สารบัญ
13 ความสัมพันธ์: พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระโกศทองใหญ่รายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหารวัดราชสิทธารามราชวรวิหารสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)สมเด็จพระราชาคณะสมเด็จพระอริยวงษญาณสมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (มี)สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)เจ้าคณะอรัญวาสี
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ.
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร)และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระโกศทองใหญ่
ระโกศทองใหญ่ รัชกาลที่ 5 ในงานพระบรมศพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระโกศทองใหญ่ ทรงพระศพสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ขณะประดิษฐานบนพระมหาพิชัยราชรถในพระราชพิธีเชิญพระโกศทรงพระศพออกพระเมรุ พระโกศทองใหญ่ หรือ พระลองทองใหญ่ เป็นพระโกศสำหรับทรงพระบรมศพของพระมหากษัตริย์และพระศพของพระบรมวงศ์ชั้นสูง สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช นับเป็นพระโกศที่มีลำดับยศสูงที่สุด โดยได้ใช้ทรงพระศพของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงศรีสุนทรเทพเป็นพระองค์แรก (แต่ในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์รัชกาลที่ 1 ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ ฉบับตัวเขียน ระบุว่าพระศพสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงศรีสุนทรเทพนั้น ใช้พระโกศไม้สิบสอง และเมื่อเสร็จการพระศพจึงลอกทองที่หุ้มพระโกศไม้สิบสองมาหุ้มทำพระโกศทองใหญ่และทรงพระบรมศพของรัชกาลที่ 1 เป็นพระองค์แรก) พระโกศทองใหญ่ใช้ทรงพระศพของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีเป็นพระองค์ล่าสุด นอกจากนี้ พระโกศทองใหญ่ยังใช้เป็นเครื่องประกอบพระอิสริยยศพระศพสำหรับพระบรมวงศานุวงศ์ที่บรรจุพระบรมศพและพระศพลงในหีบพระศพแทนการลงพระโกศ เช่น พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร)และพระโกศทองใหญ่
รายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
นี่คือรายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน.
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร)และรายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร เดิมเป็นวัดราษฎร์ชื่อวัดสลัก สร้างในสมัยอยุธยา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี และทรงสร้างพระบรมมหาราชวังเป็นที่ประทับและสร้างพระราชวังบวรสถานมงคลเป็นที่ประทับสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล นั้น วัดสลักเป็นวัดที่อยู่กึ่งกลางระหว่างพระบรมมหาราชวังกับพระราชวังบวรสถานมงคล สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทโปรดให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดสลักเมื่อ พ.ศ.
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร)และวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
วัดราชสิทธารามราชวรวิหาร
วัดราชสิทธาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร เดิมเรียกว่า วัดพลับ ตั้งอยู่ริมคลองวัดราชสิทธารามและคลองวัดสังข์กระจาย ซอยอิสรภาพ 23 (วัดราชสิทธาราม) ถนนอิสรภาพ แขวงวัดท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร 10600.
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร)และวัดราชสิทธารามราชวรวิหาร
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)
มเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) (นามเดิม: โต) หรือนามที่นิยมเรียก "สมเด็จโต" "หลวงปู่โต" หรือ "สมเด็จวัดระฆัง" เป็นพระภิกษุมหานิกาย เป็นพระมหาเถระรูปสำคัญที่ได้รับความนิยมนับถืออย่างมากในประเทศไทย ท่านเคยดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหารในสมัยรัชกาลที่ 4-5 สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) นับเป็นพระเกจิเถราจารย์ผู้มีปฏิปทาจริยาวัตรน่าเลื่อมใส เป็นที่เคารพนับถือทั่วไปมาตั้งแต่ท่านยังมีชีวิตอยู่ ตั้งแต่พระมหากษัตริย์จนถึงสามัญชน และนอกจากจริยาวัตรด้านความสมถะอันโดดเด่นของท่านแล้ว ท่านยังทรงคุณทางด้านวิชชาคาถาอาคม เมตตามหานิยม โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัตถุมงคล "พระสมเด็จ" ที่ท่านได้สร้างขึ้นเพื่อเป็นพุทธบูชา ได้ถูกจัดเข้าในพระเครื่องเบญจภาคี หรือสุดยอดของพระเครื่องวัตถุมงคล 1 ใน 5 ของประเทศไทย และมีราคาซื้อขายในปัจจุบันต่อองค์เป็นราคานับล้านบาท ด้วยปฏิปทาจริยาวัตรและคุณวิเศษอัศจรรย์ของท่าน ทำให้พุทธศาสนิกชนชาวไทยเคารพนับถือว่าท่านเป็นอมตะเถราจารย์รูปหนึ่งของเมืองไทย และมีผู้นับถือจำนวนมากในปัจจุบัน.
