โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)

ดัชนี สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม แพ ฉายา ติสฺสเทโว เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 12 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๕๕, ตอน ๐ ก, ๑๕ พฤศจิกายน..

26 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2482พ.ศ. 2484พระพรหมมุนีพระพุทธวิถีนายก (เพิ่ม ปุญฺญวสโน)พระธรรมโกศาจารย์พระครูธรรมสมาจารย์ (พัก ธมฺมทตฺโต)พระครูเทพสิทธิเทพาธิบดี (ทับ อินฺทโชโต)พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้าฐานานุกรมรายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหารวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารสมเด็จพระพุฒาจารย์สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โสม ฉนฺโน)สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เสงี่ยม จนฺทสิริ)สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เข้ม ธมฺมสโร)สมเด็จพระวันรัตสมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต)สมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน)สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณสำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวงอาจอง ชุมสาย ณ อยุธยาโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีเจ้าคณะอรัญวาสี

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และพ.ศ. 2484 · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมมุนี

ระพรหมมุนี เป็นราชทินนามพระราชาคณะเจ้าคณะรองรูปหนึ่ง ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิก.

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และพระพรหมมุนี · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธวิถีนายก (เพิ่ม ปุญฺญวสโน)

ระพุทธวิถีนายก นามเดิม เพิ่ม ฉายา ปุญฺญวสโน.

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และพระพุทธวิถีนายก (เพิ่ม ปุญฺญวสโน) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมโกศาจารย์

ระธรรมโกศาจารย์ เป็นสมณศักดิ์สำหรับพระราชาคณะชั้นธรรม ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายมหานิก.

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และพระธรรมโกศาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระครูธรรมสมาจารย์ (พัก ธมฺมทตฺโต)

..

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และพระครูธรรมสมาจารย์ (พัก ธมฺมทตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูเทพสิทธิเทพาธิบดี (ทับ อินฺทโชโต)

หลวงพ่อทับ อินฺทโชโต (2390 - 2455) ยอดพระคณาจารย์ผู้ที่มีความแตกฉานในพระไตรปิฎกและวิชาอักขระสักยันต์ เลขยันต์ เป็นพระธรรมกถึกนามอุโฆษ เชี่ยวชาญการหล่อหลอมโลหะ ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมต่าง ๆ พระปิตตามหาอุตม์เนื้อโลหะของท่านได้รับความนิยมเป็นอันดับหนึ่งของวงการ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (สมัยที่ยังเป็นกรมหมื่น) ยังเคยเสด็จมาหาท่าน แม้แต่สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว) ในสมัยที่ยังเป็นพระธรรมโกษาจารย์ ก็มีความสนิทสนมชิดชอบกับหลวงพ่อ ได้แวะเวียนไปมาหาสู่กันเสมอ.

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และพระครูเทพสิทธิเทพาธิบดี (ทับ อินฺทโชโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า

ระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า (16 ธันวาคม พ.ศ. 2402 - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2480) เป็นพระราชวงศ์ในราชสกุล ชมพูนุท ดำรงสมณศักดิ์สมเด็จพระสังฆราชเป็นพระองค์ที่ 11 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อปี พ.ศ. 2465 ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นเจ้าอาวาสวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ดำรงตำแหน่งสกลมหาสังฆปริณายกอยู่ 16 ปี.

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

ฐานานุกรม

ระราชาคณะตั้งแต่ชั้นสามัญขึ้นไป สามารถตั้งพระฐานานุกรมของตนได้ตามอัธยาศัย (ในพระบรมราชานุญาต) ฐานานุกรม คือชื่อเรียกลำดับตำแหน่งสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย ซึ่งภิกษุผู้มีตำแหน่งทางการปกครองหรือมีสมณศักดิ์สูงบางตำแหน่งมีสิทธิ์ตั้งพระรูปอื่นให้เป็นฐานากรมได้ตามศักดิ์ที่ได้รับพระบรมราชานุญาต เช่น พระสงฆ์ตำแหน่งเจ้าคณะอำเภอ สามารถตั้งฐานานุกรมได้ 3 ตำแหน่ง พระราชาคณะชั้นสามัญตั้งฐานานุกรมได้ 3 ตำแหน่ง เป็นต้น ไปจนกระทั่งถึงสมเด็จพระสังฆราชทรงตั้งฐานานุกรมได้ 15 ตำแหน่ง ฐานานุกรมนั้นมีตำแหน่งที่เป็นหลัก 3 ตำแหน่ง คือ พระปลัด พระสมุห์ พระใบฎีกา หากพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ที่มีสิทธิ์ตั้งฐานานุกรมเป็นผู้ที่มีสมณศักดิ์ตั้งแต่พระราชาคณะชั้นราชขึ้นไป พระฐานานุกรมที่ท่านเหล่านั้นตั้ง จะเรียก "พระครู" นำหน้าตำแหน่งฐานานุกรมนั้นทุกตำแหน่ง เช่น พระครูปลัด พระครูสังฆรักษ์ เป็นต้น สิทธิในการให้พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์สามารถแต่งตั้งพระฐานานุกรมได้ จะมีระบุไว้ในสัญญาบัตรพระราชทานสมณศักดิ์ ว่าให้สามารถตั้งได้เท่านั้นเท่านี้รูป ซึ่งพระสงฆ์ผู้ได้รับพระราชทานสิทธิในการตั้งพระฐานานุกรม จะตั้งหรือไม่ตั้งก็ได้ หรือจะตั้ง แต่ตั้งเพียงจำนวนเท่าที่เห็นควรก็ได้ ไม่จำต้องตั้งทั้งหมด ตำแหน่งเหล่านี้เดิมมีพัดยศของหลวงพระราชทานมาให้ แต่ปัจจุบันนี้ต้องจัดทำเอง โดยพระสงฆ์ผู้ทรงสมณศักดิ์ที่มีสิทธิ์แต่งตั้งฐานานุกรมจะแต่งตั้งพระสงฆ์รูปใดในศิษยานุศิษย์ของตน ก็สุดแล้วแต่อัธยาศัย ทางการไม่ได้เกี่ยวข้องในการแต่งตั้งพระฐานานุกรม เพียงแต่รับรู้เท่านั้น ภิกษุผู้ได้รับแต่งตั้งในลักษณะนี้เรียกว่า พระฐานานุกรม ทุกรูปจัดเป็นพระมีสมณศักดิ์เหมือนพระสมณศักดิ์ที่ทรงแต่งตั้ง พระในตำแหน่งเหล่านี้บางทีเรียกประทวนสัญญาบัตร บ้าง ฐานาประทวน บ้าง และเนื่องจากสมณศักดิ์เหล่านี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไม่ได้พระราชทานเอง ดังนั้นเมื่อพระสงฆ์ผู้ทรงสมณศักดิ์ที่ได้ตั้งฐานานุกรมไว้มรณภาพ ตำแหน่งฐานานุกรมต่าง ๆ ก็ถือว่าเป็นอันสิ้นสุดไปด้วย เรียกกันในภาษาปากว่า พระครูม่าย หรือ ฐานาม่าย จนกว่าจะได้รับแต่งตั้งฐานานุกรมใหม่ ในอดีต ตำแหน่งฐานานุกรมบางตำแหน่งมีลำดับสมณศักดิ์สูงกว่าพระมหาเปรียญ จึงมีบางครั้งที่พระมหาเปรียญก็อาจได้รับแต่งตั้งฐานานุกรมบ้าง ซึ่งเรียกกันในภาษาปากว่า ฐานาทรงเครื่อง หรือ พระครูทรงเครื่อง คือมีทั้งตำแหน่งมหาเปรียญและฐานานุกรมในคราวเดียวกัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และฐานานุกรม · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์

นี่คือรายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และรายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร

วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร ได้รับอนุญาตให้ตั้งเป็นสำนักสงฆ์เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2484 และเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหารเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2485 สร้างในสมัยจอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยได้เสนอคณะรัฐมนตรีให้สร้างวัดขึ้นบริเวณใกล้เคียงกับอนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ เพื่อเป็นอนุสรณ์การปกครองระบอบประชาธิปไตย และกำหนดให้แล้วเสร็จทันวันชาติ คือวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2484 คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้สร้างวัดขึ้นโดยให้ชื่อว่า วัดประชาธิปไตย ระหว่างการก่อสร้างพลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (ขณะมียศเป็นนาวาเอก หลวงธำรงค์นาวาสวัสดิ์) ได้เดินทางไปขอพระบรมสารีริกธาตุจากประเทศอินเดีย รวมทั้งกิ่งพระศรีมหาโพธิ 5 กิ่ง จากต้นที่สืบเนื่องมาจากต้นที่พระโคตมพุทธเจ้าเสด็จประทับ และตรัสรู้ พร้อมดินจากสังเวชนียสถานคือสถานที่ประสูติ ที่ตรัสรู้ ที่แสดงปฐมเทศนา และที่ปรินิพพาน รัฐบาลได้อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ กิ่งต้นพระศรีมหาโพธิ์และดินดังกล่าวมาประดิษฐานที่วัดซึ่งกำลังสร้างนี้ ได้มีการตั้งนามวัดว่า วัดพระศรีมหาธาตุ และถวายเป็นเสนาสนะเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และวัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร

วัดสุทัศนเทพวราราม หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า วัดสุทัศน์ เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร ที่มีอยู่เพียงไม่กี่แห่งของประเทศไทย และถือเป็นวัดประจำรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เป็นวัดที่ตั้งอยู่ในเขตพระนครชั้นใน และอยู่มีสิ่งก่อสร้างที่โดดเด่นคือ เสาชิงช้า อยู่บริเวณหน้าวั.

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์

มเด็จพระพุฒาจารย์ เป็นราชทินนามของพระเถระรูปหนึ่งที่มีสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระราชาคณะ ในสมัยหลังได้พระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันคือ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ) วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร.

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และสมเด็จพระพุฒาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โสม ฉนฺโน)

มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม โสม ศุภเทศ ฉายา ฉนฺโน เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดราชบุรณราชวรวิหาร เจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร และประธานคณะวินัยธร.

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โสม ฉนฺโน) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เสงี่ยม จนฺทสิริ)

มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม เสงี่ยม วิโรทัย ฉายา จนฺทสิริ เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย เจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ และกรรมการมหาเถรสมาคม.

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เสงี่ยม จนฺทสิริ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เข้ม ธมฺมสโร)

มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม เข้ม ฉายา ธมฺมสโร เป็นสมเด็จพระราชาคณะเจ้าคณะใหญ่หนกลาง เจ้าอาวาสรูปที่ 9 ของวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร เจ้าคณะมณฑลชุมพรและพิศณุโลก.

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เข้ม ธมฺมสโร) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระวันรัต

มเด็จพระวันรัต (อ่านว่า วันนะรัด) แปลว่า ผู้ยินดีในการอยู่ป่า ผู้รักการอยู่ป่า เดิมใช้คำว่า พนรัตน์ และ วันรัตน์ ซึ่งแปลว่า ป่าแก้ว ปัจจุบันเป็นราชทินนามสมเด็จพระราชาคณะรูปหนึ่งในฝ่ายธรรมยุติกนิกาย วันรัตน์ เป็นนามที่ได้มาจากลังกา สันนิษฐานตามคำแปลว่าคงเป็นสังฆนายกฝ่ายอรัญวาสี คู่กับสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ซึ่งเป็นสังฆนายกฝ่ายคามวาสี ในพระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ ปรากฏนามนี้ครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ว่าพระพนรัตน์ป่าแก้วให้ฤกษ์แก่พระศรีสินในการก่อกบฏพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, นนทบุรี: ศรีปัญญา, 2553.

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และสมเด็จพระวันรัต · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต)

มเด็จพระวันรัต นามเดิม จ่าย ฉายา ปุณฺณทตฺโต เป็นสมเด็จพระราชาคณะ เจ้าอาวาสรูปแรกของวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร และอดีตเจ้าคณะใหญ่หนใต้.

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และสมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน)

มเด็จพระวันรัต นามเดิม แดง ฉายา สีลวฑฺฒโน เป็นสมเด็จพระราชาคณะเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายใต้ อดีตเจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร และผู้สร้างวัดโพธินิมิตรสถิตมหาสีมาราม.

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และสมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)

มเด็จพระวันรัต นามเดิม เฮง ฉายา เขมจารี เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าคณะใหญ่หนใต้ เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร และแม่กองบาลีสนามหลวง.

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และสมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์

มเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 13 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชเมื่อปี พ.ศ. 2488 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 14 พรรษา สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ เป็นราชทินนามของสมเด็จพระราชาคณะ ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาขึ้นโดยปรับจากราชทินนาม "สมเด็จพระอริยวงษญาณ" ซึ่งใช้มาแต่เดิม และพระราชทานแก่สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อู่) เป็นรูปแรก ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (สา ปุสฺสเทโว) เจ้าคณะใหญ่คณะเหนือ เป็นสมเด็จพระสังฆราชในราชทินนามเดิม "สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ" จึงใช้เป็นราชทินนามของสมเด็จพระสังฆราชที่เป็นสามัญชนมานับแต่นั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง

ำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง เป็นหน่วยงานจัดการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย ภายใต้การดูแลของมหาเถรสมาคม (คู่กับสำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง) ซึ่งอยู่ในความอุปถัมภ์ของรัฐบาลไทย หน้าที่หลักคือกำหนดเปลี่ยนแปลงการใช้คัมภีร์เรียนในหลักสูตรเปรียญธรรม 1-9 ให้เหมาะสมกับชั้นเรียนของแต่ละประโยค รวมทั้งการจัดสอบประเมินผลการศึกษาบาลีระดับชาติ โดยมีสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติเป็นผู้รับสนองงาน ภายใต้การกำกับดูแลของมหาเถรสมาคม.

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และสำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา

อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา (เกิด 8 ตุลาคม พ.ศ. 2483-) เป็นวิศวกรชาวไทย ผู้เคยเป็นลูกทีมจำลองแบบชิ้นส่วนระบบลงจอดของงานอวกาศในบริษัทคู่สัญญาของมาร์ติน มาเรียทต้า (ปัจจุบันได้ควบรวมกิจการกลายเป็นบริษัทล็อกฮีด มาร์ติน) ซึ่งเป็นผู้สร้างยานอวกาศไวกิ้งให้กับองค์การนาซาของสหรัฐอเมริกาเพื่อนำไปใช้ในภารกิจสำรวจดาวอังคาร เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคพลังธรรม และ เป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนสัตยาไสที่ดำเนินการตามแนวทางความเชื่อของตนเอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และอาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี (Suankularb Wittayalai Nonthaburi School; อักษรย่อ: ส.ก.น., S.K.N.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา ในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย ลำดับที่สอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยกรมสามัญศึกษา (ปัจจุบัน: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ได้รับบริจาคที่ดิน จากนายผาสุก และนางเง็ก มณีจักร สองสามีภรรยา คหบดีชาวอำเภอปากเกร็ด ที่มีความประสงค์ให้สร้างโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย บนพื้นที่ดังกล่าว จึงเกิดการประสานงานจัดตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2521 เดิมให้ชื่อไว้ว่า “โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ๒ (ผาสุก มณีจักร)” และมอบหมายให้ผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รักษาราชการในตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ของโรงเรียน จนถึงปลายปีถัดมา จึงเปลี่ยนชื่อโรงเรียน เป็นชื่อที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน และในปีเดียวกัน นางอัมพา แสนทวีสุข ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นอาจารย์ใหญ่คนแรก และเลื่อนฐานะขึ้นเป็นผู้อำนวยการคนแรกของโรงเรียนฯ ในเวลาต่อมา โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิด อาคารเรียน “สธ ๑, สธ ๒ และ สธ ๓” เมื่อกลางปี พ.ศ. 2525 และปลายปี พ.ศ. 2529 ตามลำดับ รวมทั้งพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อกลางปี พ.ศ. 2555 ตลอดจนโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามอาคารเรียน “สธ ๔” และอาคารหอประชุม “สิรินธราลัย” ด้วย นอกจากนี้ โรงเรียนฯ ยังได้รับรางวัลสถานศึกษาพระราชทาน ประจำปีการศึกษา 2532 และ 2544 และในปี พ.ศ. 2541 นักเรียนของโรงเรียนฯ ยังได้รับรางวัลเหรียญทองแดง จากการเข้าร่วมการแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิก ที่ประเทศอิตาลี ในฐานะผู้แทนประเทศไทย ขณะที่นักกีฬาของโรงเรียนฯ ได้รับรางวัลเหรียญทอง ในฐานะผู้แทนทีมชาติไทย จากการเข้าร่วมการแข่งขันวอลเลย์บอลชายหาด ในการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 13 อีกด้วย จากเว็บไซต์โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีหนังสืออนุสรณ์ 24 ปี สวนกุหลาบนนท์ 2521-2545 30 มีนาคม พ.ศ. 2545 ซุ้มประตูทางเข้าโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี (ประดับประดาด้วยไฟสวยงาม เนื่องในงาน “ราตรีกุหลาบนนท์”) ด้านหลังซุ้มประตูคือ อาคารบริหารกิจการนักเรียนและประชาสัมพันธ์ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ถือกำเนิดขึ้น โดยเจตจำนงของผาสุก และเง็ก มณีจักร คหบดีชาวปากเกร็ดสองสามีภรรยา ซึ่งมีบุตรชายและหลานชายเป็นศิษย์เก่าโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย บริจาคที่ดินบริเวณใกล้กับถนนติวานนท์เป็นจำนวน 25 ไร่ 1 งาน 18 ตารางวา เพื่อสร้างโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อต้นปีการศึกษา 2520 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้งคือ สุวรรณ จันทร์สม อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ผู้อำนวยการกองการมัธยมศึกษาในขณะนั้น, สมพงษ์ พูลสวัสดิ์ และกว้าง รอบคอบ อดีตอธิบดีกรมสามัญศึกษา ขณะนั้นเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนปากเกร็ด เป็นผู้ประสานงานจัดตั้ง ในระยะเริ่มแรก โรงเรียนยังไม่มีอาคารเรียนถาวร มีเพียงที่ดินซึ่งกำลังถมและปรับสภาพ จึงต้องไปอาศัยใช้โรงเรียนชลประทานสงเคราะห์ เป็นสถานที่ในการรับสมัครเข้าเรียน และเมื่อกระทรวงศึกษาธิการประกาศตั้งโรงเรียนฯ เมื่อวันที่ 30 มีนาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคณะอรัญวาสี

้าคณะอรัญวาสี คือเจ้าคณะใหญ่ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในคณะสงฆ์อรัญวาสี เจ้าคณะอรัญวาสีรูปสุดท้ายคือสมเด็จพระพุฒาจารย์ (แพ ติสฺสเทโว) ภายหลังจากพระองค์ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชก็มิได้มีพระสงฆ์รูปใดได้รับการสถาปนาเป็นเจ้าคณะอรัญวาสีอีก คงมีแต่ตำแหน่งเจ้าคณะใหญ่หนกลางเท่านั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)และเจ้าคณะอรัญวาสี · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »