สารบัญ
16 ความสัมพันธ์: พระพิมลธรรมพระพิมลธรรม (ช้อย ฐานทตฺโต)พระธรรมไตรโลกาจารย์ (ยอด อกฺกวํโส)พระธรรมเจดีย์วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมารสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ยัง เขมาภิรโต)สมเด็จพระวันรัตสมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต)สมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน)สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)จังหวัดพระนครศรีอยุธยาประเทศไทยใน พ.ศ. 2380
พระพิมลธรรม
ระพิมลธรรม เป็นราชทินนามสมณศักดิ์พระราชาคณะเจ้าคณะรองรูปหนึ่ง ในสมัยหลัง ๆ ได้พระราชทานเฉพาะพระภิกษุฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันไม่มีพระราชาคณะรูปใดได้รับราชทินนามนี้.
ดู สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)และพระพิมลธรรม
พระพิมลธรรม (ช้อย ฐานทตฺโต)
ระพิมลธรรม นามเดิม ช้อย ฝอยทอง ฉายา านทตฺโต เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญในคณะสงฆ์ เช่น เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร เจ้าคณะมณฑลนครสวรรค์ เจ้าคณะตรวจการภาค 1 สังฆมนตรีช่วยว่าการองค์การสาธารณูปการ และสังฆมนตรีว่าการองค์การปกครอง.
ดู สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)และพระพิมลธรรม (ช้อย ฐานทตฺโต)
พระธรรมไตรโลกาจารย์ (ยอด อกฺกวํโส)
ระธรรมไตรโลกาจารย์ (ยอด อกฺกวํโส) (1 มีนาคม พ.ศ. 2427 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2489) เป็นพระเถระชั้นผู้ใหญ่อีกท่านหนึ่งในจังหวัดนครสวรรค์ อดีตเจ้าคณะจังหวัดนครสวรรค์ อดีตเจ้าอาวาสวัดเขาแก้ว เป็นพระราชาคณะรูปแรกของจังหวัดนครสวรรค์ เป็นเจ้าคณะจังหวัดนครสวรรค์ ที่มีสมณศักดิ์สูงที.
ดู สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)และพระธรรมไตรโลกาจารย์ (ยอด อกฺกวํโส)
พระธรรมเจดีย์
ระธรรมเจดีย์ เป็นสมณศักดิ์พระราชาคณะชั้นธรรม ปัจจุบันผู้ที่ได้รับพระราชทานคือ พระธรรมเจดีย์ (สมคิด เขมจารี).
ดู สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)และพระธรรมเจดีย์
วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร เดิมเป็นวัดราษฎร์ชื่อวัดสลัก สร้างในสมัยอยุธยา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี และทรงสร้างพระบรมมหาราชวังเป็นที่ประทับและสร้างพระราชวังบวรสถานมงคลเป็นที่ประทับสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล นั้น วัดสลักเป็นวัดที่อยู่กึ่งกลางระหว่างพระบรมมหาราชวังกับพระราชวังบวรสถานมงคล สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทโปรดให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดสลักเมื่อ พ.ศ.
ดู สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)และวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม หรือที่นิยมเรียกกันในภาษาพูดว่า วัดแจ้ง หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า วัดอรุณ เป็นวัดโบราณ สร้างในสมัยอยุธยา ที่ชื่อวัดแจ้ง เพราะ พระเจ้าตากฯ ทำศึกเสร็จ แล้วยกทัพกลับมาเป็นเวลาเช้าพอดี ว่ากันว่าเดิมเรียกว่า วัดมะกอก และกลายเป็นวัดมะกอกนอกในเวลาต่อมา เพราะได้มีการสร้างวัดขึ้นอีกวัดหนึ่งในตำบลเดียวกัน แต่อยู่ในคลองบางกอกใหญ่ ชาวบ้านเรียกวัดที่สร้างใหม่ว่า วัดมะกอกใน (วัดนวลนรดิศ) แล้วจึงเรียกวัดมะกอกซึ่งอยู่ปากคลองบางกอกใหญ่ว่า วัดมะกอกนอก ส่วนเหตุที่มีการเปลี่ยนชื่อเป็นวัดแจ้งนั้น เชื่อกันว่า เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงตั้งราชธานีที่กรุงธนบุรีใน พ.ศ.
ดู สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)และวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร
นายร้อยโท สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร หรือ สมเด็จพระบรมราชปิตุลาธิบดี เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ (27 มิถุนายน พ.ศ.
ดู สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร
สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ยัง เขมาภิรโต)
มเด็จพระมหาวีรวงศ์ นามเดิม ยัง ฉายา เขมาภิรโต เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าอาวาสวัดโสมนัสราชวรวิหาร เจ้าคณะใหญ่ผู้ช่วยคณะธรรมยุติกนิกาย และเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายเหนือ.
ดู สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)และสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ยัง เขมาภิรโต)
สมเด็จพระวันรัต
มเด็จพระวันรัต (อ่านว่า วันนะรัด) แปลว่า ผู้ยินดีในการอยู่ป่า ผู้รักการอยู่ป่า เดิมใช้คำว่า พนรัตน์ และ วันรัตน์ ซึ่งแปลว่า ป่าแก้ว ปัจจุบันเป็นราชทินนามสมเด็จพระราชาคณะรูปหนึ่งในฝ่ายธรรมยุติกนิกาย วันรัตน์ เป็นนามที่ได้มาจากลังกา สันนิษฐานตามคำแปลว่าคงเป็นสังฆนายกฝ่ายอรัญวาสี คู่กับสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ซึ่งเป็นสังฆนายกฝ่ายคามวาสี ในพระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ ปรากฏนามนี้ครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ว่าพระพนรัตน์ป่าแก้วให้ฤกษ์แก่พระศรีสินในการก่อกบฏพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, นนทบุรี: ศรีปัญญา, 2553.
ดู สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)และสมเด็จพระวันรัต
สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต)
มเด็จพระวันรัต นามเดิม จ่าย ฉายา ปุณฺณทตฺโต เป็นสมเด็จพระราชาคณะ เจ้าอาวาสรูปแรกของวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร และอดีตเจ้าคณะใหญ่หนใต้.
ดู สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)และสมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต)
สมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน)
มเด็จพระวันรัต นามเดิม แดง ฉายา สีลวฑฺฒโน เป็นสมเด็จพระราชาคณะเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายใต้ อดีตเจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร และผู้สร้างวัดโพธินิมิตรสถิตมหาสีมาราม.
ดู สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)และสมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน)
สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)
มเด็จพระวันรัต นามเดิม เฮง ฉายา เขมจารี เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าคณะใหญ่หนใต้ เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร และแม่กองบาลีสนามหลวง.
ดู สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)และสมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ)
มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม ปลด เกตุทัต ฉายา กิตฺติโสภโณ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 14 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ.
ดู สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)และสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ)
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)
มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม แพ ฉายา ติสฺสเทโว เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 12 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)และสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอำเภอเมือง มีอำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า".
ดู สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประเทศไทยใน พ.ศ. 2380
หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2380 ในประเทศไท.