โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ

ดัชนี สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ

อมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ (3 มีนาคม พ.ศ. 2426-13 มิถุนายน พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุล "จักรพงษ์" เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 40 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้เข้าศึกษาในโรงเรียนนายร้อยมหาดเล็กตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย หลังจากสำเร็จการศึกษา ทรงรับราชการทหารเป็นเสนาธิการทหารบก โดยทรงริเริ่มจัดตั้งโรงเรียนเสนาธิการ ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบินในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่า "พระบิดาแห่งกองทัพอากาศไทย" และ "พระบิดาแห่งการบินไทย" ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 เกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งขึ้น มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยศจากนายพลเอกเป็นจอมพล และทรงเป็นผู้ที่จัดส่งทหารอาสาเขาทำการรบในสงครามครั้งนั้น ต่อมาสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ เสด็จทิวงคตด้วยพระโรคพระปับผาสะ ขณะเสด็จไปประทับพักผ่อนพระวรกายที่สิงคโปร์ พระชนม์เพียง 37 พรรษา เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2463.

85 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2425พ.ศ. 2426พ.ศ. 2451พ.ศ. 2463พ.ศ. 2506พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระยศเจ้านายไทยพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระศาสนโศภน (ภา ภาณโก)พระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สุนทานนท์)พระโกศทองใหญ่พระเวชยันตราชรถพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์พิษณุโลก (แก้ความกำกวม)พุ่ม สาครกบฏ ร.ศ. 130กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์การเฉลิมพระยศเจ้านายฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถราชสกุลราชสกุลวงศ์ในราชวงศ์จักรีรายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทยรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ร.ว.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน น.ร.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลารายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี (ชั้น 1-4)รายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์รายการเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศของพระราชวงศ์ไทยแยกตามประเทศวังจักรพงษ์วังปารุสกวันสภากาชาดไทยสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฤทธิ์ ธมฺมสิริ)สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ)สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทรสุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทหม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์หม่อมลุดมิลา ทองใหญ่ ณ อยุธยาหม่อมคัทริน ณ พิศณุโลกหม่อมเอลิซาเบธ จักรพงษ์ ณ อยุธยาหม่อมเจ้าชวลิตโอภาศ รพีพัฒน์หม่อมเจ้าวัลภากร วรวรรณ...หม่อมเจ้าวิศิษฎ์สวัสดิรักษ์ สวัสดิวัตน์หม่อมเจ้าทองฑีฆายุ ทองใหญ่หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุลหม่อมเจ้านิวัทธวงศ์ เกษมสันต์หม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุลหลวงทัศนัยนิยมศึก (ทัศนัย มิตรภักดี)อี.อาร์.เอ. รอมิวลุสอดุล อดุลเดชจรัสจอมพล (ประเทศไทย)จักรพงษ์ภูวนาถจุลจักร จักรพงษ์ธงชาติไทยถนนพิษณุโลกถนนจักรพงษ์ทหารม้าขุนทวยหาญพิทักษ์ (เหล็ง ศรีจันทร์)ขจร ภะรตราชาความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยามคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตำหนักสวนจิตรลดาปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษนามสกุลพระราชทานโรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราชโรงเรียนเสนาธิการทหารบกไทย (หนังสือพิมพ์)เภสัชกรรมไทยเจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี13 มิถุนายน28 มีนาคม3 มีนาคม30 ธันวาคม ขยายดัชนี (35 มากกว่า) »

พ.ศ. 2425

ทธศักราช 2425 ตรงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและพ.ศ. 2425 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2426

ทธศักราช 2426 ตรงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและพ.ศ. 2426 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2451

ทธศักราช 2451 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1908 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและพ.ศ. 2451 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2463

ทธศักราช 2463 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1920 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและพ.ศ. 2463 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและพ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระยศเจ้านายไทย

ในประเทศไทย พระยศเจ้านาย คือพระอิสริยยศของพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวง.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและพระยศเจ้านายไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

นี่คือ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระราชโอรส พระราชธิดา และพระราชนั.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระศาสนโศภน (ภา ภาณโก)

ระศาสนโศภน (ภา ภาณโก) (17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2423 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2489) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง อดีตเจ้าอาวาสวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร สังฆมนตรีช่วยว่าการองค์การปกครอง‎ ประธานกรรมการคณะธรรมยุต กรรมการมหาเถรสมาคม และดำรงตำแหน่งสำคัญอีกหลายตำแหน่งในคณะสงฆ์ไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและพระศาสนโศภน (ภา ภาณโก) · ดูเพิ่มเติม »

พระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สุนทานนท์)

ันโท พระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สุนทานนท์) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ ในรัฐบาลพลเอก พระยาพหลพลพยุหเสน.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและพระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สุนทานนท์) · ดูเพิ่มเติม »

พระโกศทองใหญ่

ระโกศทองใหญ่ รัชกาลที่ 5 ในงานพระบรมศพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระโกศทองใหญ่ ทรงพระศพสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ขณะประดิษฐานบนพระมหาพิชัยราชรถในพระราชพิธีเชิญพระโกศทรงพระศพออกพระเมรุ พระโกศทองใหญ่ หรือ พระลองทองใหญ่ เป็นพระโกศสำหรับทรงพระบรมศพของพระมหากษัตริย์และพระศพของพระบรมวงศ์ชั้นสูง สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช นับเป็นพระโกศที่มีลำดับยศสูงที่สุด โดยได้ใช้ทรงพระศพของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงศรีสุนทรเทพเป็นพระองค์แรก (แต่ในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์รัชกาลที่ 1 ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ ฉบับตัวเขียน ระบุว่าพระศพสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงศรีสุนทรเทพนั้น ใช้พระโกศไม้สิบสอง และเมื่อเสร็จการพระศพจึงลอกทองที่หุ้มพระโกศไม้สิบสองมาหุ้มทำพระโกศทองใหญ่และทรงพระบรมศพของรัชกาลที่ 1 เป็นพระองค์แรก) พระโกศทองใหญ่ใช้ทรงพระศพของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีเป็นพระองค์ล่าสุด นอกจากนี้ พระโกศทองใหญ่ยังใช้เป็นเครื่องประกอบพระอิสริยยศพระศพสำหรับพระบรมวงศานุวงศ์ที่บรรจุพระบรมศพและพระศพลงในหีบพระศพแทนการลงพระโกศ เช่น พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและพระโกศทองใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

