โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ดัชนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน ฉบับกาญจนาภิเษก,; สิ้นพระชนม์: 2 มกราคม พ.ศ. 2551 โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (หม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา) เป็นสมเด็จพระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นสมเด็จพระราชปิตุจฉาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีโครงการในพระอุปถัมภ์หลายร้อยโครงการ ทั้งด้านการศึกษา การสังคมสงเคราะห์ การแพทย์และการสาธารณสุข การต่างประเทศ การศาสนา และอื่น ๆ กับทั้งยังมีพระปรีชาสามารถด้านการเขียน ด้านการกีฬา และด้านการถ่ายภาพ พระองค์มีพระอาการผิดปกติเกี่ยวกับพระนาภี และได้เข้าประทับรักษาพระอาการประชวร ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช จนกระทั่งวันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551 พระอาการประชวรได้ทรุดลงตามลำดับ และสิ้นพระชนม์เมื่อเวลา 02:54 นาฬิกา สิริพระชนมายุ 84 พรรษ.

261 ความสัมพันธ์: บอย โกสิยพงษ์บางกอกโอเปร่าชิงร้อยชิงล้าน ชะช่ะช่าบุญเรือน ชุณหะวัณบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2551พ.ศ. 2466พ.ศ. 2488พ.ศ. 2517พ.ศ. 2525พ.ศ. 2551พระบรมราชสัญลักษณ์ประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาดนตรีพระพุทธรูปประจำพระชนมวารพระพี่นางพระมหาพิชัยราชรถพระยศเจ้านายไทยพระยานมาศสามลำคานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชพิธีทรงผนวชในรัชกาลที่ 9พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุบผชาติชลาพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามาลิศเสาวรสพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารำไพประภาพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัชพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยนเยี่ยมพยับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทรงศะศิคุณพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุชพระสัมพันธวงศ์เธอพระที่นั่งราเชนทรยานพระตำหนักกว๊านพะเยาพระตำหนักภูพิงคราชนิเวศน์พระตำหนักประทับแรมเขื่อนห้วยเสนงพระตำหนักเลอดิสพระตำหนักเอื้องเงินพระตำหนักเขื่อนห้วยหลวงพระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์พระโกศทองใหญ่พระเมรุมาศพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภชพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านพวงศ์ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส...พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์วัฒนเดชพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีทางภาพพิธีพระราชทานกระบี่พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยากัญภัส ศรีณรงค์ ชยานุวัฒน์กัลยาณิวัฒนากันภัยมหิดลการลดธงครึ่งเสาการสิ้นพระชนม์ของพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีการเล่นกีฬาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชการเตรียมงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์การเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชการเฉลิมพระยศเจ้านายกุฎีเจริญพาศน์มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์นมหาวิทยาลัยมหิดลมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์มหาวิทยาลัยโลซานมิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2551มูลนิธิขาเทียมในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีมูลนิธิแพทย์อาสาสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีมนูญ ลีเชวงวงศ์ยกสยามปี 1รักแห่งสยามราชวงศ์จักรีราชสกุลราชสกุลมหิดลราชสกุลวงศ์ในราชวงศ์จักรีรายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทยรายชื่อผลงานของธงไชย แมคอินไตย์รายชื่อผลงานของเขมนิจ จามิกรณ์รายชื่อผลงานเพลงของธงไชย แมคอินไตย์รายชื่อตอนในเชลล์ดอนรายชื่อตอนในเป็นต่อรายชื่อเครื่องบินพระที่นั่งในพระบรมวงศานุวงศ์ไทยรายพระนามพระกุลเชษฐ์ในราชวงศ์จักรีรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ป.ภ.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน น.ร.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้ารายพระนามและรายนามผู้ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยขอนแก่นรายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรีรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์รายการเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศของพระราชวงศ์ไทยแยกตามประเทศรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรางวัลนราธิปราตรี ศรีวิไลริ้วขบวนในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ลอมพอกลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหารวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารวัดราชผาติการามวรวิหารวัดธาตุทองวัดโกรกกรากวังสระปทุมวิลล่าวัฒนาวิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัยรังสิตวีทรีโอศิรินทิพย์ หาญประดิษฐ์ศูนย์การบินทหารบกสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวีสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัยสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารีสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินีสยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ชุมพรสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ พระนครศรีอยุธยาสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ พังงาสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ พิจิตรสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรีสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ดสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ศรีสะเกษสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ สกลนครสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ฉะเชิงเทราสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ปัตตานีสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ นนทบุรีสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ เชียงรายสวนสมเด็จเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาสำนักข่าวไทยสิบสาม (สุนัข)สินธู ศรสงครามสุมณีนงเยาว์ วินิจฉัยกุลสุริยนันทนา สุจริตกุลสุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์สุนัขทรงเลี้ยงสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวีสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทหม่อมชลิตา ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยาหม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยาหม่อมเจ้าพัฒนายุคุณวรรณ ดิศกุลหม่อมเจ้าพงษ์พิศมัย เกษมสันต์หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์หม่อมเจ้ากฤษณาพักตรพิมล ศุขสวัสดิหม่อมเจ้ากุสุมา เกษมสันต์หม่อมเจ้ายาใจ จิตรพงศ์หม่อมเจ้าสวาสดิ์วัฒโนดม ประวิตรหม่อมเจ้าอมรสมานลักษณ์ กิติยากรหม่อมเจ้าอรชุนชิษณุ สวัสดิวัตน์หม่อมเจ้าอาชวดิศ ดิศกุลหม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคลหม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุลหม่อมเจ้าทองคำเปลว ทองใหญ่หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์หม่อมเจ้าปุสาณ สวัสดิวัตน์หม่อมเจ้านวพรรษ์ ยุคลหม่อมเจ้านนทิยาวัด สวัสดิวัตน์หม่อมเจ้าโสภณภราไดย สวัสดิวัตน์หม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุลหม่อมเจ้าเพลารถ จิตรพงศ์หลวงจีนวิศวภัทร มณีปัทมเกตุหะริน หงสกุลอรอำไพ โกมารกุล ณ นครอริยา ศรีณรงค์อร่าม รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์อัครวัฒน์ ศรีณรงค์อาวุธ เงินชูกลิ่นอาศิส พิทักษ์คุมพลอาเซียนพาราเกมส์ 2008อำเภอกัลยาณิวัฒนาจรัส สุวรรณเวลาจรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์จิทัศ ศรสงครามจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยธงชาติไทยธงพระอิสริยยศในประเทศไทยธงทอง จันทรางศุธงประจำพระองค์ธงไชย แมคอินไตย์ธงไชยเฉลิมพลถนนนราธิวาสราชนครินทร์ทรูเฮฮาทฤษฎี ณ พัทลุงทัศนาวลัย ศรสงครามทนงศักดิ์ ศุภการท็อปอวอร์ด 2007ท้องสนามหลวงท้าวอินทรสุริยา (เนื่อง จินตดุล)ท้าวนางณัฐภัสสร สิมะเสถียรณัฐนิช รัตนเสรีเกียรติดอกแก้วกัลยาดาราศาสตร์และฟิสิกส์ดาราศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศดนัย จันทร์เจ้าฉายคริสตี กิบสันความสัมพันธ์เกาหลีเหนือ–ไทยความจริงวันนี้คุณพุ่ม เจนเซนคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61ตลก 6 ฉากประโคมเพลง ประเลงถวายประเทศอียิปต์ประเทศไทยใน พ.ศ. 2551ปูพระพี่นางนราธิวาสราชนครินทร์นาฏยศาลา หุ่นละครเล็กนิติพงษ์ ห่อนาคแสงหนึ่งคือรุ้งงามโกศโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวรโรงพยาบาลศิริราชโรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์นโรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลาโรงเรียนวัฒโนทัยพายัพโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาโทรทัศน์ประเทศไทยใน ค.ศ. 2008ไทยเชื้อสายเปอร์เซียไตรทิพย์สุดา วิเศษกุลเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเกษมเสาวภา ซัคกาเรียเมย์เมนูไข่เริงจิตร์แจรง อาภากรเรือนยอดบรมมังคลานุสรณีย์เหรียญพิทักษ์เสรีชนเจ้าระวีพันธุ์ สุจริตกุลเทศบาลเมืองศรีสะเกษเทศกาลดนตรีพัทยาเขื่อนห้วยเสนงเขตวัฒนาเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์11 พฤศจิกายน14 พฤศจิกายน15 พฤศจิกายน2 มกราคม6 พฤษภาคม6 สิงหาคม ขยายดัชนี (211 มากกว่า) »

บอย โกสิยพงษ์

อย โกสิยพงษ์ (5 กันยายน พ.ศ. 2510 —) ชื่อจริง ชีวิน โกสิยพงษ์ เป็นนักแต่งเพลง นักร้อง และโปรดิวเซอร์ผลิตเพลงแนว R&B อดีตผู้บริหารค่ายเพลง เบเกอรี่มิวสิค ปัจจุบันเป็นผู้บริหารค่ายเพลงเลิฟอีส ในต้นเดือนเมษายน พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และบอย โกสิยพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

บางกอกโอเปร่า

อุปรากรร่วมสมัย'''แม่นาก'''โดยบางกอกโอเปร่า อุปรากรร่วมสมัย'''ไอดา(Aida)''' โดยบางกอกโอเปร่า บางกอกโอเปร่า หรือ อุปรากรกรุงเทพฯ (Bangkok Opera) เดิมคือมูลนิธิอุปรากรกรุงเทพฯ ก่อตั้งโดยสมเถา สุจริตกุล ภายใต้การอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ โดยสมเถามักจะเป็นผู้ประพันธ์ดนตรี-เนื้อร้อง ทำหน้าที่วาทยากรอำนวยเพลง อุปรากรกรุงเทพฯ ยังเป็นผู้สนับสนุนนักประพันธ์ดนตรีและวาทยากรรุ่นเยาว์ ชื่อทฤษฎี ณ พัทลุง มีกลุ่มดนตรีคลาสสิกประจำ คือ วงดุริยางค์สยามฟิลฮาร์โมนิก (Siam Philharmonic Orchestra) และนักร้องประสานเสียงกลุ่มออเฟียสชอยร์คอรัส กรุงเทพฯ (Orpheus Choir of Bangkok) ผลงานที่เป็นที่สนใจ ได้แก่ อุปรากรไอดา, อุปรากรแม่นาก, อุปรากรอโยธยา ดนตรีคลาสสิกจากวงดุริยางค์สยามฟิลฮาโมนิคออเคสตร้.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และบางกอกโอเปร่า · ดูเพิ่มเติม »

ชิงร้อยชิงล้าน ชะช่ะช่า

งร้อยชิงล้าน ชะชะช่า เป็นรายการเกมโชว์ที่ปรับเปลี่ยนรูปแบบมาจากรายการ ชิงร้อยชิงล้าน ซูเปอร์เกม โดยออกอากาศครั้งแรกทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เมื่อวันพุธที่ 4 มีนาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และชิงร้อยชิงล้าน ชะช่ะช่า · ดูเพิ่มเติม »

บุญเรือน ชุณหะวัณ

ท่านผู้หญิงบุญเรือน ชุณหะวัณ (สกุลเดิม: โสพจน์; เกิดราว พ.ศ. 2462) เป็นภริยาของ พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ นายกรัฐมนตรีคนที่ 17 ของประเทศไทย และเป็นพระญาติฝ่ายพระชนนีในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และบุญเรือน ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2551

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2466

ทธศักราช 2466 ตรงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพ.ศ. 2466 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2517

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพ.ศ. 2517 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมราชสัญลักษณ์ประจำรัชกาล

ระบรมราชสัญลักษณ์ทั้ง 9 รัชกาลนี้ ประดิษฐานบนบุษบก แต่เดิมเรียกว่า “บุษบกตราแผ่นดิน” นั้น มี 3 บุษบก ตั้งอยู่บนไพธี ด้านตะวันตกเฉียงเหนือของพระมณฑป 1 ด้านตะวันออกเฉียงใต้ 1 และด้านด้านตะวันตกเฉียงใต้ 1 พระบุษบกทั้ง 3 องค์ ตั้งอยู่บนฐานหินอ่อนรูปสี่เหลี่ยม รอบฐานทั้ง 4 ด้านมีรูปช้างที่สำคัญที่คู่พระบุญญาธิการของพระมหากษัตริย์แต่ละรัชกาล แสดงให้เห็นว่า ในรัชกาลใดทรงได้ช้างสำคัญคู่พระบารมีกี่เชือกด้วย บุษบกทั้ง 3 องค์นี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเป็นเครื่องแสดงถึงพระบรมราชศรัทธาในพระบวรพุทธศาสนาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทั้ง 5 รัชกาล จึงได้ทรงสร้างพระบรมราชสัญลักษณ์ของพระองค์ไว้เป็นพุทธบูชา ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระบรมราชสัญลักษณ์ประจำรัชกาล · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาดนตรี

ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาดนตรี เป็นบทความที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระนิพนธ์ไว้เมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาดนตรี · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธรูปประจำพระชนมวาร

มเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนฯในงานฉลองพระอัฐิ พระพุทธรูปประจำพระชนมวาร เป็นพระพุทธรูปที่พระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์มีพระราชศรัทธาสร้างขึ้นประจำพระองค์หรือสร้างถวายพระบรมราชบุพการี ในวาระโอกาสสำคัญต่างๆ อาทิ การเฉลิมพระชนมพรรษา การฉลองพระประสูติการ ฯลฯ โดยพระพุทธรูปประจำพระชนมวารส่วนใหญ่ มักจะเป็นพระพุทธรูปประจำวันพระราชสมภพหรือวันประสูติของพระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์พระองค์นั้นๆ ดังนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระพุทธรูปประจำพระชนมวาร · ดูเพิ่มเติม »

พระพี่นาง

ระพี่นาง ในปัจจุบันสามารถหมายถึง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระพี่นาง · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาพิชัยราชรถ

ระมหาพิชัยราชรถ เป็นราชรถที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระมหาพิชัยราชรถ · ดูเพิ่มเติม »

พระยศเจ้านายไทย

ในประเทศไทย พระยศเจ้านาย คือพระอิสริยยศของพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระยศเจ้านายไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระยานมาศสามลำคาน

ระยานมาศสามลำคาน เป็นคานหามขนาดใหญ่ กลางตั้งแท่นทำด้วยไม้สลักปิดทองประดับกระจกสี มีพนักโดยรอบ 3 ด้าน และมีคานหาม 3 คาน จึงเรียกว่า พระยานมาศสามลำคาน ลักษณะเป็นแท่นซ้อนลด 4 ชั้น ย่อมุมไม้สิบสอง ชั้นบนสุดทำเป็นแผงราชวัตรจำหลักลายประดับกระจกกั้น เว้นช่องที่ส่วนหน้าและส่วนหลัง และมีมุขยื่นออกมา ฐานชั้นที่ 3 ประดับรูปครุฑแกะสลักโดยรอบ 38 ตัว ชั้นที่ 4 ประดับเทพนม 26 องค์ ตัวแท่นยานมาศตั้งยึดติดกับลำคานทั้ง 3 บนยานมีแผ่นไม้ขนาดใหญ่รูปแปดเหลี่ยมพร้อมขอเกี่ยว 4 ตัว ติดไว้ พื้นไม้ด้านบนทาสีแดง รอบข้างสลักลายปิดทอง เป็นที่สำหรับตั้งพระโกศให้มั่นคง คานทั้ง 3 เป็นไม้กลึงกลมทาสีแดง สร้างจากไม้เนื้อแข็งจำนวนสามลำ ปลายสลักเป็นหัวเม็ดปิดทองประดับกระจกสี ใช้พนักงานหาม 60 คน เวลาหามจริงใช้คน 2 ผลัด พระยานมาศสามลำคานองค์แรกสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 2 แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เพื่อใช้อัญเชิญพระบรมโกศทรงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เป็นครั้งแรก.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระยานมาศสามลำคาน · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

แบบร่างพระเมรุ พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นพระราชพิธีที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รัฐบาลไทยจัดขึ้นเพื่อแสดงความจงรักภักดีและถวายความอาลัยแด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ โดยรัฐบาลกำหนดวันพระราชพิธีฯ ระหว่างวันที่ 14-19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นพระราชพิธีที่รัฐบาลไทยจัดขึ้นเพื่อแสดงความอาลัยเป็นครั้งสุดท้าย ภายหลังการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จัดขึ้น ณ พระเมรุมาศ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง ระหว่างวันที่ 25 – 29 ตุลาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีทรงผนวชในรัชกาลที่ 9

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเป็นพุทธศาสนิกชนที่มีพระราชศรัทธาในพระพุทธศาสนาเป็นที่ยิ่ง เมื่อ พ.ศ. 2499 มีพระราชประสงค์ที่จะทรงผนวชในพระบวรพุทธศาสนาตามโบราณราชประเพณี จอมพลแปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ได้กราบบังคมทูลพระกรุณาขอรับพระราชภาระสนองพระเดชพระคุณในการทรงผนวชในนามของรัฐบาลและประชาชนชาวไทย และได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้แต่งตั้งสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ด้วยความเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงผนวชในพระบวรพุทธศาสนาเป็นเวลา 15 วัน ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499 ดังตามลำดับเหตุการณ์ในระหว่างทรงประทับพระผนวช ดังนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระราชพิธีทรงผนวชในรัชกาลที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

นี่คือพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระราชโอรสและพระร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

นี่คือ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระราชโอรส พระราชธิดา และพระราชนั.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุบผชาติชลา

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงบุบผชาติชลา(พ.ศ. 2428 - พ.ศ. 2448) เป็นพระธิดาในสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ กับ หม่อมเผื่อน จักรพันธุ์ ประสูติเมื่อปีระกา พ.ศ. 2428 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 26 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุบผชาติชลา · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช

ร้อยเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช หรือ พระองค์พีระ (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 — 23 ธันวาคม พ.ศ. 2528) ทรงเป็นนักแข่งรถชาวไทย และทรงเป็นผู้เข้าแข่งขันกีฬาเรือใบในโอลิมปิก 1956, 1960, 1964 และ 1972.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามาลิศเสาวรส

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามาลิศเสาวรส (พระนามเดิม: หม่อมเจ้ามาลิศเสาวรส จักรพันธุ์; 18 ธันวาคม พ.ศ. 2426 — 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514).

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามาลิศเสาวรส · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารำไพประภา

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารำไพประภา เป็นพระธิดาใน สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช กับหม่อมเล็ก ยงใจยุทธ ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2450 ปีมะแม พระอิสริยยศเมื่อแรกประสูติเป็นหม่อมเจ้า พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าสถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารำไพประภา · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัช

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัช หรือพระนามเดิม หม่อมเจ้าวรานนท์ธวัช จุฑาธุช พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย ที่ประสูติแต่หม่อมระวี จุฑาธุช ณ อยุธยา (ไกยานนท์) ประสูติเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2465 มีพระเชษฐภคินีต่างมารดา 1 พระองค์ คือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงสุทธสิริโสภา (16 ธันวาคม 2463-2541) ทั้งสองพระองค์ได้รับการเฉลิมพระยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัช · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยนเยี่ยมพยับ

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยนเยี่ยมพยับ เป็นพระโอรสในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ประสูติแต่หม่อมสุ่น ปักษีวง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยนเยี่ยมพยับ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทรงศะศิคุณ

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงทรงศะศิคุณ (พ.ศ. 2422 - พ.ศ. 2438) เป็นพระธิดาในสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ กับ หม่อมทับทิม จักรพันธุ์ ประสูติเมื่อเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทรงศะศิคุณ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ (17 เมษายน พ.ศ. 2423 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509) อดีตเจ้ากรมบัญชาการกรมราชเลขาธิการ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช (พฤศจิกายน พ.ศ. 2422 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2455) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ กับหม่อมเอม จักรพันธุ์ ประสูติเมื่อเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช · ดูเพิ่มเติม »

พระสัมพันธวงศ์เธอ

ระสัมพันธวงศ์เธอ คำนำพระนามพระโอรส พระธิดา ในกรมพระราชวังบวรสถานภิมุข และ ในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ รัชกาลที่ 1 พระโอรส พระธิดา ในกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข หรือที่เรียกกันว่า กรมพระราชวังหลัง และพระราชโอรส พระราชธิดาสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอในรัชกาลที่ 1 นั้น แต่เดิมในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกยังทรงครองราชย์อยู่ ก็ใช้คำนำพระนามว่า “สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ” หรือ “พระเจ้าหลานเธอ” ตามพระเกียรติยศเช่นเดียวกับพระโอรส พระธิดา ในกรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่ในรัชกาลที่ 2 และที่ 3 ไม่ปรากฏว่ามีการใช้คำนำหน้าพระนามพระราชวงศ์ชั้นนี้ ต่อมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ได้ทรงบัญญัติให้ใช้คำว่า "สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ" และ “พระสัมพันธวงศ์เธอ” ให้เป็นคำนำพระนาม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงบัญญัติคำว่า "พระประพันธวงศ์เธอ" สำหรับพระโอรสธิดาในกรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ ซึ่งเป็นพระอนุชาและพระขนิษฐภคินีในสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี ภายหลังเมื่อพระโอรสธิดาในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอในรัชกาลที่ 1 และพระโอรสธิดาในกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขสิ้นพระชนม์ทุกพระองค์แล้ว จึงโปรดให้นำคำนำพระนาม "พระสัมพันธวงศ์เธอ" มาใช้กับพระโอรสธิดาในกรมหมื่นมาตยาพิทักษ์แทน "พระประพันธวงศ์เธอ" เมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระสัมพันธวงศ์เธอ · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งราเชนทรยาน

ระที่นั่งราเชนทรยาน เป็นพระที่นั่งที่สร้างขึ้นโดยช่างหลวงในสมัยรัชกาลที่ 1 เป็นทรงบุษบกย่อมุมไม้สิบสอง หลังคาซ้อน 5 ชั้น สร้างจากไม้แกะสลักลงรักปิดทองประดับกระจก พนักพิงและกระจังปฏิญาณแกะสลักเป็นภาพเทพพนมไว้ตรงกลาง ครุฑยุดนาคซึ่งประดับที่ฐานที่ 14 ตัว มีคานสำหรับหาม 4 คาน แต่เวลาปกติจะคงคานประจำไว้ 2 คาน การประทับจะต้องนั่งห้อยพระบาท ความสูงจากฐานถึงยอดสูง ราว 4.15 เมตร กว้าง 103 ซม.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระที่นั่งราเชนทรยาน · ดูเพิ่มเติม »

พระตำหนักกว๊านพะเยา

ระตำหนักกว๊านพะเยา ตั้งอยู่ภายในศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดพะเยาก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระตำหนักกว๊านพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

