สารบัญ
39 ความสัมพันธ์: ฟ้าใหม่พ.ศ. 2301พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระตำหนักคำหยาดพระเมรุมาศกรมพระราชวังบวรสถานมงคลกรมหมื่นพิทักษ์ภูเบศร์กรมหลวงพิพิธมนตรีกรมขุนวิมลพัตรการกอบกู้เอกราชของเจ้าตากการล้อมอยุธยา (2309–2310)การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองราชวงศ์บ้านพลูหลวงรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยรายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทยรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงศรีอยุธยาวัดราชประดิษฐานศรีอโยธยาสมเด็จพระมหาอุปราช เจ้าฟ้าจุ้ย กรมขุนอินทรพิทักษ์สมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวงสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศสายโลหิตสงครามพระเจ้าอลองพญาอาณาจักรอยุธยาทิน มอง จีขุนรองปลัดชู (ภาพยนตร์)ดนุพร ปุณณกันต์คำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรมประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ตประเทศไทยใน พ.ศ. 2339นิราศสองภพไทยโยเดียเพ็ญเพ็ชร เพ็ญกุลเจ้าฟ้าพินทวดีเจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง โรจนกุล)เจ้าพระยามหาเสนา (เสน)เจ้าสามกรม
ฟ้าใหม่
ฟ้าใหม่ เรื่องราวของเหตุการณ์ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย เมื่อข้าศึกเข้ามาราวี คนไทยแปรพักตร์เพราะหวังเป็นใหญ่ในภายหน้า เจ้าเหนือหัวฝักใฝ่อยู่แต่อิสตรี ทำให้บ้านเมืองถึงกลียุค ผู้กล้าของไทยแม้เพียงน้อยนิดหรือจะทัดทานข้าศึกที่ยกมาเป็นพันเป็นหมื่น ไม่นานนักอยุธยาก็ล้มสลาย แม่ทัพนายกองที่มีฝีมือก็ถูกส่งไปประจำหัวเมืองต่างๆ ไม่มีผู้ใดกอบกู้อยุธยา พวกหัวเมืองพากันแต่งตั้งตัวเองเป็นเจ้าเมือง และเมืองพิษณุโลกถูกพม่าแย่งชิงไป ทำให้พระเจ้าตากรู้สึกเสียพระทัยอย่างมากจึงต้องส่งยอดฝีมือขึ้นไปปราบจนพม่าไม่กล้ามาตีสยามประเทศอีกเลย ฟ้าใหม่เป็นละครโทรทัศน์ไทยแนวนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ มีเนื้อหาอิงประวัติศาสตร์ไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย กรุงธนบุรี จนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ผ่านสายตาของตัวละครหลักชื่อ "แสน" นายทหารมหาดเล็กเชื้อสายผู้ดีแขกเทศ เพื่อนร่วมสาบานรุ่นของคุณคนใหญ่ (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช), คุณคนกลาง (สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช) และคุณคนเล็ก (กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท) ซึ่งได้เค้าโครงมาจากประวัติของเจ้าพระยามหาเสนา (บุนนาค) ต้นสกุลบุนนาค ที่คุณศุภรเป็นสะใภ้คนหนึ่งของตระกูลนี้ นวนิยายดังกล่าวได้รับการดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์โดย บริษัท ดีด้า วิดีโอ โปรดักชั่น จำกัด จากบทประพันธ์ของ ศุภร บุนนาค บทโทรทัศน์โดย ศัลยา กำกับการแสดงโดย จรูญ ธรรมศิลป์ นำแสดงโดย ณัฐวุฒิ สกิดใจ กับ พัชราภา ไชยเชื้อ ร่วมด้วย จีรนันท์ มะโนแจ่ม, อติมา ธนเสนีวัฒน์, ภูธฤทธิ์ พรหมบันดาล, ชินมิษ บุนนาค, คงกระพัน แสงสุริยะ และนักแสดงมากฝีมืออีกคับคั่ง ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ทั้งนี้ละครโทรทัศน์ดังกล่าวมีจำนวน 9 ตอน ออกอากาศทุกวันจันทร์และอังคาร เวลา 20.25 น.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและฟ้าใหม่
พ.ศ. 2301
ทธศักราช 2301 ใกล้เคียงกั.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและพ.ศ. 2301
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
พระตำหนักคำหยาด
ระตำหนักคำหยาด ภายในพระตำหนักคำหยาด พระตำหนักคำหยาด ปัจจุบันเป็นโบราณสถาน ตั้งอยู่ในเขตวัดร้างชื่อว่า วัดโพธิ์ทอง ตำบลคำหยาด อำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและพระตำหนักคำหยาด
พระเมรุมาศ
ระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระเมรุมาศ และพระเมรุ คือ สถาปัตยกรรมชั่วคราว หรือสถาปัตยกรรมเฉพาะกิจที่สร้างขึ้น ณ ใจกลางเมือง เพื่อใช้ในพระราชพิธีพระบรมศพหรือพระราชพิธีพระศพโดยเฉพาะ มีลักษณะเป็น "กุฎาคาร หรือ เรือนยอด" คือเรือนซึ่งหลังคาต่อเป็นยอดแหลม โดยในอดีตนิยมสร้างเป็นแบบ ยอดปรางค์ อาจมีพรหมพักตร์หรือไม่มีก็ได้ พระเมรุมาศ เป็นพระเมรุขนาดสูงใหญ่ ใช้ในพระราชพิธีพระบรมศพ พระมหากษัตริย์ พระอัครมเหสี พระบรมราชินี พระราชชนนี พระบวรราชเจ้า พระยุพราช สำหรับการตายที่ใช้ราชาศัพท์ว่าสวรรคต ภายในพระเมรุมาศมี “พระเมรุทอง” ลักษณะของพระเมรุมาศที่ปรากฏการสร้างมี 2 รูปแบบคือพระเมรุมาศทรงปราสาท ที่สร้างมาแต่โบราณ มีขนาดใหญ่โตมโหฬาร และพระเมรุมาศทรงบุษบก ส่วนพระเมรุ เช่นเดียวกับพระเมรุมาศ แต่มีขนาดเล็กลง และไม่มีพระเมรุทองภายใน ใช้สำหรับราชวงศ์ที่ทรงฐานานุศักดิ์ใช้ราชาศัพท์ว่า “ทิวงคต” หรือ “สิ้นพระชนม์” การออกแบบสถาปัตยกรรมพระเมรุมาศ พระเมรุ ต้องอาศัยการสร้างสรรค์ออกแบบจากผู้รอบรู้เจนจบงานศิลปกรรมของชาติ ช่างที่ได้รับการถ่ายทอดวิชาความรู้จากครูบาอาจารย์ทั้งงานออกแบบรูปลักษณ์ ก่อสร้างอาคาร การคิดลวดลายขึ้นประดิษฐ์ตกแต่งทุกส่วนให้เข้ากับอาคาร โดยมีหลักเกณฑ์ที่คำนึงถึงว่าพระเมรุมาศของพระองค์ใด ที่แสดงลักษณะของพระองค์นั้น ภายหลังจากการถวายพระเพลิงแล้ว ชิ้นส่วนประกอบต่าง ๆ ของพระเมรุที่ถูกรื้อถอนบางส่วนจะนำไปถวายวัด เพื่อเป็นการกุศลแด่ผู้วายชนม.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและพระเมรุมาศ
กรมพระราชวังบวรสถานมงคล
กรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่เรียกกันเป็นสามัญว่าวังหน้า เป็นตำแหน่งที่พระมหากษัตริย์สยามทรงสถาปนาขึ้นสำหรับพระมหาอุปราช และมีฐานะเป็นองค์รัชทายาทผู้มีสิทธิ์ที่จะขึ้นครองราชสมบัติต่อไป ตำแหน่งพระมหาอุปราชปรากฏครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ต่อมาสมเด็จพระเพทราชาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานมงคล" ภายหลังจากการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้เลิกธรรมเนียมตั้งพระมหาอุปราช แล้วทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชแทน.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและกรมพระราชวังบวรสถานมงคล
กรมหมื่นพิทักษ์ภูเบศร์
กรมหมื่นพิทักษ์ภูเบศร์ พระนามเดิม เจ้าอาทิตย์ เป็นพระโอรสในเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรไชยเชษฐสุริยวงศ์ กรมขุนเสนาพิทักษ.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและกรมหมื่นพิทักษ์ภูเบศร์
กรมหลวงพิพิธมนตรี
กรมพระเทพามาตุ มีพระอิสริยยศเดิมว่า กรมหลวงพิพิธมนตรี หรือ กรมหลวงพิจิตรมนตรี เป็นพระอัครมเหสีน้อยในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และเป็นสมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวงในสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและกรมหลวงพิพิธมนตรี
กรมขุนวิมลพัตร
กรมขุนวิมลพัตรประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 177 หรือ กรมขุนวิมวัต เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และเป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ หลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง พระองค์ถูกกวาดต้อนไปประทับ ณ พระราชวังหลวงอังวะจนกระทั่งสวรรคตพระราชพงศาวดารพม่า, หน้า 1135.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและกรมขุนวิมลพัตร
การกอบกู้เอกราชของเจ้าตาก
การกอบกู้เอกราชของเจ้าตาก นับเป็นเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ไทย ซึ่งเป็นการรวบรวมกองกำลังของเจ้าตาก เพื่อขับไล่กองทัพพม่าที่ยังคงหลงเหลืออยู่ในกรุงศรีอยุธยา ภายหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง อันส่งผลให้เกิดสภาพจลาจลโดยทั่วไป ราชอาณาจักรอยุธยาเดิมจึงถูกแบ่งออกเป็นชุมนุมต่าง ๆ เป็นอิสระต่อกัน ราวปี พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและการกอบกู้เอกราชของเจ้าตาก