พระเวชยันตราชรถ

ระเวชยันตราชรถ สร้างในสมัยรัชกาลที่ 1 ราวปี พ.ศ. 2338 คราวเดียวกับพระมหาพิชัยราชรถ เป็นราชรถทรงบุษบก มีความกว้าง 4.85 เมตร ยาว 18 เมตร สูง 11.20 เมตร หนัก 12.25 ตัน สำหรับใช้เป็นราชรถสำรองในงานพระบรมศพของพระมหากษัตริย์ และเป็นราชรถทรงพระศพพระบรมวงศานุวงศ์ซึ่งทรงศักดิ์สูง เมื่อแรกเริ่มพระเวชยันตราชรถได้ใช้เป็นรถพระที่นั่งรองในงานถวายพระเพลิงพระบรมอัฐิสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกในปี พ.ศ. 2339 มีศักดิ์เป็นชั้นที่ 2 รองจากพระมหาพิชัยราชรถ ต่อมาได้ใช้ทรงพระโกศสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ คู่พระโกศสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาเทพสุดาวดี ซึ่งทรงพระมหาพิชัยราชรถ ออกพระเมรุท้องสนามหลวงคราวเดียวกัน พ.ศ. 2342 หลังจากนั้นจึงได้ใช้ราชรถองค์นี้เป็นราชรถรองในงานออกพระเมรุของพระมหากษัตริย์ในรัชกาลต่อๆ มา จนถึงงานพระเมรุพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ต่อมาพระมหาพิชัยราชรถชำรุดจนไม่สามารถฉุดชักออกมาจากที่ตั้งได้ จึงได้มีการใช้พระเวชยันตราชรถเป็นราชรถทรงพระบรมศพ โดยออกนามในหมายเรียกว่า "พระมหาพิชัยราชรถ" เพื่อเป็นการถวายพระเกียรติแก่พระบรมศพตามราชประเพณี ทั้งนี้ พระเวชยันตราชรถได้อัญเชิญออกใช้ในราชการครั้งล่าสุดเมื่อคราวพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 เมื่อ พ.ศ. 2528 ปัจจุบันพระเวชยันตราชรถได้เก็บรักษาไว้ ณ โรงราชรถ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร สำหรับงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ในปี พ.ศ. 2555 นั้น เดิมจะได้เชิญพระศพขึ้นทรงพระเวชยันตราชรถตามพระอิสริยยศ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระศพด้วยพระมหาพิชัยราชรถ เพื่อเป็นการถวายพระเกียรติยศสูงสุดตามโบราณราชประเพณี พระเวชยันตราชรถจึงไม่ได้อัญเชิญออกมาใช้งาน.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและพระเวชยันตราชรถ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์

มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (21 ตุลาคม พ.ศ. 2417 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุลรพีพัฒน์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 14 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นผู้วางรากฐานด้านกฎหมายในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่าพระบิดาแห่งกฎหมายไทย ทางด้านชีวิตส่วนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ทรงเสกสมรสกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงอรพัทธ์ประไพ พระธิดาองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ แต่ทรงมีชีวิตร่วมกันเพียงไม่นานก็หย่าขาดจากกันหลังจากนั้นทรงรับหม่อมอ่อนเป็นชายา หลังจากนั้นทรงมีหม่อมอีก 2 พระองค์ คือ หม่อมแดงและหม่อมราชวงศ์สอางค์ ปราโมช สิ้นพระชนม์ ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช

อมพล พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช หรือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชเป็นพระราชโอรสองค์ที่ ๑๗ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่ เจ้าจอมมารดาทับทิม โดยเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกลุ่มแรกที่ทรงไปศึกษาต่อในทวีปยุโรป เมื่อกลับมาประเทศไทยทรงเข้ารับราชการในกองทัพบกและกระทรวงกลาโหมในตำแหน่งต่างๆ และทรงเป็นจอมพลพระองค์ที่ 2 ของกองทัพบกสยาม พระองค์ทรงเป็นต้นราชสกุล "จิรประวัติ".

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์

ลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ หรือ พระองค์จุล (28 มีนาคม พ.ศ. 2451 – 30 ธันวาคม พ.ศ. 2506) พระโอรสพระองค์เดียวในจอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ กับ หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก ชาวรัสเซีย ทรงสมรสกับหม่อมเอลิสะเบธ จักรพงษ์ ณ อยุธยา เมื่อวันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

พิษณุโลก (แก้ความกำกวม)

อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและพิษณุโลก (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

พุ่ม สาคร

นายพุ่ม สาคร นายพุ่ม สาคร เกิดประมาณ พ.ศ. 2426 นักเรียนทุนเล่าเรียนหลวงคนแรกในสมัยรัชกาลที่ 5 ทรงเลือกให้เป็นผู้ตามเสด็จ สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ไปศึกษาต่อวิชาการทหารโรงเรียนเสนาธิการที่จักรวรรดิรัสเซียในปี พ.ศ. 2441 ภายหลังได้รับสัญญาบัตรแล้วเข้าเป็นนายทหารม้าฮุสซาร์ของจักรพรรดิซาร์นิโคลาสที่ 2 จากนั้นได้ศึกษาต่อในโรงเรียนเสนาธิการ 2 ปี หลังจบการศึกษาแล้ว นายพุ่มตัดสินใจไม่กลับประเทศ โดยได้โอนสัญชาติเป็นรัสเซียและเปลี่ยนไปนับถือศาสนาคริสต์ นิกายออร์โธด็อกซ์ (รัสเซียออร์โธด็อกซ์) โดยมีนามในศาสนาว่า นิโคลาส พร้อมกับเปลี่ยนชื่อเป็นนายนิโคลัย พุ่มสกี้ (Nikolai Pumsky) และเข้ารับราชการในกองทัพบกรัสเซียจนมียศเป็นพันเอก เมื่อรัสเซียมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นคอมมิวนิสต์ในปี พ.ศ. 2460 ได้หันไปร่วมกับนายทหารรัสเซียที่นิยมการปฏิวัติอยู่พักหนึ่ง แต่ได้หลบหนีออกจากประเทศรัสเซียไปประเทศฝรั่งเศส ทำงานเป็นเสมียนธนาคาร จนกระทั่งพระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ได้ทรงชวนมาเป็นเลขานุการประจำตัวหม่อมคัทริน ถึงแก่กรรมที่บ้านเทรเดซี ประเทศอังกฤษ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและพุ่ม สาคร · ดูเพิ่มเติม »

กบฏ ร.ศ. 130

ำหรับการกบฏครั้งนี้หมายถึงการกบฏในประเทศไทย หากเป็นการปฏิวัติในประเทศจีน ดูที่: การปฏิวัติซินไฮ่ คณะกบฏ ร.ศ. 130 กบฏ ร..

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและกบฏ ร.ศ. 130 · ดูเพิ่มเติม »

กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์

กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ (อักษรย่อ: ร.1 รอ.) มีชื่อเต็มว่า กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นหน่วยทหารรักษาพระองค์ที่ตั้งขึ้นหน่วยแรกสุดของประเทศไทย มีหน้าที่ถวายความปลอดภัยและถวายพระเกียรติแด่พระมหากษัตริย์, สมเด็จพระราชินี, พระรัชทายาท, ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์อย่างใกล้.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

การเฉลิมพระยศเจ้านาย

ระยศเจ้านาย ในราชสกุลมี 2 ประเภทคือ สกุลยศ คือ ยศที่เกิดเป็นเจ้าชั้นใดในเบื้องต้น เจ้านายที่เกิดในสกุลยศชั้นใด ก็อยู่ในชั้นยศชั้นนั้น เป็นยศที่ได้โดยการเกิด และ "อิสริยยศ" คือยศที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสถาปนาแต่งตั้งให้ทางราชการในภายหลัง และ"ยศทางสกุล"โดยชั้นข้าหลวงให้นำหน้าสกุลว่า"วงค์"(เมื่อสิ้นสุดรัชกาล สำหรับเมื่อเป็นสามัญชน) เช่น วงค์ปินตา วงค์สมบูรณ์ วงค์บวรคง วงค์ปิ่นแก้ว ฯลฯ.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและการเฉลิมพระยศเจ้านาย · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

แผนที่โลกแสดงฝ่ายต่าง ๆ ของผู้เข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สีเขียวคือฝ่ายสัมพันธมิตร สีส้มคือฝ่ายมหาอำนาจกลาง และสีเทาคือประเทศที่เป็นกลาง พันธมิตรทางทหารในทวีปยุโรปก่อนเกิดสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (Forces de l'Entente / Alliés; Alleati; Союзники, Soyuzniki) เป็นประเทศที่ทำสงครามกับฝ่ายมหาอำนาจกลางระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สมาชิกของข้อตกลงไตรภาคีได้แก่ สาธารณรัฐฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ และจักรวรรดิรัสเซีย ต่อมา อิตาลีเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายไตรภาคีในปี 1915 ส่วนญี่ปุ่น เบลเยียม เซอร์เบีย กรีซ มอนเตเนโกร โรมาเนีย และ ลีเจียนเชกโกสโลวาเกีย เป็นสมาชิกรองของข้อตกลง.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ (อังกฤษ: Rajamangala University of Technology Tawan-Ok: Chakrabongse Bhuvanarth Campus)เป็นวิทยาเขตหนึ่งที่มีชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลเน้นการจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่มีทักษะด้านบริหารธุรกิจ การบริหารจัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ และอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว อย่างมีคุณภาพสามารถปฏิบัติงานได้จริง มีความคิดสร้างสรรค์ที่ทำให้สามารถประกอบอาชีพได้หลายอาชีพ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 122 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ · ดูเพิ่มเติม »

ราชสกุล

ราชสกุล เป็นนามสกุลสำหรับผู้สืบเชื้อสายมาจากตระกูลวงศ์ในพระมหากษัตริย์ เกิดขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและราชสกุล · ดูเพิ่มเติม »

ราชสกุลวงศ์ในราชวงศ์จักรี

ราชสกุลวงศ์ในรัชกาลปัจจุบัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและราชสกุลวงศ์ในราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทย

ระราชวังและวัง คือ ที่ประทับของพระมหากษัตริย์ พระมหาอุปราช พระบรมวงศานุวงศ์ตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไป ส่วนที่อยู่ของหม่อมราชวงศ์และหม่อมหลวงนั้นไม่เรียกว่า "วัง" โดยวังใดจะเรียกว่าพระราชวังได้นั้นจะต้องมีพระบรมราชโองการสถาปนาขึ้นเป็น "พระราชวัง" เท่านั้น โดยในประเทศไทยมีพระราชวังและวัง ดังนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและรายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5

นี่คือรายพระนามและรายนาม พระมเหสี เจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.

รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (The Most Illustrious Order of the Royal House of Chakri) มีอักษรย่อว่า ม..ก. มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์และทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานและเรียกคืนเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์มีจำนวน 25 สำรับ สำหรับพระมหากษัตริย์ 1 สำรับ สมเด็จพระบรมราชินี 1 สำรับ และพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ที่สืบเนื่องโดยตรงในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกหรือผู้ซึ่งพระบรมวงศานุวงศ์ดังกล่าวได้เสกสมรสด้วยอีก 23 สำหรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่ประมุขของต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมใน 25 สำรับอีกด้วย โดยมีพระนามผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เช่น.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ร.ว.

รื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ (The Ratana Varabhorn order of Merit) เรียกอย่างย่อว่า ตรารัตนาวราภรณ์ และมีอักษรย่อว่า ร.ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเหน็จในพระองค์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2454 เพื่อเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับเชิดชูเกียรติคุณแก่ข้าราชการผู้ที่ตั้งใจรับราชการสนองพระเดชพระคุณด้วยความจงรักภักดีและมีความซื่อสัตย์สุจริตตลอดมา โดยเมื่อแรกสถาปนานั้นจะพระราชทานสำหรับฝ่ายหน้าเท่านั้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2465 พระองค์จึงสถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรย์รัตนวราภรณ์สำหรับพระราชทานฝ่ายในด้วยราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๒๘, ตอน ๐ก, ๒๐ สิงหาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ร.ว. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน น.ร.

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ (ฝ่ายหน้า) เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ มีอักษรย่อว่า น.ร. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีความเป็นมาสืบแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลนี้ มีเฉพาะชั้นสายสะพายชั้นเดียว ทั้งนี้ ผู้รับพระราชทานต้องเป็นพุทธมามกะเท่านั้น และจะประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ในงานมงคล หรืองานที่มีหมายกำหนดการระบุไว้เท่านั้น เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ จัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติเป็นลำดับที่ 3 รองจากเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์และเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ และเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดที่สามัญชนจะได้รับพระราชทาน โดยมีรายพระนามและรายนาม เช่น.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน น.ร. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา

นื้อหาในหน้านี้เป็นบัญชีรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาประเภทต่างๆ ตามที่ปรากฎหลักฐานในราชกิจจานุเบกษา ตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมาจนถึงแต่รัชกาลปัจจุบัน โดยแบ่งเป็น 2 ระยะ คือระยะที่พระราชทานตามพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสสริยาภรณ์สำหรับความดีความชอบเหรียญดุษฎีมาลา ปีมะเมีย จัตวาศก ศักราช 1244 และระยะที่พระราชทานตามพระราชบัญญัติเหรียญดุษฎีมาลา พุทธศักราช 2484; หมายเหต.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี (ชั้น 1-4)

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี ชั้น 1-4 เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 สำหรับบำเหน็จความดีความชอบแก่ผู้ทำความชอบพิเศษเป็นประโยชน์ยิ่งแก่ราชการทหาร ไม่ว่ายามสงบหรือยามสงคราม ตามที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๓๕, ตอน ๐ก, ๒๒ กรกฎาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี (ชั้น 1-4) · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

มื่อถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสถาปนาพระอิสริยยศเจ้านายในพระราชวงศ์ ก็ทรงตั้งเป็นต่างกรมตามชั้นยศซึ่งบัญญัติมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา แต่มีผิดกันบ้างเล็กน้อย มีการสถาปนาเจ้านายในพระราชวงศ์เรื่อยมาในทุกรัชกาล โดยครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2548 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ได้โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเจ้านายในพระราชวงศ์จักรี จำนวน 3 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศของพระราชวงศ์ไทยแยกตามประเทศ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและรายการเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศของพระราชวงศ์ไทยแยกตามประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

วังจักรพงษ์

ประตูวังจักรพงษ์ วังจักรพงษ์ หรือ บ้านจักรพงษ์ ตั้งอยู่ที่ถนนมหาราช เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ติดกับโรงเรียนราชินี เคยเป็นตำหนักส่วนพระองค์ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ต่อมาตกเป็นของทายาทคือ หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ ปัจจุบันวังจักรพงษ์เป็นที่ตั้งของสำนักพิมพ์ริเวอร์บุ๊ค จักรพงษ์วิลล่า และมูลนิธิโลกสีเขียว.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและวังจักรพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

วังปารุสกวัน

ตำหนักปารุสก์ ตำหนักสวนจิตรลดา ตำหนักจิตรลดาในวังปารุสกวัน วังปารุสกวัน หรือย่อว่า วังปารุสก์ ตั้งอยู่หัวมุมถนนพิษณุโลก ตัดกับถนนราชดำเนินนอก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นวังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเป็นวังที่ประทับของจอมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ พระราชโอรสในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสที่ทรงสำเร็จการศึกษาวิชาการทหาร จากประเทศรัสเซีย เมื่อ พ.ศ. 2449 ปัจจุบันใช้เป็นที่ทำการของสำนักข่าวกรองแห่งชาติ พิพิธภัณฑ์กรมตำรวจ และกองบัญชาการตำรวจนครบาล.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและวังปารุสกวัน · ดูเพิ่มเติม »

สภากาชาดไทย

กาชาดไทย เป็นสภากาชาดประจำประเทศไทย มีภารกิจปกป้องชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 เมษายน ร..

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและสภากาชาดไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฤทธิ์ ธมฺมสิริ)

มเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ นามเดิม ฤทธิ์ ฉายา ธมฺมสิริ เป็นสมเด็จพระราชาคณะ เจ้าคณะใหญ่ฝายเหนือและอดีตเจ้าอาวาสวัดบพิตรพิมุขวรวิหารและวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฤทธิ์ ธมฺมสิริ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ันเอกหญิง สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม ปลด เกตุทัต ฉายา กิตฺติโสภโณ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 14 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2503 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 2 ปี 1 เดือน 13 วัน สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2505 สิริพระชันษา 73 ปี.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี

มเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี (10 พฤษภาคม พ.ศ. 2404 – 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2470) หรือที่ชาววังออกพระนามว่า เสด็จพระนาง เป็นพระมเหสีชั้นลูกหลวงตำแหน่งพระราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วยเป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ต่างพระมารดากับพระราชสวามี ด้วยพระองค์ประสูติแต่เจ้าคุณจอมมารดาสำลี พระองค์เป็นพระชนนีของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร ซึ่งทรงเป็นเจ้าฟ้าชั้นเอก (ชั้นทูลกระหม่อม) ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์แรกที่มีพระชนม์ และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้รับการสถาปนาไว้ในที่ "สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี" ภายหลังทรงสิ้นพระชนม์เมื่อวันเสาร์ เดือน 8 ขึ้น 11 ค่ำ ปีเถาะนพศก..

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร

ลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร พระนามเดิม พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2494) พระราชโอรสองค์ที่ 52 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ดำรงพระชนม์ชีพอยู่เป็นพระองค์สุดท้.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร · ดูเพิ่มเติม »

สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร

นหลวงวัดราชบพิธ (อนุสรณ์สถานเจดีย์ทอง 4 องค์) แผนผังสุสานหลวง แสดงที่ตั้งของอนุสาวรีย์ต่างๆ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก (ราชวรมหาวิหาร) ประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ซึ่งมิเพียงคงความวิจิตรงดงามในเชิงสถาปัตยกรรมไทยแบบพระราชนิยมแห่งหนึ่งในกรุงรัตนโกสินทร์แล้ว พระอารามนี้ยังประกอบด้วยเขตสุสานหลวงจุฬาลงกรณ์ราชสันตติวงศ์ อันเป็นบริเวณเฉพาะที่นับเนื่องด้วยราชสกุลและสายสัมพันธ์แห่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารเป็นสุสานที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ด้วยมีพระราชประสงค์จะให้ผู้ที่มีความรักใคร่ห่วงใยอย่างใกล้ชิดคือ พระมเหสี เจ้าจอมมารดา และพระราชโอรส พระราชธิดา ได้อยู่รวมกันหลังจากที่ได้ล่วงลับไปแล้ว ในทั่วไปจะเป็นการสร้างอนุสาวรีย์ของพระมเหสีและเจ้าจอมมารดา เพื่อให้ลูกได้อยู่รวมกับแม่หรืออย่างน้อยในบ้านของแม่ เว้นแต่ในกรณีที่พระราชโอรสหรือพระราชธิดาสิ้นพระชนม์ก่อนพระมารดาก็สร้างอนุสาวรีย์ของพระเจ้าลูกเธอพระองค์นั้นไปก่อน.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและสุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เป็นหมู่พระที่นั่งที่อยู่ระหว่างพระมหามณเฑียรและหมู่พระมหาปราสาทภายในพระบรมมหาราชวัง ทอดตัวจากทิศเหนือไปทิศใต้ ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นกลางและเขตพระราชฐานชั้นใน สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อใช้เป็นสถานที่ออกว่าราชการและเป็นที่ประทับส่วนพระองค์ เดิมประกอบด้วยหมู่พระที่นั่ง 11 องค์ แต่เนื่องจากพระที่นั่งบางองค์ทรุดโทรมจนยากต่อการบูรณะจึงได้ทำการรื้อลง ปัจจุบัน หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ประกอบด้วย พระที่นั่ง 5 องค์ ได้แก่ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เป็นพระที่นั่งองค์เดียวในหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทที่สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5 พระที่นั่งมูลสถานบรมอาสน์ พระที่นั่งสมมติเทวราชอุปบัติ พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร และพระที่นั่งเทวารัณยสถาน เป็นพระที่นั่งที่รื้อลงและสร้างขึ้นใหม่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์

หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ (เกิด: 2 สิงหาคม พ.ศ. 2499) เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ กับหม่อมเอลิสะเบธ จักรพงษ์ ณ อยุธยา (Elisabeth Hunter; 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 - 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514) และเป็นพระนัดดาในสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ หม่อมราชวงศ์นริศราสมรสครั้งแรกกับคุณแอลเลน เลวี่ มีบุตรชาย 1 คนคือ จุลจักร จักรพงษ์ หรือ "เล็ก" หรือ "ฮิวโก้" และสมรสครั้งที่สองกับกอสวัสดิ์ สวัสดิวัตน์ ทอมสัน (กี้, บุตรชายของ หม่อมราชวงศ์สายสวัสดี สวัสดิวัตน์ ทอมสัน กับ แกรี ทอมสัน) มีบุตรชายอีก 1 คนคือภูวสวัสดิ์ จักรพงษ์ หรือ "กู้".

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและหม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมลุดมิลา ทองใหญ่ ณ อยุธยา

หม่อมลุดมิลา ทองใหญ่ ณ อยุธยา หรือ ลุคมิลา เซียร์เกเยนา บาร์ซูโควา (Людмила Сергеевна Барсукова; Lyudmila Sergeevna Barsukova) เกิดเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2433 ที่เซนต์ปีเตอร์เบิร์ก สกุลเดิม บาร์ซูคอวา มีเชื้อสายคอสแซค มาจากต้นตระกูลของปู่คือ นายอีวาน ยาคอฟเลวิช บาร์ซูคอฟ ผู้ซึ่งเป็นข้าราชการในราชสำนักของมหาจักรพรรดิ์ถึงสามสมัย คือ ตั้งแต่พระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 2 พระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 3 จนถึงพระเจ้านิโคลัสที่ 2 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ได้ทรงเรียกชื่อสำหรับภาษาไทยว่า หม่อมมลิ หลังจากที่สมรสกับหม่อมเจ้าทองทีฆายุแล้ว ได้เดินทางมายังประเทศไทยในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและหม่อมลุดมิลา ทองใหญ่ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก

หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก หรือ หม่อมคัทริน จักรพงษ์ ณ อยุธยา หรือ คัทริน เดสนิตสกี (Catherine Desnitski) มีชื่อเต็มว่า เยกาเจรีนา อีวานอฟนา เดสนิตสกายา (Катерина Іванівна Десницька; 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2429 — 3 มกราคม พ.ศ. 2503) เป็นอดีตหม่อมชาวรัสเซีย (ปัจจุบันส่วนหนึ่งของประเทศยูเครน) ในสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ มีพระโอรสเพียงพระองค์เดียว คือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้พระราชทานนามสกุล ณ พิศณุโลก อันเป็นนามสกุลพิเศษเนื่องจากไม่มีเลขลำดับที่พระราชทาน และมีผู้ใช้เพียงท่านเดียว คือ หม่อมคัทริน.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและหม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเอลิซาเบธ จักรพงษ์ ณ อยุธยา

หม่อมเอลิสะเบธ จักรพงษ์ ณ อยุธยา มีนามเดิมว่า เอลิสะเบธ ฮันเตอร์ (Elisabeth Hunter; 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 — 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514) เป็นหม่อมในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ พระโอรสพระองค์เดียวในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ กับหม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก หม่อมมารดาชาวรัสเซี.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและหม่อมเอลิซาเบธ จักรพงษ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าชวลิตโอภาศ รพีพัฒน์

หม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาศ รพีพัฒน์ เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ประสูติกับหม่อมอ่อน รพีพัฒน์ ณ อยุธยา ประสูติเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2446 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ที่กรุงปารีส หม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาส รพีพัฒน์ทรงเป็นชายาองค์ที่ 2 ในสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ หลังทรงหย่าร้างกับ หม่อมคัทริน แต่พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวมิยอมพระราชานุญาตให้ทรงทำการเสกสมรส หลังจากสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถเสด็จทิวงคต ในพินัยกรรม ทรงมอบทรัพย์สินมรดกทุกอย่างให้หม่อมเจ้าชวลิตโอภาสเพียงผู้เดียว ทรงมอบพระโอรสให้อยู่ในความดูแลของท่านหญิง และจะมีสิทธิ์ในมรดกก็ในเมื่อท่านหญิงสิ้นชีพิตักษัยแล้วเท่านั้น พระเจ้าอยู่หัวไม่ทรงเห็นด้วยกับพินัยกรรม ความไม่เห็นด้วยสะท้อนมาจาก ทรงยับยั้งพินัยกรรมไม่ให้มีผลบังคับใช้ ดังนั้นแทนที่หม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาสจะเข้าครอบครองทรัพย์สินทั้งหมด ก็กลายเป็นว่าทั้งแคทยา ท่านหญิงและพระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ต่างได้รับเงินปันผลจากผลประโยชน์ของกองมรดก แต่มรดกส่วนใหญ่ยังอยู่เฉยๆ ต่อมาคือทรงเรียกวังปารุสกวันกลับคืนมาเป็นของพระมหากษัตริย์ ส่วนหม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาสต้องย้ายไปพำนักที่วังที่ท่าเตียน ซึ่งเคยอยู่มาก่อนจะได้เป็นชายา หนึ่งปีต่อมา เมื่อหม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาสจะเสกสมรสใหม่กับหม่อมเจ้าอมรสมานลักษณ์ กิติยากร พระเจ้าอยู่หัวก็ทรงเห็นชอบที่จะให้หม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาสคืนมรดกกลับไปให้พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์เสียก่อน จึงพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้เสกสมรสได้ พระองค์ทรงมีโอรส - ธิดากับหม่อมเจ้าอมรสมานลักษณ์ กิติยากรดังนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและหม่อมเจ้าชวลิตโอภาศ รพีพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าวัลภากร วรวรรณ

นายแพทย์ หม่อมเจ้าวัลภากร วรวรรณ (25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2434 - 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2522) ทรงเป็นโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ กับหม่อมผัน ประสูติเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2434 ทรงมีพระเชษฐา พระภคินี พระนุชา พระขนิษฐาร่วมพระอุทรเดียวกัน คือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและหม่อมเจ้าวัลภากร วรวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าวิศิษฎ์สวัสดิรักษ์ สวัสดิวัตน์

ลอากาศจัตวา หม่อมเจ้าวิศิษฎ์สวัสดิรักษ์ สวัสดิวัตน์ ท.ม.,.ป.ร.3 เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ กับหม่อมหุ่น สวัสดิวัตน์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม พิศลยบุตร) ประสูติเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2442 ทรงเข้าศึกษาที่โรงเรียนนายร้อยทหารบกเมื่อ พ.ศ. 2442 วันที่ 30 มิถุนายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและหม่อมเจ้าวิศิษฎ์สวัสดิรักษ์ สวัสดิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าทองฑีฆายุ ทองใหญ่

ลตรี หม่อมเจ้าทองฑีฆายุ ทองใหญ่ เป็นโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม กับหม่อมพริ้ง ประสูติเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2429 ได้เคยเสด็จไปทรงศึกษาวิชาการทหารที่ประเทศรัสเซีย ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ตั้งแต่พระชันษา 12 ปี เสกสมรสกับหม่อมลุดมิลา ทองใหญ่ ณ อยุธยา มีบุตรธิดา 4 คน สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2485 เนื่องจากเป็นโอรสองค์แรกที่ไม่ถึงชีพิตักษัยดังเช่นโอรสและธิดาองค์ก่อน ๆ จึงเรียกว่า "ทองรอด" ต่อมามีพระนามจริงว่า "ทองฑีฆายุ" และได้ขนานนามพระองค์ว่า "บิดาของเหล่าทหารการสัตว์และสัตวแพทย์ไทย".

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและหม่อมเจ้าทองฑีฆายุ ทองใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล

ลตรี หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล มีพระนามเล่นว่า อั๋น เป็นโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการกับหม่อมพุก ประสูติเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2436 ทรงศึกษาที่โรงเรียนราชวิทยาลัย ที่บ้านสมเด็จเจ้าพระยา และจึงเดินทางไปศึกษาต่อที่โรงเรียนนายร้อยทหารบก หลังจากนั้นเสด็จไปทรงศึกษาที่โรงเรียนนายร้อยโกรลิชเตเฟลเดอ ประเทศเยอรมัน ต่อจากนั้นเข้าศึกษาที่โรงเรียนรบ Kriegschule ที่เมืองเมทซ์ เดินทางกลับประเทศไทยเมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและหม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้านิวัทธวงศ์ เกษมสันต์

หม่อมเจ้านิวัทธวงศ์ เกษมสันต์ ทรงเป็นโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์กับหม่อมราชวงศ์ละม้าย (สุริยกุล) เกษมสันต์ ประสูติเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2438 ถวายตัวเป็นมหาดเล็กในสมเด็จเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถเมื่อ พ.ศ. 2449 สอบได้ทุนของกระทรวงกลาโหมไปศึกษาต่อที่ประเทศรัสเซีย เมื่อ พ.ศ. 2456 ทรงเสกสมรสกับหม่อมเจ้าหญิงวงศ์แข เกษมศรี สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2507 นิวัทธวงศ์ เกษมสันต์ นิวัทธวงศ์ เกษมสันต์ หมวดหมู่:ราชสกุลสุริยกุล.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและหม่อมเจ้านิวัทธวงศ์ เกษมสันต์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล

ันตรีหม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ กับหม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา (บุตรีของเจ้าพระยาสิริรัตนมนตรี (หงส์ สุจริตกุล)) ประสูติ ณ วังเดิมเชิงสะพานถ่าน (หรือเรียกโดยสามัญว่า วังสะพานถ่าน) กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นตลาดบำเพ็ญบุญในปัจจุบันนี้ เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2439 เวลา 17.25 น. ได้รับพระราชทานนาม ไตรทิพเทพสุต จากสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและหม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หลวงทัศนัยนิยมศึก (ทัศนัย มิตรภักดี)

ณะราษฎรสายทหารบก ที่สนามหญ้าหน้าวังปารุสกวันในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 (หลวงทัศนัยนิยมศึก - ทัศนัย มิตรภักดี คือ คนที่ 2 จากซ้ายแถวกลาง) พันตรี หลวงทัศนัยนิยมศึก มีชื่อตัวว่า ทัศนัย มิตรภักดี (22 กันยายน พ.ศ. 2443–10 พฤษภาคม พ.ศ. 2476) อดีตนายทหารม้าชาวไทย และผู้ร่วมก่อตั้งคณะราษฎรชุดแรก (7 คนแรก) ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส และทำการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและหลวงทัศนัยนิยมศึก (ทัศนัย มิตรภักดี) · ดูเพิ่มเติม »

อี.อาร์.เอ. รอมิวลุส

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช ขับรอมิวลุส ชนะเลิศรายการแรกที่ โมนาโกกรังด์ปรีซ์ ทรงรับถ้วยรางวัลจากเจ้าชายหลุยส์แห่งโมนาโก ชายที่อยู่ขวาสุดในภาพคือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ รอมิวลุส เข้าเส้นชัยที่ ลอนดอนกรังปรีซ์ สนามคริสตัลพาเลซเซอร์กิต รอมิวลุส (คันหน้า) หนุมาน (คันกลาง) และ รีมุส (คันหลัง) จัดแสดงพร้อมกันที่วังจักรพงษ์ เมื่อปลายปี พ.ศ. 2530 ก่อนหน้าการแข่งขันกรุงเทพกรังด์ปรีซ์ 2531 รอมิวลุส (Romulus) เป็นชื่อที่ใช้เรียกรถแข่ง ยี่ห้อ อี.อาร์.เอ. (English Racing Automobiles - ERA) รหัส R2B ที่พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช ใช้ขับแข่งในช่วงปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและอี.อาร์.เอ. รอมิวลุส · ดูเพิ่มเติม »

อดุล อดุลเดชจรัส

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลตำรวจเอก อดุล อดุลเดชจรัส หรือ หลวงอดุลเดชจรัส (28 มิถุนายน พ.ศ. 2437 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2512) นามเดิม บัตร พึ่งพระคุณ อดีตองคมนตรี รองนายกรัฐมนตรี อธิบดีกรมตำรวจ ผู้บัญชาการทหารบก มีสมญานามว่า "นายพลตาดุ" เป็นหนึ่งในคณะราษฎร ผู้มีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 โดยขณะนั้นหลวงอดุลเดชจรัส มียศเป็น ร้อยโท (ร.ท.) ประจำกรมทหารปืนใหญ่ นครราชสีมา และได้หนีราชการมาพระนครด้วยรถไฟเพื่อร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จนถูกหมายจับจากทางต้นสังกัด ซึ่งตัวของหลวงอดุลเดชจรัสก็ได้อาศัยบ้านของพรรคพวกหลบซ่อนสลับกันไป โดยเฉพาะบ้านของหลวงพิบูลสงคราม ซึ่งเป็นเพื่อนสนิท หรือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในเวลาต่อมา เป็นรองนายกรัฐมนตรีและผู้สั่งราชการแทนนายกรัฐมนตรี จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นรองหัวหน้าขบวนการเสรีไทยในประเทศไทย ในช่วงปลายสงคราม หลังจากมีการผลัดเปลี่ยนรัฐบาล ซึ่งมีส่วนอย่างมากที่ทำให้การดำเนินงานเสรีไทยเป็นไปโดยราบรื่น ทั้งที่เป็นอธิบดีกรมตำรวจภายใต้รัฐบาลที่เป็นพันธมิตรกับกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น และเป็นหนึ่งในอภิรัฐมนตรีทำหน้าที่ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์และองคมนตรี หลังจากสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองแล้ว หลวงอดุลเดชจรัส ยังได้ร่วมกับนักการเมืองกลุ่มหนึ่ง ก่อตั้งพรรคสหชีพขึ้น โดยมีแนวทางสนับสนุนนายปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และหัวหน้าขบวนการเสรีไทย โดยหลวงอดุลเดชจรัส เป็นหัวหน้าพรรค และ นายเดือน บุนนาค เป็นเลขาธิการพรร.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและอดุล อดุลเดชจรัส · ดูเพิ่มเติม »

จอมพล (ประเทศไทย)

อมพล เป็นยศทหารชั้นสูงสุดของกองทัพไทย โดยมียศที่เทียบเท่ากันของทั้งสามเหล่าทัพ ได้แก่ จอมพล (ทหารบก) จอมพลเรือ (ทหารเรือ) และจอมพลอากาศ (ทหารอากาศ) (ตามพระราชบัญญัติยศทหาร พ.ศ. ๒๔๗๙) โดยเป็นยศสูงกว่าพลเอก และเป็นรองแต่เพียงจอมทัพไทยเท่านั้น(จอมทัพเป็นตำแหน่งมิใช่ยศทางการทหาร จอมทัพไทยหรือพระมหากษัตริย์ทรงดำรงยศ จอมพล จอมพลเรือ และ จอมพลอากาศ).

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและจอมพล (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพงษ์ภูวนาถ

ักรพงษ์ภูวนาถ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและจักรพงษ์ภูวนาถ · ดูเพิ่มเติม »

จุลจักร จักรพงษ์

ลจักร จักรพงษ์ (Chulachak Chakrabongse; 6 สิงหาคม พ.ศ. 2524) มีชื่อจริงว่า ฮิวโก้ จุล อเล็กซานเดอร์ เลวี (Hugo Chula Alexander Levy) และมีชื่อเล่นว่า เล็ก แต่นิยมเรียกกันว่า ฮิวโก้ เป็นบุตรชายคนโตของหม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ กับแอลเลน เลวี เป็นหลานตาของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชาน.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและจุลจักร จักรพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติไทย

งชาติไทย หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ธงไตรรงค์ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้สีหลักในธง 3 สี คือ สีแดง ขาว และสีน้ำเงินขาบ ภายในแบ่งเป็นแถบ 5 แถบ แถบในสุดสีน้ำเงิน ถัดมาด้านนอกทั้งด้านบนและล่างเป็นสีขาวและสีแดงตามลำดับ แถบสีน้ำเงินมีขนาดใหญ่กว่าแถบสีอื่นเป็น 2 เท่า ความหมายสำคัญของธงไตรรงค์นั้นหมายถึงสถาบันหลักทั้งสามของประเทศไทย คือ ชาติ (สีแดง) ศาสนา (สีขาว) และพระมหากษัตริย์ (สีน้ำเงิน) สีทั้งสามนี้เองคือที่มาของการเรียกชื่อธงนี้ว่าธงไตรรงค์ (ไตร.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและธงชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพิษณุโลก

นนพิษณุโลก (Thanon Phitsanulok) เป็นถนนสายหนึ่งในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีระยะทางตั้งแต่ถนนสามเสน ใต้ถนนศรีอยุธยา แขวงดุสิต ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตัดกับถนนนครราชสีมา (แยกวังแดง) วังปารุสกวัน และสวนมิสกวัน ตัดกับถนนราชดำเนินนอก (แยกสวนมิสกวัน) และถนนพระรามที่ 5 (แยกพาณิชยการ) เข้าสู่แขวงสวนจิตรลดา จากนั้นตัดกับถนนนครสวรรค์ที่แยกนางเลิ้ง (แยกสนามม้า) และเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงสวนจิตรลดากับแขวงสี่แยกมหานาคไปจนสุดถนนที่ทางรถไฟสายนครราชสีมา (ทางรถไฟสายเหนือก็เรียก) ณ แยกยมราชซึ่งเป็นหัวถนนเพชรบุรี ถนนพิษณุโลกนี้มีนามเดิมว่า "ถนนคอเสื้อ" เป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น เป็นถนนในโครงการถนนอำเภอดุสิต ซึ่งทรงริเริ่มขึ้นพร้อมกับการสร้างพระราชวังดุสิตใน พ.ศ. 2441 ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นถนนพิษณุโลกเนื่องจากผ่านวังปารุสกวัน ซึ่งเป็นที่ประทับในสมเด็จเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานารถ ชื่อถนนคอเสื้อได้มาจากการเขียนลายรูปค้างคาวต่อ ๆ กันในที่แคบ จึงกลายเป็นลายกระจังหรือที่เรียกว่า "คอเสื้อ" หมายถึง ฮก (ความสุข) ซึ่งเป็นหนึ่งลักษณะมงคลของจีนสามประการ ("ฮก ลก ซิ่ว" - ความสุข ลาภยศ อายุยืนนาน).

