ ออกว่าราชการ และต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองของพระองค์ ประกอบด้วย พระที่นั่ง 8 องค์ และหอ 3 หอ รวมทั้งหมด 11 หลัง แต่การตั้งนามพระที่นั่งและอาคารต่าง ๆ นั้น ได้รวมเอานามพระที่นั่งสุทไธสวรรย์ปราสาทและพระที่นั่งไชยชุมพลเข้ามาเป็นหมู่พระที่นั่งเดียวกันด้วย เมื่อสิ้นรัชกาลแล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็มิได้ประทับ ณ หมู่พระอภิเนาว์นิเวศน์ ประกอบกับพระราชมนเทียรแห่งนี้สร้างด้วยเครื่องไม้ประกอบอิฐ ปูนเป็นหลัก เมื่อเวลาผ่านไปจึงผุกร่อนจนต้องรื้อลงเกือบทั้งหมดและปรับพื้นที่เป็นสวนดังเช่นปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม นามของพระที่นั่งภายในพระอภิเนาว์นิเวศน์บางองค์ก็นำไปใช้เป็นนามพระที่นั่งองค์ต่าง ๆ ในภายหลัง เช่น พระที่นั่งอนันตสมาคม ภายในพระราชวังดุสิต, พระที่นั่งบรมพิมาน ภายในพระบรมมหาราชวัง เป็นต้น.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพระอภิเนาว์นิเวศน์

พระธาตุจอมเพชร

ระธาตุจอมเพชร และหมู่พระที่นั่ง พระธาตุจอมเพชร เป็นพระเจดีย์ทรงลังกาสีขาวประดิษฐานอยู่ ณ "อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี" มีอายุเก่าแก่ สร้างมานานก่อนที่จะสร้างพระราชวังพระนครคีรี ในสมัยต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ซ่อมแซมและเสริมให้สูงขึ้น แล้วบรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้ภายใน แล้วพระราชทานชื่อว่า "พระธาตุจอมเพชร".

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพระธาตุจอมเพชร

พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

ระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เป็นพระที่นั่งในหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ภายในพระบรมมหาราชวัง โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ..

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

พระปรีชากลการ (สำอาง อมาตยกุล)

ระปรีชากลการ มีชื่อตัวว่า สำอาง อมาตยกุล (15 สิงหาคม พ.ศ. 2384 - 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2422) ขุนนางชาวไทย สมรสกับสตรีลูกครึ่งอังกฤษ คือ แฟนนี่ น็อกซ์ ท่านถูกกล่าวหาว่า "ฆ่าคนตายและทารุณกรรม แก่คนไทยที่เมืองกบินทร์บุรี" โทมัส ยอร์ช น็อกซ์ ผู้เป็นพ่อตา ซึ่งเป็นกงสุลอังกฤษประจำประเทศไทย จึงได้ข่มขู่สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์และสมุหพระกลาโหม ว่าจะนำเรือรบอังกฤษมาข่มขู่ให้ปล่อยลูกเขยของตน แต่กลับไม่สำเร็จ และปิดท้ายด้วยการประหารพระปรีชากลการ เรื่องราวของพระปรีชากลการถูกแต่งเป็นนิยายเรื่อง Fanny & Regent of Siam ("แฟนนี่และผู้สำเร็จราชการแห่งสยาม") ซึ่งรจนาโดยอาร.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพระปรีชากลการ (สำอาง อมาตยกุล)

พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี

ระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี (15 เมษายน พ.ศ. 2448 — 10 ตุลาคม พ.ศ. 2528) เป็นพระวรราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่า เครือแก้ว อภัยวงศ์ บุตรีของพระยาอภัยภูเบศร (เลื่อม อภัยวงศ์) กับคุณเล็ก บุนนาค ต่อมาได้รับพระราชทานนามจากสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า สุวัทนา ได้เข้ารับราชการฝ่ายใน ในตำแหน่งเจ้าจอมสุวัทนา และได้รับการสถาปนาเป็น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ตามลำดับ พระองค์ได้ให้ประสูติการแก่พระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลคือ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี แต่หลังจากประสูติพระเจ้าลูกเธอได้เพียงหนึ่งวัน พระราชสวามีได้สวรรคตลง พระองค์และพระธิดาจึงได้เสด็จไปประทับยังสหราชอาณาจักรกว่า 20 ปี ภายหลังจึงได้เสด็จนิวัตประเทศไทยโดยพำนักในวังรื่นฤดี เป็นการถาวรตั้งแต่ปี..

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัณฑรวรรณวโรภาษ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัณฑรวรรณวโรภาษ เป็นพระธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ บุนนาค) (เป็นธิดาเจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) และท่านผู้หญิงอิ่ม (ต้นสกุลมาแต่เชื้อจีน) ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดี แรม 13 ค่ำ เดือน 12 ปีกุน ตรงกับวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัณฑรวรรณวโรภาษ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2411 — 26 ตุลาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส

มหาอำมาตย์ตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส พระนามเดิม พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 51 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาโหมด เมื่อวันอังคาร เดือน 9 ขึ้น 7 ค่ำ ปีวอกฉศก..

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุวพักตร์วิไลยพรรณ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุวพักตร์วิไลยพรรณ (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2416 - 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2473) ประสูติเมื่อวันศุกร์ ขึ้น 6 ค่ำ เดือน 6 ปีระกา เบญจศก จุลศักราช 1235 ตรงกับวันที่ 2 พฤษภาคม..

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุวพักตร์วิไลยพรรณ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรองค์อรรคยุพา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรองค์อรรคยุพา พระราชธิดาพระองค์ที่ 39 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาโหม.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรองค์อรรคยุพา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์

นายพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (19 ธันวาคม พ.ศ. 2423 — 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2466) มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ ทรงเป็นต้นราชสกุล "อาภากร" เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงได้รับสมัญญานามว่า "องค์บิดาของทหารเรือไทย" พระองค์ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบริหารงานของกองทัพเรือ ทรงได้รับการเชิดชูในหมู่ทหารเรือเรียกขานพระองค์ว่า "เสด็จเตี่ย" หรือ "หมอพร" และ "พระบิดาแห่งกองทัพเรือไทย" ต่อมาในปี 2536 มีประกาศกองทัพเรือขนานพระนามพระองค์ว่า "พระบิดาของกองทัพเรือไทย" และในปี 2544 แก้ไขเป็น "องค์บิดาของทหารเรือไทย" ภายหลังจากการสิ้นพระชนม์ของพระองค์ ได้มีการจัดสร้างศาลและพระอนุสาวรีย์พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ รวมทั้งสิ้น 217 แห่งทั่วประเทศไทย เช่น โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี หรือที่พระตำหนักที่หาดทรายรี จังหวัดชุมพร.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนวรจักรธรานุภาพ พระนามเดิม พระองค์เจ้าปราโมช เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและเจ้าจอมมารดาอัมพา ประสูติ เมื่อวันอังคาร แรม 9 ค่ำ เดือน 4 ปีชวด ตรงกับวันที่ 11 มีนาคม..