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร)และสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)
สมเด็จพระญาณสังวร
มเด็จพระญาณสังวร เป็นราชทินนามที่พระราชทานแก่พระเถระผู้ทรงคุณทางวิปัสสนาธุระโดยเฉพาะ ซึ่งในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์มีเพียง 2 อง.
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร)และสมเด็จพระญาณสังวร
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)
มเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม เจริญ คชวัตร ฉายา สุวฑฺฒโน (3 ตุลาคม พ.ศ. 2456 – 24 ตุลาคม พ.ศ.
สมเด็จพระราชาคณะ
ัดยศสมณศักดิ์สมเด็จพระราชาคณะ สมเด็จพระญาณวโรดม สมเด็จพระราชาคณะ เป็นสมณศักดิ์รองจากสมเด็จพระสังฆราช สูงกว่าพระราชาคณะเจ้าคณะรอง มีคำนำหน้าราชทินนามว่า "สมเด็จ" เดิมทีสมเด็จพระราชาคณะเป็นตำแหน่งพระสังฆาธิการชั้นเจ้าคณะใหญ่มาตลอด จนกระทั่งมีการแยกออกมาเมื่อมีพระราชบัญญัติคณะสง..
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร)และสมเด็จพระราชาคณะ
สมเด็จพระอริยวงษญาณ
มเด็จพระอริยวงษญาณ เป็นราชทินนามของสมเด็จพระราชาคณะ ที่สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงสถาปนาขึ้นโดยปรับจากราชทินนาม "สมเด็จพระอริยวงศาสังฆราชาบดี" ซึ่งใช้มาแต่กรุงศรีอยุธยา และพระราชทานแก่สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ดี) เป็นรูปแรก และใช้เป็นราชทินนามของสมเด็จพระสังฆราชที่เป็นสามัญชนมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร.
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร)และสมเด็จพระอริยวงษญาณ
สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (มี)
มเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช มีพระนามเดิมว่า มี ประสูติเมื่อวันพุธขึ้น 12 ค่ำ เดือน 8 ตรงกับวันที่ 15 กรกฎาคม..
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร)และสมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (มี)
สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)
มเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช มีพระนามเดิมว่า ด่อน เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อปี พ.ศ.
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร)และสมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)
เจ้าคณะอรัญวาสี
้าคณะอรัญวาสี คือเจ้าคณะใหญ่ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในคณะสงฆ์อรัญวาสี เจ้าคณะอรัญวาสีรูปสุดท้ายคือสมเด็จพระพุฒาจารย์ (แพ ติสฺสเทโว) ภายหลังจากพระองค์ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชก็มิได้มีพระสงฆ์รูปใดได้รับการสถาปนาเป็นเจ้าคณะอรัญวาสีอีก คงมีแต่ตำแหน่งเจ้าคณะใหญ่หนกลางเท่านั้น.
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร)และเจ้าคณะอรัญวาสี
หรือที่รู้จักกันในชื่อ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร)สังฆราชไก่เถื่อน