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและถนนพิษณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนจักรพงษ์

นนจักรพงษ์ในปี พ.ศ. 2559 ถนนจักรพงษ์ (Thanon Chakrabongse) เริ่มตั้งแต่ถนนเจ้าฟ้าถึงสะพานนรรัตน์สถาน (สะพานข้ามคลองรอบกรุง) เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงชนะสงครามกับแขวงตลาดยอด เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ถนนจักรพงษ์เป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น โดยทรงใช้วิธีการให้เจ้าของที่ดินริมถนนที่จะตัดขึ้นใหม่ออกเงินตัดถนนเอง แล้วพระราชทานนามว่า ถนนจักรพงษ์ ซึ่งมาจากพระนามของจอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ต้นราชสกุลจักรพงษ์ พระราชโอรสซึ่งประสูติจากสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง ถนนจักรพงษ์เป็นถนนที่ตัดผ่านย่านการค้าสำคัญของกรุงเทพมหานครคือย่านบางลำพู.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและถนนจักรพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทหารม้า

ทหารม้าโปแลนด์ (Polish cavalry) ในปี 1938 ทหารม้าบนรถถัง ทหารม้า (Cavalry) หมายถึง ทหารที่จะต้องทำการรบ โดยใช้อาวุธต่างๆ เช่น ดาบ, ทวน หรือปืน บนหลังม้า แต่ในปัจจุบันได้เปลี่ยนมาเป็นใช้รถถังและพาหนะเคลื่อนที่เร็วแทน ทหารม้าเป็นทหารเหล่าหนึ่งในกองทัพบก ที่ใช้ม้าหรือสิ่งกำเนิดความเร็วอื่นๆ เป็นพาหนะ เป็นเหล่ารบที่มีความสำคัญและจำเป็นเหล่าหนึ่งสำหรับกองทหารขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับเหล่าทหารราบ ทหารปืนใหญ่ ทหารช่าง ฯลฯ มีความแตกต่างกับ ทหารราบขี่ม้า (Light Horse) ทหารราบบรรทุกม้าหรือยานพาหนะใดๆ ก็ตาม จะใช้ม้าหรือยานพาหนะที่ว่าในการเดินทางเข้า-ออกสนามรบเท่านั้นในกรณีปกติ เครื่องหมายเหล่าเป็นรูปกระบี่ไขว้ประกอบกับเกือกม้าและรถถัง นอกจากนี้ เฮลิคอปเตอร์เอง ก็ถูกจัดว่าเป็นหน่วยทหารม้าเช่นกัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและทหารม้า · ดูเพิ่มเติม »

ขุนทวยหาญพิทักษ์ (เหล็ง ศรีจันทร์)

นทวยหาญพิทักษ์ (เหล็ง ศรีจันทร์-แถวหน้าที่ 3 จากซ้าย) กับคณะกบฏ ร.ศ. 130 ร้อยเอก นายแพทย์ขุนทวยหาญพิทักษ์ (22 ธันวาคม พ.ศ. 2425 - 16 มีนาคม พ.ศ.2502) มีชื่อจริงว่า นายแพทย์เหล็ง ศรีจันทร์ หรือชื่อที่นิยมเรียกกันติดปากว่า หมอเหล็ง เป็นนายทหารหัวหน้าคณะผู้ก่อการกบฏ ร.ศ. 130 เป็นนายทหารหนุ่มที่เป็นนายแพทย์ประจำโรงเรียนนายร้อยทหารบก และเป็นแพทย์ประจำพระองค์สมเด็จเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถฯ และหม่อมคัทรีน พระชายา ร.อ.ขุนทวยหาญพิทักษ์ เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและขุนทวยหาญพิทักษ์ (เหล็ง ศรีจันทร์) · ดูเพิ่มเติม »

ขจร ภะรตราชา

ท่านผู้หญิง ขจร ภะรตราชา ท่านผู้หญิง ขจร ภะรตราชา เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ ๒๑ กรกฎาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและขจร ภะรตราชา · ดูเพิ่มเติม »

ความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยาม

วามคิดและความเคลื่อนไหวที่จะเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของราชอาณาจักรสยาม จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปเป็นประชาธิปไตยนั้น มีมาตั้งแต่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อประมาณ ร..

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยาม · ดูเพิ่มเติม »

คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะเภสัชศาสตร์แห่งแรกในประเทศไทย โดยถือกำเนิดจาก "แผนกแพทย์ผสมยา โรงเรียนราชแพทยาลัย" หรือ "โรงเรียนปรุงยา" ตามดำริของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกประชานารถและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาชัยนาทนเรนทร เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2456 ซึ่งถือเป็นวันสถาปนาคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นวันสถาปนาวิชาชีพเภสัชกรรมในประเทศไทยอีกด้วยหนังสือ "กระถินณรงค์'44" เมื่อประดิษฐานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยแล้ว โรงเรียนปรุงยามีฐานะเป็นแผนกแพทย์ผสมยา ในสังกัดคณะแพทยศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล) และได้รับการพัฒนาหลักสูตรขึ้น จัดตั้งเป็นแผนกเภสัชกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั..

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ตำหนักสวนจิตรลดา

ตำหนักสวนจิตรลดา หัวมุมถนนราชดำเนินนอกตัดกับถนนศรีอยุธยา ตำหนักจิตรลดา เรือนรับรองด้านหลังวังปารุสกวัน ตำหนักจิตรลดาในวังปารุสกวัน Chitlada Mansion terrace ตำหนักสวนจิตรลดา เป็นตำหนักซึ่งเดิมเป็นของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ อยู่ใกล้กับวังปารุสกวัน เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จขึ้นครองราชย์ โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ขึ้นบริเวณทุ่งส้มป่อย และทรงย้ายไปประทับที่นั่น ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานตำหนักสวนจิตรลดา แลกเปลี่ยนกับที่ดินบริเวณท่าวาสุกรี ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถแต่เมื่อวันที่ 2 สิงหาคมได้ทรงดำรัสสร้างหอขึ้นมาอีกแห่งอยู่ที่จังหวัด นนทบุรี ปัจจุบัน เมื่อกล่าวถึง ตำหนักสวนจิตรลดา มักสับสนกับ สวนจิตรลดา หรือ พระตำหนักสวนจิตรลดา ซึ่งหมายถึง พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและตำหนักสวนจิตรลดา · ดูเพิ่มเติม »

ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ

ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ป..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 1 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานเฉพาะฝ่ายหน้า (บุรุษ) เท่านั้น โดยไม่จำกัดจำนวน ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 4 และถือเป็นชั้นสูงสุดของเครื่องอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

นามสกุลพระราชทาน

ป็นนามสกุลที่ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขนานนามสกุลขึ้นเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2455 โดยให้มีผลใช้บังคับในวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2456 อย่างไรก็ตาม ได้มีการเลื่อนเวลาการบังคับใช้กฎหมาย 2 ครั้ง เพื่ออำนวยความการสะดวกแก่เจ้าพนักงานซึ่งจะทำทะเบียนและสะดวกแก่ผู้ที่จะเลือกตั้งนามสกุล โดยพระราชบัญญัติได้บังคับใช้เป็นกฎหมายโดยสมบูรณ์เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามสกุลครั้งแรกเป็นจำนวน 102 นามสกุล เช่น นามสกุล "สุขุม" พระราชทานแก่ เจ้าพระยายมราช (ปั้น), นามสกุล "มาลากุล" พระราชทานแก่ พระยาวิสุทธสุริยศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์เปีย) และ พระยาอนุรักษ์ราชมณเฑียร (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม) และนามสกุล "พึ่งบุญ" พระราชทานแก่ พระยาประสิทธิ์ศุภการ (หม่อมหลวงเฟื้อ) นามสกุลที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานไว้มีทั้งสิ้น 6464 นามสกุล แยกเป็น.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและนามสกุลพระราชทาน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์

รงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (นนทบุรี-พระนครศรีอยุธยา) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ บริเวณถนนอู่ทอง ตำบลหอรัตนไชย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายโดยรับเฉพาะนักเรียนหญิง และเป็นโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดพระนครศรีอ.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและโรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า

รงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (ชื่อย่อ: รร.จปร.) เป็นสถาบันการศึกษาทางทหาร ในระดับอุดมศึกษาในสังกัดกรมยุทธศึกษาทหารบก กองทัพบก ตั้งอยู่ที่ อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก ผู้ที่ศึกษาในโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า เรียกว่า นักเรียนนายร้อย (นนร.) ต้นไม้สัญลักษณ์ประจำโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า คือ จำปีสิรินธร.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช

รงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 (อุบลราชธานี-อำนาจเจริญ) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาสายสามัญ ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ แต่เดิมโรงเรียนนี้เคยเป็นโรงเรียนชายล้วนประจำมณฑลอุบลราชธานี คู่กับโรงเรียนนารีนุกูลที่เป็นโรงเรียนหญิงล้วนประจำจังหวัดอุบลราชธานีในสมัยก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และโรงเรียนชายล้วนประจำจังหวัดในสมัยหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเสนาธิการทหารบก

รงเรียนเสนาธิการทหารบก ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2452 โดย จอมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ เพื่อให้การศึกษาเกี่ยวกับยุทธวิธีทางการทหารให้กับทหารในระดับมันสมองของกองทัพ โดยต้องมีการสอบคัดเลือกเพื่อมาเข้ารับการศึกษา หลักสูตรการศึกษาในปัจจุบันได้ยึดตามโรงเรียนเสนาธิการทหารบกสหรัฐอเมริกาเป็นหลัก เน้นการให้การศึกษาภาคปฏิบัติยิ่งกว่าการบรรยายตามความต้องการของกองทัพบก และมีการรับนายทหารจากมิตรประเทศเข้ามารับการศึกษาด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและโรงเรียนเสนาธิการทหารบก · ดูเพิ่มเติม »

ไทย (หนังสือพิมพ์)

ทย คือหนังสือพิมพ์ออกเมื่อปี พ.ศ. 2451 มีเจ้าของคือหลวงฤทธิศักดิ์ชลเขต ต่อมาเปลี่ยนเป็นจมื่นเทพดรุณาทร ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและไทย (หนังสือพิมพ์) · ดูเพิ่มเติม »

เภสัชกรรมไทย

ัชกรรมไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและเภสัชกรรมไทย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)

ลเอก เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม พิชเยนทรโยธิน) เกิดเมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2411 ที่บ้านถนนพระสุเมรุ บางลำพูบน ในกำแพงพระนคร เป็นบุตรนายเสงี่ยม อินทรโยธิน มีตำแหน่งเป็นมหาดเล็กวิเศษอยู่เวรศักดิ์ และคุณหญิงชม้าย อินทรโยธิน มีพี่น้องรวมท่านด้วยทั้งสิ้น 8 คน เป็นหญิงคนโต นอกนั้นเป็นชายทั้งหมด โดยท่านเป็นคนที่ 3 ได้รับการศึกษาชั้นต้นที่โรงเรียนหลวงในพระบรมมหาราชวัง ในสำนักพระยาอนุกูล (ชม) และได้เข้าศึกษาวิชาทหารในสำนักพระยาวิเศษสัจธาดา ได้ศึกษาวิชาภาษาอังกฤษในสำนักครูลำดัส ได้ถวายตัวเป็นทหารรักษาพระองค์ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ในปี พ.ศ. 2427 ได้บวชเป็นสามเณรอยู่วัดรังสีในสำนักท่านอาจารย์สี เมื่อสึกจากสามเณรแล้วได้ไปศึกษาวิชาภาษาอังกฤษในสำนักหมอแมกฟาร์แลนด์เป็นเวลา 3 ปี แล้วสมัครเข้าเป็นนักเรียนนายร้อยทหารบก วังสราญรมย์เมื่อเรียนจบหลักสูตรแล้วก็เข้ารับราชการในกรมทหารราบที่ 4 เมื่อปี 2433 ได้ย้ายเข้าประจำกองโรงเรียนนายร้อยทหารบก ได้ไปในกองข้าหลวงใหญ่เพื่อปราบโจรผู้ร้ายหัวเมืองฝ่ายตะวันออก เมื่อครั้งที่ พลเอกเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี ผู้บัญชาการทหารบก ได้รับโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้เป็นข้าหลวงใหญ่ในการปราบปรามโจรผู้ร้ายนั้น จากนั้นก็ได้เลื่อนยศเป็นว่าที่ร้อยโทปลัดกองโรงเรียนนายร้อยทหารบก ในปี พ.ศ. 2435 ได้ย้ายไปรับราชการประจำกองร้อยที่ 1 ในกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จากนั้นก็ได้เลื่อนยศเป็นว่าที่ร้อยเอกเป็นผู้บังคับกองร้อยที่ 4 กองพันที่ 1 ในกรมทหารราบที่ 3 ของพระยาอนุชิตชาญไชย ไปราชการทัพมณฑลอีสานที่เมืองอุบลราชธานี ในปี พ.ศ. 2437 ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็นร้อยเอกในกรมทหารบก มีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงสรสิทธยานุภาพ เมื่อสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณทิศฯ ทิวงคต ก็ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ออกไปรับราชการเป็นองครักษ์ประจำองค์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ซึ่งทรงศึกษาอยู่ในประเทศอังกฤษ พร้อมกับ พลตรีพระยาเสมอใจราช ข้าหลวงผู้เชิญเครื่องราชอิสริยยศไปทูลเกล้าฯ ที่กรุงลอนดอน ในการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ของสมเด็จเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ ระหว่างที่รับราชการประจำพระองค์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ประทับอยู่ที่ประเทศอังกฤษ ก็ได้ตามเสด็จพระราชดำเนินไปทุกหนทุกแห่ง และได้ศึกษาวิชาทหารบางวิชาโดยเสด็จ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยามมกุฎราชกุมารด้วย ในปี พ.ศ. 2443 ได้ตามเสด็จฯ สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ไปในงานพระบรมศพสมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 1 แห่งอิตาลี ในเดือน กันยายน 2444 ได้ตามเสด็จฯ ไปในงานพระบรมศพสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร ในเดือนพฤษภาคม 2445 ได้ตามเสด็จฯ ไปในงานบรมราชาภิเษก พระเจ้าอัลฟังโซแห่งสเปน ในเดือน มิถุนายน 2445 ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็น.ต. และได้ตามเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวไปประเทศนอร์เวย์ และประเทศเดนมาร์ก เมื่อสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงสำเร็จการศึกษาแล้ว ได้เสด็จประพาสไปเยี่ยมเยียนพระราชสำนักและเมืองต่างๆ ในยุโรป อเมริกา และญี่ปุ่น ก็ได้ตามเสด็จฯ ไปด้วย ได้เสด็จฯ นิวัตกลับกรุงเทพฯ ทางอเมริกาถึงกรุงเทพฯ เมื่อปลายเดือน ก..

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและเจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน) · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี (The Honourable Order of Rama) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 สำหรับบำเหน็จความดีความชอบแก่ผู้ทำความชอบพิเศษเป็นประโยชน์ยิ่งแก่ราชการทหาร ไม่ว่ายามสงบหรือยามสงคราม ตามที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๓๕, ตอน ๐ก, ๒๒ กรกฎาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี · ดูเพิ่มเติม »

13 มิถุนายน

วันที่ 13 มิถุนายน เป็นวันที่ 164 ของปี (วันที่ 165 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 201 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและ13 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

28 มีนาคม

วันที่ 28 มีนาคม เป็นวันที่ 87 ของปี (วันที่ 88 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 278 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและ28 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 มีนาคม

วันที่ 3 มีนาคม เป็นวันที่ 62 ของปี (วันที่ 63 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 303 วันในปีนั้น/.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและ3 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 ธันวาคม

วันที่ 30 ธันวาคม เป็นวันที่ 364 ของปี (วันที่ 365 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 1 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถและ30 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

กรมหลวงพิษณุโลกกรมหลวงพิษณุโลกประชานาถสมเด็จฯ เจ้าฟ้าฯ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถสมเด็จฯเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกประชานาถสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถสมเด็จเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานารถจอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงศ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถจอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถจอมพลสมเด็จเจ้าฟ้าจักรพงษภูวนารถ กรมหลวงพิษณุ โลกประชานารถเจ้าฟ้าจักรพงษ์เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »