สารบัญ
15 ความสัมพันธ์: พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระพรหมมุนีพระพิมลธรรมพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)รายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหารวัดสระเกศราชวรมหาวิหารสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์สมเด็จพระวันรัตสมเด็จพระอริยวงษญาณสมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร)สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (นาค)หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัด)ประเทศไทยใน พ.ศ. 2304ประเทศไทยใน พ.ศ. 2385
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ.
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระพรหมมุนี
ระพรหมมุนี เป็นราชทินนามพระราชาคณะเจ้าคณะรองรูปหนึ่ง ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิก.
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)และพระพรหมมุนี
พระพิมลธรรม
ระพิมลธรรม เป็นราชทินนามสมณศักดิ์พระราชาคณะเจ้าคณะรองรูปหนึ่ง ในสมัยหลัง ๆ ได้พระราชทานเฉพาะพระภิกษุฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันไม่มีพระราชาคณะรูปใดได้รับราชทินนามนี้.
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)และพระพิมลธรรม
พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)
ระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2365-16 ตุลาคม พ.ศ. 2434) เป็นชาวฉะเชิงเทรา ท่านได้รับสมญาว่าเป็นศาลฎีกาภาษาไทย เป็นผู้แต่งตำราเรียนชุดแรกของไทย เรียกว่า "แบบเรียนหลวง" ใช้สอนในโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ และหนังสือกวีนิพนธ์ที่มีคุณค่าอีกหลายเรื่อง งานชิ้นสำคัญชิ้นหนึ่ง คือท่านได้รับแต่งตั้งให้เป็น แม่กองตรวจโคลงบรรยายประกอบรูปภาพเรื่อง "รามเกียรติ์" รอบระเบียงพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อครั้งกรุงรัตนโกสินทร์ครบรอบ 100 ปี และตัวท่านเองก็ได้รับหน้าที่เป็นผู้แต่งด้วยท่านหนึ่ง.
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)และพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)
รายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
นี่คือรายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน.
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)และรายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร เดิมเป็นวัดราษฎร์ชื่อวัดสลัก สร้างในสมัยอยุธยา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี และทรงสร้างพระบรมมหาราชวังเป็นที่ประทับและสร้างพระราชวังบวรสถานมงคลเป็นที่ประทับสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล นั้น วัดสลักเป็นวัดที่อยู่กึ่งกลางระหว่างพระบรมมหาราชวังกับพระราชวังบวรสถานมงคล สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทโปรดให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดสลักเมื่อ พ.ศ.
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)และวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร
วัดสระเกศ เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ริมคลองมหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย มีจุดเด่นคือ พระบรมบรรพต.
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)และวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
มเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 8 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และเป็นหนึ่งในสิบพระเถระผู้เป็นต้นวงศ์ธรรมยุต ประทับ ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ได้รับมหาสมณุตมาภิเษกเมื่อปี พ.ศ.
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)และสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
สมเด็จพระวันรัต
มเด็จพระวันรัต (อ่านว่า วันนะรัด) แปลว่า ผู้ยินดีในการอยู่ป่า ผู้รักการอยู่ป่า เดิมใช้คำว่า พนรัตน์ และ วันรัตน์ ซึ่งแปลว่า ป่าแก้ว ปัจจุบันเป็นราชทินนามสมเด็จพระราชาคณะรูปหนึ่งในฝ่ายธรรมยุติกนิกาย วันรัตน์ เป็นนามที่ได้มาจากลังกา สันนิษฐานตามคำแปลว่าคงเป็นสังฆนายกฝ่ายอรัญวาสี คู่กับสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ซึ่งเป็นสังฆนายกฝ่ายคามวาสี ในพระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ ปรากฏนามนี้ครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ว่าพระพนรัตน์ป่าแก้วให้ฤกษ์แก่พระศรีสินในการก่อกบฏพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, นนทบุรี: ศรีปัญญา, 2553.
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)และสมเด็จพระวันรัต
สมเด็จพระอริยวงษญาณ
มเด็จพระอริยวงษญาณ เป็นราชทินนามของสมเด็จพระราชาคณะ ที่สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงสถาปนาขึ้นโดยปรับจากราชทินนาม "สมเด็จพระอริยวงศาสังฆราชาบดี" ซึ่งใช้มาแต่กรุงศรีอยุธยา และพระราชทานแก่สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ดี) เป็นรูปแรก และใช้เป็นราชทินนามของสมเด็จพระสังฆราชที่เป็นสามัญชนมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร.
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)และสมเด็จพระอริยวงษญาณ
สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร)
มเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร ได้รับการสถาปนาเมื่อปี..
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)และสมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร)
สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (นาค)
มเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (นาค) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 6 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดราชบุรณราชวรวิหาร ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ.
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)และสมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (นาค)
หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัด)
หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ พระนามเดิม หม่อมเจ้าทัด (9 ตุลาคม พ.ศ. 2365 - 10 มิถุนายน พ.ศ. 2443) อดีตเจ้าคณะอรัญวาสี เจ้าคณะใหญ่คณะกลาง และเจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร.
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)และหม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัด)
ประเทศไทยใน พ.ศ. 2304
หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2304 ในประเทศไท.
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)และประเทศไทยใน พ.ศ. 2304
ประเทศไทยใน พ.ศ. 2385
หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2385 ในประเทศไท.
ดู สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)และประเทศไทยใน พ.ศ. 2385
หรือที่รู้จักกันในชื่อ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)