การล้อมอยุธยา (2309–2310)
การปิดล้อมอยุธยา ระหว่างปี พ.ศ. 2309-พ.ศ. 2310 เป็นการปิดล้อมระยะเวลานานกว่า 14 เดือนระหว่างสงครามคราวเสียกรุงครั้งที่สอง ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าเอกทัศของอาณาจักรอยุธยา และพระเจ้ามังระของอาณาจักรพม.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและการล้อมอยุธยา (2309–2310)
การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง
การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองหรือ สงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง เป็นความขัดแย้งทางทหารครั้งที่สองระหว่างราชวงศ์โกนบองแห่งพม่า กับราชวงศ์บ้านพลูหลวงแห่งอยุธยา ในการทัพครั้งนี้ กรุงศรีอยุธยาซึ่งเป็นราชธานีคนไทยเกือบสี่ศตวรรษได้เสียแก่พม่าและถึงกาลสิ้นสุดลงไปด้วย เหตุการณ์ได้เกิดขึ้นเมื่อวันอังคาร ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 5 ปีกุน ตรงกับวันที่ 7 เมษายน..
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง
ราชวงศ์บ้านพลูหลวง
ราชวงศ์บ้านพลูหลวง เป็นราชวงศ์ที่ 5 และเป็นราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองอาณาจักรอยุธยาก่อนการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ในปี..
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและราชวงศ์บ้านพลูหลวง
รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย
รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่ราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัยถึงปัจจุบันมีดังนี้.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย
รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย
รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไท.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและรายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย
รายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงศรีอยุธยา
รายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงศรีอ.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงศรีอยุธยา
วัดราชประดิษฐาน
วัดราชประดิษฐาน ตั้งอยู่ที่ถนนอู่ทอง อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นวัดที่สร้างขึ้นเมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยามีกล่าวถึงวัดราชประดิษฐานหลายครั้ง แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่าใครเป็นคนสร้างและสร้างในรัชสมัยใด ปัจจุบัน เป็นวัดราษฎร.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและวัดราชประดิษฐาน
ศรีอโยธยา
รีอโยธยา ภาพยนตร์ชุดอิงประวัติศาสตร์ ออกอากาศทางทรูวิชั่นส์ สร้างเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพครบ 90 พรรษา 5 ธันวาคม..
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและศรีอโยธยา
สมเด็จพระมหาอุปราช เจ้าฟ้าจุ้ย กรมขุนอินทรพิทักษ์
กรมขุนอินทรพิทักษ์ พระนามเดิมว่า จุ้ย (ไม่ทราบ – พ.ศ. 2325) เป็นพระมหาอุปราชแห่งกรุงธนบุรี เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ประสูติแต่กรมหลวงบาทบร.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและสมเด็จพระมหาอุปราช เจ้าฟ้าจุ้ย กรมขุนอินทรพิทักษ์
สมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวง
สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร สมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวง (queen mother สำหรับพระราชินี และ empress mother สำหรับพระจักรพรรดินี) คือ พระมเหสีม่ายของพระมหากษัตริย์รัชกาลก่อน และเป็นพระราชมารดาของพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบัน คำนี้เกิดขึ้นในภาษาอังกฤษเมื่อราว..
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและสมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวง
สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์
มเด็จพระบรมราชา (ที่ 3) หรือ สมเด็จพระเจ้าเอกทัศ หรือ สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 33 และเป็นรัชกาลสุดท้ายแห่งอาณาจักรอยุธยา ทรงครองราชย์ระหว่าง..
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
มเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ หรือ พระมหาธรรมราชา เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 31 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่ 4 ในราชวงศ์บ้านพลูหลวง.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
สายโลหิต
ลหิต เป็นผลงานนวนิยายของโสภาค สุวรรณ ได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกลงในนิตยสารสตรีสาร เป็นนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ชาติไทยปลายกรุงศรีอยุธยาก่อนเสียกรุง ข้าศึกเรื่องนี้เกิดขึ้นเพราะการไม่เตรียมพร้อมและประมาทของพลเมือง ความขัดแย้งสืบเนื่องมาจากความไม่สามัคคี การทำลายฆ่าฟันกันเอง อันเป็นผลให้คนดีมีฝีมือลดน้อยลง เป็นสาเหตุสำคัญที่อาจเป็นอุทาหรณ์สอนใจ ไม่ให้ประวัติศาสตร์ซ้ำรอยอีกครั้ง แม้ว่าจะต่างวาระก็ตาม.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและสายโลหิต
สงครามพระเจ้าอลองพญา
งครามพระเจ้าอลองพญา เป็นชื่อเรียกความขัดแย้งทางทหารครั้งแรกระหว่างอาณาจักรโกนบองแห่งพม่า กับอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์บ้านพลูหลวง สงครามครั้งนี้เป็นการจุดชนวนการสงครามนานหลายศตวรรษระหว่างทั้งสองรัฐขึ้นอีกครั้ง ซึ่งจะกินเวลานานไปอีกหนึ่งศตวรรษข้างหน้า ฝ่ายพม่านั้นอยู่ที่ "ขอบแห่งชัยชนะ" แล้วเมื่อจำต้องถอนกำลังจากการล้อมอยุธยา เนื่องจากพระเจ้าอลองพญาถูกระเบิดปืนใหญ่สิ้นพระชนม์ พระองค์สวรรคตและทำให้สงครามครั้งนี้ยุติลง ความต้องการครอบครองชายฝั่งตะนาวศรีและการค้าขายในแถบนี้เป็นชนวนเหตุของสงครามBaker, et al, p.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและสงครามพระเจ้าอลองพญา
อาณาจักรอยุธยา
ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและอาณาจักรอยุธยา
ทิน มอง จี
นายแพทย์ทิน มอง จี (ทิน หม่อง จี) เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2488 เป็นนายแพทย์ หลังเกษียณอายุได้ทำงานด้านวิชาการทางสังคมศาสตร์ และได้เขียนบทความสั้นๆ เรื่องการสำรวจสถูปที่สุสานลินซิน-กอง เรื่อง “A Thai King’s Tomb” และนำไปรวมพิมพ์ไว้ในหนังสือ “The various facets of Myanmar” โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับสถูปของเจ้าฟ้าอุทุมพรอดีตกษัตริย์กรุงศรีอยุธยาที่ถูกกวาดต้อนไปยังพม่าหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและทิน มอง จี
ขุนรองปลัดชู (ภาพยนตร์)
นรองปลัดชู หรือในชื่อเต็มว่า ขุนรองปลัดชู วีรชนคนถูกลืม ภาพยนตร์ไทยที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย ในสงครามพระเจ้าอลองพญา ออกฉายในช่วงกลางปี..
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและขุนรองปลัดชู (ภาพยนตร์)
ดนุพร ปุณณกันต์
นุพร ปุณณกันต์ (เกิด 3 กันยายน พ.ศ. 2514) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ และรองเลขาธิการพรรคเพื่อไทย กรรมการผู้จัดการบริษัททูทเวนตี้ทรี จำกัด เป็นอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีใน ครม.ทักษิณ 2 อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และเป็นอดีตนักแสดงที่มีชื่อเสียง.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและดนุพร ปุณณกันต์
คำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม
ำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม เอกสารจากหอหลวง เป็นเอกสารยุคปลายกรุงศรีอยุธยา สันนิษฐานว่าเขียนขึ้นราวรัชสมัยของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 หรือ พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ มีเนื้อหาเป็นเรื่องเรื่องเล่าจากความทรงจำ สันนิษฐานว่ารับการคัดลอกและเรียบเรียงจากต้นฉบับในหอหลวง เอกสารบรรยายสภาพกรุงศรีอยุธยาโดยละเอียด ข้อมูลเหล่านี้เมื่อสำรวจศึกษาพื้นที่แล้ว พบว่ามีคำถูกต้องแม่นยำ ในส่วนหลังของเอกสารบรรยายถึงโบราณราชประเพณี ได้แก่ ธรรมเนียมถือน้ำ พระราชพิธีลงสรงเจ้าฟ้า พิธีโสกันต์ ว่าด้วยเครื่องยศสำหรับศพ แบบอย่างการพระเมรุ ยังมีบรรยายถึงตำแหน่งยศพระราชาคณะฐานานุกรม มีตอนทีว่าด้วยพระพิไชยเสนา เป็นตำราสอนข้อความประพฤติของราชการ ตอนสุดท้ายเล่าเกี่ยวกับเหตุการณ์สมัยอยุธยาตอนหลาย ตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและช่วงต้นรัชกาลสมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์คำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม: เอกสารจากหอหลวง.นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช โครงการเลือกสรรหนังสือ, 2555.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและคำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม
ประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ต
ตราประจำจังหวัดภูเก็ต ประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ต เดิมคำว่า ภูเก็ต นั้นใช้คำว่า "ภูเก็จ" อันแปลว่าเมืองแก้ว ตรงกับความหมายเดิมซึ่งชาวทมิฬเรียก มณีคราม ตามหลักฐาน..
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ต
ประเทศไทยใน พ.ศ. 2339
หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2339 ในประเทศไท.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและประเทศไทยใน พ.ศ. 2339
นิราศสองภพ
นิราศสองภพ เป็นละครโทรทัศน์ไทยแนว ดราม่า-อิงประวัติศาสตร์ ถูกสร้างเป็นละครครั้งแรกทาง ช่อง 3 ในปี 2545 ผลิตโดย ผลิตโดย บริษัท บีอีซี เทโร เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำกัด และ บริษัท บางกอกการละคอน จำกัด สร้างจากบทประพันธ์ของ ฐา-นวดี สถิตยุทธการ, สุพล วิเชียรฉาย เขียนบทโทรทัศน์โดย สุพล วิเชียรฉาย, ปราณประมูล กำกับการแสดงโดย สุพล วิเชียรฉาย นำแสดงโดย รวิชญ์ เทิดวงส์, บงกช คงมาลัย, พศิน เรืองวุฒิ, ภูธฤทธิ์ พรหมบันดาล, ชนกวนันท์ รักชีพ ออกอากาศทุกวันจันทร์ - อังคาร เวลา 20.30 - 22.30 เริ่ม 14 ตุลาคม 2545 - 10 ธันวาคม 2545 ซึ่งเรื่องนี้ถือว่าได้รับความนิยมเป็นอย่างสูงพอๆ กับ เจ้ากรรมนายเวร ที่เป็นทีมผลิตเจ้าเดียวกัน.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและนิราศสองภพ
ไทยโยเดีย
วโยดายา หรือ ชาวอยุธยาในพม่า (โยดายา หลุ มฺโย) เป็นคำที่เรียกกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีบรรพบุรุษเป็นเป็นชาวไทยสยามจากอาณาจักรอยุธยา ซึ่งอพยพเข้ามาประเทศพม่า มีทั้งอพยพไปพึ่งพระบรมโพธิสมภารกษัตริย์พม่าโดยสมัครใจ บ้างก็เป็นเชลยซึ่งถูกกวาดต้อนเมื่อเกิดสงคราม เมื่อเวลาผ่านไปหลายศตวรรษ ชาวอยุธยาในพม่าค่อย ๆ ผสมปนเปไปกับสังคมพม่า บ้างก็โยกย้ายจากถิ่นฐานเดิม พวกเขาเลิกพูดภาษาไทยและหันไปพูดภาษาพม่า จนกระทั่งทิน มอง จี นักวิชาการชาวพม่าผู้มีเชื้อสายโยดายาเขียนบทความสั้นชื่อ "สุสานกษัตริย์ไทย" (A Thai King’s Tomb) ก่อนปี..
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและไทยโยเดีย
เพ็ญเพ็ชร เพ็ญกุล
็ญเพ็ชร เพ็ญกุล เกิดเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2517 เป็นนักแสดง นักร้องชาวไทย จบการศึกษาจากสถาบันราชภัฏสวนดุสิต คณะวิทยาการจัดการ เอกนิเทศศาสตร์ สาขาวิทยุโทรทัศน์ มีผลงานการแสดงทั้งละครและภาพยนตร์ เคยออกผลงานอัลบั้มเพลงชุด อีกหนึ่งแจ๊บ ในปี พ.ศ.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและเพ็ญเพ็ชร เพ็ญกุล
เจ้าฟ้าพินทวดี
้าฟ้าพินทวดี (พ.ศ. 2250 - พ.ศ. 2344) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 3 ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศกับกรมหลวงพิพิธมนตรี พระองค์ทรงเป็นเจ้านายในสมัยกรุงศรีอยุธยาเพียงไม่กี่พระองค์ที่มีพระชนมายุยืนยาวมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งพระองค์มีบทบาทสำคัญในการถ่ายทอดราชประเพณีในราชสำนักฝ่ายในตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาสู่ราชสำนักรัตนโกสินทร์ ทำให้ประเพณีโบราณไม่สูญหายไป.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและเจ้าฟ้าพินทวดี
เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์
กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ซึ่งมีพระนามเดิมว่า เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ หรือพระนามที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า เจ้าฟ้ากุ้ง เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและกรมหลวงอภัยนุชิต พระองค์มีพระปรีชาสามารถหลายด้าน โดยเฉพาะด้านวรรณกรรมนั้น ทรงพระนิพนธ์วรรณกรรมไว้หลายเรื่อง เช่น กาพย์เห่เรือ นันโทปนันทสูตรคำหลวง พระมาลัยคำหลวง เนื่องจากพระองค์ลักลอบเป็นชู้กับพระสนมของพระราชบิดาจึงต้องพระอาญาให้เฆี่ยน เป็นเหตุให้พระองค์เสด็จสวรรคตในที.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและเจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์
เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง โรจนกุล)
้าพระยาพิษณุโลก (พ.ศ. 2262 - พ.ศ. 2311) (เขียนแบบเก่า "เจ้าพระยาพิศณุโลก") เดิมชื่อ เรือง หรือ บุญเรือง เป็นเจ้าพระยามหานครผู้ครองหัวเมืองชั้นเอก เมืองพิษณุโลก และเป็นผู้ตั้งชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) หลังจากเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง มีราชทินนามขุนนางตามที่ปรากฏในทำเนียบพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหาร หัวเมือง..
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง โรจนกุล)
เจ้าพระยามหาเสนา (เสน)
้าพระยามหาเสนา (เสน) เป็นบุตรชายของเจ้าพระยาเพ็ชร์พิไชย (ใจ) สมุหนายกในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศซึ่งสืบเชื้อสายจากเจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด)ขุนนางคนสำคัญในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมและสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและเจ้าพระยามหาเสนา (เสน)
เจ้าสามกรม
้าสามกรม เป็นคำเรียกพระราชโอรส 3 พระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศที่ประสูติแต่พระสนม ได้แก่ กรมหมื่นจิตรสุนทร กรมหมื่นสุนทรเทพ และ กรมหมื่นเสพภักดี พระองค์เจ้าทั้ง 3 พระองค์เป็นพระราชโอรสที่มีพระชันษาเป็นผู้ใหญ่และมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเสด็จสวรรคตของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ (เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร) ภายหลังการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เจ้าสามกรมถูกสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ทั้ง 3 พระอง.
ดู สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและเจ้าสามกรม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ พระเจ้าอุทุมพรขุนหลวงหาวัดเจ้าฟ้าดอกเดื่อ