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล

ลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล หรือ พระองค์ชายใหญ่ (27 พฤศจิกายน 2453 - 5 กุมภาพันธ์ 2538) เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล และเป็นพระอัยกา(ตา)ในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ทรงเป็นผู้อำนวยการสร้าง ผู้กำกับละครและภาพยนตร์ รวมทั้งทรงพระนิพนธ์เรื่องและคำร้องเพลงประกอบหลายเรื่อง และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งธนาคารไทยทนุ เมื่อปี..

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา

ลโท พลเรือโท พลอากาศโท พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา (ประสูติ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2447 - สิ้นพระชนม์ 19 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ

ลโท พลเรือโท พลอากาศโท พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ หรือ พระองค์ชายเล็ก (อังกฤษ: His Royal Highness Prince Anusorn Mongkolkarn) (1 เมษายน 2458 - 2 มกราคม 2541) เป็นพระโอรสองค์สุดท้องใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ กับ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล (พระธิดาใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ซึ่งเป็นพระอนุชาร่วมพระครรโภทรกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) มีพระเชษฐา 2 พระองค์ คือ.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช ประสูติเมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2428 พระอิสริยยศเมื่อแรกประสูติเป็นหม่อมเจ้า เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช กับหม่อมแม้น ทรงศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ ได้รับปริญญา B.A.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร

ลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร หรือ พระองค์ชายกลาง (29 เมษายน พ.ศ. 2456 - 1 ตุลาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล (10 มีนาคม พ.ศ. 2435 - 23 มกราคม พ.ศ. 2500) พระชายาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และพระองค์เป็นพระธิดาในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช อันประสูติแต่หม่อมแม้น ภาณุพันธุ์ ณ อ.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล

พันธุ์วโรภาส เศวตรุนทร์

แพทย์หญิง พันธุ์วโรภาส เศวตรุนทร์ นามเดิม หม่อมเจ้าพันธุ์วโรภาส ภาณุพันธุ์ (4 สิงหาคม พ.ศ. 2476) เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดชหม่อมมาลี ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา และเป็นพระนัดดาในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วร.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และพันธุ์วโรภาส เศวตรุนทร์

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ (6 กันยายน พ.ศ. 2381 — 28 สิงหาคม พ.ศ. 2428) เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลพระองค์สุดท้ายในสมัยกรุงรัตนโกสินทร.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ

กลิ่น บุนนาค

ท่านผู้หญิงกลิ่น บุนนาค เป็นภรรยาเอกของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ท่านผู้หญิงกลิ่น เป็นธิดาของหลวงแก้วอายัติ (จาด บุนนาค) ซึ่งเป็นบุตรของเจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)กับท่านกอง สมรสกับสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ ในขณะที่ท่านยังมีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงสิทธิ์นายเวร ได้มีบุตร-ธิดา ด้วยกัน 4 คน ได้แก.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และกลิ่น บุนนาค

กองทัพบกไทย

กองทัพบกไทย (คำย่อ: ทบ.; Royal Thai Army) เป็นเหล่าทัพที่มีประวัติความเป็นมายาวนานที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดของกองทัพไทย ก่อตั้งเป็นกองทัพสมัยใหม่ขี้นในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และกองทัพบกไทย

กองทัพเรือไทย

กองทัพเรือไทย หรือ ราชนาวีไทย (คำย่อ: ทร., Royal Thai Navy) เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อการปฏิบัติการทางทหารในทะเล ลำน้ำ และพื้นที่บริเวณชายฝั่งของประเทศไทย กองทัพเรือมีจำนวนกำลังพลประจำการเป็นลำดับ 2 (รองจากกองทัพบก) ซึ่งมีเรือปฏิบัติการด้วยเรือรบกว่า 74 ลำ อากาศยานกว่า 90 เครื่อง และกำลังรบทางบกอีก 2 กองพล นับเป็นกองทัพเรือที่มีความสำคัญในลำดับต้นของภูมิภาคเอเชีย กองทัพเรือมีผู้บัญชาการทหารเรือเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด โดยเป็นหน่วยงานในสังกัดของกองบัญชาการกองทัพไทย ที่มีผู้บัญชาการทหารสูงสุดเป็นผู้บังคับบัญชา และอยู่ในสังกัดของกระทรวงกลาโหม กองทัพเรือมีพื้นที่ปฏิบัติการหลักทั้งในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน ตามแนวเขตแดนระหว่างประเทศในทะเลความยาวกว่า 1,680 ไมล์ และตามแนวชายฝั่งความยาวกว่า 1,500 ไมล์ หน่วยต่างๆ ในสังกัดกองทัพเรือมีลักษณะการจัดโครงสร้างหน่วยที่คล้ายกับกองทัพเรือสหรัฐอเมริกามาก โดยเฉพาะในหน่วยกำลังรบ คือ กองการบินทหารเรือ กองเรือยุทธการ (กบร.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และกองทัพเรือไทย

การปฏิรูปนครเชียงใหม่สู่มณฑลพายัพ

การปฏิรูปนครเชียงใหม่สู่มณฑลพายัพ เป็นการปฏิรูปนครเชียงใหม่ในฐานะประเทศราชของสยาม เป็นมณฑลพายัพในกำกับของสยามโดยพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันเป็นผลมาจากลัทธิจักรวรรดินิยมที่เข้ามาสู่ภูมิภาคอินโดจีน ซึ่งขณะนั้น เชียงใหม่และประเทศราชล้านนาเป็นดินแดนทางภาคเหนือของสยามที่อังกฤษกำลังหมายปอง.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และการปฏิรูปนครเชียงใหม่สู่มณฑลพายัพ

การเลิกทาสและไพร่ในประเทศไทย

การเลิกทาส และ การเลิกไพร่ เป็นพระราชกรณียกิจอันสำคัญยิ่งของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) เป็นการยกเลิกระบบที่คนชั้นสูงตั้งขึ้น เพื่อกดขี่ราษฎรให้ทำงานรับใช้หรือส่งทรัพย์สินให้โดยไม่มีกำหนดว่าจะสิ้นสุดลงเมื่อใดชัย เรืองศิลป.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และการเลิกทาสและไพร่ในประเทศไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย

ัญชีดังต่อไปนี่แสดงรายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมแห่งราชอาณาจักรไท.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย

รายชื่อคลองในกรุงเทพมหานคร

ตัดกันระหว่างคลองบางน้อย กับคลองบางกอกใหญ่ ในพื้นที่แขวงบางเชือกหนัง เขตตลิ่งชัน คลองในกรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,161 คลอง และคูลำกระโดง จำนวน 521 คู รวมเป็น 1,682 คูคลอง ความยาว 2,604 กม.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และรายชื่อคลองในกรุงเทพมหานคร

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน น.ร.

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ (ฝ่ายหน้า) เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ มีอักษรย่อว่า น.ร.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน น.ร.

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานของเครื่องอิสริยาภรณ์ รวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานแก่ผู้ที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า แบ่งออกสำหรับพระราชทานฝ่ายหน้าจำนวน 30 สำรับ และฝ่ายในจำนวน 20 สำรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่เจ้านายหรือผู้มีเกียรติจากต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมกับจำนวนดังกล่าว รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า (ไม่รวมพระนามของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าในชั้นที่สูงขึ้น ได้แก่ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ) ตั้งแต่สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เช่น.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

รายนามผู้บัญชาการทหารเรือไทย

รายพระนาม รายนาม ผู้บัญชาการทหารเรือ แห่งกองทัพเรือไท.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และรายนามผู้บัญชาการทหารเรือไทย

วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร

วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ริมถนนและคลองผดุงกรุงเกษม ด้านใกล้ถนนราชดำเนินนอก.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร

วัดราชคาม

130px 130px130px 130px 130px.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และวัดราชคาม

วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร

วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่ใกล้กับเชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้า ฝั่งธนบุรี โดยมีเลขทะเบียนวัดที่ 24 ถนนประชาธิปก แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร การบูรณะวัดส่งผลให้วัดได้รับรางวัลยอดเยี่ยม อันดับ 1 (Award of Excellence) ให้โครงการบูรณปฏิสังขรณ์พระบรมธาตุมหาเจดีย์วัดประยุรวงศาวาส ด้านการอนุรักษ์ทางวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ขององค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก).

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร

วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ

วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ เป็นวันสำคัญของไทยและมีความสำคัญต่อวงการวิทยาศาสตร์และดาราศาสตร์ไทย กำหนดให้ตรงกับวันที่ 18 สิงหาคม ของทุกปี ซึ่งเป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทอดพระเนตรสุริยุปราคาเต็มดวงเมื่อ..

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ

สกุลบุนนาค

ราชินิกุลบุนนาค นับว่าเป็นสกุลที่เก่าแก่ บรรพชนของสกุลบุนนาคสืบเชื้อสายมาจากพ่อค้าชาวเปอร์เซีย (อิหร่าน) มีนามว่า เฉกอะหฺมัด ที่เข้ามารับราชการในกรุงพระนครศรีอ.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และสกุลบุนนาค

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ันเอกหญิง สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (24 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)

มเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) หรือ สมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นบิดาของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เจ้าพระยาทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค) เจ้าพระยาภาณุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วม บุนนาค) เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค) และเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค).

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)

สะพานพิทยเสถียร

นพิทยเสถียร สะพานพิทยเสถียร เป็นหนึ่งในสะพานที่สร้างข้ามคลองผดุงกรุงเกษม ในพื้นที่แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร โดยมีประวัติและที่มาควบคู่ไปกับสะพานดำรงสถิต หรือที่นิยมเรียกว่าสะพานเหล็ก ที่ข้ามคลองโอ่งอ่าง ในเขตพระนคร สะพานพิทยเสถียรตั้งอยู่บนถนนเจริญกรุงช่วงที่มาจากเขตบางรัก ในช่วงที่ตัดกับถนนมหาพฤฒาราม ที่มุ่งหน้ามาจากถนนพระราม 4 ใกล้กับแยกไมตรีจิตต์ ในสมัยรัชกาลที่ 4 เมื่อโปรดให้ประกาศบอกบุญผู้ที่มีจิตศรัทธา ให้ช่วยกันสร้างสะพานข้ามคูคลองในพระนครนั้น สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงค์ (ช่วง บุนนาค) ได้สร้างเป็นสะพานโครงเหล็กคู่กับสะพานดำรงสถิต เรียกว่า "สะพานเหล็กล่าง" (ในขณะที่สะพานดำรงสถิต เรียกว่า "สะพานเหล็กบน") พื้นสะพานข้างล่างมีล้อ และรางเหล็กสำหรับเปิดสะพานให้แยกจากกันได้ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 โปรดให้กรมโยธาธิการสร้างใหม่ในพุทธศักราช 2442 เป็นสะพานโครงเหล็กเปิดได้เช่นเดียวกันกับสะพานดำรงสถิต พระราชทานนามว่า "สะพานพิทยเสถียร" เพื่อเป็นเกียรติแก่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา ซึ่งมีวังที่ประทับอยู่ในบริเวณใกล้เคียง สร้างเสร็จในพุทธศักราช 2443 ในรัชกาลที่ 6 โปรดให้ปรับปรุงสะพานนี้ใหม่ ซึ่งคือสะพานที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบัน สภาพสะพานเป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก มีสถาปัตยกรรมแบบเวนีเชียน มีคานล่างเป็นรูปโค้ง สะพานนี้มีลวดลายตกแต่งประณีตงดงามมาก โดยเฉพาะเสาลูกกรง เสาโคมไฟฟ้าทั้ง 8 ต้น ตลอดจนลายหัวสิงห์ที่ปลายรอดสะพาน ทั้งสะพานพิทยเสถียรและสะพานดำรงสถิต ได้ถูกขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยกรมศิลปากรตั้งแต่พุทธศักราช 2518.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และสะพานพิทยเสถียร

สะพานเหล็ก

นดำรงสถิตในปี พ.ศ. 2545 สะพานเหล็ก คือ สะพานเหล็กข้ามคลองรอบกรุง บริเวณคลองโอ่งอ่าง ของกรุงเทพมหานคร บนถนนเจริญกรุง ในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร มีชื่อเรียกอย่างทางการว่า "สะพานดำรงสถิต" ในปีพุทธศักราช 2438 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ขยายถนนเจริญกรุงและรื้อสร้างสะพานเหล็กใหม่เป็นสะพานโครงเหล็กเปิดได้ การก่อสร้างสะพานเหล็กบนทำให้ต้องมีการย้ายประตูและกำแพงวังที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ริมถนนเจริญกรุงบางส่วน จึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า "สะพานดำรงสถิต" เพื่อเป็นเกียรติแด่สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ สำหรับสะพานเหล็กล่าง พระราชทานนามว่า "สะพานพิทยเสถียร" เพื่อเป็นเกียรติแก่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดาซึ่งมีวังที่ประทับตั้งอยู่ใกล้กับสะพาน โดยทั้ง 2 สะพานนี้ เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ในฐานะแม่กองจัดสร้าง สิ้นเงินไปทั้งสิ้น 23,200 บาท ในปีพุทธศักราช 2518 ทั้ง 2 สะพานได้ถูกขึ้นทะเบียนโดยกรมศิลปากรให้เป็นโบราณสถานของชาติ บริเวณเชิงสะพานเหล็ก และรวมไปถึงบริเวณใกล้เคียงคือ คลองถม เคยเป็นแหล่งค้าขายสินค้าที่คับคังมาก โดยเฉพาะในวันหยุดสัปดาห์ มีสินค้าหลากหลายประเภท เช่น วิดีโอเกม, โมเดลตุ๊กตา, เครื่องใช้ไฟฟ้า, ซีดี และสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์รวมถึงสื่อลามกอนาจารอีกจำนวนมาก จนกลายเป็นแหล่งการค้าที่เป็นที่รู้จักกันดี แต่ทว่าในช่วงกลางปีค่อนไปทางปลายปี..

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และสะพานเหล็ก

สุลาลีวัลย์ สุวรรณทัต

ลาลีวัลย์ สุวรรณทัต หรือที่รู้จักกันในชื่อ ป้าทอง มีชื่ออีกชื่อหนึ่งว่า หม่อมสุลาลีวัลย์ สุริยง ณ อยุธยา (19 ตุลาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และสุลาลีวัลย์ สุวรรณทัต

สนธิสัญญาเบาว์ริง

หนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีประเทศอังกฤษและประเทศสยาม (Treaty of Friendship and Commerce between the British Empire and the Kingdom of Siam) หรือบนปกสมุดไทย ใช้ชื่อว่า หนังสือสัญญาเซอยอนโบวริง หรือที่มักเรียกกันทั่วไปว่า สนธิสัญญาเบาว์ริง (Bowring Treaty) เป็นสนธิสัญญาที่ราชอาณาจักรสยามทำกับสหราชอาณาจักร ลงนามเมื่อ 18 เมษายน..

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และสนธิสัญญาเบาว์ริง

หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เป็นหมู่พระที่นั่งที่อยู่ระหว่างพระมหามณเฑียรและหมู่พระมหาปราสาทภายในพระบรมมหาราชวัง ทอดตัวจากทิศเหนือไปทิศใต้ ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นกลางและเขตพระราชฐานชั้นใน สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อใช้เป็นสถานที่ออกว่าราชการและเป็นที่ประทับส่วนพระองค์ เดิมประกอบด้วยหมู่พระที่นั่ง 11 องค์ แต่เนื่องจากพระที่นั่งบางองค์ทรุดโทรมจนยากต่อการบูรณะจึงได้ทำการรื้อลง ปัจจุบัน หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ประกอบด้วย พระที่นั่ง 5 องค์ ได้แก่ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เป็นพระที่นั่งองค์เดียวในหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทที่สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5 พระที่นั่งมูลสถานบรมอาสน์ พระที่นั่งสมมติเทวราชอุปบัติ พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร และพระที่นั่งเทวารัณยสถาน เป็นพระที่นั่งที่รื้อลงและสร้างขึ้นใหม่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุล.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ จิรประวัติ

หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ จิรประวัติ (ราชสกุลเดิม: สวัสดิกุล; เกิด: 2 มิถุนายน พ.ศ. 2458 — ตาย: 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2528) เป็นหม่อมในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล และต่อมาเป็นหม่อมในหม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชกับหม่อมเจ้าสุมนมาลย์ จิรประวัต.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และหม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ จิรประวัติ

หม่อมแม้น ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา

หม่อมแม้น ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2409 - 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2438) เป็นหม่อมห้ามสะใภ้หลวงในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วร.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และหม่อมแม้น ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา

หม่อมเจ้าอุทัยกัญญา ภาณุพันธุ์

หม่อมเจ้าอุทัยกัญญา ภาณุพันธุ์ (24 ตุลาคม พ.ศ. 2476) เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช กับหม่อมพเยาว์ ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 19 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และหม่อมเจ้าอุทัยกัญญา ภาณุพันธุ์

อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)

ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรที่สี่ในยุคประวัติศาสตร์ของไทย เริ่มตั้งแต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่งกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)

อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี

อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี เป็นพระราชวังฤดูร้อนที่สร้างขึ้นในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และอุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เป็นผู้บริหารราชการแผ่นดินในพระปรมาภิไธยหรือพระนามาภิไธยพระมหากษัตริย์ เนื่องจากพระมหากษัตริย์ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะก็ดี ทรงพระประชวรก็ดี ทรงไม่อาจบริหารพระราชกิจได้ก็ดี หรือไม่ทรงอยู่ในประเทศก็ดี ในสมัยราชวงศ์จักรีเริ่มมีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากพระองค์ทรงขึ้นครองราชย์เมื่อพระองค์ยังทรงพระเยาว.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)

ธิราชเจ้าจอมสยาม

ราชเจ้าจอมสยาม (Thee Siamese Lord) เป็นละครโทรทัศน์กึ่งสารคดี ออกอากาศทางทีวีไทย ในวันจันทร์ วันอังคาร และวันพุธ เวลา 20.20 - 21.10 น.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และธิราชเจ้าจอมสยาม

ถนนสมเด็จเจ้าพระยา

นนสมเด็จเจ้าพระยา ถนนสมเด็จเจ้าพระยา (Thanon Somdet Chao Phraya) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งในเขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร มีเส้นทางเริ่มต้นจากวงเวียนเล็ก ถนนประชาธิปก ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ในพื้นที่แขวงสมเด็จเจ้าพระยา ตัดกับถนนท่าดินแดงและเข้าพื้นที่แขวงคลองสานที่สี่แยกท่าดินแดง จากนั้นยังคงตรงไปในทิศเดิม จนกระทั่งสิ้นสุดที่สี่แยกคลองสานซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนลาดหญ้า ระยะทางรวม 1.440 กิโลเมตร มีความกว้าง 19.50 เมตร ถนนสมเด็จเจ้าพระยาเป็น "ถนนสายที่ 2" ในโครงการตัดและขยายถนน 11 สายในจังหวัดธนบุรี ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากการก่อสร้างสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ (สะพานพระพุทธยอดฟ้า) เมื่อปี พ.ศ.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และถนนสมเด็จเจ้าพระยา

ถนนอรุณอมรินทร์

นนอรุณอมรินทร์ ถนนอรุณอมรินทร์ (Thanon Arun Ammarin) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งในฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และถนนอรุณอมรินทร์

ถนนเจริญกรุง

นนเจริญกรุงในสมัยรัชกาลที่ 5 ถนนเจริญกรุงในกลางปี พ.ศ. 2559 ช่วงเชิงสะพานพิทยเสถียร (สะพานเหล็กล่าง) ย่านตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ ถนนเจริญกรุง (Thanon Charoen Krung) ถนนสายสำคัญสายหนึ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นตั้งแต่ถนนสนามไชยบริเวณวงเวียน รด.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และถนนเจริญกรุง

ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)

ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา) มีนามเดิมว่า แก้ว อภัยวงศ์ (เกิด: 5 มกราคม พ.ศ. 2396 — ถึงแก่อนิจกรรม: 15 กันยายน พ.ศ.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)

ข้าบดินทร์

้าบดินทร์ เป็นนวนิยายไทยที่ประพันธ์โดย วรรณวรรธน์ มีเนื้อเรื่องอิงประวัติศาสตร์ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ซึ่งเป็นยุคสมัยที่ประเทศอังกฤษ หรือที่เรียกว่า "วิลาศ" เข้ามามีบทบาททางการค้ากับประเทศไทยเป็นอย่างมาก แกนหลักของเรื่องถูกถ่ายทอดผ่านเรื่องราวของ เหม บุตรชายแห่งพระยาบริรักษ์กับคุณหญิงชม เด็กหนุ่มที่งดงามทั้งรูปร่างหน้าตา กิริยา วาจาจนได้ชื่อว่า "พ่อเหมรูปทอง" เหมสนใจใฝ่รู้ในภาษาวิลาศและได้แอบไปเรียนกับครูแหม่มบ่อย ๆ เมื่อผู้เป็นพ่อทราบเข้าก็ไม่พอใจเนื่องด้วยไม่ไว้ใจในพวกวิลาศ เหมจึงถูกส่งไปเรียนกับพระครูโพที่วัด ซึ่งที่นั่นทำให้เหมได้เรียนรู้วิชาดาบอาทมาฏติดตัวมาอีกหนึ่งแขนง หลวงสรอรรถ เข้ามาเจรจากับพระยาบริรักษ์ เพื่อขอลดค่าระวางปากเรือให้กับเรือกับปิตันฝรั่ง แต่พระยาบริรักษ์ไม่ยอม อีกทั้งเหมกับบัว หญิงสาวที่หลวงสรอรรถชอบใจ ได้ต้องใจกันตามประสาหนุ่มสาว ทำให้หลวงสรอรรถร่วมมือกับพระยาปลัดสมุทรปราการ ผู้ที่ถูกหลวงสรอรรถกุมความลับว่ามีรสนิยมทางเพศวิปริต ชอบสังวาสกับเด็กหญิงแล้วฆ่าทิ้ง ร่วมมือกันวางแผนใส่ร้ายพระยาบริรักษ์ว่าฆ่า มิสเตอร์เจเมสัน ทำให้ชะตาชีวิตของเหมต้องพลิกผัน พระยาบริรักษ์ตัดสินใจยอมรับตวามผิดทั้งที่ไม่ได้ก่อ เพื่อปกป้องบ้านเมืองไม่ให้เกิดศึกสงคราม ทำให้ทั้งสามต้องโทษโดนริบราชบาตร และปลดยศถาบรรดาศักดิ์ไปเป็นตะพุ่นหญ้าช้างในพระนคร ความตกต่ำของเหมทำให้บัวตัดความสัมพันธ์กับเหมอย่างไม่ใยดี ขณะที่ครอบครัวของบัวไม่กล้ายื่นมือเข้าช่วยเหลือ มีเพียงลำดวน ลูกสาวคนเล็กของขุนนาฏยโกศลซึ่งเป็นน้องสาวของบัว ที่รักและสนิทสนมกับเหมตั้งแต่เด็กจนเป็นสาวรุ่นเท่านั้น ที่ยังให้ความเห็นอกเห็นใจเหม อีกทั้งในวันที่เหมและคุณหญิงชม ผู้เป็นแม่ ถูกแห่ประจานจนกระหายน้ำ ลำดวนก็ได้ซื้อแตงกวาให้คุณหญิงชมทานเพื่อดับกระหาย ทำให้เหมทราบซึ้งในน้ำใจน้องน้อยเป็นอย่างมาก หลังจากที่กลายเป็นตะพุ่นช้าง เหมก็ได้เรียนรู้ศาสตร์แห่งคชสารจากขุนศรีไชยทิตยจนได้เป็นหมอควาญช้าง หรือ "เสดียง" ซึ่งโชคชะตาก็ทำให้เขาได้กลับมาพบกับ "ลำดวน" ซึ่งบัดนี้โตเป็นสาวเต็มตัวและได้นางเอกละครรำแห่งอัมพวาอีกครั้ง ด้วยความประทับใจในความดีงามของลำดวน ได้หล่อหลอมความกับความผูกพันจึงบังเกิดเป็นความรัก แต่ก็ต้องพบกับอุปสรรคนานัปการ ทั้งจากหมื่นวิชิตหนุ่มเจ้าเล่ห์ผู้หมายปองในตัวลำดวน และด้วยฐานะที่แตกต่างของทั้งคู่ เหมจึงพยายามทำทุกอย่างเพื่อไต่เต้าจากตะพุ่นช้างเป็นนายทหารผู้กล้าจนได้เป็นถึง "หลวงสุรบดินทร์" เพื่อพิสูจน์ว่าตนคู่ควรกับหญิงอันเป็นที่รัก ทั้งยังใช้ความรู้ความสามารถ รับราชการสนองพระเดชพระคุณแผ่นดินตามคำสอนสุดท้ายของผู้เป็นพ่อ ที่ว่า "ถึงเจ้าจะเกิดเป็นเศษเสี้ยวธุลีของแผ่นดิน เจ้าจงรู้ว่า แผ่นดินให้อะไรกับเจ้า และตัวเจ้าเองมีความหมายต่อแผ่นดินเพียงใด จงทำตัวเป็นเศษธุลีที่มีค่าของแผ่นดิน เป็นข้าแห่งบดินทร์ อันร้อยรวมศรัทธา ความกล้าหาญ ความรัก ความภักดี ไว้ในดวงใจเดียวกัน" ข้าบดินทร์ ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์โดยค่ายทีวีซีน ของ ณัฏฐนันท์ ฉวีวงษ์ ออกแบบเครื่องแต่งกายโดย กิจจา ลาโพธิ์ ออกแบบการต่อสู้โดย ธนาวุฒิ เกสโร ลำดับภาพ วิโรจน์ ภุมวิภาชน์ ลงเสียงประกอบ ปั้น-ปั้น กำกับการแสดงโดย อรรถพร ธีมากร ออกอากาศทาง สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 นำแสดงโดย เจมส์ มาร์ ภีรนีย์ คงไทย และ มณีรัตน์ ศรีจรูญ ออกอากาศวันแรก 30 พฤษภาคม 2558.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และข้าบดินทร์

คลองผดุงกรุงเกษม

ลองผดุงกรุงเกษมบริเวณสะพานเจริญสวัสดิ์ (ภาพถ่ายสมัยรัชกาลที่ 5) คลองผดุงกรุงเกษม ในปัจจุบัน คลองผดุงกรุงเกษม เป็นคลองรอบพระนครชั้นนอก ขุดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ขุดเมื่อ..

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และคลองผดุงกรุงเกษม

คลองดำเนินสะดวก

หมวดหมู่:คลองในจังหวัดราชบุรี หมวดหมู่:คลองในจังหวัดสมุทรสงคราม คลองดำเนินสะดวก เป็นคลองเชื่อมระหว่างแม่น้ำท่าจีน และแม่น้ำแม่กลองเข้าด้วยกัน โดยในสมัยโบราณการคมนาคมขนส่งทั่วไป จะใช้ทางบก ใช้สัตว์หรือเกวียน ท้องที่อำเภอดำเนินสะดวกในสมัยก่อนเป็นที่ไร่ เรียกกันว่าโคกไผ่ (ตำบลดอนไผ่ในปัจจุบัน) ไม่มีคลองมากมายเหมือนเช่นในปัจจุบัน คลองดำเนินสะดวก.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และคลองดำเนินสะดวก

คลองนครเนื่องเขต

ลองนครเนื่องเขต ขุดขึ้นตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เพื่อช่วยย่นระยะทางระหว่างเมืองบางกอกและฉะเชิงเทรา คลองเริ่มขุดตั้งแต่ปี..

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และคลองนครเนื่องเขต

คลองเปรมประชากร

ริ่มต้นคลองเปรมประชากรเชื่อมต่อกับคลองผดุงกรุงเกษม คลองเปรมประชากรที่ไหลผ่านบริเวณข้างทำเนียบรัฐบาล คลองเปรมประชากร (Khlong Prem Prachakon) หรือชื่อเดิมว่า คลองสวัสดิ์เปรมประชากร เป็นคลองขุดที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้ขุดขึ้นเมื่อปี พ.ศ.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และคลองเปรมประชากร

คุณพุ่ม

ณพุ่ม หรือที่รู้จักกันในนาม บุษบาท่าเรือจ้าง เป็นกวีหญิงในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ที่มีความสำคัญในสมัยรัชกาลที่ 3 มีผลงานการประพันธ์คือ เพลงยาวสามชาย เพลงยาวบวงสรวงฉลองสระบางโขมด เพลงยาวเฉลิมพระเกียรติ และนิราศวังบางยี่ขัน.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และคุณพุ่ม

คณะข้าหลวงปักปันเขตแดนไทย-พม่า

ณะข้าหลวงปักปันเขตแดนไทย-พม่า ในช่วงปี..

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และคณะข้าหลวงปักปันเขตแดนไทย-พม่า

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

ณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (อังกฤษ: Faculty of Education, Bansomdejchaopraya Rajabhat University) ถือกำเนิดมาจาก โรงเรียนราชวิทยาลัย เมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

ประภาพันธุ์ กรโกสียกาจ

รองศาสตราจารย์ ดร.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และประภาพันธุ์ กรโกสียกาจ

ประภาคารสันดอนปากน้ำเจ้าพระยา

ประภาคารสันดอนปากน้ำเจ้าพระยา เป็นประภาคารแห่งแรกในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ปากแม่น้ำเจ้าพระยา ควบคุมการก่อสร้างโดยสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ผู้สำเร็จราชการในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เปิดให้ใช้เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน..

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และประภาคารสันดอนปากน้ำเจ้าพระยา

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2351

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2351 ในประเทศไท.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และประเทศไทยใน พ.ศ. 2351

แดน บีช บรัดเลย์

หมอบรัดเลย์ หรือ แดน บีช แบรดลีย์ แพทยศาสตรบัณฑิต (Dan Beach Bradley) หรือบางคนเขียนเป็น หมอบรัดเล หมอปลัดเล หมอปรัดเล หรือ หมอปรัดเลย์ เป็นนายแพทย์ชาวอเมริกันที่เข้ามาเผยแพร่ศาสนาคริสต์ในประเทศไทยสมัยรัชกาลที่ 3 และยังเป็นผู้เริ่มต้นการพิมพ์อักษรไทยในประเทศไทยเป็นครั้งแรก และทำการผ่าตัดในประเทศไทยเป็นครั้งแรก.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และแดน บีช บรัดเลย์

โรงเรียนราชวิทยาลัย

รงเรียนราชวิทยาลัย (ปัจจุบันคือโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์) เป็นโรงเรียนหลวงที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริที่จะจัดตั้งเพื่อผลิตบุคลากรรองรับการปฏิรูปการปกครองประเทศในด้านต่างๆ โดยเฉพาะในด้านการใช้ภาษาอังกฤษและด้านกฎหมาย มีการฝึกและอบรมให้คุ้นเคยกับการเรียนและวัฒนธรรมแบบตะวันตกอันเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อต่างประเทศ และเข้ารับราชการในกระทรวงต่างๆ โรงเรียนราชวิทยาลัย มีการโยกย้ายที่ตั้งสถานศึกษาถึง 4 สมั.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และโรงเรียนราชวิทยาลัย

โรงเรียนศึกษานารี

รงเรียนศึกษานารี (Suksanari School) (อักษรย่อ: ศ.น., S.N.R) เป็นโรงเรียนสตรีล้วนในกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ที่ ถนนประชาธิปก แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี มีการเรียนการสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และโรงเรียนศึกษานารี

โทมัส ยอร์ช น็อกซ์

ทมัส ยอร์ช น็อกซ์ (พ.ศ. 2367–2430) เป็นกงสุลใหญ่ชาวอังกฤษประจำสยามในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นบุตรของนายเจมส์ สเปนเซอร์ น็อกซ์ กับนางคลารา บาร์บารา แบรส์เฟิร์ด เดิมเป็นทหารอังกฤษยศร้อยเอกประจำประเทศอินเดีย กล่าวกันว่าพอเล่นพนันแข่งม้าจนหมดตัว จึงลาออกจากตำแหน่งตามร้อยเอกอิปเป มาทำงานที่สยามในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยร้อยเอกอิปเปได้เป็นครูทหารวังหลวง ส่วนนายน็อกซ์ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้เป็นครูวังหน้า เป็นผู้ฝึกทหารอย่างยุโรป และยังได้เข้ากองทัพกรมหลวงวงศาธิราชสนิทไปตีเมืองเชียงตุง พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวประทานผู้หญิงวังหน้าชื่อปราง ให้เป็นภรรยา มีลูกด้วยกันสามคน ต่อมาเมื่อรัฐบาลอังกฤษตั้งกงสุลในกรุงเทพฯ และด้วยความรู้การเมืองและภาษาไทย จึงทำงานเป็นผู้ช่วยกงสุล แล้วได้เลื่อนตำแหน่งจนได้เป็นกงสุลเยเนอราล มีบรรดาศักดิ์เป็นเซอร์ อีกทั้งยังสนิทและคุ้นเคยกับเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ และได้เป็นกงสุลใหญ่อังกฤษกับอภิรัฐมนตรีในสมัยสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ เป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และโทมัส ยอร์ช น็อกซ์

เล็ก บุนนาค

ณเล็ก บุนนาค เป็นธิดาของเจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) กับท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา) และเป็นพระมารดาในพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีในรัชกาลที่ 6.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และเล็ก บุนนาค

เจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด)

้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด) เป็นมุสลิมชีอะหฺอิษนาอะชะรียะหฺ (สิบสองอิมาม) เกิดเมื่อ พ.ศ. 2086 ณ ตำบลปาอีเนะชาฮาร ในเมืองกุม ซึ่งเป็นเมืองศูนย์กลางของศาสนาอิสลามตั้งอยู่บนที่ราบต่ำทางตอนเหนือของเตหะราน ในประเทศอิหร่าน.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และเจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด)

เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร)

ลเอก เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) (21 เมษายน พ.ศ. 2410 - 1 มีนาคม พ.ศ. 2504) อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม ระหว่าง 1 เมษายน..

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร)

เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค)

Vanity Fair" เมื่อ ค.ศ. 1879 (พ.ศ. 2422) เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) (พ.ศ. 2392 - พ.ศ. 2463) อดีตอธิบดีกรมพระคลังสวน อธิบดีจัดการกรมภาษีร้อยชักสาม (ปัจจุบันคือ กรมศุลกากร) เสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการ และเสนาบดีกระทรวงธรรมการคนแรก (ปัจจุบันคือ กระทรวงศึกษาธิการ).

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค)

เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค)

้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) (พ.ศ. 2371 - พ.ศ. 2431) มีนามเดิมว่า วร หรือ วอน เป็นบุตรชายใหญ่ของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) กับท่านผู้หญิงกลิ่น ธิดาหลวงแก้วอายัติ (จาด) ท่านเริ่มรับราชการตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เป็นเจ้าหมื่นไวยวรนารถ หัวหมื่นมหาดเล็ก และเป็นอุปทูตติดตามพระยาศรีพิพัฒน์ (แพ บุนนาค) ราชทูต ออกไปเจริญทางพระราชไมตรีที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค)

เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต)

อมพล มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต) (28 มีนาคม พ.ศ. 2394 - 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2474) อดีตเสนาบดีกระทรวงเกษตรพาณิชการ และผู้บัญชาการกรมทหารบก จอมพลฉแรม ทับพุ่ม เป็นหลานปราบกฎบทเมืองอ่างทองโดยคนเมืองอินทบุรี.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต)

เจ้าพระยาอภัยภูเบศร (ชุ่ม อภัยวงศ์)

มหาเสวกโท เจ้าพระยาอภัยภูเบศร (ชุ่ม อภัยวงศ์) (29 กรกฎาคม พ.ศ. 2404 -27 สิงหาคม พ.ศ. 2465) เป็นเจ้าเมืองพระตะบองต่อจากบิดา และเป็นสมุหเทศาภิบาล สำเร็จราชการมณฑลบูรพา ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นต้นตระกูล "อภัยวงศ์" ท่านเป็นพระอัยกา (ปู่) ในพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ในรัชกาลที่ 6 และเป็น พระมาตามไหยกา (ทวด) ในสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และเจ้าพระยาอภัยภูเบศร (ชุ่ม อภัยวงศ์)

เจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค)

้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค) (1 ตุลาคม พ.ศ. 2356 - 12 มิถุนายน พ.ศ. 2413) ขุนนางชั้นผู้ใหญ่สมัยรัตนโกสินทร์ ผู้ช่วยปลัดกรมท่า ปลัดกรมพระตำรวจ ผู้สำเร็จราชการในกิจการต่างประเทศ นักเขียนพระราชพงศาวดาร ผู้แต่งและผู้ตีพิมพ์หนังสือรวมทั้งหนังสือแสดงกิจจานุกิจ หนังสือไทยเล่มแรกที่อธิบายความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์และศาสนาที่ทันสมัยที่สุดในขณะนั้น.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และเจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค)

เจ้าจอมมารดากลิ่น ในรัชกาลที่ 4

้าจอมมารดากลิ่น หรือเจ้าจอมมารดาซ่อนกลิ่น (บางแห่งสะกดว่า ส้อนกลิ่น).พลายน้อ.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และเจ้าจอมมารดากลิ่น ในรัชกาลที่ 4

เจ้าจอมมารดาลูกจันทน์เล็ก ในรัชกาลที่ 2

้าจอมมารดาลูกจันทน์เล็ก (เกิด: พ.ศ. 2341 — ถึงแก่อนิจกรรม: 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2431) เป็นพระสนมในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 ประสูติกาลพระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวคือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแม้นเขียน หลังสิ้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เจ้าจอมมารดาลูกจันทน์เล็กได้ใช้ "สิทธิสตรี" ออกไปเป็นหม่อมในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทินกร กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุญชร กรมพระพิทักษเทเวศร์ และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร์ ตามลำดั.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และเจ้าจอมมารดาลูกจันทน์เล็ก ในรัชกาลที่ 2

เจ้าจอมมารดาอ่อน ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาอ่อน บุนนาค ป..(19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2410 - 29 มกราคม พ.ศ. 2512) เป็นเจ้าจอมมารดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ประสูติพระราชธิดา 2 พระองค์คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิสัยสุริยาภา และยังมีพระเจ้าลูกเธอที่ตกพระโลหิต ยังไม่เป็นพระองค์ อีก 2 พระองค์ เจ้าจอมมารดาอ่อน เกิดในสมัยรัชกาลที่ 4 เมื่อวันพุธ แรม 11 ค่ำ เดือนยี่ ปีเถาะ ตรงกับวันที่ 19 กุมภาพัน..

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และเจ้าจอมมารดาอ่อน ในรัชกาลที่ 5

เจ้าจอมมารดาแย้ม ในรัชกาลที่ 2

้าจอมมารดาแย้ม เป็นนางละครที่มีชื่อเสียงนางหนึ่งมีสมญาว่า แย้มอิเหนา ภายหลังเรียกกันว่า คุณโตแย้ม ที่รับราชการสนองพระเดชพระคุณเป็นพระสนมในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลั.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และเจ้าจอมมารดาแย้ม ในรัชกาลที่ 2

เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5)

้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5) (สกุลเดิม บุนนาค) (5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2397 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2486) เป็นธิดาของเจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) กับท่านผู้หญิงอิ่ม สุรวงศ์ไวยวัฒน์ เป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และทำหน้าที่เป็นผู้เบิกพระโอษฐ์พระราชโอรสและพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 ต่อมา ได้รับการแต่งตั้งเป็น "เจ้าคุณจอมมารดาแพ" และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาเกียรติยศขึ้นเป็นเจ้าคุณชั้นพิเศษให้ออกนามว่า "เจ้าคุณพระประยูรวงศ์" และได้รับเกียรติให้ใช้คำว่า "ถึงแก่พิราลัย" เทียบเจ้าประเทศราชและสมเด็จเจ้าพร.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และเจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5)

เขตตะนาวศรี

ตะนาวศรี (တနင်္သာရီတိုင်းဒေသကြီး, ตะนี้นตายี; ဏၚ်ကသဳ หรือ တနၚ်သြဳ) เป็นเขตที่ตั้งอยู่ทางใต้สุดของประเทศพม.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และเขตตะนาวศรี

เครื่องโต๊ะ

รื่องโต๊ะ ในงานกฐินพระราชทาน วัดโสมนัสวิหาร เมื่อวันเสาร์ที่ 21 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2558 เครื่องโต๊ะ เป็นการตั้งโต๊ะเครื่องบูชาอย่างไทย ที่ตั้งแต่งด้วยเครื่องกระเบื้องจีน โดยมีลักษณะมาจากโต๊ะที่แต่งบูชาแบบจีน แต่กำหนดรูปลักษณ์ใหม่ตามความนิยมอย่างไท.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และเครื่องโต๊ะ

19 มกราคม

วันที่ 19 มกราคม เป็นวันที่ 19 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 346 วันในปีนั้น (347 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และ19 มกราคม

23 ธันวาคม

วันที่ 23 ธันวาคม เป็นวันที่ 357 ของปี (วันที่ 358 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 8 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)และ23 ธันวาคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ สมเด็จพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์สมเด็จพระบรมมหาศรีสุริยวงศ์สมเด็จเจ้าพระยามหาศรีสุริยวงศ์สมเด็จเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง)ช่วง บุนนาคบรมมหาศรีสุริยวงศ์

สะพานเหล็กสุลาลีวัลย์ สุวรรณทัตสนธิสัญญาเบาว์ริงหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทหม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ จิรประวัติหม่อมแม้น ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยาหม่อมเจ้าอุทัยกัญญา ภาณุพันธุ์อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)ธิราชเจ้าจอมสยามถนนสมเด็จเจ้าพระยาถนนอรุณอมรินทร์ถนนเจริญกรุงท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)ข้าบดินทร์คลองผดุงกรุงเกษมคลองดำเนินสะดวกคลองนครเนื่องเขตคลองเปรมประชากรคุณพุ่มคณะข้าหลวงปักปันเขตแดนไทย-พม่าคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาประภาพันธุ์ กรโกสียกาจประภาคารสันดอนปากน้ำเจ้าพระยาประเทศไทยใน พ.ศ. 2351แดน บีช บรัดเลย์โรงเรียนราชวิทยาลัยโรงเรียนศึกษานารีโทมัส ยอร์ช น็อกซ์เล็ก บุนนาคเจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด)เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร)เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค)เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค)เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต)เจ้าพระยาอภัยภูเบศร (ชุ่ม อภัยวงศ์)เจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค)เจ้าจอมมารดากลิ่น ในรัชกาลที่ 4เจ้าจอมมารดาลูกจันทน์เล็ก ในรัชกาลที่ 2เจ้าจอมมารดาอ่อน ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาแย้ม ในรัชกาลที่ 2เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5)เขตตะนาวศรีเครื่องโต๊ะ19 มกราคม23 ธันวาคม