พระตำหนักภูพิงคราชนิเวศน์

ระตำหนักภูพิงคราชนิเวศน์ในยามค่ำคืน พระตำหนักแห่งนี้ตั้งอยู่บนดอยบวกห้า ตำบลสุเทพ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ความสูงจากระดับน้ำทะเล ๑,๓๗๓.๑๙๗ เมตร ในเนื้อที่โดยรอบประมาณ 284 ไร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระตำหนักภูพิงคราชนิเวศน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระตำหนักประทับแรมเขื่อนห้วยเสนง

ระตำหนักประทับแรมเขื่อนห้วยเสนง ตั้งอยูในบริเวณเขตพระราชฐานชั้นในของที่ทำการเขื่อนห้วยเสนง อยู่ในเขตอำเภอเมืองสุรินทร์ และอำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ อยู่ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 7 กิโลเมตร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระตำหนักประทับแรมเขื่อนห้วยเสนง · ดูเพิ่มเติม »

พระตำหนักเลอดิส

วังเลอดิส ซอยแสงมุกดา, อาคาร 6 ชั้น ทางขวามือ คือ วิลลา วัฒนา ซอยงามดูพลี พระตำหนักเลอดิส (Le Dix Palace) เป็นพระตำหนักที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ตั้งอยู่เลขที่ 10 ซอยแสงมุกดา ถนนสุขุมวิท 43 เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร (Le Dix แปลว่า บ้านเลขที่ 10 ในภาษาฝรั่งเศส) สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ ทรงย้ายมาประทับที่นี่ ตั้งแต่ พ.ศ. 2523, มติชน, 8 มกราคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระตำหนักเลอดิส · ดูเพิ่มเติม »

พระตำหนักเอื้องเงิน

ระตำหนักเอื้องเงิน ตั้งอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติห้วยน้ำดัง อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นอาคารทรงชาเลย์ที่กรมป่าไม้ได้สร้างถวายสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระราชทานนามว่า "พระตำหนักเอื้องเงิน" พระตำหนักเอื้องเงินตั้งอยู่บริเวณดอยกิ่วลม ภูมิทัศน์รอบพระตำหนักมีพันธุ์พืชประจำถิ่นกล้วยไม้ "เอื้องเงินหลวง" ที่ออกดอกสะพรั่งในช่วงเดือนมกราคม และยังมีไม้ดอกไม้ประดับที่เป็นพืชเมืองหนาวที่หลากหลายพันธุ์และหลากสีสัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระตำหนักเอื้องเงิน · ดูเพิ่มเติม »

พระตำหนักเขื่อนห้วยหลวง

ระตำหนักเขื่อนห้วยหลวง เป็นพระตำหนักที่ประทับในเขื่อนห้วยหลวง อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระตำหนักเขื่อนห้วยหลวง · ดูเพิ่มเติม »

พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราสัญลักษณ์ประจำพระองค์ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ มีพระปรีชาสามารถด้านการเขียน ได้ทรงริเริ่มออกวารสาร "รื่นรมย์" โดยได้ชักชวนให้พระสหายในวังสระปทุมเขียนเรื่อง ตั้งแต่พระชนมายุประมาณ 9 ชันษา ทรงทำหน้าที่บรรณาธิการและทรงเขียนบทความลงวารสารด้วย หลังจากนั้น ทรงนิพนธ์หนังสืออีกหลายเล่ม ดังนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระโกศทองใหญ่

ระโกศทองใหญ่ รัชกาลที่ 5 ในงานพระบรมศพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระโกศทองใหญ่ ทรงพระศพสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ขณะประดิษฐานบนพระมหาพิชัยราชรถในพระราชพิธีเชิญพระโกศทรงพระศพออกพระเมรุ พระโกศทองใหญ่ หรือ พระลองทองใหญ่ เป็นพระโกศสำหรับทรงพระบรมศพของพระมหากษัตริย์และพระศพของพระบรมวงศ์ชั้นสูง สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช นับเป็นพระโกศที่มีลำดับยศสูงที่สุด โดยได้ใช้ทรงพระศพของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงศรีสุนทรเทพเป็นพระองค์แรก (แต่ในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์รัชกาลที่ 1 ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ ฉบับตัวเขียน ระบุว่าพระศพสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงศรีสุนทรเทพนั้น ใช้พระโกศไม้สิบสอง และเมื่อเสร็จการพระศพจึงลอกทองที่หุ้มพระโกศไม้สิบสองมาหุ้มทำพระโกศทองใหญ่และทรงพระบรมศพของรัชกาลที่ 1 เป็นพระองค์แรก) พระโกศทองใหญ่ใช้ทรงพระศพของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีเป็นพระองค์ล่าสุด นอกจากนี้ พระโกศทองใหญ่ยังใช้เป็นเครื่องประกอบพระอิสริยยศพระศพสำหรับพระบรมวงศานุวงศ์ที่บรรจุพระบรมศพและพระศพลงในหีบพระศพแทนการลงพระโกศ เช่น พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระโกศทองใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

พระเมรุมาศ

ระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระเมรุมาศ และพระเมรุ คือ สถาปัตยกรรมชั่วคราว หรือสถาปัตยกรรมเฉพาะกิจที่สร้างขึ้น ณ ใจกลางเมือง เพื่อใช้ในพระราชพิธีพระบรมศพหรือพระราชพิธีพระศพโดยเฉพาะ มีลักษณะเป็น "กุฎาคาร หรือ เรือนยอด" คือเรือนซึ่งหลังคาต่อเป็นยอดแหลม โดยในอดีตนิยมสร้างเป็นแบบ ยอดปรางค์ อาจมีพรหมพักตร์หรือไม่มีก็ได้ พระเมรุมาศ เป็นพระเมรุขนาดสูงใหญ่ ใช้ในพระราชพิธีพระบรมศพ พระมหากษัตริย์ พระอัครมเหสี พระบรมราชินี พระราชชนนี พระบวรราชเจ้า พระยุพราช สำหรับการตายที่ใช้ราชาศัพท์ว่าสวรรคต ภายในพระเมรุมาศมี “พระเมรุทอง” ลักษณะของพระเมรุมาศที่ปรากฏการสร้างมี 2 รูปแบบคือพระเมรุมาศทรงปราสาท ที่สร้างมาแต่โบราณ มีขนาดใหญ่โตมโหฬาร และพระเมรุมาศทรงบุษบก ส่วนพระเมรุ เช่นเดียวกับพระเมรุมาศ แต่มีขนาดเล็กลง และไม่มีพระเมรุทองภายใน ใช้สำหรับราชวงศ์ที่ทรงฐานานุศักดิ์ใช้ราชาศัพท์ว่า “ทิวงคต” หรือ “สิ้นพระชนม์” การออกแบบสถาปัตยกรรมพระเมรุมาศ พระเมรุ ต้องอาศัยการสร้างสรรค์ออกแบบจากผู้รอบรู้เจนจบงานศิลปกรรมของชาติ ช่างที่ได้รับการถ่ายทอดวิชาความรู้จากครูบาอาจารย์ทั้งงานออกแบบรูปลักษณ์ ก่อสร้างอาคาร การคิดลวดลายขึ้นประดิษฐ์ตกแต่งทุกส่วนให้เข้ากับอาคาร โดยมีหลักเกณฑ์ที่คำนึงถึงว่าพระเมรุมาศของพระองค์ใด ที่แสดงลักษณะของพระองค์นั้น ภายหลังจากการถวายพระเพลิงแล้ว ชิ้นส่วนประกอบต่าง ๆ ของพระเมรุที่ถูกรื้อถอนบางส่วนจะนำไปถวายวัด เพื่อเป็นการกุศลแด่ผู้วายชนม.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระเมรุมาศ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร (25 มิถุนายน พ.ศ. 2434 - 15 ธันวาคม พ.ศ. 2525) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับ เจ้าจอมมารดาพร้อม ประสูติเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2434 ลำดับพระองค์ที่ 68 เป็นพระขนิษฐาของพระองค์หญิงแฝดพระองค์ที่ 50, 51 และ 59 ในสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร

ลเอก พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร (ประสูติ: 5 ธันวาคม พ.ศ. 2426 — สิ้นพระชนม์: 18 ตุลาคม พ.ศ. 2490) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาทับทิม เป็นต้นราชสกุลวุฒิชัย ณ อยุธยา พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ เสด็จเข้ารับการศึกษาในยุโรป ในคราวที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสยุโรปครั้งแรก เมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช (15 ตุลาคม พ.ศ. 2436 — 20 กันยายน พ.ศ. 2452) เป็นพระราชบุตรพระองค์ที่ 95 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเลื่อน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี

มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี พระนามเดิม พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม เป็นพระราชโอรสลำดับที่ ๑๕ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแช่ม (กัลยาณมิตร) บุตรีพระยามหาอำมาตย์ (ชื่น) เมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านพวงศ์ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส หรือ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้านพวงศ์ วรองค์อรรคมหามกุฎ ปรมุตมราโชรส เป็นพระราชโอรสพระองค์แรกในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งประสูติแต่เจ้าจอมมารดาน้อย (ธิดาพระอินทรอำไพ (สมเด็จเจ้าฟ้าทัศไภย) พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี) ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 4 แรม 10 ค่ำ ปีมะเมียจัตวาศก..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านพวงศ์ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์วัฒนเดช

นายร้อยตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์วัฒนเดช ประสูติเมื่อวันศุกร์ที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2432 ปีฉลู พระอิสริยยศเมื่อแรกประสูติเป็นหม่อมเจ้า เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช กับหม่อมแม้น บุนนาค สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2452 ขณะศึกษาวิชาทหารที่ประเทศเยอรมัน พระชันษา 20 ปี มีพระเชษฐาและพระกนิษฐาร่วมพระมารดา คือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์วัฒนเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ

ระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2527) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กับนาวาอากาศเอก วีระยุทธ ดิษยะศริน เป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระภาคิไนยในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีทางภาพ

ัณฑ์เทคโนโลยีทางภาพ เป็นพิพิธภัณฑ์เกี่ยวกับเทคโนโลยีภาพถ่ายและการพิมพ์ ตั้งอยู่ที่ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางภาพถ่ายและเทคโนโลยีทางการพิมพ์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นับเป็นพิพิธภัณฑ์แห่งแรกของประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียที่จัดแสดงกล้องถ่ายภาพ ภาพถ่าย การพิมพ์และเทคโนโลยีทางภาพอื่น ๆ เป็นการเฉพาะและครบวงจร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีทางภาพ · ดูเพิ่มเติม »

พิธีพระราชทานกระบี่

ีพระราชทานกระบี่ เป็นพิธีที่พระมหากษัตริย์ผู้ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย พระราชทานกระบี่แก่ว่าที่ร้อยตรี ว่าที่เรือตรี ว่าที่เรืออากาศตรี และว่าที่ร้อยตำรวจตรี ผู้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า โรงเรียนนายเรือ สถานศึกษาทางการทหารในต่างประเทศ และโรงเรียนนายร้อยตำรวจ ตามลำดับ อันหมายถึงการสำเร็จการศึกษาโดยสมบูรณ์ของเหล่าทหาร-ตำรวจ พร้อมที่จะปฏิบัติหน้าที่เพื่อปกป้องประเทศชาติต่อไป พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดำเนินพระราชทานกระบี่ด้วยพระองค์เองทุกปีจนถึง..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพิธีพระราชทานกระบี่ · ดูเพิ่มเติม »

พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา

ตราจารย์ ท่านผู้หญิง พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม ไกรยง) (12 ตุลาคม พ.ศ. 2453 - 23 ตุลาคม พ.ศ. 2558) เป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เกิดในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรีของนายฮันส์ ไกรเยอร์ นักธุรกิจชาวเยอรมันและนางเจียม ไกรยง ข้าหลวงในพระราชวังสวนสุนันทา ขณะอายุ 3 ปีครึ่ง บิดามารดาได้นำไปถวายตัวกับสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง ได้รับพระราชทานชื่อ “พูนทรัพย์” แต่เนื่องจากยังเล็กมาก จึงทรงฝากให้สมเด็จเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ทรงเลี้ยงดูไปก่อน โดยโปรดให้นอนหน้าพระแท่นบรรทม จากนั้นได้เจริญวัยอยู่ในพระราชวังพญาไท เป็นเวลานานถึง 20 ปี และด้วยการอุปการะเลี้ยงดูอย่างดี ทำให้ท่านเป็นผู้ที่มีกิริยาวาจา เรียบร้อย สง่างาม ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ มีแววเฉลียวฉลาดตั้งแต่วัยเด็ก สมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร จึงทรงสนับสนุนให้ได้เรียนที่โรงเรียนราชินี เมื่อจบการศึกษาแล้ว ได้เข้าเรียนต่อในคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยสำเร็จเป็นอักษรศาสตร์บัณฑิตรุ่นแรก และได้รับราชการในสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ต่อมาได้รับทุนบาเบอร์ประเทศสหรัฐอเมริกาไปศึกษาต่อด้านจิตวิทยาการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมิชิแกน แล้วจึงโอนมารับราชการเป็นอาจารย์ประจำที่ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นอกจากนี้แล้วยังเป็นผู้ก่อตั้งทุนธนชาต และธนาคารนครหลวงไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

กัญภัส ศรีณรงค์ ชยานุวัฒน์

กัญภัส ศรีณรงค์ เป็นนักเรียนทุนดนตรีคลาสสิกในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ฝึกฝนดนตรีด้วยการเริ่มเล่นเปียโนมาตั้งแต่อายุ 3 ขวบ ต่อมาจึงเริ่มหัดเล่นไวโอลิน และเริ่มสนใจการเล่นเชลโล่อย่างจริงจังเมื่ออายุ 14 ปี เกิดเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2525 มีพี่น้อง 3 คน อุทัยศรีเป็นคนที่ 2 และปัจจุบันออกอัลบั้มกับค่าย Exact ในนามของ "Vietrio" พี่น้องทั้ง 3 คนของครอบครัวศรีณรงค์ ชีวิตส่วนตัวได้สมรสกับแฟนหนุ่มนักธุรกิจ "แชมป์ - นพพล ชยานุวัฒน์" เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2558 ณ โรงแรมพลาซ่า แอทธินี รอยัล เมอริเดียน หลังจากคบหาดูใจกันมานาน 5 ปี.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และกัญภัส ศรีณรงค์ ชยานุวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

กัลยาณิวัฒนา

ำสำคัญ "กัลยาณิวัฒนา" สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และกัลยาณิวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

กันภัยมหิดล

กันภัยมหิดล หรือ กันภัย เป็นชื่อไม้เถาชนิด Afgekia mahidolae Burtt et Chermsir.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และกันภัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

การลดธงครึ่งเสา

การลดธงชาติไทยครึ่งเสา เพื่อถวายอาลัยสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ที่ศูนย์ประชุมกาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยขอนแก่น การลดธงครึ่งเสา (half-staff, half-mast) หมายถึง การชักธงขึ้นที่เสาธงใดๆ เพียง 1 ใน 3 หรือ 2 ใน 3 ของความยาวเสาธงหรือเสาธงเรือ (ขึ้นอยู่กับกรณีตามที่แต่ละประเทศกำหนด) เพื่อเป็นเครื่องหมายแสดงความเคารพหรือการไว้ทุกข์ ต่อผู้ตาย ซึ่งเป็นบุคคลสำคัญ ธรรมเนียมการชักธงเพียงครึ่งเสาเริ่มต้นขึ้นเมื่อหลายศตวรรษก่อน เพื่อให้ธงแห่งความตายที่มองไม่เห็น (the invisible flag of death) ได้ชักอยู่บนยอดเสาธงนั้น อันหมายความถึงพลังอำนาจ การมีอยู่ และการปรากฏของความตาย สำหรับวิธีการลดธงครึ่งเสานั้น จะต้องเชิญธงขึ้นไปสู่ยอดเสาเสียก่อน จากนั้นจึงลดธงลงมาอยู่ในระดับครึ่งเสา (ตามระเบียบ นร.ได้กำหนดให้ลดลงจากยอดเสาเพียง ๑ ใน ๓ ของความสูงเสา หรืออีกนัยหนึ่ง ธงจะอยู่ที่ความสูง ๒ ใน ๓ ส่วน ของความสูงเสาธง) หรือตามระดับอื่นที่กำหนดไว้ในกฎหมาย นอกจากนั้น เมื่อจะมีการเชิญธงจากยอดเสาในเวลาสิ้นสุดของวัน จะต้องเชิญธงกลับขึ้นไปที่ยอดเสาเสียก่อน จึงจะลดธงได้เช่นกัน การไว้ทุกข์ด้วยธงชาติสำหรับบางประเทศยังอาจมีธรรมเนียมที่ต่างออกไป เช่น ในกรณีของประเทศญี่ปุ่น จะมีการเพิ่มแถบผ้าสีดำไว้เหนือธงชาติ เพื่อเป็นสัญลักษณ์ในการไว้ทุกข์ ธงชาติซาอุดีอาระเบียไม่มีการลดธงครึ่งเสา สำหรับธงชาติซาอุดีอาระเบีย ธงชาติโซมาลีแลนด์ ธงชาติอิหร่าน ธงชาติอัฟกานิสถานและธงชาติอิรัก ถือเป็นธงชาติที่จะไม่มีการลดธงครึ่งเสา เนื่องจากข้อความชะฮาดะฮ์ หรือ(และ)ตักบีร์บนธงมีความหมายถึง พระนามของอัลลอฮ์ (พระเจ้า) จึงไม่อาจใช้ธงนี้เป็นสัญลักษณ์ในการแสดงความอาลัยได้ การลดธงครึ่งเสาเพื่อแสดงความไว้อาลัยต่อการสูญเสียบุคคลสำคัญของประเทศครั้งแรกในสยามเกิดขึ้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อคราวสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินีสวรรคต (ขณะดำรงพระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จพระนางรำเพยภมราภิรมย์ สิ้นพระชนม์) เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2404 บรรดาฝรั่งลดธงลงครึ่งเสา 3 วัน ครั้งนั้นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชหัตถเลขาพระราชทานพระยาศรีพิพัฒน์หัวหน้าคณะทูตสยามไปเจริญพระราชไมตรียังประเทศฝรั่งเศส มีข้อความว่า “แม่เพอยนี้ถึงในกรุงเทพฯ ท่านทั้งปวงว่าเป็นเจ้าเล็กเจ้าน้อยก็ดีแต่ในเมืองที่มาทำสัญญาไมตรีแลลูกค้าพาณิชต่างประเทศเป็นอันมากเขานับถือว่าเป็นคนโตคนใหญ่ ตั้งแต่วันสิ้นชีวิตลงแล้ว กงสุลต่างประเทศ บรรดาที่มีธงเขาก็ลดธงครึ่งเสาให้สามวัน เรือกำปั่นที่จอดทอดอยู่ในแม่น้ำทุกลำ กงสุลก็ป่าวร้องให้ลดธงแลไขว้เชือกแดงสำแดงให้รู้ว่าเศร้าโศกสามวัน...ก็หนังสือนี้จะมาถึงท่านทั้งปวงเมื่อใดที่ตำบลใดก็ยังไม่ทราบ ถ้าได้หนังสือนี้ที่เรือหรือที่บกควรจะยกธงกึ่งเสาเป็นคำนับสามวันหรือเจ็ดวันอย่างไร ก็จงคิดเป็นเกียรติยศแก่ข้าพเจ้าด้วย หรืออย่างหนึ่งเมื่อข่าวว่ามารดากวีนวิคตอเรียสิ้นชีพแล้วเข้ามาถึงกรุงเทพฯ พวกกงสุลอังกฤษเขายกธงกึ่งเสาสิบสี่วัน แล้วเขาแต่งด้วยเครื่องดำด้วยสิบสี่วัน แต่รายนี้จะทำสามวันหรือเจ็ดวันก็ควรอยู่แล้ว พวกทูตถ้ามีเครื่องดำแต่ง จะแต่งเครื่องดำด้วยก็ตาม พอให้เป็นเกียรติยศ แต่ถ้าจะสำแดงการอย่างนี้จงประกาศการให้ปรากฏก่อน อย่าให้กิตติศัพท์เลื่องลือผิดกลายเป็นตัวข้าพเจ้าเองไปได้ เพราคนในประเทศเป็นอันมาก แลนอกประเทศบางพวก มันนั่งเร่งนอนเร้าข้าพเจ้าอยู่ ท่านก็จะรู้อยู่แล้ว” จากประโยคที่ยกมาข้างต้น แสดงให้เห็นว่าบรรดาชาวต่างชาติในพระราชอาณาจักรสยามเมื่อล่วงรู้ข่าวการสิ้นพระชนม์ของพระราชเทวีซึ่งเป็นพระมารดาในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าของพระมหากษัตริย์ต่างแสดงความไว้อาลัยด้วยการป่าวร้องให้ลดธงในสถานกงสุลและบรรดาเรือลดธงลงครึ่งเสา จากนั้นมาธรรมเนียมสากลนี้ถูกนำมาใช้ปฏิบัติต่อเนื่อง แต่ประกาศให้คนทั่วไปได้ทราบข่าวเสียก่อน เพื่อเกรงความเข้าใจผิดพลาด และอาจส่งผลต่อความมั่นคง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และการลดธงครึ่งเสา · ดูเพิ่มเติม »

การสิ้นพระชนม์ของพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี

ระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีสิ้นพระชนม์เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 10 ตุลาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และการสิ้นพระชนม์ของพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

มเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551 เวลา 02.54 นาฬิกา ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุมัติหมายกำหนดการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายพระศพระหว่างวันที่ 3 มกราคม-12 เมษายน พ.ศ. 2551 ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง หมายกำหนดการเสด็จพระราชดำเนินไปทรงยกสัปตปฎลเศวตฉัตรเหนือยอดพระเมรุในวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2551 และหมายกำหนดการพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพฯ ระหว่างวันที่ 14-19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ซึ่งพระราชพิธีสองอย่างหลังจะมีขึ้น ณ พระเมรุ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

มเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สิ้นพระชนม์เมื่อวันพุธที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เวลา 16:37 นาฬิกา ณ ตึก 84 ปี ชั้น 5 ด้านตะวันออก โรงพยาบาลศิริราช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุมัติหมายกำหนดการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายพระศพระหว่างวันที่ 28 กรกฎาคม - 4 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี · ดูเพิ่มเติม »

