สารบัญ
93 ความสัมพันธ์: ฟีลีปือ ดือ บรีตู อี นีโกตือพ.ศ. 2103พ.ศ. 2137พ.ศ. 2148พ.ศ. 2149พ.ศ. 2150พ.ศ. 2151พ.ศ. 2152พระบรมสารีริกธาตุพระพุทธชินราชพระยาศรีไสยณรงค์พระราชวังบางปะอินพระราชวังสวนหลวงพระราชวังจันทรเกษมพระวิสุทธิกษัตรีย์พระสุพรรณกัลยาพระสุริโยทัยพระอินทราชาพระที่นั่งวิหารสมเด็จพระเมรุมาศพระเจ้าอะเนาะเพะลูนกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขกรมพระราชวังบวรสถานมงคลกรมขุนเสนาบริรักษ์กษัตริยากันตะ กัลย์จาฤกการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองมังกะยอชวาราชการส่วนกลาง (ประเทศไทย)ราชวงศ์สุโขทัยรายชื่อสงครามในประเทศไทยรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยรายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทยรายนามนักแสดงจากภาพยนตร์เรื่องตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชลิลิตตะเลงพ่ายวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหารวัดพะโคะวัดวรเชษฐ์วินธัย สุวารีสมเด็จพระมหาจักรพรรดิสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชสมเด็จพระมหินทราธิราชสมเด็จพระศรีเสาวภาคย์สมเด็จพระสรรเพชญ์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมสยามสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดอ่างทองสงครามยุทธหัตถี... ขยายดัชนี (43 มากกว่า) »
ฟีลีปือ ดือ บรีตู อี นีโกตือ
ฟีลีปือ ดือ บรีตู อี นีโกตือ (Filipe de Brito e Nicote) หรือ งะซีนกา (ငဇင်ကာ; เกิด ประมาณ ค.ศ. 1566, ถึงแก่กรรม ค.ศ. 1613) เป็นนักเดินทางและทหารรับจ้างชาวโปรตุเกสภายใต้การบังคับบัญชาของ.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและฟีลีปือ ดือ บรีตู อี นีโกตือ
พ.ศ. 2103
ทธศักราช 2103 ใกล้เคียงกั..
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและพ.ศ. 2103
พ.ศ. 2137
ทธศักราช 2137 ใกล้เคียงกั.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและพ.ศ. 2137
พ.ศ. 2148
ทธศักราช 2148 ใกล้เคียงกั.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและพ.ศ. 2148
พ.ศ. 2149
ทธศักราช 2149 ใกล้เคียงกั.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและพ.ศ. 2149
พ.ศ. 2150
ทธศักราช 2150 ใกล้เคียงกั.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและพ.ศ. 2150
พ.ศ. 2151
ทธศักราช 2151 ใกล้เคียงกั.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและพ.ศ. 2151
พ.ศ. 2152
ทธศักราช 2152 ใกล้เคียงกั.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและพ.ศ. 2152
พระบรมสารีริกธาตุ
ระบรมสารีริกธาตุ สัณฐานเมล็ดข้าวสาร พระบรมสารีริกธาตุ (शरीर; Śarīra) เรียกโดยย่อว่าพระบรมธาตุ คือ พระอัฐิของพระพุทธเจ้า ซึ่งพระองค์ได้ทรงอธิษฐานไว้ก่อนปรินิพพาน ให้คงเหลือไว้หลังจากการถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ เพื่อเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของพุทธบริษัท พระบรมธาตุมีสองลักษณะคือ พระบรมธาตุที่ไม่แตกกระจาย และที่แตกกระจาย มีขนาดเล็กสุดประมาณเมล็ดพันธุ์ผักกาด ชาวพุทธเชื่อว่าพระบรมสารีริกธาตุเป็นวัตถุแทนองค์พระบรมศาสดาที่ทรงคุณค่าสูงสุดในศาสนาพุทธ จึงนิยมกระทำการบูชาองค์พระบรมสารีริกธาตุโดยประการต่าง ๆ เช่น การสร้างเจดีย์ เพื่อประดิษฐานพระธาตุไว้สักการะ โดยเชื่อว่ามีอานิสงส์ประดุจได้กระทำการบูชาแด่พระพุทธเจ้าเมื่อยังทรงพระชนม์อยู่ ทั้งนี้ คำว่า "พระบรมสารีริกธาตุ" เป็นศัพท์เฉพาะใช้เรียกเฉพาะพระธาตุของพระพุทธเจ้า หากเป็นของพระอรหันตสาวกจะเรียกว่า "พระธาตุ" เท่านั้น.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและพระบรมสารีริกธาตุ
พระพุทธชินราช
ระพุทธชินราช ประดิษฐานอยู่ ณ วิหารด้านตะวันตกในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในปี..
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและพระพุทธชินราช
พระยาศรีไสยณรงค์
พระยาศรีไสยณรงค์ (?-พ.ศ. 2137)เป็นข้าหลวงเดิมและทหารเอกคู่พระทัยของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เกิดเมื่อใดไม่ปรากฏเดิมมี ยศเป็น พระศรีถมอรัตน์ เมื่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราชขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและพระยาศรีไสยณรงค์
พระราชวังบางปะอิน
ระราชวังบางปะอิน ตั้งอยู่ในตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยู่ห่างจากเกาะเมืองลงมาทางทิศใต้ประมาณ 18 กิโลเมตร เป็นพระราชวังโบราณตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา สร้างขึ้นโดยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง เนื่องจากเป็นที่ประสูติของพระองค์ ใช้เป็นสถานที่ที่ทรงใช้ประทับแรม ของพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ด้วยเป็นพระราชวังใกล้พระนครนั่นเอง หลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง พระราชวังบางปะอินถูกปล่อยให้รกร้างมาระยะหนึ่ง แต่กลับมาเป็นที่รู้จักอีกครั้งโดยสุนทรภู่ซึ่งได้ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรีได้ประพันธ์ถึงพระราชวังบางปะอินไว้ในนิราศพระบาท จนกระทั่ง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงได้เริ่มการบูรณะพระราชวังขึ้น และในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้บูรณะครั้งใหญ่ โดยสร้างพระที่นั่ง พระตำหนัก และตำหนักต่าง ๆ ขึ้นมากมายเพื่อใช้เป็นที่ประทับรับรองพระราชอาคันตุกะ และพระราชทานเลี้ยงในโอกาสต่าง ๆ ปัจจุบัน พระราชวังบางปะอินอยู่ในความดูแลของสำนักพระราชวัง และยังใช้เป็นสถานที่แปรพระราชฐานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ รวมถึงประกอบพระราชพิธีสังเวยพระป้าย แต่ได้เปิดให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวเข้าชมได้ โดยต้องแต่งกายให้.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและพระราชวังบางปะอิน
พระราชวังสวนหลวง
ระราชวังสวนหลวง หรือ วังหลัง ตั้งอยู่ริมวัดสบสวรรค์ ตำบลท่าวาสุกรี อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นพระราชวังที่ปรากฏหลักฐานตามพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์รัชกาลที่ 5 เรื่องอุปราชาภิเษกกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ สันนิษฐานได้ว่าสร้างในสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช เพื่อให้เป็นที่ประทับของสมเด็จพระเอกาทศรถ พร้อมกับการสร้างพระราชวังจันทรเกษมเพื่อเป็นที่ประทับของสมเด็จพระนเรศวร เพราะอยู่ด้านหลังพระราชวังหลวง จึงเรียกว่าวังหลังแต่นั้นมา ในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์นั้นปรากฏว่าทรงโปรดฯ ให้พระไตรภูวนาถทิตยวงศ พระราชอนุชา ประทับอยู่ที่วังหลัง แต่หาได้เพิ่มยศศักดิ์อย่างใดไม่ ครั้นถึงรัชกาลสมเด็จพระเพทราชาทรงโปรดเกล้าฯ ให้นายจบคชประสิทธิ์ผู้เป็นหลานเป็นเจ้าชั้นสูงรองแต่พระมหาอุปราชลงมา ให้อยู่วังหลัง แล้วขนานนามว่า กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข จึงเกิดนามเรียกวังหลังว่า พระราชวังบวรสถานพิมุข แต่นั้นสืบม.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและพระราชวังสวนหลวง
พระราชวังจันทรเกษม
ระราชวังจันทรเกษม หรือวังหน้า ตั้งอยู่ริมแม่น้ำป่าสัก (คลองคูขื่อหน้า) ตำบลหัวรอ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นพระราชวังที่ปรากฏหลักฐานตามพระราชพงศาวดารสันนิษฐานได้ว่า สร้างขึ้นประมาณปี พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและพระราชวังจันทรเกษม
พระวิสุทธิกษัตรีย์
ระวิสุทธิกษัตรีย์พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 71 หรือคำให้การชาวกรุงเก่าออกพระนามว่าพระบรมเทวีคำให้การชาวกรุงเก่า, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 497 มีพระนามเดิมว่า สมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระสวัสดิราชธิดา เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ประสูติแต่พระสุริโยทัย ภายหลังได้รับการสถาปนาเป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระมหาธรรมราชา และเป็นพระราชชนนีในพระสุพรรณกัลยา สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระเอกาทศร.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและพระวิสุทธิกษัตรีย์
พระสุพรรณกัลยา
ระสุพรรณกัลยา สุวรรณกัลยา หรือ สุวรรณเทวี เป็นพระราชธิดาใน สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช และ พระวิสุทธิกษัตรีย์ และเป็นพระพี่นางใน สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และ สมเด็จพระเอกาทศรถ ประสูติ ณ พระราชวังจันทน์ เมืองพิษณุโลก เชื่อว่าพระนามเดิม คือ องค์ทอง.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและพระสุพรรณกัลยา
พระสุริโยทัย
ระสุริโยทัย หรือคำให้การชาวกรุงเก่าออกพระนามว่าพระมหาเทวี เป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 15 ของอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ พระสุริโยทัยตามพงศาวดารหลวงประเสริฐฯ กล่าวเพียงแค่เป็นอัครมเหสีผู้เสียสละพระชนม์ชีพเพื่อปกป้องพระราชสวามีในสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้ ในปี พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและพระสุริโยทัย
พระอินทราชา
ระอินทราชา เป็นพระนามของพระมหากษัตริย์และพระราชโอรสของกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา สามารถหมายถึง.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและพระอินทราชา
พระที่นั่งวิหารสมเด็จ
ระที่นั่งวิหารสมเด็จ แต่เดิมเป็นพระที่นังมังคลาภิเษก สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงใช้รับราชทูตเมืองละแวก(กัมพูชา) สมเด็จพระเอกาทศรถทรงใช้เป็นที่ประกอบพระราชพิธีประเวศพระนคร ต่อมาในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง พระที่นั่งถูกฟ้าผ่าจนไหม้เสียหายเกือบทั้งหมด พระองค์โปรดเกล้าให้รื้อและสร้างพระที่นั่งองค์ใหม่ขึ้นทดแทนใน..
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและพระที่นั่งวิหารสมเด็จ
พระเมรุมาศ
ระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระเมรุมาศ และพระเมรุ คือ สถาปัตยกรรมชั่วคราว หรือสถาปัตยกรรมเฉพาะกิจที่สร้างขึ้น ณ ใจกลางเมือง เพื่อใช้ในพระราชพิธีพระบรมศพหรือพระราชพิธีพระศพโดยเฉพาะ มีลักษณะเป็น "กุฎาคาร หรือ เรือนยอด" คือเรือนซึ่งหลังคาต่อเป็นยอดแหลม โดยในอดีตนิยมสร้างเป็นแบบ ยอดปรางค์ อาจมีพรหมพักตร์หรือไม่มีก็ได้ พระเมรุมาศ เป็นพระเมรุขนาดสูงใหญ่ ใช้ในพระราชพิธีพระบรมศพ พระมหากษัตริย์ พระอัครมเหสี พระบรมราชินี พระราชชนนี พระบวรราชเจ้า พระยุพราช สำหรับการตายที่ใช้ราชาศัพท์ว่าสวรรคต ภายในพระเมรุมาศมี “พระเมรุทอง” ลักษณะของพระเมรุมาศที่ปรากฏการสร้างมี 2 รูปแบบคือพระเมรุมาศทรงปราสาท ที่สร้างมาแต่โบราณ มีขนาดใหญ่โตมโหฬาร และพระเมรุมาศทรงบุษบก ส่วนพระเมรุ เช่นเดียวกับพระเมรุมาศ แต่มีขนาดเล็กลง และไม่มีพระเมรุทองภายใน ใช้สำหรับราชวงศ์ที่ทรงฐานานุศักดิ์ใช้ราชาศัพท์ว่า “ทิวงคต” หรือ “สิ้นพระชนม์” การออกแบบสถาปัตยกรรมพระเมรุมาศ พระเมรุ ต้องอาศัยการสร้างสรรค์ออกแบบจากผู้รอบรู้เจนจบงานศิลปกรรมของชาติ ช่างที่ได้รับการถ่ายทอดวิชาความรู้จากครูบาอาจารย์ทั้งงานออกแบบรูปลักษณ์ ก่อสร้างอาคาร การคิดลวดลายขึ้นประดิษฐ์ตกแต่งทุกส่วนให้เข้ากับอาคาร โดยมีหลักเกณฑ์ที่คำนึงถึงว่าพระเมรุมาศของพระองค์ใด ที่แสดงลักษณะของพระองค์นั้น ภายหลังจากการถวายพระเพลิงแล้ว ชิ้นส่วนประกอบต่าง ๆ ของพระเมรุที่ถูกรื้อถอนบางส่วนจะนำไปถวายวัด เพื่อเป็นการกุศลแด่ผู้วายชนม.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและพระเมรุมาศ
พระเจ้าอะเนาะเพะลูน
ระเจ้าอะเน่าก์แพตหลุ่น (အနောက်ဖက်လွန် อะเน่าก์แพะหลุ่นมิง แปลว่า พระราชาแห่งทิศตะวันตก) หรือ พระเจ้ามหาธรรมราชา พงศาวดารมอญพม่าเรียกว่าพระเจ้าปราสาททองกลดแก้ว เป็นพระมหากษัตริย์พม่าในราชวงศ์ตองอู เมื่อสิ้นพระเจ้าบุเรงนองและพระเจ้านันทบุเรงแล้ว ฐานอำนาจของราชวงศ์ตองอูสั่นคลอนเนื่องจากเกิดการกบฏจากพม่าด้วยกันเองในหลายหัวเมือง อีกทั้งการรุกรานจากต่างชาติ เช่น มอญและชาวโปรตุเกส พระองค์ทรงเป็นผู้รวบรวมอาณาจักรพม่าให้กลับมายิ่งใหญ่ได้อีกครั้ง แม้ไม่ยิ่งใหญ่เท่าสมัยของพระอัยกาก็ตาม.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและพระเจ้าอะเนาะเพะลูน
กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข
กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข หรือ กรมพระราชวังหลัง เป็นตำแหน่งรองลงมาจากกรมพระราชวังบวรสถานมงคลที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งขึ้น เกิดขึ้นครั้งแรกในสมัยอยุธยา โดยสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช ทรงสร้างวังขึ้นหลังพระราชวังหลวง พระราชทานให้เป็นที่ประทับของสมเด็จพระเอกาทศรถ ดังนั้น จึงเกิดคำว่า "วังหลัง" ขึ้นมา ต่อมา ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช โปรดให้พระไตรภูวนาถทิตยวงศ์ พระราชอนุชา ประทับที่วังหลังอีกพระองค์ อย่างไรก็ตาม ทั้งสมเด็จพระเอกาทศรถและพระไตรภูวนาถทิตยวงศ์เพียงแต่ประทับอยู่ในวังหลังเท่านั้น แต่ไม่ได้มีการเพิ่มยศศักดิ์แต่ประการใด ในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา เมื่อพระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์ ทรงแต่งตั้งหลวงสรศักดิ์ขึ้นเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล และได้แต่งตั้งให้นายจบคชประสิทธิ์ขึ้นเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข" ให้ทรงรับพระราชบัญชา ซึ่งถือเป็นกรมพระราชวังหลังพระองค์แรกในสมัยอยุธยา ต่อมา ในรัชสมัยสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 หรือ สมเด็จพระเจ้าเสือ พระองค์ทรงสถาปนา "เจ้าฟ้าเพชร" พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ที่กรมพระราชวังบวรสถานมงคล หรือ พระบัณฑูรใหญ่ และทรงสถาปนา "เจ้าฟ้าพร" พระราชโอรสพระองค์เล็กที่กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข แต่โปรดให้ออกพระนามกรมว่า "พระบัณฑูรน้อย" เนื่องจากพระองค์อาจจะทรงรังเกียจตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขเนื่องจากในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชาเมื่อทรงสถาปนานายจบคชประสิทธิขึ้นเป็นกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขได้ไม่นาน นายจบคชประสิทธิก็ถูกสำเร็จโทษ หรืออาจจะเป็นเพราะพระองค์ทรงต้องการยกย่องพระยศของเจ้าฟ้าพรให้เสมอกับกรมพระราชวังบวรสถานมงคลก็เป็นไปได้อย่างใดอย่างหนึ่ง เมื่อถึงสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงสถาปนาให้สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าทองอิน กรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์ ซึ่งทรงมีความดีความชอบรบทัพจับศึกมาแต่ครั้งกรุงธนบุรี ขึ้นดำรงตำแหน่ง "กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข" พระองค์แรกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ภายหลังการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขแล้ว ถือเป็นการสิ้นสุดของตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข เนื่องจากไม่มีการสถาปนากรมพระราชวังหลังขึ้นอีกเล.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข
กรมพระราชวังบวรสถานมงคล
กรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่เรียกกันเป็นสามัญว่าวังหน้า เป็นตำแหน่งที่พระมหากษัตริย์สยามทรงสถาปนาขึ้นสำหรับพระมหาอุปราช และมีฐานะเป็นองค์รัชทายาทผู้มีสิทธิ์ที่จะขึ้นครองราชสมบัติต่อไป ตำแหน่งพระมหาอุปราชปรากฏครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ต่อมาสมเด็จพระเพทราชาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานมงคล" ภายหลังจากการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้เลิกธรรมเนียมตั้งพระมหาอุปราช แล้วทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชแทน.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและกรมพระราชวังบวรสถานมงคล
กรมขุนเสนาบริรักษ์
มเด็จเจ้าฟ้าแก้ว กรมขุนเสนาบริรักษ์ พระโอรสของสมเด็จเจ้าฟ้าน้อย พระอนุชาธิราชของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ประสูติกับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ (แจ่ม) พระสนมเอกในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เนื่องจากถือว่าเป็น "ลูกชู้" จึงไม่ได้รับยกย่องให้เป็นพระราชนัดดาของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระองค์จึงมีพระยศเป็น "หม่อมแก้ว".
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและกรมขุนเสนาบริรักษ์
กษัตริยา
กษัตริยา เป็นละครโทรทัศน์อิงประวัติศาสตร์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ช่วงสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (พระเทียรราชา) เมื่อสมเด็จพระสุริโยทัย พระชายา สิ้นพระชนม์ในการยุทธหัตถีกับพม่า จนถึงการกอบกู้เอกราชของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดยทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เป็นองค์นำแสดงในบทพระวิสุทธิกษัตรีย์ มีความยาวในการออกอากาศถึง 260 ตอน โดยแบ่งเป็น 2 ภาค คือ ภาค "กษัตริยา" เป็นเรื่องราวของพระวิสุทธิกษัตรีย์ และพระสุพรรณกัลยา และภาค "อธิราชา" หรือ มหาราชกู้แผ่นดิน เป็นเรื่องราวของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดยเป็นละครที่สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสเจริญพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ จากโครงเรื่องของทมยันตี ผลิตโดย กันตนา ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและกษัตริยา
กันตะ กัลย์จาฤก
ปิยะรัฐ กัลย์จาฤก เป็นชื่อจริงเสียงจริง (ชื่อเล่น: เต้, เพอร์รี (Perry)) ส่วนชื่อกันตะ กัลย์จาฤก เป็นชื่อที่ใช้ในการร้องเพลงเท่านั้น และเป็นอดีตนักแสดงและนักร้องชาวไทย เข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่ยังเล็ก ด้วยความที่เป็นทายาทของตระกูลกัลย์จาฤก แห่งบริษัท กันตนา กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) โดยได้แสดงภาพยนตร์และละครโทรทัศน์เรื่องต่าง ๆ ในสังกัดของกันตนา ในฐานะบทประกอบหรือสมทบ โดยมีบทบาทที่เป็นที่จดจำ คือ การรับบท พระองค์ขาว หรือ สมเด็จพระเอกาทศรถ ในละครโทรทัศน์อิงประวัติศาสตร์ ชุด กษัตริยา ทางช่อง 5 เมื่อปี พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและกันตะ กัลย์จาฤก
การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง
การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองหรือ สงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง เป็นความขัดแย้งทางทหารครั้งที่สองระหว่างราชวงศ์โกนบองแห่งพม่า กับราชวงศ์บ้านพลูหลวงแห่งอยุธยา ในการทัพครั้งนี้ กรุงศรีอยุธยาซึ่งเป็นราชธานีคนไทยเกือบสี่ศตวรรษได้เสียแก่พม่าและถึงกาลสิ้นสุดลงไปด้วย เหตุการณ์ได้เกิดขึ้นเมื่อวันอังคาร ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 5 ปีกุน ตรงกับวันที่ 7 เมษายน..
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง
มังกะยอชวา
มังกะยอชวา (พระนามภาษาพม่า: မင်းကြီးစွာ; อักษรโรมัน: Minyekyawswa, Minchit Sra; ออกเสียง: เมงเยจอสวา) หรือ มังสามเกียด (ตามที่พงศาวดารไทยและพงศาวดารมอญเรียก) เป็นพระราชโอรสในพระเจ้านันทบุเรง เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ไทยโดยทรงนำทัพมาตีกรุงศรีอยุธยาหลายครั้ง รวมถึงได้ทรงทำยุทธหัตถีกับสมเด็จพระนเรศวรมหาร.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและมังกะยอชวา
ราชการส่วนกลาง (ประเทศไทย)
ราชการส่วนกลาง หมายถึง ราชการที่ดำเนินการและบริหารโดยหน่วยราชการในส่วนกลางของฝ่ายบริหาร เพื่อสนองความต้องการของประชาชน จะมีลักษณะการปกครองแบบรวมอำนาจ หมายความว่า เป็นการรวมอำนาจในการสั่งการ การกำหนดนโยบายการวางแผน การควบคุมตรวจสอบ และการบริหารราชการสำคัญ ๆ ไว้ที่นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีและกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ตามหลักการรวมอำนาจ การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง จัดแบ่งออกได้ดังนี้.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและราชการส่วนกลาง (ประเทศไทย)
ราชวงศ์สุโขทัย
ราชวงศ์สุโขทัย เป็นราชวงศ์ที่ 3 ที่ปกครองกรุงศรีอยุธยา โดยสืบเชื้อสายจากกษัตริย์แห่งอาณาจักรสุโขทัย ราชวงศ์พระร่วง กรุงสุโขทัย ราชวงศ์สุโขทัยถูกสถาปนาขึ้นโดย สมเด็จพระมหาธรรมราชา ซึ่งเป็นพระราชโอรสในตำแหน่ง ขุนพิเรนทรเทพ ที่เชื่อว่าสืบเชื้อสายมาจากพ่อขุน หรือกษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัยแต่ดั้งเดิม เป็นราชวงศ์ที่ถูกผลัดเปลี่ยนขึ้นมาแทนที่ ราชวงศ์สุพรรณภูมิ หรือราชวงศ์สุวรรณภูมิ ที่สูญสิ้นไปหลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่า โดยที่ พระเจ้าบุเรงนอง กษัตริย์พม่าให้สถาปนาขุนพิเรนทรเทพ ซึ่งมีส่วนช่วยเหลือพระองค์ในการทำสงครามกับกรุงศรีอยุธยา ขึ้นเป็นกษัตริย์ปกครองกรุงศรีอยุธยา ภายใต้การเป็นเมืองขึ้นของพม่าต่อไป ราชวงศ์สุโขทัยมีอายุ 60 ปี รายพระนามของพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์สุโขทัย ประกอบด้ว.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและราชวงศ์สุโขทัย
รายชื่อสงครามในประเทศไทย
รายชื่อสงครามในประเทศไทย มีดังต่อไปนี้.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและรายชื่อสงครามในประเทศไทย
รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย
รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่ราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัยถึงปัจจุบันมีดังนี้.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย
รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย
รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไท.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและรายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย
รายนามนักแสดงจากภาพยนตร์เรื่องตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
รายนามนักแสดงจากภาพยนตร์เรื่องตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ตามรายชื่อนักแสดงท้ายเรื่อง เรียงชื่อตัวนักแสดงตามลำดับอักษร ส่วนเลขที่ตามหลังคือภาคที่นักแสดงนั้นรับบทบาท เลขที่เป็นตัวเอียง คือภาคที่มีภาพย้อนอดีตของนักแสดงคนนั้น.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและรายนามนักแสดงจากภาพยนตร์เรื่องตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย เป็นบทประพันธ์ประเภทลิลิต ประพันธ์ขึ้นโดยสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูบาลบริรักษ์ เพื่อสดุดีวีรกรรมของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในวาระงานพระราชพิธีฉลองตึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามในรัชกาลที่ 3 โดยตะเลงในที่นี้หมายถึง พม่า ที่มาของเรื่อง 1.พระราชพงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) 2.วรรณคดีเก่าเรื่อง ลิลิตยวนพ่าย ลิลิตพระลอ 3.จินตนาการของผู้แต่ง คือ ช่วงบทนิราศ จุดมุ่งหมายในการแต่ง 1.เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช 2.ฉลองตึกวัดพระเชนตุพนฯ สมัย รัชกาลที่ 3 3.สร้างสมบารมีของผู้แต่ง (เพราะผู้แต่งขอไว้ว่าถ้าแต่งเสร็จขอให้สำเร็จสู่พระนิพพาน).
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและลิลิตตะเลงพ่าย
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร
วัดพระบรมธาตุวรมหาวิหาร หรือ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ ถนนราชดำเนิน ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหาร.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร
วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร
วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า "วัดใหญ่" ตั้งอยู่ที่ ถนนพุทธบูชา ริมฝั่งแม่น้ำน่านด้านทิศตะวันออก ตรงข้ามกับศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก เป็นพระอารามหลวง ชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหาร เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปในฐานะสถานที่ประดิษฐานพระพุทธชินราช พระพุทธรูปที่ได้รับการยกย่องว่าสวยงามที่สุดในประเทศไทย วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร เป็นวัดที่มีประวัติยาวนานมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย มีสถาปัตยกรรม ศิลปกรรม และประติมากรรมที่งดงามยิ่ง ถือได้ว่าเป็นมรดกทางศิลปวัฒนธรรมอันล้ำค่าของเมืองพิษณุโลก.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร
วัดพะโคะ
วัดพะโคะ (เดิมชื่อ วัดหลวง) ปัจจุบันชื่อ วัดราชประดิษฐาน จังหวัดสงขลา วัดพะโคะ (เดิมชื่อ วัดหลวง) ปัจจุบันชื่อ วัดราชประดิษฐาน ตั้งอยู่ บริเวณเขาพัทธสิงค์ หมู่ที่ 6 ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี..
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและวัดพะโคะ
วัดวรเชษฐ์
วัดวรเชษฐ์ (ร้าง) นอกเกาะ ตำบลบ้านป้อม อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สันนิษฐานว่าเจดีย์ของวัดวรเชษฐ์เป็นที่บรรจุพระบรมอัฐิของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ซึ่ง สมเด็จพระเอกาทศรถ สร้างเป็นอนุสรณ์แด่พี่ชายผู้ประเสริฐ เดิมวัดนี้ชื่อ วัดเจ้าเชษฐ์ หมวดหมู่:วัดในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและวัดวรเชษฐ์
วินธัย สุวารี
ันเอก(พิเศษ) วินธัย สุวารี (ชื่อเล่น: ต๊อด; เกิด: 7 สิงหาคม พ.ศ. 2512) เป็นโฆษกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และโฆษกกองทัพบกและนักแสดงชาวไทย ที่มีผลงานแสดงเด่นในการรับบทเป็น สมเด็จพระเอกาทศรถ จากภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาร.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและวินธัย สุวารี
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
มเด็จพระมหาจักรพรรดิราชาธิราชเจ้า (พระนามเดิม พระเทียรราชา) พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 15 แห่งอาณาจักรอยุธยา เป็นพระมหากษัตริย์ที่ได้รับการยกย่องว่ามีบุญญาธิการมากเพราะทรงมีช้างเผือกในครอบครองถึง 7 ช้าง จนได้รับการขนานพระนามว่า พระเจ้าช้างเผือก ในรัชกาลนี้ เป็นช่วงเปลี่ยนผ่านทางการเมืองจากคราวขุนวรวงศาธิราช สภาพบ้านเมืองไม่ได้สงบสุขเท่าที่ควร มีเหตุการณ์ความไม่สงบทั้งภายในและภายนอก โดยเฉพาะสงครามกับกรุงหงสาวดี.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช
มเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชเจ้า หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 1 พระมหากษัตริย์ไทยผู้สถาปนาราชวงศ์สุโขทัยสมัยอาณาจักรอ.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช
สมเด็จพระมหินทราธิราช
มเด็จพระมหินทราธิราช พระนามเดิมว่า พระมหินทราธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 16 แห่งอาณาจักรอยุธยา พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ระบุว่าพระองค์ไม่เอาพระทัยใส่การศึก ทำให้การรักษาพระนครอ่อนแอลงจนเสียกรุงครั้งที่หนึ่ง.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและสมเด็จพระมหินทราธิราช
สมเด็จพระศรีเสาวภาคย์
มเด็จพระศรีเสาวภาคย์นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 129 มีพระนามเดิมว่า เจ้าฟ้าศรีเสาวภาคย์ เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 20 แห่งอาณาจักรอยุธยา และรัชกาลที่ 4 ในราชวงศ์สุโขทัย เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 2 ในสมเด็จพระเอกาทศรถ และมีพระเชษฐาที่ประสูติร่วมพระราชมารดา ได้แก่ เจ้าฟ้าสุทัศน์ ซึ่งดำรงตำแหน่งพระมหาอุปราช พระองค์ประชวรพระยอดจนเสียพระเนตรไปข้างหนึ่ง และมีพระบุคลิกค่อนข้างอ่อนแอและไม่สนพระทัยเกี่ยวกับราชการบ้านเมือง หลังจากที่สมเด็จพระเอกาทศรถเสด็จสวรรคตลง พระองค์ได้รับทูลเชิญให้ขึ้นครองราชย์ เมื่อปี พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและสมเด็จพระศรีเสาวภาคย์
สมเด็จพระสรรเพชญ์
มเด็จพระสรรเพชญ์ หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ เป็นพระนามของพระเจ้ากรุงศรีอยุธยาหลายพระองค์ ในพระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ปรากฏว่ามีพระเจ้ากรุงศรีอยุธยา 2 พระองค์ใช้พระนามนี้ ได้แก่ สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชมีพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าสรรเพชญวงศ์กุรสุริโคดม และสมเด็จพระเอกาทศรถมีพระนามว่า พระศรีสรรเพชญ์ สมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดี นอกจากนี้ในจารึกชะลอพระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมกข์ ปรากฏว่าพระเจ้าท้ายสระมีพระนามว่า พระบาทพระศรีสรรเพชญ สมเด็จเอกาทศรุทอิศวร ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชนิพนธ์เรื่อง "ทรงวิจารณ์เรื่องพระราชพงศาวดารกับเรื่องประเพณีการตั้งพระมหาอุปราช" โดยทรงวินิจฉัยว่ามีสมเด็จพระสรรเพชญ์ 9 พระองค์ คือ.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและสมเด็จพระสรรเพชญ์
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
มเด็จพระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่าพระนเรศ หรือ "พระองค์ดำ" เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิกษัตรีย์ (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรีสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ..
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม
มเด็จพระเจ้าทรงธรรม หรือ สมเด็จพระบรมราชาที่ 1 หรือ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงธรรม หรือ สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวทรงธรรมอันมหาประเสริฐ เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 21 แห่งกรุงศรีอยุธยา และเป็นพระองค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์สุโขทัย หลังจากทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้สำเร็จโทษพระมหากษัตริย์องค์ก่อนแล้ว พระศรีศิลป์หรือพระพิมลธรรม หรือพระเจ้าทรงธรรมก็เสด็จปราบดาภิเษกขึ้นครองราชสมบัต.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม
สยาม
งชาติสยาม พ.ศ. 2398-พ.ศ. 2459 สยาม (อักษรละติน: Siam, อักษรเทวนาครี: श्याम) เคยเป็นชื่อเรียกประเทศไทยในอดีต แต่มิใช่ชื่อที่คนไทยเรียกตนเอง ราชบัณฑิตยสถาน ระบุว่า สยามเป็นชื่อเรียกดินแดนและกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้มาตั้งแต่สมัยโบราณ สยามเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของไทยตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ก่อนเปลี่ยนเป็น "ไทย" เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดอ่างทอง
นที่ท่องเที่ยวจังหวัดอ่างทอง.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดอ่างทอง
สงครามยุทธหัตถี
ระมหาอุปราชมังกะยอชวา สงครามยุทธหัตถี เป็นสงครามที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2135 ระหว่างอยุธยากับพม่า ผลของสงครามครั้งนั้นปรากฏว่าอยุธยาเป็นฝ่ายชนะถึงแม้จะมีกำลังพลน้อยกว.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและสงครามยุทธหัตถี
หมู่บ้านฮอลันดา
้านฮอลันดา หรือ หมู่บ้านของชาววิลันดา (ชาวฮอลันดา) ซึ่งถูกก่อตั้งขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาเมื่อปี..
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและหมู่บ้านฮอลันดา
หม่อมเจ้า
หม่อมเจ้า (His/Her Serene Highness) นั้นมีมาตั้งแต่ตอนต้นยุคกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี มีหลักฐานปรากฏชัดเจนเพราะว่ามีศักดินาอยู่ในพระอัยการพลเรือนที่ได้ตราขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ผู้ที่จะดำรงพระยศเป็นหม่อมเจ้าได้มีดังนี้.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและหม่อมเจ้า
หาดเจ้าสำราญ
หาดเจ้าสำราญ ตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองเพชรบุรี ประมาณ 15 กิโลเมตร เป็นชายหาด ที่เคยเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญ มาแต่สมัยโบราณ มีประวัติเล่ากันมาว่า สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เคยเสด็จมาที่นี่ พร้อมด้วยสมเด็จพระเอกาทศรถ ทรงพอพระราชหฤทัย ในความงามของหาดนี้มาก ทรงประทับแรมอยู่หลายวัน จน ชาวบ้าน เรียกหาดนี้ว่า หาดเจ้าสำราญ จากหาดเจ้าสำราญ ไปทางใต้ประมาณ 7 กิโลเมตร เป็นชายหาดปึกเตียน ซึ่งเป็นสถานที่ท่องเที่ยว อีกแห่งของจังหวัดเพชรบุรี หาดเจ้าสำราญเจริญถึงขีดสุดในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ซึ่งเป็นหาดที่มีชื่อเสียงมากกว่าหาดอื่นๆในสมัยนั้น โดยโปรดเกล้าให้สร้างค่ายหลวงขึ้นเรียกว่า "ค่ายหลวงบางทะลุ" ตามชื่อของตำบลบางทะลุ ที่เป็นที่ตั้งโดยมี "พระตำหนักบริเวณริมหาดแห่งนี้เรียกว่า “พระตำหนักหาดเจ้าสำราญ” ภายหลังทรงหายจากพระประชวร ทรงได้เปลี่ยนชื่อตำบลเสียใหม่ ด้วยชื่อเดิมเห็นว่าไม่เป็นมงคล เป็น ตำบลหาดเจ้าสำราญ ตามชื่อของหาดแต่ต่อมาทรงได้ย้ายพระตำหนักไปยังจุดที่เป็น พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน ในปัจจุบันเพราะหาดเจ้า สำราญมีแมลงวันชุมเนื่องจากพระตำหนักแห่งนี้ตั้งอยู่ใกล้หมู่บ้านชาวประมงทำให้พระตำหนักแห่งนี้มีแมลงวันชุมจนพระองค์แอบได้ยินข้าราชบริพารในพระองค์ บ่นว่า "หาดเจ้าสำราญแต่ข้าราชบริพารเบื่อ" และหาดแห่งนี้ขาดแคลนน้ำจืดจึงโปรดให้ย้ายไปในที่สุด หาดเจ้าสำราญ ตั้งอยู่ในตำบลหาดเจ้าสำราญ อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ชายหาดแห่งนี้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่น่าไปพักผ่อนแห่งหนึ่ง มีบรรยากาศที่เงียบสงบ อากาศเย็นสบาย มีสัตว์ทะเลที่อุดมสมบูรณ์ ทั้ง ปูเสฉวน หอย แมงกะพรุน มีที่พักพร้อม มีร้านสะดวกซื้ออยู่ใกล้เคียง สามารถลงเล่นน้ำได้ ในบริเวณใกล้เคียงมีหมู่บ้านชาวประมง ชายหาดแห่งนี้ทรายถูกพัดถมขึ้นมามากขึ้นเรื่อยๆ จึงมีทรายที่ละเอียดมากในส่วนของต้นหาด ที่นี่จึงเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ไม่ต้องไปไกลมาก และมีความสวยงามมากแห่งหนึ่ง.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและหาดเจ้าสำราญ
อาณาจักรสุโขทัย
อาณาจักรสุโขทัย เคยเป็นรัฐในอดีตรัฐหนึ่ง ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม สถาปนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18 ในฐานะสถานีการค้าของรัฐละโว้ หลังจากนั้นราวปี 1800 พ่อขุนบางกลางหาวและพ่อขุนผาเมือง ได้ร่วมกันกระทำการยึดอำนาจจากขอมสบาดโขลญลำพง ซึ่งทำการเป็นผลสำเร็จและได้สถาปนาเอกราชให้รัฐสุโขทัยเป็นอาณาจักรสุโขทัย และมีความเจริญรุ่งเรืองตามลำดับและเพิ่มถึงขีดสุดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ก่อนจะค่อย ๆ ตกต่ำ และประสบปัญหาทั้งจากปัญหาภายนอกและภายใน จนต่อมาถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาไปในที.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและอาณาจักรสุโขทัย
อาณาจักรอยุธยา
ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและอาณาจักรอยุธยา
อำเภอบางปะอิน
งปะอิน เป็นอำเภอหนึ่งใน 16 อำเภอของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมชื่อ อำเภอพระราชวัง ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่ออำเภอดังเช่นปัจจุบัน ซึ่งเป็นอำเภอที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของจังหวัดพระนครศรีอ.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและอำเภอบางปะอิน
อำเภอวิเศษชัยชาญ
อำเภอวิเศษชัยชาญ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอ่างทอง เดิมชื่อ อำเภอวิเศษไชยชาญ และก่อนหน้านั้น ชื่อ อำเภอไผ่จำศีล.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและอำเภอวิเศษชัยชาญ
อำเภอป่าโมก
อำเภอป่าโมก เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอ่างทอง.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและอำเภอป่าโมก
อำเภอไชโย
อำเภอไชโย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอ่างทอง.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและอำเภอไชโย
จอห์น มิลตัน
กวีนิพนธ์เรื่อง "สวรรค์หาย" ของจอห์น มิลตัน จอห์น มิลตัน (John Milton, 9 ธันวาคม พ.ศ. 2151 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2217) เป็น กวี เกิดในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์และใช้เวลา 6 ปีเต็มในการพักผ่อนไปและศึกษาไปที่ฮอร์ตันซึ่งมิลตันกล่าวว่าเป็นการเตรียมตัวเข้าสู่ชีวิตแห่งการเป็นกวี ที่ฮอร์ตัน มิลตันได้เขียนงานชื่อ L’Allegro และ Il Penseroto (พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและจอห์น มิลตัน
จังหวัดอุทัยธานี
ังหวัดอุทัยธานี เดิมสะกดว่า อุไทยธานี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 6,730 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและจังหวัดอุทัยธานี
จังหวัดอ่างทอง
ังหวัดอ่างทอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ในที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นจังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตหัตถกรรมพื้นบ้าน เช่น ตุ๊กตาชาววัง งานจักสาน เป็นต้น.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและจังหวัดอ่างทอง
จินดามณี (ตำรา)
นดามณี เป็นแบบเรียนภาษาไทย มีเนื้อหาครอบคลุมเรื่อง การใช้สระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ การแจกลูก การผันอักษร อักษรศัพท์ อักษรเลข การสะกดการันต์ การแต่งคำประพันธ์ ชนิดต่าง ๆ และกลบท ปรากฏกลบท อยู่ 60 ชนิด มีทั้งจินดามณี แต่งขึ้นในสมัยอยุธยาตอนกลาง โดยพระโหราธิบดี ในรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (แต่บางข้อมูลเชื่อว่าอาจจะแต่งก่อนหน้านั้นนับร้อยปี คือ แต่งในรัชสมัยของสมเด็จพระเอกาทศรถ) และยังเป็นแบบเรียนเล่มแรกของไทยด้วย และจากการที่จินดามณีของพระโหราธิบดี เป็นแบบเรียนไทยมาก่อนจนเป็นเสมือนสัญลักษณ์ของแบบเรียนไทย ทำให้หนังสือแบบเรียนไทยในยุคต่อมาหลายเล่มใช้ชื่อตามว่า "จินดามณี" เช่นเดียวกัน เช่น จินดามณีฉบับความแปลก จินดามณีครั้งแผ่นดินพระเจ้าบรมโกศ จินดามณีฉบับกรมหลวงวงษาธิราชสนิท จินดามณีฉบับพิมพ์ของหมอสมิท และจินดามณีฉบับพิมพ์ของหมอบรัดเล.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและจินดามณี (ตำรา)
คริสต์ทศวรรษ 1590
..
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและคริสต์ทศวรรษ 1590
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย
วามสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย ปัจจุบันอยู่ภายใต้อำนาจจัดการของกระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย) ประเทศไทยเข้าไปมีส่วนร่วมทั้งในองค์การระหว่างประเทศและองค์การระดับภูมิภาค โดยได้พัฒนาความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับประเทศสมาชิกอาเซียนอื่น ๆ ซึ่งได้จัดการประชุมระดับรัฐมนตรีเศรษฐกิจและการต่างประเทศประจำปี ความร่วมมือในภูมิภาคกำลังก้าวไปข้างหน้าทั้งในด้านเศรษฐกิจ การค้า การธนาคาร การเมืองและวัฒนธรรม ในปี 2546 ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมเอเปก ศุภชัย พานิชภักดิ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรีของไทย ปัจจุบันรับตำแหน่งเลขาธิการใหญ่การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา (UNCTAD) ในปี 2548 ประเทศไทยเข้าร่วมการประชุมสุดยอดผู้นำเอเชียตะวันออกเป็นครั้งแรก เมื่อเร็ว ๆ นี้ ประเทศไทยได้เข้ามามีบทบาทเพิ่มขึ้นอย่างมากในเวทีระหว่างประเทศ เมื่อติมอร์-เลสเตได้รับเอกราชจากอินโดนีเซีย ประเทศไทย เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ได้ส่งกองกำลังเพื่อความพยายามรักษาสันติภาพนานาชาติ และเพื่อความพยายามในการเพิ่มความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ประเทศไทยจึงได้ยื่นมือออกไปยังองค์การระดับภูมิภาคอื่น ๆ อย่างเช่น องค์การนานารัฐอเมริกัน (OAS) และองค์การว่าด้วยความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป (OSCE) ประเทศไทยยังได้ส่งทหารเข้าร่วมในความพยายามฟื้นฟูประเทศอัฟกานิสถานและอิรักอีกด้ว.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ กำกับการแสดงโดยหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล มี 6 ภาค ทุนสร้าง 700 ล้านบาท (ในครั้งแรกกำหนดให้มี 5 ภาค) เป็นภาคต่อจากภาพยนตร์เรื่อง สุริโยไท โดยหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ได้วางเป้าหมายเรื่องนี้ไว้ว่าจะต้องทำให้ดีกว่าภาพยนตร์เรื่อง "สุริโยไท" ในทุกด้าน โดยมีขอบเขตการทำงานใหญ่กว่า, อลังการกว่า, ฉากต่าง ๆ มีความยิ่งใหญ่อลังการกว่า, นักแสดงหลัก และนักแสดงประกอบมีจำนวนมากกว่า เครื่องมือ และเทคโนโลยีต่าง ๆ มากกว่า ภาพยนตร์เรื่องนี้สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตพระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสมหามงคลที่ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 72 พรรษ.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา เป็นภาพยนตร์ภาคที่หกซึ่งเป็นภาคสุดท้ายในภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กำหนดฉายในวันที่ 9 เมษายน พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ ภาพยนตร์ภาคสองในภาพยนตร์ไตรภาคชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช นำแสดง.ต.วันชนะ สวัสดี, นพชัย ชัยนาม, ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ, จักรกฤษณ์ อำมะรัตน์, นภัสกร มิตรเอม, อินทิรา เจริญปุระ,.ต.คมกริช อินทรสุวรรณ, ปราบต์ปฎล สุวรรณบาง, พ.ท.วินธัย สุวารี, สรพงษ์ ชาตรี เขียนบทภาพยนตร์และกำกับการแสดงโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๓ ยุทธนาวี
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๓ ยุทธนาวี เป็นภาพยนตร์ไทย ภาพยนตร์ภาคที่สามในภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดยในภาคนี้จะกล่าวถึงสงครามระหว่างไทยและพม่า เน้นฉากสงครามทางเรือ กำหนดฉายในวันที่ 31 มีนาคม..
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๓ ยุทธนาวี
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๔ ศึกนันทบุเรง
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๔ ศึกนันทบุเรง เป็นภาพยนตร์ภาคที่สี่ในภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กำหนดฉายในวันที่ 11 สิงหาคม..
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๔ ศึกนันทบุเรง
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี เป็นภาพยนตร์ภาคที่ห้าในภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กำหนดฉายในวันที่ 29 พฤษภาคม..
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ หรือ ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช The Series เป็นชุดละครโทรทัศน์อิงประวัติศาสตร์ กำกับการแสดงโดยหม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล เป็นการสร้างละครที่อิงเอาเนื้อเรื่องจากภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคลที่ทำไว้มาสร้างใหม่อีกครั้ง ใช้กระบวนการถ่ายทำและเทคนิคแบบภาพยนตร์ ด้วยความมุ่งหมายจะให้เนื้อเรื่องสมบูรณ์กว่าในแบบฉบับภาพยนตร.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคองค์ประกันหงสา
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาค องค์ประกันหงสา หรือ ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาค ปฐมวัย เป็นละครโทรทัศน์อิงประวัติศาสตร์ ภาคที่หนึ่งของละครเรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ กำกับการแสดงโดย หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล เป็นการสร้างละครที่อิงเอาเนื้อเรื่องจากภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคลที่ทำไว้มาสร้างใหม่อีกครั้ง ใช้กระบวนการถ่ายทำและเทคนิคแบบภาพยนตร์ ด้วยความมุ่งหมายจะให้เนื้อเรื่องสมบูรณ์กว่าในแบบฉบับภาพยนตร์ ละครเรื่องนี้ออกอากาศตอนแรกในวันที่ 9 มกราคม พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคองค์ประกันหงสา
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคประกาศอิสรภาพ
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาค ประกาศอิสรภาพ หรือ ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช The Series ภาค ประกาศอิสรภาพ เป็นละครโทรทัศน์อิงประวัติศาสตร์ ภาคที่สองของละครเรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ กำกับการแสดงโดย หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล เป็นการสร้างละครที่อิงเอาเนื้อเรื่องจากภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ ที่หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคลได้สร้างไว้มาสร้างใหม่อีกครั้ง โดยใช้กระบวนการถ่ายทำและเทคนิคแบบภาพยนตร์ ด้วยความมุ่งหมายจะให้เนื้อเรื่องสมบูรณ์กว่าในแบบฉบับภาพยนตร์ ละครเรื่องนี้เป็นภาคต่อของ ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคองค์ประกันหง.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคประกาศอิสรภาพ
ประเทศพม่าใน ค.ศ. 1609
หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1609 ในประเทศพม.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและประเทศพม่าใน ค.ศ. 1609
ปืนใหญ่
ปืนใหญ่ หมายถึง อาวุธปืนที่มีความกว้างปากลำกล้องตั้งแต่ 20 มิลลิเมตรขึ้นไป โดยมีระยะยิงกลางถึงไกล มีอำนาจทำลายล้างสูง ใช้การยิงหัวกระสุนด้วยแรงดันจากการเผาไหม้ดินส่งกระสุนให้เกิดก๊าซจนเคลื่อนที่ออกไป โดยสามารถทำการยิงได้ทั้งแนววิถีราบหรือวิถีโค้ง โดยภายในหัวกระสุนจะบรรจุวัตถุระเบิดและตัวจุดชนวน เมื่อหัวกระสุนตกกระทบเป้าหมายจะเกิดการระเบิดสร้างความเสียหายอย่างรุนแรง.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและปืนใหญ่
ปืนไฟ
ปืนไฟแบบยาว ปืนไฟแบบสั้น ปืนไฟแบบสั้นอีกแบบ ปืนไฟ หรือ ปืนคาบชุด (Arquebus) เป็นปืนที่ใช้หลักการจุดชนวนด้วย "ชุด" (match) ซึ่งทำมาจากเส้นด้ายชุบเชื้อไฟเพื่อให้เส้นด้ายเกิดการลุกไหม้อย่างช้า ๆ คาบเส้นด้ายไว้ด้วยกระเดื่อง ที่มีลักษณะเหมือนหัวงูซึ่งมีลักษณะโค้งงอไปมาเป็นรูปตัว S เมื่อเหนี่ยวไกปืนเพื่อทำการยิง ปลายของชุดก็จะตีลงบนจานชนวนทำให้เกิดประกายไฟลุกไหม้ขึ้นที่เส้นด้ายและเข้าไปจุดระเบิดดินปืนที่อยู่ภายใน ทำให้เกิดแรงผลักลูกกระสุนออกไปได้.
นะฉิ่นเหน่าง์
นะฉิ่นเหน่าง์ (Natshinnaung; နတ်သျှင်နောင်) หรือ พระสังขทัต ตามพงศาวดารไทย เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าตองอู (สีหตู) อันเป็นพระอนุชาของพระเจ้าหงสาวดีบุเรงนอง นะฉิ่นเหน่าง์นั้นเป็นที่เลื่องลือในพม่าว่าเป็นมีความสามารถด้านการกวีสูงอย่างยิ่งและมีความรอบรู้ในพระไตรปิฎกเป็นอย่างมาก ต่อมานะฉิ่นเหน่าง์ได้ปกครองเมืองตองอูต่อจากบิดา ต่อมาได้เป็นผู้วางยาพิษปลงพระเจ้าหงสาวดีนันทบุเรง ในช่วงนั้นเครือข่ายอำนาจของพม่าแตกออกเป็นสามขั้วคือ อังวะ แปร และตองอู พระเจ้าอังวะคือ พระเจ้าอโนเพตลุน ได้ยึดเมืองแปรได้ นะฉิ่นเหน่าง์เห็นว่าเมืองตองอูคงไม่อาจสามารถต่อสู้กับอังวะได้จึงสวามิภักดิ์ต่อกรุงศรีอยุธยาซึ่งในสมัยนั้นมี สมเด็จพระเอกาทศรถปกครองอยู่ ต่อมาพระเจ้าอังวะได้บุกเมืองตองอู นะฉิ่นเหน่าง์ได้ขอความช่วยเหลือต่อกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระเอกาทศรถทรงให้นายพลฟิลิปป์ เดอ บริโต ทหารรับจ้างชาวโปรตุเกสยกทัพไปช่วย แต่ไปไม่ทันเมืองตองอูก็แตกซะก่อน นะฉิ่นเหน่าง์จึงหนีไปที่เมืองสิเรียมกับนายพลฟิลิป เดอ บริโตและเปลี่ยนมานับถือศาสนาคริสต์ พระเจ้าอังวะสั่งให้ฟิลิปป์ เดอบริโตส่งตัวนะฉิ่นเหน่าง์มาให้ตน แต่นายพลเดอบริโตไม่ยอมพระเจ้าอังวะจึงเข้าโจมตีเมืองสิเรียมในปี พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและนะฉิ่นเหน่าง์
แม่น้ำตรัง
แม่น้ำตรัง เป็นแม่น้ำสายสำคัญของจังหวัดตรัง มีความยาวประมาณ 123 กิโลเมตร เมื่ออยู่ในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เรียกว่า แม่น้ำหลวง เมื่อไหลเข้าเขตจังหวัดตรังเรียกว่า แม่น้ำตรัง ในช่วงที่ไหลผ่านอำเภอเมืองตรัง เรียกว่า คลองท่าจีน เดิมใช้เป็นเส้นทางคมนาคม จากดินแดนภายในจังหวัดติดต่อไปยังทะเลที่ปากน้ำกันตัง กล่าวกันว่า ในสมัยโบราณสามารถเดินเรือไปได้ถึงทุ่งสง เดิมแม่น้ำสายนี้มีความกว้างราว 50 เมตร แต่ปัจจุบันบางแห่งเหลือความกว้างเพียง 30 เมตร.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและแม่น้ำตรัง
เมืองนาย
มืองนาย (Mong Nai) ตั้งอยู่ที่ละติจูด 20 องศา 30 ลิปดา เหนือ ลองติจูด 97 องศา 52 ลิปดาตะวันออก อยู่ในพื้นที่รัฐฉานใต้ ฝั่งตะวันตกแม่น้ำสาละวิน ใกล้กับจังหวัดแม่ฮ่องสอน ในอดีตเคยเป็นเมืองลูกของเชียงใหม่สมัยพญามังราย และอดีตเมืองหลวงของรัฐฉาน สมัยพระเจ้าสีหสุรมหาธรรมราชา เจ้าเมืองอังวะ ซึ่งเป็นพระโอรสของพระเจ้าบุเรงนอง ยกทัพมาตีเมืองนาย ซึ่งสมัยนั้นยังขึ้นตรงต่อเชียงใหม่ อันเป็นประเทศราชของอาณาจักรอยุธยา เป็นเหตุให้สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงยกทัพไพร่พล 100,000 นายไปเมืองนายและอังวะ ระหว่างเคลื่อนทัพผ่านเมืองเชียงใหม่ พระองค์ประชวรและสวรรคต ณ เมืองแหน แขวงเมืองเชียงใหม่ สมเด็จพระเอกาทศรถจึงเลิกทัพและทรงนำพระบรมศพกลับมายังอ.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและเมืองนาย
เหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอยุธยา
ลำดับเหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอ.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและเหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอยุธยา
เจ้าฟ้าสุทัศน์
้าฟ้าสุทัศน์ เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระเอกาทศรถที่ประสูติแต่สมเด็จพระอัครมเหสี พระองค์มีพระอนุชาร่วมพระมารดา 1 พระองค์ คือ เจ้าฟ้าศรีเสาวภาคย์ สมเด็จพระเอกาทศรถทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นพระมหาอุปราช หลังจากนั้น เจ้าฟ้าสุทัศน์กราบบังคมทูลสมเด็จพระเอกาทศรถว่า ขอพิจารณาคนออก สมเด็จพระเอกาทศรสจึงตรัสว่า "จะเป็นขบถหรือ" เป็นเหตุให้เจ้าฟ้าสุทัศน์เกิดความเกรงพระราชอาญาจากสมเด็จพระราชบิดา เมื่อพระองค์ออกจากที่เฝ้าและเสด็จมายังพระราชวังบวรสถานมงคลแล้ว พระองค์ได้เสวยยาพิษและเสด็จสวรรคตลง ความทราบถึงสมเด็จพระเอกาทศรถทำให้พระองค์ทรงพระโทมนัสเป็นอันมากและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดงานพระราชทานเพลิงพระศพตามพระอิสริยยศพระมหาอุปราช ซึ่งพระองค์ทรงตั้งพระทัยบำเพ็ญทานกุศลเป็นอเนกประการ.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและเจ้าฟ้าสุทัศน์
เจ้าพระยาปราบหงสาวดี
พระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี เจ้าพระยาปราบหงสาวดี เดิมชื่อ พลายภูเขาทอง (มีบางบันทึกบอกว่ามีชื่อเดิมว่า "พลายมิ่งเมือง" ในคำให้การชาวกรุงเก่าเรียก "พลายพุทรากระแทก") เป็นช้างคู่พระบารมีในสมเด็จพระนเรศวรมหาราช หลังจากขึ้นระวางแล้ว ได้บรรดาศักดิ์เป็น เจ้าพระยาไชยานุภาพ ต่อมาได้รับพระราชทานนามว่า เจ้าพระยาปราบหงสาวดี ในครั้งที่ชนะศึกยุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชา วันที่ 25 มกราคม พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและเจ้าพระยาปราบหงสาวดี
เจ้าพระยาปราบไตรจักร
้าพระยาปราบไตรจักร อาจหมายถึง.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและเจ้าพระยาปราบไตรจักร
เจ้าพระยาปราบไตรจักร (พลายบุญเรือง)
้าพระยาปราบไตรจักร (พลายบุญเรือง) เป็นช้างทรงของสมเด็จพระเอกาทศรถ ใช้เป็นช้างทรงชนกับพลายพัชเนียง ช้างของมางจางชโร เจ้าเมืองจาปะโร ในสงครามกอบกู้กรุงศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและเจ้าพระยาปราบไตรจักร (พลายบุญเรือง)
เจ้าพระยาปราบไตรจักร (พลายหอมจัน)
้าพระยาปราบไตรจักร (พลายหอมจัน) ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2408 เจ้าพระยาปราบไตรจักร (หอมจัน) ยืนบนแท่นยกพื้นในงานพระราชพิธี บริเวณหน้าพระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท เนื่องจากงายาวจนถึงพื้นดิน เจ้าพระยาปราบไตรจักร (พลายหอมจัน) ช้างต้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีชื่อเดิมว่า พลายหอมจัน หรือ พลายหอม ได้มาจากเมืองด่านซ้าย ในรัชกาลที่ 3 เจ้าพระยาปราบไตรจักร มีรูปร่างงดงามมาก มีงายาว ข้างหนึ่งยาว 9 ฟุต อีกข้างหนึ่งยาวถึง 10 ฟุตครึ่ง ปลายทั้งสองไขว้กันถึงดิน เวลาเจ้าพระยาปราบไตรจักรเข้าร่วมในพระราชพิธีใดๆ เจ้าหน้าที่ต้องทำแทนยกพื้นให้ยืน เพื่อให้เอางาวางพักไว้กับพื้นดิน เวลาเดินต้องแหงนคอขึ้น เพื่อไม่ให้งาครูดพื้น เจ้าพระยาปราบไตรจักรล้มลงในปีใด ไม่มีเอกสารบันทึกไว้ แต่มีบันทึกในหนังสือ "กุมารวิทยา" ฉบับที่ 29 วันจันทร์ที่ 23 มีนาคม ร..
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและเจ้าพระยาปราบไตรจักร (พลายหอมจัน)
เจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน)
้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) (พ.ศ. 2176–2242) เป็นข้าราชการในอาณาจักรอยุธยาสมัยสมเด็จพระนารายณ์ เป็นเอกอัครราชทูตคนสำคัญที่เดินทางไปเจริญสัมพันธไมตรีกับราชสำนักฝรั่งเศสเมื่อ..
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและเจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน)
เจ้าหญิงเมงอทเว
้าหญิงเมงอทเว หรือ เจ้าหญิงเจ้าภุ้นชิ่ เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าบุเรงนองกับพระสุพรรณกัลยา ซึ่งพระสุพรรณกัลยาเป็นพระพี่นางในสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระเอกาทศรถ เนื่องจากพระสุพรรณกัลยาทรงเป็นองค์ประกันในพม่า พระสุพรรณกัลยาจึงมีพระนามภาษาพม่าว่า อเมี๊ยวโหย่ว และเชื่อว่าเป็นมเหสีที่พระเจ้าบุเรงนองทรงโปรดปราน ส่วนพระนามของพระราชธิดา โดยได้รับพระราชทานพระนามว่า เจ้าภุ้นชิ่ ซึ่งมีความหมายว่า ผู้มีสติปัญญาและพระบารมี แต่โดยมากจะรู้จักกันในพระนาม เมงอทเว (เมง-อะ-ทเว) พระองค์นี้อันมีความหมายว่า "พระธิดาองค์สุดท้อง" (และเป็นพระธิดาองค์สุดท้ายของพระเจ้าบุเรงนองด้วย).
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและเจ้าหญิงเมงอทเว
เจ้าแม่วัดดุสิต
้าแม่วัดดุสิต เป็นพระบรมอรรคราชบรรพบุรุษของพระมหากษัตริย์ราชวงศ์จักรี เป็นพระนมชั้นเอกในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่งได้รับพระราชทานตำหนักริมวัดดุสิดารามเป็นที่อาศัย จึงเป็นที่มาของคำว่าเจ้าแม่ดุสิต มีข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับชาติกำเนิดของเจ้าแม่วัดดุสิตมีมากมาย แต่ไม่ปรากฏหลักฐานอย่างแน่ชัดว่าเจ้าแม่วัดดุสิตสืบเชื้อสายมาจากผู้ใด หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้กล่าวไว้ในหนังสือ โครงกระดูกในตู้ โดยอ้างจากหนังสือราชินิกุลบางช้างไว้ว่า "เจ้าแม่วัดดุสิตมีศักดิ์เป็นหม่อมเจ้าในราชวงศ์พระมหาธรรมราชา ซึ่งสืบเชื้อสายมาแต่ราชวงศ์พระร่วงกรุงสุโขทัย" นอกจากนี้ ยังมีการกล่าวถึงบรรพบุรุษของเจ้าแม่วัดดุสิตไว้ว่า สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงได้ฟังคำบอกเล่าจากพระวันรัตน์ (ฉิม) ว่าเจ้าฟ้าหญิงรัศมีและเจ้าฟ้าจีกเคยตรัสเล่าว่า สมเด็จพระเอกาทศรถได้อภิเษกสมรสกับธิดาของพระยาเกียรติ์ (ขุนนางชาวมอญที่ติดตามสมเด็จพระนเรศวรมหาราช) มีธิดาคือเจ้าครอกบัว (หม่อมเจ้าบัว) และเจ้าครอกอำภัย (หม่อมเจ้าอำไพ) แต่ในหนังสือนี้ยังมีข้อความที่คลุมเครือระหว่างเจ้าครอกบัวและเจ้าครอกอำไพอยู่มาก ซึ่งทำให้สับสนว่า เจ้าแม่วัดดุสิตมีชื่อเดิมว่าอย่างไรกันแน่ บางแห่งกล่าวว่าชื่อ "หม่อมเจ้าหญิงบัว" มีเชื้อสายพระร่วงสุโขทัย บางแห่งก็กล่าวว่าชื่อ "หม่อมเจ้าหญิงอำไพ" เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเอกาทศรถ อย่างไรก็ตาม หลักฐานหลายแห่งก็ไม่ได้บ่งบอกว่าสายตระกูลของเจ้าแม่วัดดุสิตนั้นสืบเชื้อสายมาจากเชื้อพระวงศ์สายไหนเช่นกัน แต่จากเอกสารพงศาวดารไทยหลายฉบับและของต่างประเทศเป็นที่ยืนยันว่าเจ้าแม่วัดดุสิตนั้นมีตัวตนอย่างแน่นอน เจ้าแม่วัดดุสิตสมรสกับขุนนางเชื้อสายมอญมีบุตรธิดา 3 คน คือ.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและเจ้าแม่วัดดุสิต
เทศบาลเมืองชะอำ
ทศบาลเมืองชะอำ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประเภทเทศบาลเมือง เดิมเป็นเทศบาลตำบลชะอำ ตั้งอยู่ในอำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี และเป็นที่ตั้งของสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียง คือ หาดชะอำ.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและเทศบาลเมืองชะอำ
1
1 (หนึ่ง) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพที่แทนจำนวนนั้น หนึ่งแทนสิ่งสิ่งเดียว หน่วยในการนับหรือการวัด ตัวอย่างเช่น ส่วนของเส้นตรงของ "ความยาวหนึ่งหน่วย" คือส่วนของเส้นตรงของความยาวเท่ากับ 1.
25 มกราคม
วันที่ 25 มกราคม เป็นวันที่ 25 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 340 วันในปีนั้น (341 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและ25 มกราคม
25 เมษายน
วันที่ 25 เมษายน เป็นวันที่ 115 ของปี (วันที่ 116 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 250 วันในปีนั้น.
ดู สมเด็จพระเอกาทศรถและ25 เมษายน
หรือที่รู้จักกันในชื่อ สมเด็จพระสรรเพชญที่ 3สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 3พระเอกาทศรถ