การเล่นกีฬาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเล่นเรือใบ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโปรดการเล่นกีฬามาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ เมื่อประทับอยู่ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ โปรดกีฬาหลายประเภท เช่น สกีน้ำแข็ง, ยิงปืน, กอล์ฟเล็ก, การแข่งขันรถเล็ก, เทนนิส, แบดมินตัน, เครื่องร่อน โดยทรงเล่นกีฬาเหล่านี้มาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ โดยทรงศึกษาข้อมูลของกีฬาแต่ละประเภทอย่างละเอียด และทรงฝึกฝนจนปฏิบัติได้ดี นับเป็นแบบอย่างที่ดีของนักกีฬา น่าสังเกตว่ากีฬาที่โปรด มักเป็นกีฬาที่ไม่ได้ใช้แต่พละกำลังเพียงอย่างเดียว คือ ต้องอาศัย ความรู้รอบตัวและเทคนิคไหวพริบ ผนวกกับความรู้ ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในกีฬานั้น ๆ ซึ่งทรงพอพระทัยกับการเผชิญความท้าทายในเกมกีฬาเป็นอย่างมาก เช่น เทนนิส, เรือใบ เป็นต้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเคารพกฎกติกาของการกีฬาที่ทรงเล่น และมักจะทรงเน้นย้ำให้นักกีฬาทั้งหลายมีวินัยตลอดเวลา ทรงให้ความสำคัญต่อการฝึกซ้อมเป็นอันมาก ทรงสนพระทัยกีฬาที่มีโอกาสได้ฝึกซ้อม ด้วยทรงเห็นว่าการจะเป็นนักกีฬาที่ดีนั้น ต้องให้ความสนใจในการฝึกซ้อม เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และปรับปรุงตนเอง มีประสบการณ์เพิ่มขึ้นถ้านักกีฬาคนใดไม่ฝึกซ้อมก็จะเป็นนักกีฬาที่ดีไม่ได้ แต่ด้วยพระราชภารกิจ อันมากมายของพระองค์ กีฬาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงนั้น ส่วนมากจะทรงเป็นระยะๆ บางช่วง ด้วยไม่สะดวกที่จะทรงฝึกซ้อมเป็นประจำ นอกจากกีฬาแข่งขันแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังสนพระทัยในการออกกำลังพระวรกายเพื่อสุขภาพอีกด้วย เช่น วิ่งเหยาะ และเดินเร็ว การออกกำลังพระวรกายสม่ำเสมออย่างถูกหลักวิชาการ คือ มีการบันทึกพระชีพจร ความดันพระโลหิตทั้งก่อนและหลังการทรงออกกำลังพระวรกาย รวมทั้งทรงกระตุ้นให้เกิดความอบอุ่นแก่พระวรกายก่อนเริ่ม และผ่อนคลายความตึงเครียดของพระกล้ามเนื้อ หลังจากการออกกำลังพระวรกาย โดยทรงปฏิบัติเช่นนี้เป็นกิจวัตร เป็นแบบฉบับของนักกีฬาที่ดี ถึงแม้ในช่วงแปรพระราชฐานไปในที่ต่าง ๆ ในเวลากลางวันพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะอุทิศเวลาเพื่อราษฎรของพระองค์ กว่าจะเสร็จสิ้นพระวรกายด้วยการทรงพระดำเนินแล้ว เป็นระยะทางนับเป็นหลายร้อยเมตร เพื่อให้พระวรกายของพระองค์แข็งแรง พร้อมที่จะเสด็จพระราชดำเนินไปในที่ต่าง ๆ เพื่อเยี่ยมเยียนราษฎรของพระองค์ได้เสมอ โดยพระราชทานพระราชดำรัสเกี่ยวกับการกีฬาไว้ว่า "การกีฬามีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งสำหรับชีวิตของแต่ละคนและชีวิตบ้านเมือง" พระราชดำรัสนี้แสดงให้เห็นถึงพระราชปณิธานในเรื่องการส่งเสริมการกีฬาว่าเป็นสิ่งจำเป็นและเป็นส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาบุคคลและประเทศชาติ จึงทรงส่งเสริมกีฬาทุกประเภท พร้อมทั้งทรงกีฬามากมายหลายประเภทเช่นกัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และการเล่นกีฬาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

การเตรียมงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นพระราชพิธีที่จัดเพื่อแสดงความจงรักภักดี และถวายความอาลัย แด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ โดยรัฐบาลกำหนดวันพระราชพิธีฯ ระหว่างวันที่ 14-19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และการเตรียมงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

การเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีกำหนดระหว่างวันที่ 25–29 ตุลาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และการเตรียมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

การเฉลิมพระยศเจ้านาย

ระยศเจ้านาย ในราชสกุลมี 2 ประเภทคือ สกุลยศ คือ ยศที่เกิดเป็นเจ้าชั้นใดในเบื้องต้น เจ้านายที่เกิดในสกุลยศชั้นใด ก็อยู่ในชั้นยศชั้นนั้น เป็นยศที่ได้โดยการเกิด และ "อิสริยยศ" คือยศที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสถาปนาแต่งตั้งให้ทางราชการในภายหลัง และ"ยศทางสกุล"โดยชั้นข้าหลวงให้นำหน้าสกุลว่า"วงค์"(เมื่อสิ้นสุดรัชกาล สำหรับเมื่อเป็นสามัญชน) เช่น วงค์ปินตา วงค์สมบูรณ์ วงค์บวรคง วงค์ปิ่นแก้ว ฯลฯ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และการเฉลิมพระยศเจ้านาย · ดูเพิ่มเติม »

กุฎีเจริญพาศน์

กุฎีเจริญพาศน์ หรือ กุฎีล่าง หรือ กุฎีกลาง เป็นอิมามบาระฮ์ชีอะฮ์แห่งหนึ่งตั้งอยู่ริมคลองบางหลวง ถนนอิสรภาพ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และกุฎีเจริญพาศน์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น

มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น (The Far Eastern University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ตั้งอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University; ชื่อย่อ: ม.มหิดล / MU) เป็นสถาบันที่มีที่มาจากการเป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ (Rajabhat Rajanagarindra University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดฉะเชิงเทรา จัดตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ (อังกฤษ: Princess of Naradhiwas University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลำดับที่ 77 ในประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนราธิวาสก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ภายหลังจากการหลอมรวมวิทยาลัยต่างๆ และยกฐานะขึ้นจากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส วิทยาลัยการอาชีพตากใบ วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส และวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี โดยชื่อ "มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์" นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สมเด็จพระโสทรเชษฐภคินีเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลที่ 8 และ 9 เนื่องด้วยพระองค์ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยใน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ พุทธศักราช 2548 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนที่ 14ก วันที่ 8 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยโลซาน

มหาวิทยาลัยโลซาน (Université de Lausanne) หรือ UNIL ตั้งอยู่ที่เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1537 ในฐานะโรงเรียนเทววิทยา และเปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัยในปี ค.ศ. 1890 ปัจจุบันมีนักศึกษา 13,500 คน และนักวิจัย 2,200 คน เข้าศึกษาและทำงานในมหาวิทยาลัย และนักศึกษาต่างชาติประมาณ 1,500 คน จาก 120 เชื้อชาติ เข้าศึกษาในหลักสูตรต่าง ๆ รวมทั้งมีโครงการแลกเปลี่ยนกับมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงระดับโลกต่าง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และมหาวิทยาลัยโลซาน · ดูเพิ่มเติม »

มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2551

มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2551 เป็นการประกวด มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์สปีที่ 9 นับจากการจัดครั้งแรกในปี 2543 ที่สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบก ช่อง 7 ได้ดำเนินการจัดขึ้น เพื่อสรรหาสาวไทยที่มีความงาม มีกริยามารยาทที่งดงามแบบไทย มีความคิดอ่านเฉลียวฉลาด ทันสมัย มั่นใจในตนเอง และเหมาะสมที่จะรับหน้าที่ในนามตัวแทนประเทศไทย ไปสู่การประชาสัมพันธ์และสร้างชื่อเสียงเกียรติคุณอันดีงามให้กับประเทศ ทั้งนี้ทางฝ่ายจัดได้เลื่อนกำหนดการเดิมจากปกติทุกๆ ปี จะมีการประกวดในช่วงเดือนมีนาคม แต่ในปีนี้เลื่อนออกไปเป็นเดือนพฤษภาคม เพื่อรอให้พระราชพิธีบำเพ็ญพระราชกุศลครบ 100 วัน พระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้เสร็จสิ้นเสียก่อน และปีนี้ได้ย้ายสถานที่จัดการประกวด จากโรงแรมโซฟิเทล เซ็นทารา แกรนด์ กรุงเทพ เป็นโรงละครอักษรา คิง พาวเวอร์ คอมเพล็กซ์ ถนนรางน้ำ กรุงเทพมหานคร ซึ่งจะจัดในวันที่ 24 พฤษภาคม 2551 โดยผู้ได้รับตำแหน่งจะได้เป็นตัวแทนสาวไทย เดินทางไปประกวดนางงามจักรวาลหรือมิสยูนิเวิร์ส ปี 2008 ณ ประเทศเวียดนาม โดยมี ฟ้ารุ่ง ยุติธรรม มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2550 เป็นผู้มอบมงกุฏให้กับ กวินตรา โพธิจักร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และมิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2551 · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิขาเทียมในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

หน้าอาคารที่ทำการมูลนิธิขาเทียมฯ จ.เชียงใหม่ พร้อมดอกของต้นประดู่แดง ซึ่งองค์ประธานมูลนิธิทรงปลูก เมื่อคราวเสด็จฯ เปิดที่ทำการมูลนิธิขาเทียมฯ มูลนิธิขาเทียมในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เป็นมูลนิธิที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้จัดตั้ง หลังจากทรงทราบว่า รองศาสตราจารย์นายแพทย์เทอดชัย ชีวะเกตุ และคณะ สามารถทำขาเทียมได้จากวัสดุเหลือใช้ เพื่อจะทำขาเทียมตามแบบที่ ร.น.เทอดชัยและคณะได้ประดิษฐ์ขึ้น ซึ่งขาเทียมที่ได้มีน้ำหนักเบา และราคาถูกกว่าขาเทียมที่ผลิตจากโรงพยาบาลของรัฐในขณะนั้นหลายเท่า เพื่อพระราชทานให้แก่ผู้พิการขาขาดที่ยากไร้ โดยไม่เลือกเชื้อชาติศาสนา และไม่คิดมูลค่า มูลนิธิขาเทียมฯ ได้รับการจดทะเบียนเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2535 โดยสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงดำรงตำแหน่งประธานกิตติมศักดิ์มูลนิธิ และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงดำรงตำแหน่งประธานมูลนิธิ โดยทั้งสองพระองค์พระราชทานพระราชทรัพย์เป็นทุนประเดิมในการจัดตั้งมูลนิธิอีกด้วย อนึ่ง มูลนิธิขาเทียมฯ มีชื่อเต็มเป็นภาษาอังกฤษว่า PROSTHESES FOUNDATION OF HER ROYAL HIGHNESS THE PRINCESS MOTHER เขียนโดยย่อได้ว่า PROSTHESES FOUNDATION OF H.R.H. THE PRINCESS MOTHER หรือ PROSTHESES FOUNDATION ก็ได้.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และมูลนิธิขาเทียมในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิแพทย์อาสาสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

กระเป๋าเสื้อสีเขียว บนเสื้อสีเทา มีเครื่องหมายของหน่วยแพทย์อาสาสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มูลนิธิแพทย์อาสาสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (Princess Mother's Medical Volunteer - PMMV) ชื่อย่อ พอ.สว. เป็นกิจการแพทย์ที่ตั้งขึ้นตามพระราชดำริของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ที่ได้ทรงพบเห็นความยากลำบากของราษฎร ในด้านการสาธารณสุข ในระหว่างที่เสด็จพระราชดำเนินทรงเยี่ยมตำรวจตระเวนชายแดน ตามจังหวัดชายแดน ตั้งแต่ พ.ศ. 2507 ในอดีต ราษฎรที่เจ็บไข้ได้ป่วยจะไม่ได้รับการดูแลรักษาจากแพทย์เท่าที่ควร เนื่องการเดินทางยากลำบาก บางครั้งต้องรอจนอาการหนัก จึงเดินทางมารักษาในโรงพยาบาลจังหวัด บางครั้ง อาการก็หนักเกินกว่าจะรักษา หรือโรคที่ไม่ได้เจ็บป่วยมากมาย กลับเรื้อรังจนต้องพิการทุพพลภาพ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงตั้งกิจการแพทย์อาสาเมื่อ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 ขณะทรงประทับอยู่ที่พระตำหนักภูพิงค์ราชนิเวศน์ จังหวัดเชียงใหม่ โดยในเบื้องต้น ประกอบด้วยแพทย์และพยาบาล อาสาสมัครจากโรงพยาบาลแมคคอร์มิค และโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ หน่วยแพทย์อาสาออกปฏิบัติการเฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์ ซึ่งเป็นวันหยุดราชการ และไปเช้าเย็นกลับในวันเดียวกัน โดยใช้เฮลิคอปเตอร์เป็นยานพาหนะหลัก ในแต่ละหน่วยประกอบด้วย แพทย์ 2 คน ทันตแพทย์ 1 คน เภสัชกรหรือพยาบาลที่มีความรู้เรื่องยา 1 คน พยาบาล 3 คน และอาสาสมัครสมทบ 1 คน ทั้งหมดนี้ อาสาทำงานโดยไม่มีรายได้ตอบแทน มีภูมิลำเนาหรือรับราชการอยู่ในจังหวัดนั้นๆ อาสาสมัคร พอ.สว.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และมูลนิธิแพทย์อาสาสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

มนูญ ลีเชวงวงศ์

น.พ.มนูญ ลีเชวงวงศ์ ขณะแถลงข่าวเรื่องอาการป่วยของ บิ๊ก ดีทูบี นายแพทย์มนูญ ลีเชวงวงศ์ ประธานทุนง่วงอย่าขับ ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ มูลนิธิรามาธิบดี ประธานทุนวิจัยวัณโรคดื้อยา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ศิริราชมูลนิธิ น..มนูญ เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2492 ในครอบครัวคนไทยเชื้อสายจีนที่ยากจน ในกรุงเทพมหานคร จบการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนเซนต์คาเบรียล ก่อนจะเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยมหิดล ในสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ จากนั้นเข้ารับการศึกษาต่อคณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี จนสำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ. 2515 ก่อนไปศึกษาต่อยังประเทศสหรัฐอเมริกา แผนกวิชาอายุรกรรม โรคทางเดินหายใจ โรคผู้ป่วยหนัก ที่ Mount Sinai School Of Medicine มหานครนิวยอร์ก กระทั่งสำเร็จการศึกษา และได้รับการติดต่อให้เป็นอาจารย์ผู้สอน Assistant clinical professor ณ สถาบันแห่งนี้ในปี พ.ศ. 2523 น..มนูญ เดินทางกลับสู่ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2534 และเข้าทำงานเป็นแพทย์ประจำโรงพยาบาลวิชัยยุทธ จนถึงปัจจุบัน โดยมีตำแหน่งเป็นหัวหน้าประจำห้องไอซียู เฉพาะทางด้านโรคทางเดินหายใจ ผู้ป่วยหนัก และโรคผู้สูงอายุ น..มนูญ มีชื่อเสียงมาจากการเป็นหัวหน้าคณะแพทย์ที่รักษาอาการของ บิ๊ก ดีทูบี หรือ นายปาณรวัฐ กิตติกรเจริญ นักร้องวัยรุ่นชื่อดังที่ประสบอุบัติเหตุรถคว่ำที่คูน้ำข้างถนนศรีนครินทร์ขาออก ในปี พ.ศ. 2546 โดย น..มนูญ ได้ให้การรักษาฝีในสมองตัวยาฆ่าเชื้อราตัวใหม่ชื่อ voriconazole จากประเทศออสเตรเลีย น..มนูญเป็นนายกสมาคมโรคเอดส์แห่งประเทศไทยสองสมั..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และมนูญ ลีเชวงวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ยกสยามปี 1

กสยาม เป็นรายการเกมโชว์ควิซโชว์ ที่เน้นส่งเสริมให้คนในแต่ละจังหวัดรักบ้านเกิด ส่งเสริมให้เกิดการใช้ความรู้ความสามารถ ที่เกี่ยวกับประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น ในแต่ละจังหวัด ถ่ายทอดผ่านเกมได้อย่างสนุกสนาน ออกอากาศตั้งแต่ทุกวันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 18.30 - 18.55 น. เริ่มออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 เวลา 18.30 น. ทาง โมเดิร์นไนน์ ทีวี ผลิตโดย บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ดำเนินรายการโดย ปัญญา นิรันดร์กุล โดยปีสองของรายการ ดูที่ ยกสยามปี 2 นอกจากนั้น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมารยังได้พระราชทานแผ่นประกาศนียบัตรจารึกพระปรมาภิไธยย่อ มวก.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และยกสยามปี 1 · ดูเพิ่มเติม »

รักแห่งสยาม

รักแห่งสยาม เป็นภาพยนตร์ไทย กำกับโดย ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล นำแสดงโดย สินจัย เปล่งพานิช, เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์, ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี, มาริโอ้ เมาเร่อ และ วิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุล มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรัก และการค้นหาตัวตน ผ่านมุมมองของเด็กชายสองคน โดยมีสยามสแควร์เป็นสถานที่เชื่อมโยงเรื่องราวทั้งหมด ซึ่งการถ่ายทำเป็นไปอย่างยากลำบาก เนื่องจากสยามสแควร์เป็นสถานที่ซึ่งมีผู้คนพลุกพล่านเป็นอุปสรรคต่อการถ่ายทำ การประชาสัมพันธ์ภาพยนตร์ก่อนการออกฉาย นำเสนอว่าเป็นภาพยนตร์เกี่ยวกับความรักใส ๆ ของวัยรุ่นหญิงชาย แต่เมื่อภาพยนตร์ออกฉายจริง กลับมีเนื้อหาเกี่ยวกับความสับสนในจิตใจของวัยรุ่นชาย รวมถึงมีฉากล่อแหลม ทำให้เกิดเสียงวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง ส่วนเสียงตอบรับในด้านกลยุทธ์ในการประชาสัมพันธ์นั้นก่อให้เกิดข้อถกเถียงทั้งในแง่บวกและแง่ลบ ภาพยนตร์ออกฉายเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดยทำรายได้ในสัปดาห์แรก 18.5 ล้านบาท และปิดรายได้รวมที่ 42 ล้านบาท นอกจากนั้นยังมีการฉายในฉบับ “Director's Cut” มีความยาวประมาณ 3 ชั่วโมงเศษ ที่โรงภาพยนตร์เฮาส์ อาร์ซีเอ และจากกระแสตอบรับที่ดีของภาพยนตร์เรื่องนี้ จึงมีกิจกรรมเพิ่มเติมสำหรับผู้ที่ชื่นชอบและทีมงาน เช่น รอบพิเศษ ที่โรงภาพยนตร์สกาลา สยามสแควร์ เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และรักแห่งสยาม · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

ราชสกุล

ราชสกุล เป็นนามสกุลสำหรับผู้สืบเชื้อสายมาจากตระกูลวงศ์ในพระมหากษัตริย์ เกิดขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และราชสกุล · ดูเพิ่มเติม »

ราชสกุลมหิดล

ราชสกุลมหิดล เป็นราชสกุลที่สืบเชื้อสายจากสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และราชสกุลมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

ราชสกุลวงศ์ในราชวงศ์จักรี

ราชสกุลวงศ์ในรัชกาลปัจจุบัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และราชสกุลวงศ์ในราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทย

ระราชวังและวัง คือ ที่ประทับของพระมหากษัตริย์ พระมหาอุปราช พระบรมวงศานุวงศ์ตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไป ส่วนที่อยู่ของหม่อมราชวงศ์และหม่อมหลวงนั้นไม่เรียกว่า "วัง" โดยวังใดจะเรียกว่าพระราชวังได้นั้นจะต้องมีพระบรมราชโองการสถาปนาขึ้นเป็น "พระราชวัง" เท่านั้น โดยในประเทศไทยมีพระราชวังและวัง ดังนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และรายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผลงานของธงไชย แมคอินไตย์

ทความนี้เนื้อหาเกี่ยวกับผลงานของธงไชย แมคอินไตย์ สำหรับบทความหลักดูที่ ธงไชย แมคอินไตย์ ธงไชย แมคอินไตย์ จากคอนเสิร์ตแฟนซีแฟนซน ปี 2552 ผลงานของ ธงไชย แมคอินไตย์ ในวงการบันเทิงเริ่มต้นจากการเป็นนักแสดงสมทบละครเรื่องแรก "น้ำตาลไหม้" ปี 2526 จากนั้นมีผลงานในหลากหลายบทบาทอย่างต่อเนื่อง ทั้งละคร และภาพยนตร์ โดยได้รับการตอบรับอย่างสูงจากภาพยนตร์ เรื่อง "ด้วยรักคือรัก" ปี 2528 ซึ่งได้รับบทเป็นพระเอกภาพยนตร์เรื่องแรกประกบกับนักร้องดังแห่งยุค "อัญชลี จงคดีกิจ" จนกระทั่งก้าวเข้าสู่วงการเพลงเต็มตัวปี 2529 กลายเป็นศิลปินนักร้องขวัญใจประชาชนทุกเพศทุกวัยตั้งแต่นั้นมา ระหว่างนั้นยังมีผลงานละคร ซึ่งสร้างสถิติเรตติ้งสูงสุดตลอดกาล ละครเรื่อง "คู่กรรม" ปี 2533 นอกจากนั้นยังมีผลงานโฆษณา ซึ่งทางต้นสังกัดพิถีพิถันในเรื่องของการรับงานตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รวมไปถึงงานถ่ายแบบนิตยสาร และการออกรายการ ซึ่งไม่มุ่งเน้นในเรื่องของปริมาณ แต่เน้นในเรื่องคุณภาพ ความเชื่อมั่น เพื่อให้ได้ผลตอบรับที่ดีที่สุดของผู้บริโภค เป็นอีกภาพลักษณ์ที่สำคัญของซุปเปอร์สตาร์อันดับ 1 ของไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และรายชื่อผลงานของธงไชย แมคอินไตย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผลงานของเขมนิจ จามิกรณ์

ทความนี้เนื้อหาเกี่ยวกับผลงานของเขมนิจ จามิกรณ์ สำหรับบทความหลักดูที่ เขมนิจ จามิกรณ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และรายชื่อผลงานของเขมนิจ จามิกรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผลงานเพลงของธงไชย แมคอินไตย์

ผลงานเพลงอัลบั้มแรกของธงไชย แมคอินไตย์ คือ "หาดทราย สายลม สองเรา" ปี 2529 ส่งผลให้เบิร์ดเป็นขวัญใจของคนไทยทุกเพศทุกวัย และมีผลงานต่อเนื่องจนถึงปัจจุบันสามารถทำยอดขายอัลบั้มมากกว่า 25 ล้านชุด ติดระดับแนวหน้าของเอเชีย โดยเฉพาะอัลบั้ม "ชุดรับแขก" เป็นอัลบั้มที่ทำสถิติยอดจำหน่ายสูงสุดของไทย 5 ล้านตลับ(ซึ่งยังไม่นับรวมวีซีดี ดีวีดีบันทึกภาพคอนเสิร์ตเต็มรูปแบบในปีเดียวกัน) โดยผลงานในวงการเพลงถือเป็นงานหลักของเบิร์ดซึ่งได้รับตอบรับอย่างดีมาโดยตลอด อีกทั้งได้รับเกียรติให้ขับร้องเพลงเทิดพระเกียรติ และเพลงพิเศษเนื่องในโอกาสสำคัญต่าง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และรายชื่อผลงานเพลงของธงไชย แมคอินไตย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตอนในเชลล์ดอน

รายชื่อตอนในเชลล์ดอน เป็นรายชื่อตอนที่อยู่ในการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของประเทศไทยเรื่อง "เชลล์ดอน".

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และรายชื่อตอนในเชลล์ดอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตอนในเป็นต่อ

รายชื่อตอนในเป็นต่อ ละครแนวซิตคอม (Situation Comedy) ออกอากาศครั้งแรกทาง ช่อง 3 ทุกวันพฤหัสบดี เวลาประมาณ 23:15 น. - 00:15 น. (ตั้งแต่วันที่ 7 ตุลาคม 2547 - 9 กุมภาพันธ์ 2555) และกลับมาฉายอีกครั้งทางช่อง GMM ONE โดยมีเนื้อเรื่องต่อจากตอนเดิมในชื่อเรื่อง เป็นต่อ ขั้นเทพ ออกอากาศวันพฤหัสบดี เวลา 22.00 น. - 23.00 น. รีรันทุกวันศุกร์ เวลา 09.00 น., 16.00 น. และทุกวันเสาร์ เวลา 11.00 น. (ตั้งแต่วันที่ 20 ธันวาคม 2555 - 13 มิถุนายน 2556) และกลับมาออกอากาศตอนแรกของซีซั่นใหม่ทาง ช่องวัน 31 ตั้งแต่วันที่ 2 ตุลาคม 2557 จนถึงปัจจุบัน นี่คือ รายชื่อตอนในเป็นต่อ เรียงตามลำดับการออกอาก.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และรายชื่อตอนในเป็นต่อ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเครื่องบินพระที่นั่งในพระบรมวงศานุวงศ์ไทย

นี่คือรายชื่อเครื่องบินพระที่นั่งในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และรายชื่อเครื่องบินพระที่นั่งในพระบรมวงศานุวงศ์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระกุลเชษฐ์ในราชวงศ์จักรี

ระกุลเชษฐ์ คือพระบรมวงศ์ที่ทรงดำรงฐานะสูงสุด แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และรายพระนามพระกุลเชษฐ์ในราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.

รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (The Most Illustrious Order of the Royal House of Chakri) มีอักษรย่อว่า ม..ก. มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์และทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานและเรียกคืนเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์มีจำนวน 25 สำรับ สำหรับพระมหากษัตริย์ 1 สำรับ สมเด็จพระบรมราชินี 1 สำรับ และพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ที่สืบเนื่องโดยตรงในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกหรือผู้ซึ่งพระบรมวงศานุวงศ์ดังกล่าวได้เสกสมรสด้วยอีก 23 สำหรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่ประมุขของต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมใน 25 สำรับอีกด้วย โดยมีพระนามผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เช่น.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ป.ภ.

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ (The Most Admirable Order of the Direkgunabhorn) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 เพื่อพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบอันเป็นประโยชน์แก่ประเทศ ศาสนา และประชาชน มีอักษรย่อว่า ป..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ป.ภ. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน น.ร.

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ (ฝ่ายหน้า) เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ มีอักษรย่อว่า น.ร. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีความเป็นมาสืบแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลนี้ มีเฉพาะชั้นสายสะพายชั้นเดียว ทั้งนี้ ผู้รับพระราชทานต้องเป็นพุทธมามกะเท่านั้น และจะประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ในงานมงคล หรืองานที่มีหมายกำหนดการระบุไว้เท่านั้น เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ จัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติเป็นลำดับที่ 3 รองจากเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์และเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ และเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดที่สามัญชนจะได้รับพระราชทาน โดยมีรายพระนามและรายนาม เช่น.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน น.ร. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ท..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานทั้งฝ่ายหน้า (บุรุษ) และฝ่ายใน (สตรี) โดยทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 13 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย สำหรับฝ่ายใน ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษมีจำนวน 100 สำรับ สตรีที่ได้รับพระราชานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นนี้ สามารถใช้คำนำหน้านามว่า "ท่านผู้หญิง" สำหรับผู้ที่สมรสแล้ว หรือ "คุณ" สำหรับผู้ที่ยังไม่ได้สมรส สำหรับสตรีในราชสกุล ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไปให้ใช้คำนำพระนามตามเดิม.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน) · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานของเครื่องอิสริยาภรณ์ รวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานแก่ผู้ที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า แบ่งออกสำหรับพระราชทานฝ่ายหน้าจำนวน 30 สำรับ และฝ่ายในจำนวน 20 สำรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่เจ้านายหรือผู้มีเกียรติจากต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมกับจำนวนดังกล่าว รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า (ไม่รวมพระนามของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าในชั้นที่สูงขึ้น ได้แก่ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ) ตั้งแต่สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เช่น.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น

รายพระนามและรายนาม ผู้ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี 2511 - ปัจจุบัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี

้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี เป็นการรวบรวมรายพระนามเจ้านายในราชวงศ์จักรีตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้า ซึ่งมีพระชันษายืนนับตั้งแต่ 90 ปีขึ้นไปอันเคยมีเป็นสูงสุดลงจน 60 ปีบริบูรณ์ ซึ่งเป็นต้นเขตของ "อายุยืน" เรียงเป็นลำดับกันตามพระชันษา โดยได้อ้างอิงเนื้อหาตามหนังสือชื่อ"เจ้านายพระชันษายืนในพระราชวงศ์จักรี" พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และรายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

มื่อถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสถาปนาพระอิสริยยศเจ้านายในพระราชวงศ์ ก็ทรงตั้งเป็นต่างกรมตามชั้นยศซึ่งบัญญัติมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา แต่มีผิดกันบ้างเล็กน้อย มีการสถาปนาเจ้านายในพระราชวงศ์เรื่อยมาในทุกรัชกาล โดยครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2548 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ได้โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเจ้านายในพระราชวงศ์จักรี จำนวน 3 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์

รายพระนามพระบรมวงศานุวงศ์ฝ่ายใน ในราชวงศ์จักรี ที่กราบบังคมทูลลาออกจากฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์ เพื่อทรงเสกสมรสกับสามัญชน หรือด้วยหตุผลบางประการ และบางองค์ก็ถูกถอดออกจากฐานันดรศักดิ์ เนื่องจากทรงกระทำความผ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และรายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศของพระราชวงศ์ไทยแยกตามประเทศ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และรายการเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศของพระราชวงศ์ไทยแยกตามประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

180px รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เรียงชื่อตามลำดับอักษร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รายชื่อบุคคลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับธรรมศาสตร์ในที่นี้ได้รวบรวมและแยกแยะออกมาตามคณะหรือสถาบันที่คนผู้นั้นเกี่ยวข้อง ซึ่งมีดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

right บุคคลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลนราธิป

รางวัลนราธิป เป็นรางวัลเกียรติคุณที่มอบให้กับนักเขียนและบรรณาธิการอาวุโส โดยมีหลักเกณฑ์ที่จะมอบรางวัลให้กับผู้ซึ่งมีอายุมากกว่า 80 ปี มีผลงานเป็นที่ยกย่องกว้างขวาง จัดโดยสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย เป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2544 รางวัลนราธิป เกิดขึ้นจากุนของ ประภัสสร เสวิกุล ซึ่งเป็นนายกสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย โดยชื่อรางวัล นำมาจากพระนามของ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ เนื่องจากในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และรางวัลนราธิป · ดูเพิ่มเติม »

ราตรี ศรีวิไล

ราตรี ศรีวิไล หรือ ดร.ราตรีศรีวิไล บงสิทธิพร (2 มกราคม พ.ศ. 2495 -) เป็นนักร้องลูกทุ่งหญิงสไตล์อีสาน แนวหมอลำประยุกต์ ได้รับสมญานามว่า "ราชินีหมอลำซิ่ง" มีชื่อเสียงโด่งดังทั้งในและต่างประเท.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และราตรี ศรีวิไล · ดูเพิ่มเติม »

ริ้วขบวนในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ระโกศพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง ริ้วขบวนพระอิสริยยศในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพฯสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ คณะกรรมการอำนวยการฯ พิจารณาเห็นชอบให้มีทั้งสิ้น 6 ริ้วกระบวน ดังรายละเอียดต่อไปนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และริ้วขบวนในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ลอมพอก

เจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) เมื่อ พ.ศ. 2229 วาดโดย ฌ็อง ไฮน์เซลมาน (Jean Hainzelman) จิตรกรชาวเยอรมันที่พำนักในประเทศฝรั่งเศส ลอมพอก เป็นเครื่องสวมศีรษะรูปยาว บ้างมียอดแหลม บ้างมียอดมนไม่แหลมมากนัก เมื่อสวมแล้วจะแลดูเหมือนการเกล้าผมขึ้นไปข้างบนเป็นทรงกรวยแหลม แล้วปัดไปด้านหลังเล็กน้อย ใช้เป็นเครื่องทรงของพระเจ้าแผ่นดิน และเป็นเครื่องแบบขุนนางยุคกรุงศรีอยุธยา ซึ่งลักษณะของลอมพอกสามารถบ่งถึงตำแหน่งสูงต่ำของขุนนางได้ นอกจากนี้เหล่าโขนละครเองก็เคยใช้ลอมพอกในการแสดง ก่อนพัฒนาเป็นชฎาหรือมงกุฎในภายหลัง ลอมพอกเป็นเครื่องสวมศีรษะของไทยที่ได้รับอิทธิพลมาจากการโพกผ้าของมุสลิมเปอร์เซีย และมีความเป็นไปได้ว่าน่าจะรับมาตั้งแต่ก่อนเกิดกรุงศรีอยุธยา มงซีเออร์ เดอ วีเซได้เขียนคำอธิบายเกี่ยวกับการแต่งกายของคณะทูตสยามที่ไปเจริญสัมพันธไมตรีกับฝรั่งเศสในรัชสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 นำโดยออกพระวิสูตรสุนทร (ปาน) เมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และลอมพอก · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทย

ลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทย หรือ ธรรมเนียมที่พระบรมวงศานุวงศ์ทรงพระดำเนินเป็นลำดับกัน เป็นลำดับการเสด็จพระราชดำเนินหรือพระดำเนินก่อนหลังกันตามฐานะในพระราชวงศ์ คำว่า "โปเจียม" นั้น สันนิษฐานว่ามาจากภาษาจีน แปลว่า ลำดับก่อนหลังกัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทย · ดูเพิ่มเติม »

วัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร

มเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก วัดญาณสังวราราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหาร สังกัดธรรมยุติกนิกาย ตั้งอยู่ที่ตำบลห้วยใหญ่ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี มีสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (เจริญ สุวฑฺฒโน) เป็นองค์ประธานจัดสร้างวัด ปัจจุบันพระธรรมบัณฑิต (อภิพล อภิพโล) เป็นรักษาการเจ้าอาว.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร

วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเป็นวัดประจำรัชกาลเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยมีพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐวรการ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ และเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล) เป็นผู้อำนวยการก่อสร้าง มีลักษณะผสมระหว่างสถาปัตยกรรมไทยกับสถาปัตยกรรมตะวันตก คือ ลักษณะภายนอกเป็นสถาปัตยกรรมไทย ส่วนภายในออกแบบตกแต่งอย่างตะวันตก และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่าวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม หมายถึง วัดที่พระมหากษัตริย์ทรงสร้าง และมีมหาสีมาอันเป็นเสาศิลาจำหลักยอดเป็นรูปเสมาธรรมจักร 8 เสา ตั้งเป็นสีมาที่กำแพง 8 ทิศ “ราชบพิธ” หมายถึง พระอารามที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง บพิธ คำนี้มาจากภาษาบาลีคือ ปวิธะ ที่แปลว่าสร้าง ส่วน “สถิตมหาสีมาราม” หมายถึง พระอารามซึ่งมีสีมากว้างใหญ่ เป็นมหาสีมาล้อมรอบอาณาเขตของวัด วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม นับเป็นพระอารามหลวงสุดท้าย ที่พระมหากษัตริย์ทรงสร้างตามโบราณราชประเพณีที่มีการสร้างวัดประจำรัชกาล.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดราชผาติการามวรวิหาร

วัดราชผาติการามวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่เลขที่ 147 ถนนราชวิถี แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และวัดราชผาติการามวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดธาตุทอง

วัดธาตุทอง พระอารามหลวง ตั้งเมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๘๑ และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๘๓(เขตวิสุงคามสีมา กว้าง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร) ผูกพัทธสีมา ฝังลูกนิมิตอุโบสถ เมื่อวันที่ ๒-๘ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๐๕ มีเนื้อที่ ๕๔ ไร่ ๓ งาน ๘๒ ตาราง(เลขที่ ๑๔๙ โฉนดที่ ๔๐๓๗) ทิศเหนือ ติดกับที่ดินและบ้านเรือนประชาชน(ซอยชัยพฤกษ์) ทิศใต้ ติดกับถนนสุขุมวิท ทิศตะวันออก ติดกับที่ดินและบ้านเรือนประชาชน(ซอยเอกมัย) วัดธาตุทองฯ แท้จริงแล้วมีประวัติความเป็นมายาวนาน ย้อนกลับไปถึงยุคสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี ก่อนจะมาตั้งอยู่บนนถนนสุขุมวิทในปัจจุบัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และวัดธาตุทอง · ดูเพิ่มเติม »

วัดโกรกกราก

วัดโกรกกราก ตั้งอยู่ริมแม่น้ำท่าจีน ตำบลโกรกกราก อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร เป็นวัดเก่าแก่อายุเกือบ 200 ปี เริ่มมีปรากฏชื่อวัดครั้งแรกเมื่อเรือพระที่นั่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จอดเทียบท่าวัดโกรกกรากเมื่อครั้งเสด็จประพาสต้นจากบางปะอินไปเพชรบุรี สิ่งที่น่าสนใจของวัดโกรกกรากคือพระประธานในอุโบสถนอกจากจะมีพุทธลักษณะงดงามแล้ว ยังแปลกไปจากพระพุทธรูปที่พบเห็นทั่วไป คือสวมแว่นดำ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และวัดโกรกกราก · ดูเพิ่มเติม »

วังสระปทุม

วังสระปทุม ตั้งอยู่บริเวณถนนพระรามที่ 1 และถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานที่ดินให้เป็นที่สร้างวังของสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ พระราชโอรสในพระองค์ที่ประสูติแต่สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า แต่ยังมิได้มีการสร้างวังขึ้น ณ ขณะนั้น เนื่องจากสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมขุนสงขลานครินทร์ได้เสด็จไปศึกษาต่อยังต่างประเทศ หลังจากการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าได้เสด็จออกมาประทับนอกพระบรมมหาราชวัง ทรงเริ่มสร้างพระตำหนักขึ้น ณ วังสระปทุม และเสด็จประทับเป็นการถาวรตลอดพระชนม์ชีพพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ และครอบครัว ปัจจุบัน วังสระปทุมเป็นที่ประทับของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นอกจากนี้ วังสระปทุมยังใช้เป็นสถานที่จัดงานอภิเษกสมรสระหว่างสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกและสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี รวมทั้ง ยังเป็นสถานที่จัดพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสระหว่างพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถอีกด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และวังสระปทุม · ดูเพิ่มเติม »

วิลล่าวัฒนา

มเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ที่วิลล่าวัฒนา สวิตเซอร์แลนด์ วิลล่าวัฒนา วิลล่าวัฒนา (Villa Vadhana) เป็นพระตำหนักที่ประทับของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ในสวิตเซอร์แลนด์ วิลล่าวัฒนา ตั้งอยู่เลขที่ 51 Chamblandes dessusv อยู่ระหว่างถนน Tour Haldimand กับถนน General Guisan เมืองปุยยี นอกเมืองโลซาน เป็นบ้าน 3 ชั้น ขนาด 13 ห้องนอน ตั้งอยู่บนเนินลาดในเนื้อที่ประมาณ 2 ไร่ มีบริเวณและสวนผลไม้ หันหน้าไปทางทะเลสาบเจนีวา (ทะเลสาบเลม็อง) และมองเห็นเทือกเขาแอลป์ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงตัดสินพระทัยย้ายออกจากแฟลตขนาด 3 ห้องนอนที่ เลขที่ 16 ถนนทิสโซ่ต์ เมืองโลซาน เข้ามาอยู่ที่บ้านหลังนี้ ภายหลังการสละราชสมบัติของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และรัฐบาลได้อัญเชิญพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล เสด็จขึ้นครองสิริราชสมบัติ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเช่าบ้านหลังนี้จากเจ้าของในราคาเดือนละ 8,000 ฟรังก์สวิส โดยเจ้าของยินดีขายบ้านให้ในราคา 96,000 ฟรังก์สวิส แต่ไม่ได้ทรงซื้อไว้ เพราะไม่มีเงินก้อน ทรงย้ายเข้ามาอยู่ที่วิลล่าวัฒนา เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2478 และทรงใช้ชีวิตที่นี่เป็นเวลาสิบกว่าปี ทรงตั้งชื่อบ้านหลังนี้ว่า "วิลล่าวัฒนา" ตามพระนาม "สว่างวัฒนา" ของสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า และพระนามของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และวิลล่าวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัยรังสิต

วิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นวิทยาลัยดนตรีแห่งที่สี่ของประเทศไทย ต่อจากวิทยาลัยดุริยศิลป์, วิทยาลัยดุริยางคศิลป์และคณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ก่อตั้งเมื่อปีพ.ศ. 2545 โดย ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต ขณะนี้ดร.เด่น อยู่ประเสริฐมีกิจอยู่นอกประเทศ และ ดร.วิบูลย์ ตระกูลฮุ้น ได้รักษาการคณบดีเป็นการชั่วคราว.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และวิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัยรังสิต · ดูเพิ่มเติม »

วีทรีโอ

วีทรีโอ หรือบางครั้งเขียน วี ทรีโอ้ (Vie Trio) เป็นกลุ่มดนตรีคลาสสิกัลครอสโอเวอร์ 3 ชิ้น ประกอบด้วยไวโอลิน 2 ตัว และเชลโล ในสังกัดเอ็กแซ็กท์ ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ โดยนักดนตรีสามพี่น้อง คือ ทวีเวท ศรีณรงค์ (เป้ เล่นไวโอลิน) อุทัยศรี ศรีณรงค์ (ป่าน เล่น เชลโล) และพินทุสร ศรีณรงค์ (ปุย เล่นไวโอลิน) ทั้งสามคนเป็นบุตรของสุทิน ศรีณรงค์ นักดนตรีคลาสสิก ซึ่งเล่นดนตรีคลาสสิกมาตั้งแต่เด็ก และเป็นนักเรียนทุนในพระอุปถัมภ์ในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ มาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และวีทรีโอ · ดูเพิ่มเติม »

ศิรินทิพย์ หาญประดิษฐ์

รินทิพย์ หาญประดิษฐ์ (โรส) เกิดเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2526 จบการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 1-3 จากโรงเรียนอาเวมารีอา อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ระดับประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียน Emmaus ในเขตปกครองพิเศษฮ่องกง ระดับประถมศึกษาปีที่ 5 จาก ICS (International Christian School) เขตปกครองพิเศษฮ่องกง ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนสวนนันทวัน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 จากโรงเรียนคริสต์ธรรมศึกษา กรุงเทพมหานคร ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 จากโรงเรียนสายน้ำผึ้ง (ศิลป์ภาษาฝรั่งเศส) และปริญญาตรี เอกภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และศิรินทิพย์ หาญประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์การบินทหารบก

ูนย์การบินทหารบก โดยมีศูนย์บัญชาการอยู่ ณ ค่ายสมเด็จพระศรีนครินทรา เป็นค่ายทหารในสังกัดกองทัพบกไทย ตั้งอยู่ที่ อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และศูนย์การบินทหารบก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

มหาอำมาตย์ตรี พันเอกพิเศษ จอมพลเรือ นายกองเอกเสือป่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (1 มกราคม พ.ศ. 2435 – 24 กันยายน พ.ศ. 2472) เป็นพระบรมราชชนกในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระอัยกาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า มีพระเชษฐาและพระเชษฐภคินีที่ประสูติร่วมพระราชมารดา 7 พระองค์ พระองค์มีคุณูปการแก่กิจการแพทย์แผนปัจจุบันและการสาธารณสุขของประเทศไทยประชาชนโดยทั่วไปคุ้นเคยกับพระนามว่า "กรมหลวงสงขลานครินทร์" หรือ "พระราชบิดา" และบางครั้งก็ปรากฏพระนามว่า "เจ้าฟ้าทหารเรือ" และ "พระประทีปแห่งการอนุรักษ์สัตว์น้ำของไทย" ส่วนชาวต่างประเทศเรียกพระนามว่า "เจ้าฟ้ามหิดล" หลังพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พระองค์ทรงพระประชวรต้องประทับในพระตำหนักวังสระปทุม และสวรรคตเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 เวลา 16.45 น. ด้วยพระโรคฝีบิดในพระยกนะ(ตับ) โดยมีโรคแทรกซ้อนคือพระปัปผาสะบวมน้ำและพระหทัยวาย พระชนมายุได้ 37 พรรษา 8 เดือน 23 วัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า

มเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระนามเดิม พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าสว่างวัฒนา (10 กันยายน พ.ศ. 2405 — 17 ธันวาคม พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชสมภพแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา(เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม) เป็นพระเจ้าลูกเธอชั้นเล็ก ลำดับที่ 60 ในจำนวนทั้งหมด 82 พระองค์ โดยรับราชการสนองพระเดชพระคุณเป็นพระภรรยาเจ้าในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์เป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ซึ่งเป็นสยามมกุฎราชกุมารพระองค์แรกของไทย เป็นสมเด็จพระมาตุจฉาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระอัยยิกาเจ้าในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระปัยยิกาเจ้าในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรณรงค์ เสถียรวงศ์ กรมสารนิเทศ นอกจากนี้พระองค์ทรงดำรงตำแหน่งองค์สภาชนนีสภาอุณาโลมแดง อันเป็นชื่อของสภากาชาดไทยเมื่อครั้งแรกตั้งในต้นรัชกาลที่ 5 เป็นพระองค์แรกและพระองค์เดียว และองค์สภานายิกา สภากาชาดไทย พระองค์ที่ 2 และทรงสร้างสถานพยาบาลขึ้น ปัจจุบัน คือ โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของสภากาชาดไทย ในวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง พลตำรวจเอกหญิง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พระนามเดิม: สังวาลย์ ตะละภัฏ; พระราชสมภพ: 21 ตุลาคม พ.ศ. 2443 ณ จังหวัดนนทบุรี — สวรรคต: 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 ณ กรุงเทพมหานคร) เป็นพระชายาในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์, พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระอัยยิกาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร พระองค์มีพระนามที่นิยมเรียกกันว่า สมเด็จย่า ทั้งนี้พระองค์ยังได้ประกอบพระราชกรณียกิจเยี่ยมราษฎรชาวไทยภูเขาที่อาศัยในถิ่นทุรกันดาร และได้พระราชทานความช่วยเหลือผ่านทางเฮลิคอปเตอร์พระที่นั่ง เปรียบเสมือนพระองค์เสด็จมาจากฟากฟ้าช่วยให้พวกเขามีวิถีชีวิตที่ดีขึ้น ชาวไทยภูเขาจึงถวายพระสมัญญานามว่า "แม่ฟ้าหลวง"มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี

มเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี (10 พฤษภาคม พ.ศ. 2404 – 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2470) หรือที่ชาววังออกพระนามว่า เสด็จพระนาง เป็นพระมเหสีชั้นลูกหลวงตำแหน่งพระราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วยเป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ต่างพระมารดากับพระราชสวามี ด้วยพระองค์ประสูติแต่เจ้าคุณจอมมารดาสำลี พระองค์เป็นพระชนนีของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร ซึ่งทรงเป็นเจ้าฟ้าชั้นเอก (ชั้นทูลกระหม่อม) ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์แรกที่มีพระชนม์ และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้รับการสถาปนาไว้ในที่ "สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี" ภายหลังทรงสิ้นพระชนม์เมื่อวันเสาร์ เดือน 8 ขึ้น 11 ค่ำ ปีเถาะนพศก..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2475) เป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และโดยพระชนมายุจึงนับเป็นพระกุลเชษฐ์พระองค์ปัจจุบันในพระบรมราชจักรีวงศ์ เนื่องจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ขณะที่พระราชสวามีเสด็จออกผนวช ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2499 - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 73, ตอน 76ก, 25 กันยายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา

ันโทหญิง สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา (พระนามเดิม: ประไพ สุจริตกุล; ประสูติ: 10 มิถุนายน พ.ศ. 2445 — สิ้นพระชนม์: 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518) พระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาของเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล) กับท่านผู้หญิงสุธรรมมนตรี (กิมไล้ สุจริตกุล) เข้ารับราชการฝ่ายในในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงได้รับการสถาปนาพระราชอิสริยยศสูงสุดที่ "สมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินี" ภายหลังพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการให้ออกพระนามว่า สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาแทน พระองค์สิ้นพระชนม์ ณ โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2435 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2466) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 5 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 - 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) เป็นพระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวกับพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ประสูติ ณ พระที่นั่งเทพสถานพิลาส ในหมู่พระมหามณเฑียร พระบรมมหาราชวัง ก่อนที่สมเด็จพระบรมชนกนาถจะเสด็จสวรรคตในวันต่อมา พระนาม เพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี นั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้ในพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ โดยมีคำนำหน้าพระนามเป็นสมเด็จพระเจ้าภาติกาเธอ (ลูกสาวของพี่ชาย) ในรัชกาลที่ 7 และเป็นพระภคินี (ลูกพี่ลูกน้อง) ในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และโดยพระชนมายุพระองค์จึงเคยเป็นพระกุลเชษฐ์ในพระบรมราชจักรีวงศ์ หลังจากเสด็จนิวัตประเทศไทยเป็นการถาวร พระองค์ทรงปฏิบัติพระกรณียกิจเพื่อแบ่งเบาพระราชภาระในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชอยู่เป็นนิจ จนกระทั่งสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอในรัชกาลที่ 9 ทรงเจริญพระวัยและทรงสามารถแบ่งเบาพระราชกรณียกิจได้ กอปรกับพระองค์มีพระชนมายุสูงขึ้นจึงเสด็จออกทรงเยี่ยมราษฎรในถิ่นทุรกันดารน้อยลง นอกจากนี้ พระองค์ทรงรับสถาบันและองค์กรต่างๆ ทั้งในส่วนที่สืบสานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี และโดยส่วนพระองค์เองไว้ในพระอุปถัมภ์มากกว่า 30 แห่ง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สิ้นพระชนม์ด้วยพระอาการติดเชื้อในกระแสพระโลหิต เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เวลา 16.37 นาฬิกา ณ ตึก 84 ปี โรงพยาบาลศิริราช สิริพระชนมายุ 85 พรรษา 8 เดือน 3 วัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500) พระราชธิดาพระองค์เล็กในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระขนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน ในพระราชวังดุสิตสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี มีพระธิดา 2 พระองค์ คือ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ พระองค์ทรงเป็นเจ้าฟ้านักวิทยาศาสตร์ผู้มีผลงานดีเด่นของโลกในสาขาสารเคมีก่อมะเร็ง และพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม ทรงก่อตั้งสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ขึ้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี

มเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี (พระนามเดิม:หม่อมเจ้ารำเพย ศิริวงศ์; 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2377 — 9 กันยายน พ.ศ. 2404) เป็นพระมเหสีพระองค์ที่สองในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี · ดูเพิ่มเติม »

สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์

มสมาคม หอประชุม สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์ ตั้งอยู่ถนนอโศกมนตรี กรุงเทพมหานคร ตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ชุมพร

วนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ชุมพร สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 80 พรรษา ลำดับที่ 10 ตั้งอยู่ริมแม่น้ำหลังสวน บริเวณถ้ำเขาเงิน หมู่ที่ 7 ตำบลท่ามะพลา อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ห่างตัวเมืองชุมพรประมาณ 75 กิโลเมตร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ชุมพร · ดูเพิ่มเติม »

สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ พระนครศรีอยุธยา

วนสมเด็จพระศรีนครินทร์ พระนครศรีอยุธยา คือ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 80 พรรษา ลำดับที่ 2 ตั้งอยู่ในบริเวณอุทยานประวัติศาสตร์ด้านตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะเมือง ถนนอู่ทอง (ถนนรอบเมือง) ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีเนื้อที่ 152 ไร่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จเป็นประธานเปิดสวนเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2528 หน่วยงานรับผิดชอบในการดูแลรักษา คือ กรมศิลปากรและเทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา ต้นไม้ประจำสวน คือ หมันแดง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ พระนครศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ พังงา

วนสมเด็จพระศรีนครินทร์ พังงา คือ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 80 พรรษา ลำดับที่ 9 ตั้งอยู่ใกล้ศาลากลางจังหวัดพังงา ตำบลท้ายช้าง อำเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา มีเนื้อที่ 162 ไร่ 294 ตารางวา สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จเป็นประธานเปิดสวนเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2532 หน่วยงานรับผิดชอบในการดูแลรักษา คือ เทศบาลเมืองพังงา ต้นไม้ประจำสวน คือ ตะเคียนทอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ พังงา · ดูเพิ่มเติม »

สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ พิจิตร

วนสมเด็จพระศรีนครินทร์ พิจิตร คือ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 80 พรรษา ลำดับที่ 5 ตั้งอยู่ที่ริมบึงสีไฟ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร มีเนื้อที่ 170 ไร่ เป็นพื้นดิน ประมาณ 50 ไร และพื้นน้ำประมาณ 120 ไร่ สมเด็จพระศรีนครินทร์บรมราชชนนี พร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จเป็นประธานเปิดสวนเมื่อวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2530 หน่วยงานรับผิดชอบในการดูแลรักษา คือ เทศบาลเมืองพิจิตร ต้นไม้ประจำสวน คือ ค้อ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ พิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี

วนสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี (Stone Garden) คือ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 80 พรรษา ลำดับที่ 8 ตั้งอยู่ที่บ้านทุ่งนาคราช ตำบลหนองหญ้า อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี มีเนื้อที่ 600 ไร่เศษ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จเป็นประธานเปิดสวนเมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2531 ประชาชนทั่วไปเรียกสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ว่า “สวนหิน” หรืออุทยานหินเพราะในบริเวณนั้นมีหินงอกอยู่เรียงราย อย่างเป็นระเบียบในเนื้อที่ประมาณ 200 ไร่ การเดินทางไปสวนหิน เส้นทางที่ใกล้ที่สุด คือเดินทางจากหลักเมืองไปยังท่าร่วมของแม่น้ำสองสาย คือ แม่น้ำแควน้อย และแม่น้ำแควใหญ่ ข้ามแพขนานยนต์ไปยังฝั่งตรงข้าม เดินทางผ่านสุสานเขาช่องไก่ ถ้ำเขาปูน และวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกาญจนบุรี ระยะทางประมาณ 9 กิโลเมตร อีกเส้นทางหนึ่งไปตามถนนแสงชูโต ผ่านสุสานสัมพันธมิตรถึงสามแยกแก่งเสี้ยนเลี้ยวซ้าย ผ่านสะพานข้ามแม่น้ำแควใหญ่ ไปตามเส้นทางวัดเขาปูนจะถึงบริเวณสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ระยะทาง 21 กิโลเมตร หน่วยงานรับผิดชอบในการดูแลรักษา คือ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกาญจนบุรี ต้นไม้ประจำสวน คือ กาญจนิกา ไม้พื้นถิ่นของของประเทศไทยที่มีมากในกาญจนบุรี.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด

วนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด คือ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 80 พรรษา ลำดับที่ 3 ตั้งอยู่หน้าศาลากลางจังหวัดร้อยเอ็ด ตำบลในเมือง อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด นับได้ว่าอยู่ใจกลางเมือง มีเนื้อที่ 123 ไร่ 3 งาน 15 ตารางวาสมเด็จพระศรีนครินทาบรมราชชนนีพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จมาเป็นประธานเปิดสวนเมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2529 หน่วยงานรับผิดชอบในการดูแลรักษา คือ เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ต้นไม้ประจำสวน คือ กันเกร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด · ดูเพิ่มเติม »

สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ศรีสะเกษ

วนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ศรีสะเกษ เป็นสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 80 พรรษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ตำบลหนองครก อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ ติดกับบริเวณวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ มีเนื้อที่ 237 ไร่ ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทร์บรมราชชนนี พร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จเป็นประธานเปิดสวนแห่งนี้เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2524 หน่วยงานรับผิดชอบในการดูแลรักษา คือ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ ต้นไม้ประจำสวน คือ ลำดวน (Melodorum fruticosum Lour.).

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ สกลนคร

วนสมเด็จพระศรีนครินทร์ สกลนคร คือ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 80 พรรษา ลำดับที่ 5 ตั้งอยู่ที่ริมหนองหานตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร มีเนื้อที่ 120 ไร่ เป็นพื้นดิน ประมาณ 70 ไร และพื้นน้ำประมาณ 50 ไร่ สมเด็จพระศรีนครินทร์บรมราชชนนี เสด็จเป็นประธานเปิดสวนด้วยพระองค์เองเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 หน่วยงานรับผิดชอบในการดูแลรักษา คือ เทศบาลนครสกลนคร ต้นไม้ประจำสวน คือ นนทรี.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ สกลนคร · ดูเพิ่มเติม »

สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ฉะเชิงเทรา

วนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ฉะเชิงเทรา คือ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 80 พรรษา ลำดับที่ 4 ตั้งอยู่ที่ ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา มีเนื้อที่ 90 ไร่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จเป็นประธานเปิดสวนเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2529 หน่วยงานรับผิดชอบในการดูแลรักษา คือ เทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา ต้นไม้ประจำสวน คือ เฟื่องฟ้.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ฉะเชิงเทรา · ดูเพิ่มเติม »

สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ปัตตานี

วนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ปัตตานี คือ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 80 พรรษา ลำดับที่ 12 ตั้งอยู่ที่ชายหาดทะเล ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี มีเนื้อที่เดิม 155 ไร่ ปัจจุบันสืบเนื่องจากการเจริญงอกงามของป่าชายเลนทำให้ชายหาดงอกได้เนื้อที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ที่ละน้อย สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จเป็นประธานเปิดสวนเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2537 หน่วยงานรับผิดชอบในการดูแลรักษา คือ เทศบาลเมืองปัตตานี ต้นไม้ประจำสวน คือ สารภีทะเล.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ นนทบุรี

วนสมเด็จพระศรีนครินทร์ นนทบุรี คือ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 80 พรรษา ลำดับที่ 11 ตั้งอยู่ที่หนองปรือ ตำบลบ้านใหม่ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี นับเป็นสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ที่อยู่ใกล้กรุงเทพมหานครมากที่สุด มีเนื้อที่ 109 ไร่ เป็นพื้นดิน 40 ไร่ พื้นน้ำ 69 ไร่ สมเด็จสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จมาทรงเป็นประธานเปิดสวนเมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2536 หน่วยงานรับผิดชอบในการดูแลรักษา คือ เทศบาลนครปากเกร็ด ต้นไม้ประจำสวน คือ ประดู่บ้าน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ นนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ เชียงราย

วนสมเด็จพระศรีนครินทร์ เชียงราย คือ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 80 พรรษา ลำดับที่ 7 ตั้งอยู่ที่ตำบลบ้านดู่ อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย ห่างจากตัวเมืองประมาณ 9 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 625 ไร่เศษ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จเป็นประธานเปิดสวน เมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2531 หน่วยงานรับผิดชอบในการดูแลรักษา คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ต้นไม้ประจำสวน คือ สุพรรณิการ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ เชียงราย · ดูเพิ่มเติม »

สวนสมเด็จเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา

วนสมเด็จเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงสงขลานครินทร์ เป็นสวนสาธารณะที่จัดสร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ในวาระครบรอบ 80 พรรษา เมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสวนสมเด็จเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

สำนักข่าวไทย

ตราสัญลักษณ์สำนักข่าวไทย เริ่มใช้เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2557 สำนักข่าวไทย (Thai News Agency ชื่อย่อ: สขท.; TNA) เป็นหน่วยงานประกอบกิจการข่าวสาร ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) จัดตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2520 ถือเป็นสำนักข่าวแห่งแรกของประเทศไทย มีหน้าที่รับผิดชอบหลัก ในการผลิต รวบรวม จัดเก็บ วิเคราะห์ และรายงานข่าว เพื่อนำเสนอออกอากาศ ทั้งทางวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เช่น อินเทอร์เน็ต สื่อทางคอมพิวเตอร์ออนไลน์ และโทรศัพท์เคลื่อนที่ ตลอดจนนำข้อมูลข่าวสารเพื่อใช้แลกเปลี่ยน กับกลุ่มความร่วมมือในต่างประเทศ และเป็นหนึ่งในศูนย์กลางการแลกเปลี่ยน และนำเสนอข่าวในประเทศไทย ไปสู่นานาประเทศทั่วโลก ทั้งนี้ ยังเปิดศูนย์ข่าวในส่วนภูมิภาคอีก 4 แห่งคือ ศูนย์ข่าวเชียงใหม่ ศูนย์ข่าวขอนแก่น ศูนย์ข่าวหาดใหญ่ และศูนย์ข่าวระยอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสำนักข่าวไทย · ดูเพิ่มเติม »

สิบสาม (สุนัข)

ณสิบสาม (เกิด 13 ธันวาคม พ.ศ. 2530 - ตาย 7 มกราคม พ.ศ. 2546) เป็นสุนัขทรงเลี้ยงในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ คุณสิบสาม เป็นสุนัขพันธุ์บอร์เดอร์เทอร์เรียเพศเมีย เกิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ 13 ธันวาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสิบสาม (สุนัข) · ดูเพิ่มเติม »

สินธู ศรสงคราม

นธู ศรสงคราม อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงแบร์น และธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และเป็นรองประธาน หจก.รัจนาการ เป็นพระชามาดา (ลูกเขย) ในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสินธู ศรสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

สุมณีนงเยาว์ วินิจฉัยกุล

ท่านหญิงสุมณีนงเยาว์ วินิจฉัยกุล (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าสุมณีนงเยาว์ ดิศกุล; ประสูติ: 16 มีนาคม พ.ศ. 2451 - สิ้นชีพิตักษัยประมาณปี พ.ศ. 2546) หรือ ท่านหญิงโสฬส เป็นพระธิดาลำดับที่ 27 ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ลำดับที่ 6 ที่ประสูติในหม่อมลำดวน ดิศกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม: วสันต์สิงห์) มีพระเชษฐาและพระเชษฐภคินีร่วมพระมารดา 5 พระองค์ คือ หม่อมเจ้าหญิงแฝด, หม่อมเจ้าพัฒนายุคุณวรรณ, หม่อมเจ้าสิวลีวิลาศ, หม่อมเจ้าทักษิณาธร และหม่อมเจ้านิพัทธ์พันธุดิศ ดิศกุล หม่อมเจ้าสุมณีนงเยาว์ ดิศกุล ทรงกราบบังคมทูลลาออกจากฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์ เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสุมณีนงเยาว์ วินิจฉัยกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุริยนันทนา สุจริตกุล

ท่านผู้หญิงสุริยนันทนา สุจริตกุล (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าสุริยนันทนา สุริยง; 7 สิงหาคม พ.ศ. 2456 — 4 สิงหาคม พ.ศ. 2557) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส ประสูติแต่หม่อมเรณี สุริยง ณ อยุธยา ต่อมาได้ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อสมรสกับจิตติ สุจริตกุล ซึ่งเป็นอดีตเอกอัครราชทูต และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสุริยนันทนา สุจริตกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร

นหลวงวัดราชบพิธ (อนุสรณ์สถานเจดีย์ทอง 4 องค์) แผนผังสุสานหลวง แสดงที่ตั้งของอนุสาวรีย์ต่างๆ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก (ราชวรมหาวิหาร) ประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ซึ่งมิเพียงคงความวิจิตรงดงามในเชิงสถาปัตยกรรมไทยแบบพระราชนิยมแห่งหนึ่งในกรุงรัตนโกสินทร์แล้ว พระอารามนี้ยังประกอบด้วยเขตสุสานหลวงจุฬาลงกรณ์ราชสันตติวงศ์ อันเป็นบริเวณเฉพาะที่นับเนื่องด้วยราชสกุลและสายสัมพันธ์แห่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารเป็นสุสานที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ด้วยมีพระราชประสงค์จะให้ผู้ที่มีความรักใคร่ห่วงใยอย่างใกล้ชิดคือ พระมเหสี เจ้าจอมมารดา และพระราชโอรส พระราชธิดา ได้อยู่รวมกันหลังจากที่ได้ล่วงลับไปแล้ว ในทั่วไปจะเป็นการสร้างอนุสาวรีย์ของพระมเหสีและเจ้าจอมมารดา เพื่อให้ลูกได้อยู่รวมกับแม่หรืออย่างน้อยในบ้านของแม่ เว้นแต่ในกรณีที่พระราชโอรสหรือพระราชธิดาสิ้นพระชนม์ก่อนพระมารดาก็สร้างอนุสาวรีย์ของพระเจ้าลูกเธอพระองค์นั้นไปก่อน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์

ร.คุณหญิง สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ (1 พฤษภาคม 2504 -) เป็นนักการเมือง เคยร่วมประท้วงในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ อดีตรัฐมนตรีเคยดำรงตำแหน่งที่สำคัญในรัฐบาล พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันเป็นประธานมูลนิธิไทยพึ่งไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุนัขทรงเลี้ยง

หัวหิน สุนัขทรงเลี้ยงในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สุนัขทรงเลี้ยง เป็นสุนัขที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หรือพระบรมวงศานุวงศ์ทรงเลี้ยงไว้เพื่อพระเกษมสำราญของพระองค์ยามว่างเว้นจากพระราชกรณียกิจ ด้วยเป็นสัตว์ที่ได้รับความนิยมไปทั่วโลก เนื่องจากสุนัขนั้นน่ารัก ซื่อสัตย์ และแสนรู้อันเป็นคุณสมบัติที่มนุษย์พึงเลี้ยงสุนัขไว้เป็นเพื่อน บ้างเจ้านายก็ทรงซื้อหามา บ้างก็ได้รับพระราชทาน บ้างก็มีผู้น้อมเกล้าถวาย บ้างก็ทรงอุปการะสุนัขที่ถูกทอดทิ้งมาไว้ในพระอนุเคราะห์ ในราชสำนักไทยตั้งแต่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ก็ปรากฏการเลี้ยงสุนัขจนเป็นที่นิยมในพระราชสำนักฝ่ายในแล้ว สุนัขที่เลี้ยงส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก มีขนปุย และจะได้รับการเลี้ยงดูอย่างประคบประหงมพอสมควร ทั้งมีที่นอนขนาดน้อยสร้างอย่างประณีต มีบ้าน หรือจานอาหารเล็ก ๆ ซึ่งส่วนใหญ่มักทำมาจากวัสดุมีค่าราคาแพงจนถึงขั้นมีการแข่งขันกันด้านคุณค่าและราคาของวัสดุนั้น ๆ หากสุนัขทรงเลี้ยงตายลง เจ้านายบางพระองค์จะสร้างสุสานสำหรับสุนัขทรงเลี้ยง บ้างก็นำอัฐิใส่ในอนุสาวรีย์ เช่น สิบสาม สุนัขทรงเลี้ยงในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ หรือทองแดง สุนัขทรงเลี้ยงในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บ้างก็สร้างเป็นอนุสรณ์เพื่อรำลึกถึงเช่น อนุสาวรีย์ย่าเหล ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสุนัขทรงเลี้ยง · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา

ันดนตรีกัลยาณิวัฒนา (Princess Galyani Vadhana Institute of Music; ชื่อย่อ: สกว. – PGVIM) เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ก่อตั้งด้วยความช่วยเหลือของรัฐบาลญี่ปุ่น โดยเน้นการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งอยู่เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี

นีโทรทัศน์ทีไอทีวี (Thailand Independent Television ชื่อย่อ: TITV) เป็นสถานีโทรทัศน์ระบบยูเอชเอฟที่อยู่ในการกำกับดูแลโดย กรมประชาสัมพันธ์ ผู้ได้รับมอบอำนาจการออกอากาศจากสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) ในสถานะหน่วยงานรูปแบบพิเศษ (Service Delivery Unit - SDU) ตั้งแต่เวลา 00.00 น. วันที่ 8 มีนาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

นีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส (Thai PBS) เป็นสถานีโทรทัศน์สาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย และแห่งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดำเนินการโดยองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.) ออกอากาศแทนสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ในวันอังคารที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551 ก่อนแพร่ภาพอย่างเป็นทางการในอีก 1 เดือนต่อม.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เป็นหมู่พระที่นั่งที่อยู่ระหว่างพระมหามณเฑียรและหมู่พระมหาปราสาทภายในพระบรมมหาราชวัง ทอดตัวจากทิศเหนือไปทิศใต้ ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นกลางและเขตพระราชฐานชั้นใน สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อใช้เป็นสถานที่ออกว่าราชการและเป็นที่ประทับส่วนพระองค์ เดิมประกอบด้วยหมู่พระที่นั่ง 11 องค์ แต่เนื่องจากพระที่นั่งบางองค์ทรุดโทรมจนยากต่อการบูรณะจึงได้ทำการรื้อลง ปัจจุบัน หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ประกอบด้วย พระที่นั่ง 5 องค์ ได้แก่ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เป็นพระที่นั่งองค์เดียวในหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทที่สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5 พระที่นั่งมูลสถานบรมอาสน์ พระที่นั่งสมมติเทวราชอุปบัติ พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร และพระที่นั่งเทวารัณยสถาน เป็นพระที่นั่งที่รื้อลงและสร้างขึ้นใหม่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมชลิตา ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา

ซเลีย โฮวาร์ด (Celia Hovard) ชื่อเล่นภาษาสเปนว่า เชลีตา (Chelita) หรือรู้จักในนาม หม่อมชลิตา ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา เป็นสตรีชาวอาร์เจนตินาและเป็นหม่อมคนที่สองของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช ซึ่งสมรสกันในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหม่อมชลิตา ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา

หม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา หรือ พระชนนีน้อย เป็นหม่อมในสมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ และเป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี หม่อมน้อยท่านนี้เป็นหม่อมคนละท่านกับหม่อมน้อย ชุมสาย ณ อยุธยา บุตรีของพระยาราชมนตรี (ภู่ ภมรมนตรี) กับท่านผู้หญิงอิน ที่เป็นอดีตหม่อมในกรมหมื่นมาตยพิทักษ์ ซึ่งต่อมาได้เป็นหม่อมในกรมขุนสีหวิกรม.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าพัฒนายุคุณวรรณ ดิศกุล

หม่อมเจ้าพัฒนายุคุณวรรณ ดิศกุล หรือ หม่อมเจ้าพัฒนายุ ดิศกุล (8 มกราคม พ.ศ. 2440 — 3 ธันวาคม พ.ศ. 2516) พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประสูติแต่หม่อมลำดวน ดิศกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม: วสันต์สิงห์) มีพระนามลำลองว่า "หญิงเหลือ" หม่อมเจ้าพัฒนายุ เป็นพระธิดาพระองค์แรกในหม่อมลำดวน เมื่อแรกประสูติทรงมีคู่แฝด แต่สิ้นชีพิตักษัยเมื่อพระชันษาเพียง 3 เดือน หม่อมเจ้าพัฒนายุ ทรงเป็นผู้ติดตามใกล้ชิดสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พร้อมกับ หม่อมเจ้าหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล และหม่อมเจ้าหญิงพิไลยเลขา ดิศกุล เมื่อครั้งที่ทรงลี้ภัยไปประทับที่ปีนัง ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ระหว่าง..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหม่อมเจ้าพัฒนายุคุณวรรณ ดิศกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าพงษ์พิศมัย เกษมสันต์

หม่อมเจ้าพงษ์พิศมัย เกษมสันต์ (13 มีนาคม พ.ศ. 2442 - 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ ลำดับที่ 42 ในพระเชษฐาและพระเชษฐภคินีร่วมพระบิดารวมทั้งสิ้น 71 องค์ และเป็นลำดับที่สองในหม่อมราชวงศ์ละม้าย สุริยกุล มีพระเชษฐาร่วมพระมารดา คือ หม่อมเจ้านิวัทธวงศ์ เกษมสันต์ (พ.ศ. 2438 - พ.ศ. 2507) หม่อมเจ้าพงษ์พิศมัย มีพระสวามีคือ หม่อมเจ้าเกียรติประวัติ เกษมสันต์ (พ.ศ. 2438 - พ.ศ. 2503) พระเชษฐาต่างพระมารดา ที่ประสูติจากหม่อมเจียม เกษมสันต์ ณ อยุธยา (คชเสนี) หม่อมเจ้าพงษ์พิศมัย เกษมสันต์ สิ้นชีพิตักษัย เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหม่อมเจ้าพงษ์พิศมัย เกษมสันต์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์

หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ (ประสูติ: 11 ธันวาคม พ.ศ. 2459 — สิ้นชีพิตักษัย: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) เป็นพระธิดาองค์เล็กในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ประสูติแต่หม่อมราชวงศ์โต จิตรพงศ์ และเป็นพระอนุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ที่เหล่าพระบรมวงศานุวงศ์ทรงนับถือ นอกจากนี้ หม่อมเจ้ากรณิกายังเป็นประธานมูลนิธินริศรานุวัติวงศ์ เป็นประธานกรรมการมูลนิธิสิรินธร และเป็นกรรมการที่ปรึกษามูลนิธิเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้ากฤษณาพักตรพิมล ศุขสวัสดิ

หม่อมเจ้ากฤษณาพักตรพิมล ศุขสวัสดิ (ดิศกุล; 24 ธันวาคม 2460) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ กับหม่อมแสง ดิศกุล ณ อยุธยา เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 15 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหม่อมเจ้ากฤษณาพักตรพิมล ศุขสวัสดิ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้ากุสุมา เกษมสันต์

หม่อมเจ้าหญิงกุสุมา เกษมสันต์ ประสูติวันที่ 24 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหม่อมเจ้ากุสุมา เกษมสันต์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้ายาใจ จิตรพงศ์

หม่อมเจ้ายาใจ จิตรพงศ์ (28 ธันวาคม พ.ศ. 2453 - 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539) เป็นพระโอรสลำดับที่ 7 ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ลำดับที่ 3 อันประสูติแต่หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ มีพระเชษฐภคินี พระอนุชา และพระขนิษฐาร่วมพระมารดา 5 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหม่อมเจ้ายาใจ จิตรพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าสวาสดิ์วัฒโนดม ประวิตร

หม่อมเจ้าสวาสดิ์วัฒโนดม ประวิตร (28 เมษายน พ.ศ. 2454 - 1 กันยายน พ.ศ. 2544) เป็นนักเขียนชาวไทย ใช้นามปากกาว่า ดวงดาว และบังใบ มีผลงานที่มีชื่อเสียง อาทิ "ผยอง", "เชลยศักดิ์", "เคหาสน์สีแดง" และ "ม่านไฟ" เป็นต้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหม่อมเจ้าสวาสดิ์วัฒโนดม ประวิตร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าอมรสมานลักษณ์ กิติยากร

หม่อมเจ้าอมรสมานลักษณ์ กิติยากร พระโอรสใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ กับหม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร ประสูติเมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2439.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหม่อมเจ้าอมรสมานลักษณ์ กิติยากร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าอรชุนชิษณุ สวัสดิวัตน์

ลโท หม่อมเจ้าอรชุนชิษณุ สวัสดิวัตน์ (15 มกราคม พ.ศ. 2454 — 26 ตุลาคม พ.ศ. 2512) พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภาพรรณี เป็นพระอนุชาร่วมพระมารดาในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมเจ้าอรชุนชิษณุ เสกสมรสกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรกานตมณี พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต และหม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตร เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหม่อมเจ้าอรชุนชิษณุ สวัสดิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าอาชวดิศ ดิศกุล

หม่อมเจ้าอาชวดิศ ดิศกุล (23 มีนาคม พ.ศ. 2456 - 4 ธันวาคม พ.ศ. 2518) พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ กับหม่อมเจิม ดิศกุล ณ อยุธยา เสกสมรสกับ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงศิริรัตนบุษบง พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต และหม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตร เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2490 แต่ไม่มีพระบุตรด้วยกัน มีเพียงบุตรบุญธรรมคือ ฤทธิ์ดำรง ดิศกุล ซึ่งเป็นบุตรของณรงค์ฤทธิ์ บุญ-หลง กับหม่อมราชวงศ์บุศยทิพย์ เทวกุล ซึ่งมีศักดิ์หลานสาวของหม่อมเจ้าอาชวดิศ หม่อมเจ้าอาชวดิศ ทรงเป็นนักเรียนอังกฤษรุ่นเดียวกับหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ทรงเคยเป็นผู้จัดการฝ่ายการเงิน โรงไฟฟ้าวัดเลียบ แล้วได้รับการชักชวนจากหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ให้มาเป็นผู้บริหารธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชยการ ทรงดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการธนาคาร นิตยสารผู้จัดการ,มกราคม 2536 จนกระทั่งสิ้นชีพิตักษัย อย่างกะทันหันเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2518 พระชันษา 62 ปี.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหม่อมเจ้าอาชวดิศ ดิศกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล

ลตรี หม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล (22 มกราคม พ.ศ. 2490) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา และเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 25 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล

หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล (3 สิงหาคม พ.ศ. 2429 — 23 กันยายน พ.ศ. 2521) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประสูติในหม่อมนวม ดิศกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม โรจนดิศ) มีพระนามลำลองว่า "หญิงใหญ่" เมื่อทรงพระเยาว์ทรงเข้าไปอยู่ในพระราชสำนักของสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี และมีความสามารถในการทำอาหารเป็นอย่างดี ด้วยความที่เป็นพระธิดาองค์ใหญ่ในกรมพระยาดำรงราชานุภาพ จึงทรงมีหน้าที่ดูแลวังวรดิศ และประกอบพระกรณียกิจแทนพระบิดาขณะที่ไม่ได้ทรงอยู่ในพระนคร นอกจากนี้หม่อมเจ้าจงจิตรถนอมยังมีศักดิ์เป็นหลานสาวของเจ้าจอมมารดาชุ่มผู้เป็นย่า เมื่อนับจากบรรพบุรุษฝ่ายมารดาของเจ้าจอมมารดาชุ่ม ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อกรมพระยาดำรงราชานุภาพเสด็จไปลี้ภัยที่ปีนัง ระหว่าง..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าทองคำเปลว ทองใหญ่

หม่อมเจ้าทองคำเปลว ทองใหญ่ ประสูติเมื่อวันที่ 1 เมษายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหม่อมเจ้าทองคำเปลว ทองใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์

หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์ (26 กันยายน พ.ศ. 2451 - 6 กันยายน พ.ศ. 2548) เป็นพระธิดาลำดับที่ 6 ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ลำดับที่ 2 อันประสูติแต่หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ มีพระเชษฐภคินี พระอนุชาและพระขนิษฐาร่วมพระมารดา 4 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าปุสาณ สวัสดิวัตน์

ลเรือเอก นายแพทย์ หม่อมเจ้าปุสาณ สวัสดิวัตน์ (27 ธันวาคม พ.ศ. 2472) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ กับหม่อมเร่ สวัสดิวัตน์ ณ อยุธยา เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 16 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหม่อมเจ้าปุสาณ สวัสดิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้านวพรรษ์ ยุคล

ร้อยเอก หม่อมเจ้านวพรรษ์ ยุคล (1 มกราคม พ.ศ. 2521) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล กับหม่อมไฉไล ยุคล ณ อยุธยา และเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 20 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหม่อมเจ้านวพรรษ์ ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้านนทิยาวัด สวัสดิวัตน์

หม่อมเจ้านนทิยาวัด สวัสดิวัตน์ (วันอาทิตย์ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2452 - 18 ตุลาคม พ.ศ. 2501) พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภาพรรณี เป็นพระอนุชาร่วมพระมารดาในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ใน พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมเจ้านนทิยาวัด สวัสดิวัตน์ ทรงจบการศึกษาจากโรงเรียนประจำที่นิวอิงแลนด์ สหรัฐอเมริกา และจากวูสเตอร์อะแคเดมี เมืองวูสเตอร์ รัฐแมสซาชูเซตส์ เมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหม่อมเจ้านนทิยาวัด สวัสดิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าโสภณภราไดย สวัสดิวัตน์

หม่อมเจ้าโสภณภราไดย สวัสดิวัตน์ (8 มกราคม พ.ศ. 2447 - 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2514) พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภาพรรณี เป็นพระเชษฐาร่วมพระมารดาในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ใน พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนเทพศิรินทร์ หม่อมเจ้าโสภณภราไดย เสกสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามยุรฉัตร พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหม่อมเจ้าโสภณภราไดย สวัสดิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล

ันตรีหม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ กับหม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา (บุตรีของเจ้าพระยาสิริรัตนมนตรี (หงส์ สุจริตกุล)) ประสูติ ณ วังเดิมเชิงสะพานถ่าน (หรือเรียกโดยสามัญว่า วังสะพานถ่าน) กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นตลาดบำเพ็ญบุญในปัจจุบันนี้ เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2439 เวลา 17.25 น. ได้รับพระราชทานนาม ไตรทิพเทพสุต จากสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าเพลารถ จิตรพงศ์

หม่อมเจ้าเพลารถ จิตรพงศ์ (3 ธันวาคม พ.ศ. 2457 - 26 มีนาคม พ.ศ. 2537) เป็นพระโอรสลำดับที่ 8 ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ลำดับที่ 4 อันประสูติแต่หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ มีพระเชษฐภคินี พระเชษฐา และพระขนิษฐาร่วมพระมารดา 4 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหม่อมเจ้าเพลารถ จิตรพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงจีนวิศวภัทร มณีปัทมเกตุ

ระวิศวภัทร ฉายา เส็กก่วงโต่ว เป็นชาวไทยที่ออกบวช ณ ภูเขาเก้ายอด หรือภูเขาจิ่วหัวซาน ภูเขาศักดิ์สิทธิ์ของพระกษิติครรภ์มหาโพธิสัตว์ ซึ่งเป็น 1 ใน 4 พุทธบรรพตของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ท่านเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการแปลพระสูตรมหายานจากพระไตรปิฎกภาษาจีนเป็นภาษาไทย จำนวนมากกว่า 20 พระสูตร และเน้นการนำข้อวัตรปฏิบัติที่ปรากฏในพระสูตรมหายานออกมาปฏิบัติได้จริง ปัจจุบันเป็นรองประธานและคณะทำงานโครงการแปลพระสูตรมหายานจีน-ไทยเฉลิมพระเกียรติ (崇聖大乘佛經中泰翻譯組.; Chinese-Thai Mahāyāna Sūtra Translation Project in Honour of His Majesty the King.).

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหลวงจีนวิศวภัทร มณีปัทมเกตุ · ดูเพิ่มเติม »

หะริน หงสกุล

ลอากาศเอกหะริน หงสกุล (29 สิงหาคม พ.ศ. 2457 — 10 มีนาคม พ.ศ. 2551) อดีตประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และประธานรัฐสภา พลอากาศเอกหะริน หงสกุล เกิดที่จังหวัดเชียงใหม่ เป็นบุตรของหลวงอนุภาณดิสยานุสรรค์ กับ พระพี่เลี้ยงหวน หงสกุล(2428-2532) ในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ จบการศึกษาชั้นมัธยมจาก โรงเรียนเทพศิรินทร์ และโรงเรียนนายร้อยทหารบก จากนั้นศึกษาต่อวิชาการบิน และย้ายไปสังกัดกองทัพอากาศไทย และไปศึกษาต่อวิชาเสนาธิการทหารอากาศ ที่ ประเทศอังกฤษ ขณะมียศเป็นนาวาอากาศโท เพื่อเตรียมการจัดตั้งโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศและโรงเรียนนายเรืออากาศของไทย นายทหารที่เดินทางไปศึกษาพร้อมกันในครั้งนั้นคือ นาวาอากาศโททวี จุลละทรัพย์ นาวาอากาศตรีสวัสดิ์ โพธิ์วิหคและ นาวาอากาศตรีละเอิบ ปิ่นสุวรรณ์ พลอากาศเอก หะริน เคยเป็นผู้ช่วยทูตทหารอากาศประจำกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ต่อมามีตำแหน่งทางการทหารสูงสุด เป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศ ได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาหลายสมัย ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานสภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน เมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และหะริน หงสกุล · ดูเพิ่มเติม »

อรอำไพ โกมารกุล ณ นคร

ณหญิงอรอำไพ โกมารกุล ณ นคร..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และอรอำไพ โกมารกุล ณ นคร · ดูเพิ่มเติม »

อริยา ศรีณรงค์

อริยา ศรีณรงค์ หรือ ปุย หัวหน้าวงดุริยางค์เยาวชนไทยในอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เกิดเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2531 มีพี่น้อง 3 คน พินทุสรเป็นคนสุดท้อง และปัจจุบันออกอัลบั้มกับค่าย Exact ในนามของ "Vietrio" พี่น้องทั้ง 3 คนของครอบครัวศรีณรง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และอริยา ศรีณรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

อร่าม รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์

ันเอก อร่าม รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ (24 สิงหาคม พ.ศ. 2463 - 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2525 อายุ 61 ปี) บุตรของพลเอก หลวงเสรีเริงฤทธิ์ (จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์) อดีตแม่ทัพกองทัพพายัพ ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ และกระทรวงพาณิชย์ ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม อธิบดีกรมรถไฟและผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไทยตามลำดับ พันเอกอร่าม รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ สมรสกับสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา พระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เมื่อ พ.ศ. 2487 นับเป็นพระเชษฐภาดา (พี่เขย) ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีธิดาคือ ท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม (เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488 ที่สวิตเซอร์แลนด์) พันเอกอร่าม รัตนกุล เป็นบุคคลเดียวที่โดยเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลเดช อยู่ในรถยนต์พระที่นั่งขณะที่เกิดอุบัติเหตุรถชนกับรถบรรทุก ที่ทะเลสาบเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2491 และได้รับบาดเจ็บสาหัส เมื่อเดินทางกลับประเทศไทย พันเอกอร่าม รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ ได้รับราชการเป็นอาจารย์สอนหนังสือ เมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และอร่าม รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อัครวัฒน์ ศรีณรงค์

ร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และอัครวัฒน์ ศรีณรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

อาวุธ เงินชูกลิ่น

ลอากาศตรี ศาสตราภิชานอาวุธ เงินชูกลิ่น (22 มีนาคม พ.ศ. 2485 — 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556) เป็นสถาปนิกชาวไทย อดีตอธิบดีกรมศิลปากร อาจารย์พิเศษในหลายมหาวิทยาลัย ผู้เชี่ยวชาญด้านออกแบบสถาปัตยกรรมไทย หัวหน้าผู้ออกแบบพระเมรุ ในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพถึง 3 ครั้ง ได้แก่ พระเมรุ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ณ ท้องสนามหลวง พล.อ.ต.อาวุธ ยังได้ออกแบบงานสถาปัตยกรรมที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระบรมราชวินิจฉัยในงานออกแบบถึง 2 งานหลักๆ ได้แก่ วัดพระราม 9 กาญจนาภิเษก ศาลหลักเมืองกรุงเทพมหานคร นอกจากนี้ยังเป็นผู้รับผิดชอบในการบูรณะปฏิสังขรณ์ โบราณสถานแห่งชาติที่สำคัญหลายแห่ง ไม่ว่าจะเป็นงานงานบูรณะมณฑป โลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร ในปี.ศ 2539 ให้เป็นมณฑปสีดำ หรือหุ้มด้วยทองแดง ยอดพระมหามณฑป วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร จนต่อมาได้รับการยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ (ประยุกต์ศิลป์) สาขาย่อย สถาปัตยกรรม ประจำปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และอาวุธ เงินชูกลิ่น · ดูเพิ่มเติม »

อาศิส พิทักษ์คุมพล

อาศิส พิทักษ์คุมพล จุฬาราชมนตรี ประธานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย อดีตสมาชิกวุฒิสภา อดีตประธานกรรมการอิสลามประจำจังหวัดสงขล.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และอาศิส พิทักษ์คุมพล · ดูเพิ่มเติม »

อาเซียนพาราเกมส์ 2008

อาเซียนพาราเกมส์ 2008 เป็นการแข่งขันกีฬาคนพิการในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ครั้งที่ 4 โดยเจ้าภาพคือจังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย ในระหว่างวันที่ 20 มกราคม ถึง 26 มกราคม พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และอาเซียนพาราเกมส์ 2008 · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกัลยาณิวัฒนา

กัลยาณิวัฒนา (75px) เป็นเขตการปกครองระดับอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัดเชียงใหม่ และอันดับที่ 878 ของประเทศไทย จัดตั้งเมื่อ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2552 โดยพระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2542 และตั้งที่ว่าการอำเภอ ณ ตำบลแจ่มหลวงราชกิจจานุเบกษา,.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และอำเภอกัลยาณิวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

จรัส สุวรรณเวลา

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ จรัส สุวรรณเวลา เป็นข้าราชการชาวไทย ประธานกรรมการคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และอดีตนายกสภาและอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และจรัส สุวรรณเวลา · ดูเพิ่มเติม »

จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์

ลเอก จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ (27 ตุลาคม พ.ศ. 2438 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2526) อดีตอธิบดีกรมรถไฟ และผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และจรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จิทัศ ศรสงคราม

ร้อยเอก จิทัศ ศรสงคราม (6 สิงหาคม พ.ศ. 2517) สถาปนิกและนักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ชาวไทย เป็นบุตรชายคนเดียวของสินธู ศรสงคราม กับท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม และเขาเป็นพระนัดดาเพียงคนเดียวในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และจิทัศ ศรสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติไทย

งชาติไทย หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ธงไตรรงค์ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้สีหลักในธง 3 สี คือ สีแดง ขาว และสีน้ำเงินขาบ ภายในแบ่งเป็นแถบ 5 แถบ แถบในสุดสีน้ำเงิน ถัดมาด้านนอกทั้งด้านบนและล่างเป็นสีขาวและสีแดงตามลำดับ แถบสีน้ำเงินมีขนาดใหญ่กว่าแถบสีอื่นเป็น 2 เท่า ความหมายสำคัญของธงไตรรงค์นั้นหมายถึงสถาบันหลักทั้งสามของประเทศไทย คือ ชาติ (สีแดง) ศาสนา (สีขาว) และพระมหากษัตริย์ (สีน้ำเงิน) สีทั้งสามนี้เองคือที่มาของการเรียกชื่อธงนี้ว่าธงไตรรงค์ (ไตร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และธงชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ธงพระอิสริยยศในประเทศไทย

งมหาราชใหญ่ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ธงพระอิสริยยศ เป็นธงสำหรับใช้หมายพระอิสริยยศของพระมหากษัตริย์ สมเด็จพระราชินี สมเด็จพระยุพราช และบรรดาพระบรมวงศานุวงศ์ในทางราชการ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และธงพระอิสริยยศในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ธงทอง จันทรางศุ

ตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ (8 มิถุนายน 2498 -) ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ภายใต้คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติและการสร้างความสามัคคีปรองดอง (ป.ย.ป.), กรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 8, กรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ, กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านนิติศาสตร์ในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ,ประธานกรรมการ บริษัท ท่าเรือราชาเฟอร์รี่ จำกัด (มหาชน) จังหวัดสุราษฎร์ธานี, ไวยาวัจกร วัดโสมนัสวิหาร, อุปนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประธานอนุกรรมการเครือข่ายสถาบันการศึกษาในรัชกาลที่ 6, ประธานกรรมการพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว สถาบันพระปกเกล้า, นายกสมาคมศิษย์เก่าสาธิตปทุมวัน, อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2539 (ส.ส.ร.) ประเภทผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายมหาชน, อดีตที่ปรึกษาประจำสำนักนายกรัฐมนตรี, อดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี, อดีตเลขาธิการสภาการศึกษา, อดีตรองปลัดกระทรวงยุติธรรม, อดีตรองโฆษกกระทรวงยุติธรรม, อดีตรองอธิบดีกรมคุมประพฤติ, อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอดีตผู้ประสานงานคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา (CPLO) นอกจากนี้แล้ว ศาสตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ ยังมีความเชี่ยวชาญในด้านประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม รวมทั้งเรื่องราวประวัติศาสตร์ทางราชสำนัก และพระราชพิธีเป็นอย่างมาก จนได้แต่งหนังสือเกี่ยวกับเรื่องราวด้านประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่องราวประวัติศาสตร์ทางราชสำนัก และพระราชพิธี เป็นจำนวนมาก ตลอดจนยังได้หนังสือกฎหมายต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องทางด้านประวัติศาสตร์อีกด้วย และยังได้รับเชิญให้มาร่วมบรรยายถ่ายทอดสดในการพระราชพิธีต่างๆ ที่สำคัญมาแล้วหลายวาระ และล่าสุดในปีพ.ศ. 2559 ได้รับเชิญให้มาร่วมบรรยายถ่าดทอดสดในการพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และธงทอง จันทรางศุ · ดูเพิ่มเติม »

ธงประจำพระองค์

งประจำพระองค์ เป็นธงประเภทหนึ่งของพระราชวงศ์ไทย ซึ่งประดับร่วมกับธงชาติไทยเพื่อถวายพระเกียรติแก่พระราชวงศ์ไทย ปรากฏใช้อยู่ทุกแห่งในประเทศไทย ต่างจากธงอีกประเภทหนึ่งซึ่งเรียกรวมกันตามกฎหมายธงในปัจจุบันว่า ธงพระอิสริยยศ อันเป็นธงที่ใช้ในพิธีการต่าง ๆ เป็นการพิเศษ และใช้ในสถานที่เฉพาะแห่ง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และธงประจำพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงไชย แมคอินไตย์

งไชย แมคอินไตย์ (เกิด 8 ธันวาคม พ.ศ. 2501) เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไทย ได้รับขนานนามว่าเป็นซูเปอร์สตาร์เมืองไทย แรกเข้าวงการบันเทิงเป็นนักแสดงสมทบ ต่อมาได้รับบทพระเอก โดยภาพยนตร์ที่สร้างชื่อเสียงให้กับเขาที่สุดเรื่อง ด้วยรักคือรัก ส่วนละครที่สร้างชื่อเสียงที่สุดของเขาคือบท "โกโบริ" ในละครคู่กรรม ด้านวงการเพลงซึ่งเป็นอาชีพหลักเขาเริ่มต้นจากการประกวดร้องเพลงของสยามกลการ และเป็นนักร้องในสังกัดบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) โดยเขามีอัลบั้มเพลงทั้งหมด 17 อัลบั้ม นอกจากผลงานประจำแล้ว เขาได้รับเกียรติให้ขับร้องเพลงเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสที่สำคัญหลายบทเพลง และในช่วง 25 ปีที่ผ่านมามีคอนเสิร์ตใหญ่ โดยเฉพาะคอนเสิร์ตแบบเบิร์ดเบิร์ดโชว์ ครั้งที่ 9 และ คอนเสิร์ตแบบเบิร์ดเบิร์ดโชว์ ครั้งที่ 10 สร้างปรากฏการณ์ยอดผู้ชมสูงสุดในประเทศไทย สำหรับบทบาทอื่น ๆ ของเขาในช่วงแรกของวงการบันเทิงเขาเป็นพิธีกรรายการถ่ายทอดสด 7 สีคอนเสิร์ต นอกจากนั้นเขายังเป็นนักพากย์ และผู้บรรยาย ชีวิตของธงไชยทุ่มเทให้กับการทำงานเป็นหลัก เขามีผู้จัดการ 2 คน ที่ดูแลเรื่องส่วนตัว และเรื่องงาน และมีเจ้าหน้าที่ของบริษัทแกรมมี่ช่วยทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย ชีวิตส่วนตัวของเขาเป็นโสดและไม่พยายามออกไปไหน เขามี "ไร่อุดมสุข" ที่จังหวัดเชียงราย ซึ่งตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ด้านความพอเพียง จากความกตัญญูของเขาภายหลังจากสูญเสียมารดา หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี ประทานพระเมตตา รับเขาเป็นเสมือนบุตรบุญธรรม ธงไชยเป็นศิลปินที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในรอบ 30 ปี ของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และประสบความสำเร็จสูงสุดของประเทศไทย โดยมียอดจำหน่ายอัลบั้มทั้งหมดสูงสุดของประเทศไทย กว่า 25 ล้านชุด ติดระดับแนวหน้าของทวีปเอเชีย และเป็นศิลปินคนแรกของแกรมมี่ที่ทำยอดขายอัลบั้มเกินสองล้านตลับ และมีสตูดิโออัลบั้มเดี่ยวที่ล้านตลับมากที่สุด 7 ชุด โดยเฉพาะอัลบั้มที่ยอดจำหน่ายสูงสุดของเขาคืออัลบั้ม ชุดรับแขก ซึ่งขายได้มากกว่า 5 ล้านชุด จนสื่อบันเทิงต่างประเทศ นำโดยนิตยสาร เอนเตอร์เทนเมนต์วีกลี ยกให้ธงไชยเป็นศิลปินนักร้องผู้ทรงอิทธิพลที่ประสบความสำเร็จสูงสุดของประเทศไทย และเป็นระดับแนวหน้าของทวีปเอเชีย ธงไชยได้รับรางวัลต่าง ๆ จำนวนมาก รวมทั้งบิลบอร์ดวิวเออส์ชอยส์อะวอดส์ 1997 ณ สหรัฐ เป็นนักร้องจากทวีปเอเชียคนแรกที่ได้รับรางวัลดังกล่าว เขาได้รับฉายา "ดาวค้างกรุ" ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และธงไชย แมคอินไตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงไชยเฉลิมพล

กองพันทหารม้าที่ 1 รักษาพระองค์ฯ เชิญธงชัยเฉลิมพลในริ้วกระบวนพระอิสริยยศพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ วันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ธงชัยเฉลิมพลทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ ของกองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ ขณะเชิญนำแถวทหารกองเกียรติยศเข้าสู่พระเมรุ ในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ในวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2555 ธงไชยเฉลิมพล หรือ ธงชัยเฉลิมพล (เขียนได้ทั้งสองอย่าง แต่ปัจจุบันประกาศต่าง ๆ ในราชกิจจานุเบกษานิยมสะกดอย่างหลัง) เป็นธงประจำหน่วยทหารที่ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ธงชัยเฉลิมพลถือเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์สูงสุดของทหาร เป็นเกียรติยศของหน่วยทหารนั้น ๆ เมื่อเวลาเข้าสู่สงคราม ทหารทั้งปวงต้องพิทักษ์รักษาธงชัยเฉลิมพลของหน่วยตนไว้ด้วยชีวิต ธงชัยเฉลิมพลจึงเป็นเครื่องนำความองอาจ กล้าหาญ แห่งหมู่ทหารทั้งปวง ให้เข้าต่อสู้ข้าศึกศัตรูให้ได้ชัยชนะกลับมา การปฏิบัติต่อธงชัยเฉลิมพลทุกขั้นตอน ต้องเป็นไปตามพิธีการ ระเบียบแบบแผนที่วางไว้อย่างเข้มงวดกวดขัน ในโอกาสที่จะเชิญธงชัยเฉลิมพลออกประจำที่ต้องเป็นพิธีการที่มีความสำคัญเกี่ยวกับเกียรติยศและเชิดหน้าชูตาเท่านั้น เช่น พิธีกระทำสัตย์ปฏิญาณตนของทหาร และไปราชการสงคราม เป็นต้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และธงไชยเฉลิมพล · ดูเพิ่มเติม »

ถนนนราธิวาสราชนครินทร์

นนนราธิวาสราชนครินทร์ บริเวณสถานีรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ หรือบีอาร์ที ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ (Thanon Naradhiwas Rajanagarindra) เป็นเส้นทางการคมนาคมในท้องที่เขตบางรัก เขตสาทร และเขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร ลักษณะเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็กขนาด 8 ช่องจราจร ความกว้าง 60 เมตร ระยะทาง 5.115 กิโลเมตร เริ่มจากถนนสุรวงศ์ในพื้นที่แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก มุ่งตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้พร้อมกับเลียบคลองช่องนนทรี ตัดกับถนนสีลมเข้าพื้นที่แขวงสีลม ตัดกับถนนสาทรเข้าพื้นที่เขตสาทร โดยฝั่งซอยเลขคี่เป็นท้องที่ของแขวงทุ่งมหาเมฆ ส่วนฝั่งซอยเลขคู่เป็นท้องที่แขวงยานนาวา จนถึงปากซอยนราธิวาสราชนครินทร์ 8 (อาคารสงเคราะห์ 6) จึงเข้าท้องที่แขวงทุ่งวัดดอน ตัดกับถนนจันทน์ เฉพาะฝั่งซอยเลขคู่เข้าสู่ท้องที่แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา ส่วนฝั่งซอยเลขคี่ยังอยู่ในท้องที่แขวงทุ่งมหาเมฆจนกระทั่งตัดกับถนนจันทน์เก่า จากนั้นตัดกับถนนรัชดาภิเษก และไปบรรจบกับถนนพระรามที่ 3 ที่แยกพระรามที่ 3-นราธิวาส (ช่องนนทรี) ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ตัดขึ้นตามโครงการก่อสร้างระบบระบายน้ำและถนนเลียบคลองช่องนนทรี ในแผนพัฒนากรุงเทพมหานครฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2535-2539) เมื่อสร้างแล้วเสร็จถนนสายนี้ยังไม่มีชื่อทางการ ดังนั้น เพื่อความสะดวกแก่ประชาชนที่สัญจรไปมา เพื่อความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ตลอดจนหน่วยงานราชการต่าง ๆ และเพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ กรุงเทพมหานครจึงได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเชิญพระนามของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ มาเป็นนามถนนอย่างเป็นทางการว่า ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตเมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และถนนนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทรูเฮฮา

ทรู เฮ ฮา หรือ เฮ ฮา (Hay Ha) ออกอากาศทางทรูวิชั่นส์ ช่อง 67 นำเสนอ รายการโทรทัศน์ หรือ ละครโทรทัศน์ ประเภท ตลก เบาสมอง ตลอด 24 ชั่วโมง ทั้งที่เคยออกอากาศทาง ฟรีทีวี และรายการที่ผลิตขึ้นใหม่ ให้เหมาะสมกับการรับชม เริ่มต้นเมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และทรูเฮฮา · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎี ณ พัทลุง

ทฤษฎี ณ พัทลุง เกิด 9 มีนาคม พ.ศ. 2529 เป็นนักประพันธ์ดนตรี และวาทยกรที่ได้รับการยอมรับในประเทศไทยที่และมีชื่อเสียงในระดับโลก ปัจจุบันทำงานเป็นผู้ช่วยผู้อำนวยเพลงของวงบางกอกโอเปร่า Goldberg Variations ปัจจุบันได้ก่อตั้งวง Bangkok Baroque Ensemble.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และทฤษฎี ณ พัทลุง · ดูเพิ่มเติม »

ทัศนาวลัย ศรสงคราม

ท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม (สกุลเดิม: รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์; 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488) เป็นพระธิดาเพียงคนเดียวในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ กับพันเอกอร่าม รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ เป็นพระภาคิไนยในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และทัศนาวลัย ศรสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

ทนงศักดิ์ ศุภการ

ทนงศักดิ์ ศุภการ มีชื่อจริงว่า ทนงศักดิ์ ศุภทรัพย์ (สกุลเดิม: หาทรัพย์; เกิด 9 กันยายน 2504) มีชื่อเล่นว่า นง เป็นนักแสดงและช่างภาพชาวไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และทนงศักดิ์ ศุภการ · ดูเพิ่มเติม »

ท็อปอวอร์ด 2007

ท็อปอวอร์ด 2007 เป็นรางวัลบันเทิงที่จัดโดยนิตยสารทีวีพูลร่วมกับสวนดุสิตโพล รางวัลนี้จะมอบให้แก่คนบันเทิงที่มีผลงานในช่วงปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และท็อปอวอร์ด 2007 · ดูเพิ่มเติม »

ท้องสนามหลวง

ท้องสนามหลวง ท้องสนามหลวง หรือ สนามหลวง เป็นสนามขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ด้านหน้าวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ระหว่างพระบรมมหาราชวังกับพระราชวังบวรสถานมงคล เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 74 ไร่ 63 ตารางวา ปัจจุบันกรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานสำคัญของชาติ ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 94 ตอนที่ 126 ลงวันที่ 13 ธันวาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และท้องสนามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวอินทรสุริยา (เนื่อง จินตดุล)

ท้าวอินทรสุริยา (เนื่อง จินตดุล) ท้าวอินทรสุริยา นามเดิม เนื่อง จินตดุล (10 ธันวาคม พ.ศ. 2428 - 16 ตุลาคม พ.ศ. 2517) เป็นพระพี่เลี้ยงผู้ถวายการอภิบาลสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และท้าวอินทรสุริยา (เนื่อง จินตดุล) · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวนาง

ท้าวนาง คือสตรีที่ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์และมีหน้าที่รับราชการฝ่ายในในพระบรมมหาราชวัง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และท้าวนาง · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐภัสสร สิมะเสถียร

ณัฐภัสสร สิมะเสถียร (หรือชื่อเดิม หทัยภัทร สิมะเสถียร) หรือ "ดาว" ในอดีตเป็นนักร้องเด็กที่มีชื่อเสียงคนหนึ่ง โดยใช้ชื่อว่า ดาวโอเกะ(Dao•ke) ณัฐภัสสรเกิดเมื่อ วันจันทร์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2531 ที่ กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน ณัฐภัสสรสำเร็จการศึกษาจาก คณะอักษรศาสตร์ เอกภาษาญี่ปุ่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในระหว่างที่มีการแข่งขัน เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวปี 4 ณัฐภัสสรได้ไปร่วมให้กำลังใจเพื่อนสนิทที่ผ่านเข้ารอบ 8 คนสุดท้าย ซึ่งก็คือ ปวีณ์สุดา จันทร์เกษ หรือรู้จักกันดีในนาม "เม เดอะ สตาร์".

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และณัฐภัสสร สิมะเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐนิช รัตนเสรีเกียรติ

ณัฐนิช รัตนเสรีเกียรติ หรือ พินต้า (2 เมษายน 2542 —) เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทย มีชื่อเสียงจากการชนะการประกวดร้องเพลงในรายการเดอะเทรนเนอร์ ปั้นฝันสนั่นเวที ปี 2 กับการแสดงเป็นแม่พลอยในวัยเด็กในละครเวทีเรื่อง สี่แผ่นดิน เดอะมิวสิคัล.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และณัฐนิช รัตนเสรีเกียรติ · ดูเพิ่มเติม »

ดอกแก้วกัลยา

อกแก้วกัลยา ดอกแก้วกัลยา คือชื่อดอกไม้ชนิดหนึ่งซึ่งสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามดอกไม้ประดิษฐ์โดยคนพิการของศูนย์ส่งเสริมอาชีพและพัฒนาคนพิการ ทั้งยั้งทรงพระราชทานพระอนุญาตให้ใช้เป็นดอกไม้สัญลักษณ์ ของคนพิการ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และดอกแก้วกัลยา · ดูเพิ่มเติม »

ดาราศาสตร์และฟิสิกส์ดาราศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ

การแข่งขันดาราศาสตร์และฟิสิกส์ดาราศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Astrophysics and Astronomy Olympiad: IOAA) มีการจัดการแข่งขันสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาขึ้นทุกๆ ปี เป็นสาขาหนึ่งในสาขาของโอลิมปิกวิชาการ โดยได้จัดตั้งขึ้นเพื่อให้เป็นองค์การที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้มีการแข่งขันดาราศาสตร์และฟิสิกส์ดาราศาสตร์ที่มีความเป็นนานาชาติอย่างแท้จริง โดยกรรมการการแข่งขันจะได้รับการคัดเลือกโดยการเลือกตั้งจากสมาชิกของทุกๆ ประเทศที่เข้าร่วมแข่งขัน โดยการแข่งขันครั้งแรกจัดขึ้น ณ จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย เพื่อเป็นเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ในวโรกาสที่พระชนมายุครบ 7 รอบในปี พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และดาราศาสตร์และฟิสิกส์ดาราศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ดนัย จันทร์เจ้าฉาย

นัย จันทร์เจ้าฉาย เกิดวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2509 เป็นบุตรของนายดำรงค์ จันทร์เจ้าฉาย (เสียชีวิต) และนางชนิตร์นันท์ จันทร์เจ้าฉาย เกิดที่จังหวัดนครราชสีมา ดนัย เป็น นักคิด นักเขียน นักจัดรายการวิทยุ นักบรรยาย นักบริหารการตลาดและประชาสัมพันธ์ ที่ปลูกฝังแนวคิดธุรกิจสีขาว ด้วยหลักการกลยุทธ์น่านน้ำสีขาว (White Ocean Strategy) และการสื่อสารบนพื้นฐานของความเป็นจริง ซึ่งเป็นต้นแบบการประชาสัมพันธ์ที่มุ่งเน้น เรื่องคุณธรรมจริยธรรมอย่างเป็นรูปธรรม ขยายผลอย่างกว้างขวางในสังคมทุกภาคส่วน และยังเป็นวิทยากรรับเชิญบรรยายในหัวข้อ คุณธรรม จริยธรรม ธรรมะ การตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์ กลยุทธ์การสื่อสารในภาวะวิกฤต ให้กับสถาบันทั้งในและต่างประเทศ ผู้ดำเนินรายการ CEO Vision และHuman Talk คลื่นความคิด 96.5 FM อสมท. ร่วมกับ คุณวิชัย วรธานีวง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และดนัย จันทร์เจ้าฉาย · ดูเพิ่มเติม »

คริสตี กิบสัน

ริสตี้ กิ๊บสัน (Christy Gibson) เป็นนักร้องเพลงลูกทุ่ง-หมอลำชาวดัตช์ ในประเทศไทย โดยมีชื่อเสียงจากการขับร้องเพลงลูกทุ่งและหมอลำและโดดเด่น ในฐานะชาวต่างชาติ (ฝรั่ง) ที่ขับร้องเพลงไทย เพราะย้ายมาอยู่ในประเทศไทยและหัดร้องเพลงลูกทุ่งตั้งแต่เล็ก โดยแจ้งเกิดและมักร่วมงานดนตรีกับคณะนักแสดงและวงดนตรีของ โจนัส แอนเดอร์สัน Christy & Jonas เรียกข้อมูล 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และคริสตี กิบสัน · ดูเพิ่มเติม »

ความสัมพันธ์เกาหลีเหนือ–ไทย

ทความนี้เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี กับ ราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และความสัมพันธ์เกาหลีเหนือ–ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ความจริงวันนี้

วามจริงวันนี้ (Truth Today หรือ Today Fact) เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทความเห็นทางการเมืองของประเทศไทย ที่ออกอากาศในระหว่างวันที่ 21 กรกฎาคม-10 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 22.15-23.00 น. และวันอาทิตย์ เวลา 22.00-23.00 น. ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (เอ็นบีที) ผลิตรายการโดย บริษัท เพื่อนพ้องน้องพี่ จำกัด มีนายวีระ มุสิกพงศ์ เป็นผู้ดำเนินรายการ ร่วมด้วย นายจตุพร พรหมพันธุ์ และ นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ เป็นผู้ร่วมรายการ ต่อมารายการได้กลับมาออกอากาศอีกครั้ง ทางสถานีประชาธิปไตย (ดี-สเตชัน) โดยเริ่มครั้งแรกเมื่อวันจันทร์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2552 ซึ่งในช่วงนี้ ได้มีพิธีกรเสริมทดแทน กรณีที่พิธีกรชุดเดิมคนใดคนหนึ่ง ไม่สามารถมาดำเนินรายการได้ อีก 3 คน คือ นายก่อแก้ว พิกุลทอง, นายสมหวัง อัสราษี และนางสาวนารีรัตน์ นานเนิ้น แต่เนื่องจาก ดี-สเตชัน ถูกสั่งระงับออกอากาศ รายการจึงจำเป็นต้องยุติไปอีกครั้ง แต่ในวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2552 นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ กล่าวบนเวทีปราศรัยของกลุ่มคนเสื้อแดงในงานแดงทั้งแผ่นดินสัญจรว่ารายการจะกลับมาออกอากาศอีกครั้ง ทางสถานีประชาชน (พีเพิลแชแนล) ฉายอีกครั้งวันที่ 15 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และความจริงวันนี้ · ดูเพิ่มเติม »

คุณพุ่ม เจนเซน

ว่าที่นายหมวดตรี ร้อยตำรวจตรี คุณพุ่ม เจนเซน (นามเดิม: ภูมิ เจนเซน; 16 สิงหาคม พ.ศ. 2526 — 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547) เป็นพระโอรสคนเดียวในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี กับปีเตอร์ เจนเซนและยังเป็นพระภาคิไนยในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพี่น้องคือคุณพลอยไพลิน และคุณสิริกิติยา เจนเซน คุณพุ่ม เจนเซนถึงแก่อนิจกรรมจากกรณีพิบัติภัยเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และคุณพุ่ม เจนเซน · ดูเพิ่มเติม »

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

"ดอกแก้ว" สัญลักษณ์ประจำคณะมนุษยศาสตร์ "อาคารมนุษยศาสตร์ 1" อาคารเรียนหลังแรกของคณะมนุษยศาสตร์ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เสด็จมาทรงเป็นประธานในพิธีวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2531 และทรงเป็นประธานในพิธีเปิดอาคารพร้อมทั้งทรงปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์เพื่อเป็นสิริมงคลแก่คณะมนุษยศาสตร์ เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2534 คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นคณะลำดับที่ 11 ของมหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ที่วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร โดยมีภารกิจในการมุ่งสู่ความเป็นเลิศด้านภาษา ศิลปวัฒนธรรม อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ตลอดจนนิเทศศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ มีผลงานเป็นที่ยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ มีส่วนร่วมในการนำความรู้ไปพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 60 (9 สิงหาคม พ.ศ. 2554 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557) เป็นคณะรัฐมนตรีไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม ประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 9 สิงหาคม 2554 ภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไปเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 และการแต่งตั้ง ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ตาม ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 5 สิงหาคม 2554 โดยลำดับ คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุดลง เมื่อนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 61 (30 สิงหาคม พ.ศ. 2557 — ปัจจุบัน) คณะรัฐมนตรีไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม พระบรมราชโองการประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2557 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/RKJ/announce/answer.jsp?id.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61 · ดูเพิ่มเติม »

ตลก 6 ฉาก

ตลก 6 ฉาก เป็นรายการวาไรตี้ผสมละครซิตคอมตลกสั้นจบในตอนมีความกระชับ และปิดท้ายด้วยเกมโชว์ ออกอากาศทุกวันเสาร์ 11:30 - 12:30 น. และรีรัน วันจันทร์ 14:30 - 15:30 น. ทางช่องเวิร์คพอยท์ ผลิตโดย บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ในยุคแรกมีฉากทั้งหมด 6 ฉาก เช่น ฉากโรงพยาบาล, ร้านกาแฟ, ซูเปอร์มาเก็ต, ฟิตเนส เป็นต้น จึงได้ชื่อว่า "ตลก 6 ฉาก" ละครจะเน้นความตลกขบขัน ภายใต้สโลแกนว่า “จะฉากอะไรในชีวิต ก็คิดให้มันเป็นเรื่อง..ตลก” นอกจากนี้ยังเป็นรายการโทรทัศน์รายการแรกของไทยที่ได้รับ เหรียญรางวัลและเกียรติบัตรจาก เวที อินเตอร์เนชั่นแนล เอมี่ อะวอร์ดส รางวัลทางโทรทัศน์ระดับโลก ในปัจจุบัน ฉากในรายการจะมีทั้งหมด 10 ฉาก ได้แก่ ออฟฟิศจิตป่วน, ข่าวด่วนชวนยิ้ม, แท็กซี่ฮาเฮ, ห้องเรียน, ร้านเฮียพัน, ร้านเฟอร์นิเจอร์, รถไฟฟ้า, บ้าน, ห้าง, ร้านโยเกิร์ต แต่ละฉากก็จะมีเนื้อเรื่องที่แตกต่างกันออกไป มีนักแสดงหมุนเวียนสับเปลี่ยนกันแสดงทุกฉาก หากตอนในฉากใดมีหมายเลขกำกับด้านล่าง แสดงว่าเป็นตอนที่จะมีมากกว่า 1 ช่วงในตอนนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และตลก 6 ฉาก · ดูเพิ่มเติม »

ประโคมเพลง ประเลงถวาย

ประโคมเพลง ประเลงถวาย เป็นอัลบัมเพลงคลาสสิกโดย สถานีวิทยุแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อแสดงความสำนึกในพระกรุณาธิคุณ และอาลัยแด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ อัลบัมนี้รวมรวมนักดนตรีคลาสสิก 7 คน เพื่อถ่ายทอดบทเพลงอันเป็นการรำลึกและร่วมส่งเสด็จสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สู่สวรรคาลั.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และประโคมเพลง ประเลงถวาย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์

รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และประเทศอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2551

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2551 ในประเทศไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และประเทศไทยใน พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

ปูพระพี่นาง

ปูพระพี่นาง ปูพระพี่นาง เป็นปูน้ำจืดที่ค้นพบในประเทศไทยที่บริเวณฝั่งลำห้วย ตำบลท่าแฉลบ อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 โดย นายมงคล วงศ์กาฬสินธุ์ นักวาดรูป และได้เก็บตัวอย่างส่งให้นักวิทยาศาสตร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นผู้ตรวจสอบสายพันธุ์ และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้กราบทูลขอพระราชทานพระอนุญาตชื่อจาก สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Potamon galyaniae และชื่อไทยว่า “ ปูพระพี่นาง “ มีชื่อสามัญว่า Crimson Crab และได้รับพระราชานุญาต เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และปูพระพี่นาง · ดูเพิ่มเติม »

นราธิวาสราชนครินทร์

นราธิวาสราชนครินทร์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

นาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก

หุ่นละครเล็กคณะโจหลุยส์ โจหลุยส์ หรือ นาฏยศาลาหุ่นละครเล็ก เป็นคณะการแสดงละครเล็ก หรือหุ่นกระบอก ของอาจารย์สาคร ยังเขียวสด หรือ "โจหลุยส์" และครอบครัว ได้จัดให้มีการแสดงต่อสาธารณะ ครั้งแรกเมื่อ ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และนาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

นิติพงษ์ ห่อนาค

นิติพงษ์ ห่อนาค อดีตสมาชิกและหัวหน้าวงวงเฉลียง และนักแต่งเพลงชาวไทยที่มีชื่อเสียง เคยดำรงตำแหน่งรองกรรมการผู้อำนวยการ สายงานธุรกิจดนตรี ของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และผู้บริหารค่ายสหภาพดนตรี.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และนิติพงษ์ ห่อนาค · ดูเพิ่มเติม »

แสงหนึ่งคือรุ้งงาม

แสงหนึ่งคือรุ้งงาม เป็นนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เนื่องในวโรกาสทรงเจริญพระชันษา 84 ปี โดยนิทรรศการนำเสนอพระราชประวัติและพระราชกรณียกิจของพระองค์ โดยสะท้อนภาพลักษณ์อันโดดเด่น เสมือนเป็นแสงทอเป็นรุ้งเจ็ดสี นอกจากนี้ ยังมีการจัดทำหนังสือและเพลงประกอบนิทรรศการนี้อีกด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และแสงหนึ่งคือรุ้งงาม · ดูเพิ่มเติม »

โกศ

ระเบญจาประดิษฐานพระโกศทองใหญ่ทรงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ตีพิมพ์ในหนังสือ "Description du Royaume Thai ou Siam" (ตีพิมพ์ภาษาไทยในชื่อ "เล่าเรื่องกรุงสยาม") ของบาทหลวงฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว พิมพ์ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อ ค.ศ. 1854 (พ.ศ. 2397) พระบรมโกศ, พระโกศ และ โกศ คือที่ใส่พระบรมศพ พระมหากษัตริย์ พระบรมราชินี และพระบรมวงศ์ กับโกศที่พระราชทานสำหรับศพข้าราชการผู้มีบรรดาศักดิ์สูง ตามคตินิยมของพราหมณ์ที่เชื่อว่า ต้องตั้งพระบรมศพ,พระศพ และ ศพที่มีบรรดาศักดิ์สูง ในท่ายืน, นั่ง, คุกเข่า หรือกอดเข่าประสานมือ เพื่อส่งดวงพระวิญญาณ /วิญญาณกลับสู่สรวงสวรร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และโกศ · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร

รงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐบาลระดับตติยภูมิขั้นสูง (Super tertiary care) ในเขตภาคเหนือตอนล่าง สังกัดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งอยู่ภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร เลขที่ 99 หมู่ 9 ถนนพิษณุโลก - นครสวรรค์ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก 65000.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลศิริราช

รงพยาบาลศิริราช เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของ ประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) เคยเป็นที่ประทับรักษาพระประชวรของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ตลอดจนพระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ เช่น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และโรงพยาบาลศิริราช · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์

รงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นโรงพยาบาลของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยดำเนินงานร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ตั้งอยู่เลขที่ 180 ถนนระแงะมรรคา ตำบลบางนาค อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส มีเนื้อที่ 71 ไร่ 90 ตารางว.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และโรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น

รงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น thumb โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น (Mount Auburn Hospital) เป็นโรงพยาบาลในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมืองเคมบริดจ์ ในรัฐแมสซาชูเซตส์ โรงพยาบาลก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2414 (ค.ศ. 1871) เดิมมีชื่อว่า โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (Cambridge Hospital) และเปลี่ยนชื่อเป็นโรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์นในภายหลัง และตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์นนี้เป็นหนึ่งในโรงพยาบาลที่ใช้สำหรับแพทย์ฝึกหัดจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และในปี พ.ศ. 2549 เมาต์ออเบิร์นได้รับเลือกเป็นหน่วยงานที่น่าทำงานจากทางหนังสือพิมพ์ของบอสตัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชสมภพ ณ โรงพยาบาลนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และโรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา

รงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดสงขลา ประเภทสหศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 16 จังหวัดสงขลาและสตูล โรงเรียนมีประวัติความเป็นมาอย่างยาวนานถึง 100 กว่าปี (112 ปีในปี 2560) ปัจจุบันเปิดสอนในระดับชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 1-6 ตั้งอยู่ เลขที่ 1 ถนนปละท่า ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา มีเนื้อที่ 26 ไร่ 3 งาน 77 ตารางวา พื้นที่แบ่งออกเป็น 2 เขต(ฝั่ง) ซึ่งอยู่ห่าง กันประมาณ 450 เมตร (โดยสถานที่ทำการเรียนการสอน คือ โรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา ส่วนเขต(ฝั่ง)ที่ 2 เป็นสถานที่เรียนภาควิชางานอาชีพทุกแขนง) ทางโรงเรียนได้รับการขนานนามว่า เป็นโรงเรียนที่สุดยอดของภาษาต่างประเทศ จึงมีห้องเรียนทางภาษาจำนวนมาก และหลายภาษา และในปีการแข่งขันกีฬาประจำจังหวัดทางโรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลามีการจัดการแปรอักษรอย่างงดงาม.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และโรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ

รงเรียนวัฒโนทัยพายัพ โรงเรียนมาตรฐานสากล(World- Class Standard School) โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ เดิมเคยเป็นโรงเรียนสตรีประจำมณฑลพายัพมาก่อน ปัจจุบันเปิดทำการเรียนการสอนแบบสหศึกษาในระดับมัธยมศึกษา พ.ศ. 2449 โรงเรียนสตรีประจำมณฑลพายัพ "ยุพราชวิทยาลัย" พ.ศ. 2471 โรงเรียนสตรีประจำมณฑลพายัพ "วัฒโนทัยพายัพ" พ.ศ. 2476 โรงเรียนสตรีวัฒโนทัยพายัพ พ.ศ. 2517 โรงเรียนวัฒโนทัยพายั.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และโรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์

รงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนหญิงล้วน สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2459 ภายหลังพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์สิ้นพระชนม์ โดยบรรดาทายาทของพระองค์ได้บริจาคตำหนักส่วนพระองค์ และที่ดินข้างเคียงเพื่อตั้งเป็นโรงเรียนสตรีและรับโรงเรียนไว้ในอุปการะ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ผู้เป็นพระนัดดา ทรงนำความขึ้นกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามโรงเรียนว่า “สายปัญญา” ต่อมาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับโรงเรียนสายปัญญา ไว้ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ปัจจุบันโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ มีอายุ ปี เปิดรับสอนเฉพาะนักเรียนหญิง ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ตั้งอยู่บนถนนกรุงเกษม เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 4 ไร่ 2 งาน 0.6 ตารางวา มีอาคารเรียน 4 หลัง มี 53 ห้องเรียน 53  ห้องเรียน แบ่งตามแผนการจัดชั้นเรียนระดับมัธยมต้นและมัธยมปลายดังนี้ 6-6-8/11-12-10 มีครูทั้งหมด 108 คน มีนักเรียนในปีการศึกษา 2557 รวมทั้งสิ้น 2,641 คน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (Triam Udom Suksa School) เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแห่งแรกของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2480 (ขณะนั้นนับวันที่ 1 เมษายน เป็นวันขึ้นปีใหม่ นับอย่างสากลถือเป็น พ.ศ. 2481) โดยมติของสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี ฯพณฯ ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล เป็นผู้อำนวยการท่านแรก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 227 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร บนพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีอาณาบริเวณติดกับหลายคณะ ได้แก่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ นอกจากนี้ภายในพื้นที่เช่าของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษายังเป็นที่ตั้งของกลุ่มอาคารจุฬาวิชช์กับที่ตั้งของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ปทุมวัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศไทยใน ค.ศ. 2008

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2551 ในโทรทัศน์ประเทศไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และโทรทัศน์ประเทศไทยใน ค.ศ. 2008 · ดูเพิ่มเติม »

ไทยเชื้อสายเปอร์เซีย

วไทยเชื้อสายเปอร์เซีย หรือบางครั้งอาจถูกเรียกว่า แขกมะหง่น, แขกมะหง่อน, แขกมห่น, แขกมะห่น หรือแขกเจ้าเซ็น หนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งในประเทศไทย ในปัจจุบันชาวไทยเชื้อสายเปอร์เซียแบ่งเป็นสองกลุ่ม คือกลุ่มที่นับถือศาสนาพุทธ และศาสนาอิสลาม โดยกลุ่มที่นับถือศาสนาอิสลามชีอะฮ์ตั้งถิ่นฐานแถบฝั่งธนบุรี, เขตยานนาวา, เขตบึงกุ่ม, เขตสะพานสูง, เขตมีนบุรี และบางส่วนของจังหวัดฉะเชิงเทราเท่านั้น"นักเดินทาง...เพื่อความเข้าใจในแผ่นดิน" ธนบุรี, หน้า 153 ส่วนกลุ่มที่หันไปนับถือศาสนาพุทธ คือ สกุลบุนนาค เป็นต้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และไทยเชื้อสายเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

ไตรทิพย์สุดา วิเศษกุล

ณหญิงไตรทิพย์สุดา วิเศษกุล ท..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และไตรทิพย์สุดา วิเศษกุล · ดูเพิ่มเติม »

เพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ลงพระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชปรีชาญาณในเรื่องของดนตรี ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองเพลงตั้งแต่ยังทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช รวมบทเพลงพระราชนิพนธ์ทั้งสิ้น 48 เพลง เพลงที่ทรงพระราชนิพนธ์ทำนอง และคำร้องภาษาอังกฤษด้วยพระองค์เอง มี 5 เพลง คือ "Echo", "Still on My Mind", "Old-Fashioned Melody", "No Moon" และ "Dream Island" นอกจากนี้ มีเพลงที่ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองขึ้นภายหลังใส่ในคำร้องที่มีผู้ประพันธ์ไว้แล้ว คือ ความฝันอันสูงสุด เราสู้ และ รัก ผู้ที่โปรดเกล้าฯ ให้แต่งคำร้องประกอบเพลงพระราชนิพนธ์มีหลายท่าน ได้แก่ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์, ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา, ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร, ท่านผู้หญิงสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา, นายจำนงราชกิจ (จรัล บุณยรัตพันธุ์), ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ม.ล.ประพันธ์สนิทวงศ์ และท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค เป็นต้น ในยุคแรก หลังจากที่เพลงพระราชนิพนธ์มีทำนองและคำร้องสมบูรณ์แล้ว จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ครูเอื้อ สุนทรสนาน นำไปบรรเลงในวงดนตรีกรมโฆษณาการหรือวงกรมประชาสัมพันธ์ เพื่อให้แพร่หลายทั่วไป และโดยพระองค์ท่านเองทรงดนตรีร่วมกับวงดนตรี วง อ.ส. วันศุกร์ ออกอากาศ ปรากฏว่าหลายเพลงกลายเป็นเพลงยอดนิยมทั้งในหมู่ชาวไทยและชาวต่างประเทศ ในระยะหลังพระองค์มีพระราชกรณียกิจมากมาย ทำให้พระองค์ทรงไม่มีเวลาที่จะทรงพระราชนิพนธ์เพลงใหม่ๆออกมา เพลงสุดท้ายที่พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์ออกมาคือเพลง "เมนูไข่" เป็นเพลงแนวสนุกสนาน เนื้อร้องโดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานเป็นของขวัญวันพระราชสมภพครบ 72 พรรษาแด่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

เกษมเสาวภา ซัคกาเรีย

ท่านหญิงเกษมเสาวภา ซัคกาเรีย (8 มิถุนายน พ.ศ. 2457 - 29 มกราคม พ.ศ. 2545) หรือ หม่อมเจ้าหญิงเกษมเสาวภา เกษมศรี เป็นพระธิดาลำดับที่ 29 ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ ลำดับที่ 3 ที่ประสูติในหม่อมแหวน เกษมศรี ณ อยุธยา (ปาณิกบุตร) มีพระเชษฐาและพระอนุชาร่วมพระมารดา 3 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และเกษมเสาวภา ซัคกาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

เมย์

มย์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และเมย์ · ดูเพิ่มเติม »

เมนูไข่

ป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 48 ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระราชนิพนธ์เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 เพื่อพระราชทานเป็นของขวัญวันพระราชสมภพครบ 72 พรรษา สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ด้วยทรงรำลึกได้ว่า สมเด็จพระเชษฐภคินีโปรดเสวยพระกระยาหารที่ทำจากไข่ เป็นแรงบันดาลพระราชหฤทัย ให้ทรงพระราชนิพนธ์ กอปรกับทรงพบโคลงสี่ "เมนูไข่" ที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงพระราชนิพนธ์ไว้เมื่อ พ.ศ. 2518 ได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานให้พลเรือตรี หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช นำไปแยกและเรียบเรียงเสียงประสาน เพื่อให้วง อ.ส. วันศุกร์ นำออกบรรเลงและขับร้องในงานพระราชทานเลี้ยงฉลองสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร์ ณ ศาลาดุสิตาลัย เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2538.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และเมนูไข่ · ดูเพิ่มเติม »

เริงจิตร์แจรง อาภากร

ท่านหญิงเริงจิตร์แจรง อาภากร (พระยศเดิม: หม่อมเจ้าเริงจิตร์แจรง อาภากร; ประสูติ: 7 มิถุนายน พ.ศ. 2448 — สิ้นชีพิตักษัย: 19 สิงหาคม พ.ศ. 2536) เป็นพระธิดาพระองค์ที่ 3 ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ประสูติในหม่อมกิม อาภากร ณ อยุธยา ธิดานายตั๊น ซุ่นเพียว หม่อมเจ้าเริงจิตร์แจรง อาภากร เสกสมรสกับหม่อมเจ้าไขแสงรพี รพีพัฒน์ พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ มีพระธิดาเพียงคนเดียวคือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และเริงจิตร์แจรง อาภากร · ดูเพิ่มเติม »

เรือนยอดบรมมังคลานุสรณีย์

รือนยอดบรมมังคลานุสรณีย์ ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออกของพระที่นั่งอนันตสมาคม เป็นเรือนยอด 9 ยอด ตามรัชกาล ซึ่งนับเป็นเรือนยอดที่สูงสุดในประวัติศาสตร์ศิลปะไทย ส่วนเรือนยอดที่มีอยู่แล้วสร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 มีเพียง 5 ยอด คือ พระที่นั่งศิวาลัยมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง สำหรับเรือนยอดบรมมังคลานุสรณีย์มีลักษณะเป็นเรือนโถง หน้าบันทั้ง 9 ยอดจะมีพระปรมาภิไธย, พระนามาภิไธย และอักษรพระนามของทุกพระองค์ที่เกี่ยวข้องกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้แก่พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร, สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก, สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช, สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ, สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร, สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี, สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี https://www.facebook.com/paothong.pan/ -->.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และเรือนยอดบรมมังคลานุสรณีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญพิทักษ์เสรีชน

หรียญพิทักษ์เสรีชน สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 9 ใช้อักษรย่อว..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และเหรียญพิทักษ์เสรีชน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าระวีพันธุ์ สุจริตกุล

ณหญิง ดร.เจ้าระวีพันธุ์ สุจริตกุล (สกุลเดิม: ณ เชียงใหม่; เกิด: พ.ศ. 2471 - 1 มกราคม พ.ศ. 2558) เป็นธิดาในเจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน) กับเจ้าภัทรา ณ เชียงใหม่ เป็นพระนัดดาในพลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์สุดท้าย เจ้าระวีพันธุ์ เคยดำรงตำแหน่งเป็นรองประธานมูลนิธินวราชดำริอนุรักษ์ฝ่ายเหนือ และอดีตประธานมูลนิธิกู่เจ้าหลวงเชียงใหม่ (วัดสวนดอก).

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และเจ้าระวีพันธุ์ สุจริตกุล · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองศรีสะเกษ

ทศบาลเมืองศรีสะเกษ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประเภทเทศบาลเมือง ระดับเทศบาลขนาดใหญ่ มีพื้นที่ครอบคลุม 7 ตำบล ในเขตอำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ ภายในเขตเทศบาลเป็นที่ตั้งหน่วยงานการบริหารของอำเภอเมืองศรีสะเกษ รวมทั้งเป็นที่ตั้งศูนย์กลางการบริหาร สถาบันการศึกษา สถานพยาบาลและสาธารณสุข เศรษฐกิจ ตลอดจนการคมนาคมขนส่งของจังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และเทศบาลเมืองศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลดนตรีพัทยา

ปสเตอร์งานพัทยา มิวสิก เฟสติวัล ปี 2552 เทศกาลดนตรีพัทยา หรือ พัทยา มิวสิก เฟสติวัล (Pattaya Music Festival) เป็นเทศกาลดนตรีประจำปีที่จัดขึ้นที่พัทยา จังหวัดชลบุรี จัดขึ้นโดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ร่วมกับจังหวัดชลบุรีและเมืองพัทยา โดยเริ่มมาตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และเทศกาลดนตรีพัทยา · ดูเพิ่มเติม »

เขื่อนห้วยเสนง

ื่อนห้วยเสนง เป็นเขื่อนดิน อยู่ในเขตอำเภอเมืองสุรินทร์ และอำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ อยู่ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 7 กิโลเมตร เขื่อนห้วยเสนงสร้างเสร็จเมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และเขื่อนห้วยเสนง · ดูเพิ่มเติม »

เขตวัฒนา

ตวัฒนา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และเขตวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์

รื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ (Ordre National de la Légion D'honneur,; National Order of the Legion of Honour) เป็น "เครื่องอิสริยาภรณ์สำหรับคณะอัศวิน" (Ordres de chevalerie; Chivalric order) ชั้นสูงสุดแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส สถาปนาขึ้นโดย นโปเลียน โบนาปาร์ต กงสุลเอกแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2345 มีห้าชั้น ได้แก่ ประถมาภรณ์ ทุติยาภรณ์ ตริตาภรณ์ จตุรถาภรณ์ และเบญจมาภรณ์ ตามอันดับ ปัจจุบัน มีประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐเป็นประธาน และรักษาไว้ที่ "ตำหนักเลฌียงดอเนอร์" (Palais de la Légion D'honneur) ริมฝั่งซ้ายน้ำแซน ณ กรุงปารีส ทั้งนี้ คำว่า "เลฌียงดอเนอร์" มีความหมายว่า "กองพลเกียรติยศ" และคติพจน์แห่งเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ คือ "เกียรติยศและปิตุภูมิ" (Honneur et Patrie; Honour and Fatherland).

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

11 พฤศจิกายน

วันที่ 11 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 315 ของปี (วันที่ 316 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 50 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และ11 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

14 พฤศจิกายน

วันที่ 14 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 318 ของปี (วันที่ 319 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 47 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และ14 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤศจิกายน

วันที่ 15 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 319 ของปี (วันที่ 320 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 46 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และ15 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

2 มกราคม

วันที่ 2 มกราคม เป็นวันที่ 2 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 363 วันในปีนั้น (364 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และ2 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

6 พฤษภาคม

วันที่ 6 พฤษภาคม เป็นวันที่ 126 ของปี (วันที่ 127 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 239 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และ6 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 สิงหาคม

วันที่ 6 สิงหาคม เป็นวันที่ 218 ของปี (วันที่ 219 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 147 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์และ6 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Galyani VadhanaHRH Galyani Vadhanaกรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร์กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ศ.(พิเศษ) สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สมเด็จพระพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากัลยาณิวัฒนา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »