สารบัญ
28 ความสัมพันธ์: พระพรหมมุนีพระสาสนโสภณพระอาจารย์อาจ พนรัตนพระธรรมปัญญาจารย์พระธรรมไตรโลกาจารย์พระธรรมเจดีย์พระไตรปิฎกภาษาบาลีวัดพระพุทธสมเด็จพระราชาคณะสมเด็จพระวันรัต (จับ ฐิตธมฺโม)สมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต)สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต)สมเด็จพระวันรัต (ทรัพย์ โฆสโก)สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)สมเด็จพระวันรัต (นิรันตร์ นิรนฺตโร)สมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน)สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)สมเด็จพระวันรัต (เผื่อน ติสฺสทตฺโต)สมเด็จพระวันรัตน์ (ทับ พุทฺธสิริ)สมเด็จพระสังฆราชไทยสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (มี)สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ศุข)สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (นาค)สังคายนาในศาสนาพุทธ
พระพรหมมุนี
ระพรหมมุนี เป็นราชทินนามพระราชาคณะเจ้าคณะรองรูปหนึ่ง ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิก.
ดู สมเด็จพระวันรัตและพระพรหมมุนี
พระสาสนโสภณ
ระสาสนโสภณ หรือ พระศาสนโศภน เป็นราชทินนามสมณศักดิ์ชั้นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิก.
ดู สมเด็จพระวันรัตและพระสาสนโสภณ
พระอาจารย์อาจ พนรัตน
ระอาจารย์อาจ พนรัตน เป็นพระภิกษุชาวไทย เคยดำรงสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระพนรัตน ตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร และเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร แต่ภายหลังถูกถอดจากสมณศักดิ์เนื่องจากมีพฤติกรรมรักร่วม.
ดู สมเด็จพระวันรัตและพระอาจารย์อาจ พนรัตน
พระธรรมปัญญาจารย์
พระธรรมปัญญาจารย์ เป็นราชทินนามสมณศักดิ์ชั้นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ปัจจุบัน มีพระภิกษุได้รับสมณศักดิ์ที่พระธรรมปัญญาจารย์มาแล้ว 4 รูป ดังนี้ หมวดหมู่:พระราชาคณะเจ้าคณะรอง.
ดู สมเด็จพระวันรัตและพระธรรมปัญญาจารย์
พระธรรมไตรโลกาจารย์
ระธรรมไตรโลกาจารย์ เป็นสมณศักดิ์พระราชาคณะชั้นธรรม ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายธรรมยุติกนิกาย มีพัดยศประจำตำแหน่งเป็นพัดแฉกทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ มี 5 แฉก พื้นแพรต่วนสีแดง.
ดู สมเด็จพระวันรัตและพระธรรมไตรโลกาจารย์
พระธรรมเจดีย์
ระธรรมเจดีย์ เป็นสมณศักดิ์พระราชาคณะชั้นธรรม ปัจจุบันผู้ที่ได้รับพระราชทานคือ พระธรรมเจดีย์ (สมคิด เขมจารี).
ดู สมเด็จพระวันรัตและพระธรรมเจดีย์
พระไตรปิฎกภาษาบาลี
ปรากฏพระพุทธดำรัสในมหาปรินิพพานสูตรว่า "เมื่อทรงปรินิพานไปแล้ว พระธรรมวินัยที่ได้ทรงสั่งสอนไว้แล้ว จักเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย"พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาปรินิพพานสูตร.
ดู สมเด็จพระวันรัตและพระไตรปิฎกภาษาบาลี
วัดพระพุทธ
วัดพระพุทธ นราธิวาส วัดพระพุทธ นราธิวาส วัดพระพุทธ นราธิวาส วัดพระพุทธ ตั้งอยู่ที่ บ้านใหญ่ หมู่ที่ 3 ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ภายในวัดมีศาลาการเปรียญ พระพุทธรูปทำด้วยไม้ชัยพฤกษ์ ชื่อ พ่อท่านพระพุทธ พระพุทธไสยาสน.
ดู สมเด็จพระวันรัตและวัดพระพุทธ
สมเด็จพระราชาคณะ
ัดยศสมณศักดิ์สมเด็จพระราชาคณะ สมเด็จพระญาณวโรดม สมเด็จพระราชาคณะ เป็นสมณศักดิ์รองจากสมเด็จพระสังฆราช สูงกว่าพระราชาคณะเจ้าคณะรอง มีคำนำหน้าราชทินนามว่า "สมเด็จ" เดิมทีสมเด็จพระราชาคณะเป็นตำแหน่งพระสังฆาธิการชั้นเจ้าคณะใหญ่มาตลอด จนกระทั่งมีการแยกออกมาเมื่อมีพระราชบัญญัติคณะสง..
ดู สมเด็จพระวันรัตและสมเด็จพระราชาคณะ
สมเด็จพระวันรัต (จับ ฐิตธมฺโม)
มเด็จพระวันรัต นามเดิม จับ สุนทรมาศ ฉายา ตธมฺโม เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญในคณะสงฆ์ไทย เช่น เจ้าอาวาสวัดโสมนัสราชวรวิหาร เจ้าคณะภาค 16-17-18 (ธรรมยุต) และกรรมการมหาเถรสมาคม.
ดู สมเด็จพระวันรัตและสมเด็จพระวันรัต (จับ ฐิตธมฺโม)
สมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต)
มเด็จพระวันรัต ฉายา พฺรหฺมคุตฺโต (นามเดิม:จุนท์ พราหมณ์พิทักษ์) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ผู้ปฏิบัติหน้าที่เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต ปัจจุบันดำรงตำแหน่งกรรมการมหาเถรสมาคมโดยตำแหน่ง และเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร และผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดตรีทศเทพวรวิหาร.
ดู สมเด็จพระวันรัตและสมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต)
สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต)
มเด็จพระวันรัต นามเดิม จ่าย ฉายา ปุณฺณทตฺโต เป็นสมเด็จพระราชาคณะ เจ้าอาวาสรูปแรกของวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร และอดีตเจ้าคณะใหญ่หนใต้.
ดู สมเด็จพระวันรัตและสมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต)
สมเด็จพระวันรัต (ทรัพย์ โฆสโก)
มเด็จพระวันรัต นามเดิม ทรัพย์ สุนทรัตต์ ฉายา โฆสโก เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดสังเวชวิศยารามวรวิหาร สังฆมนตรีว่าการองค์การปกครอง สมาชิกสังฆสภา กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก และผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆร.
ดู สมเด็จพระวันรัตและสมเด็จพระวันรัต (ทรัพย์ โฆสโก)
สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)
มเด็จพระวันรัต นามเดิม ฑิต ฉายา อุทโย เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร และอดีตเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายใต้.
ดู สมเด็จพระวันรัตและสมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)
สมเด็จพระวันรัต (นิรันตร์ นิรนฺตโร)
มเด็จพระวันรัต นามเดิม นิรันตร์ ฉายา นิรนฺตโร เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและกรรมการมหาเถรสมาคม.
ดู สมเด็จพระวันรัตและสมเด็จพระวันรัต (นิรันตร์ นิรนฺตโร)
สมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน)
มเด็จพระวันรัต นามเดิม แดง ฉายา สีลวฑฺฒโน เป็นสมเด็จพระราชาคณะเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายใต้ อดีตเจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร และผู้สร้างวัดโพธินิมิตรสถิตมหาสีมาราม.
ดู สมเด็จพระวันรัตและสมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน)
สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)
มเด็จพระวันรัต นามเดิม เฮง ฉายา เขมจารี เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าคณะใหญ่หนใต้ เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร และแม่กองบาลีสนามหลวง.
ดู สมเด็จพระวันรัตและสมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)
สมเด็จพระวันรัต (เผื่อน ติสฺสทตฺโต)
มเด็จพระวันรัต นามเดิม เผื่อน คงธรรม ฉายา ติสฺสทตฺโต เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญในคณะสงฆ์ไทย เช่น เจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร เจ้าคณะมณฑลราชบุรี สังฆมนตรีว่าการองค์การปกครอง.
ดู สมเด็จพระวันรัตและสมเด็จพระวันรัต (เผื่อน ติสฺสทตฺโต)
สมเด็จพระวันรัตน์ (ทับ พุทฺธสิริ)
มเด็จพระวันรัตน์เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๑, หน้า 123 นามเดิม ทับ ฉายา พุทฺธสิริ (6 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู สมเด็จพระวันรัตและสมเด็จพระวันรัตน์ (ทับ พุทฺธสิริ)
สมเด็จพระสังฆราชไทย
ในประเทศไทย สมเด็จพระสังฆราช คือประมุขแห่งคณะสงฆ์ ซึ่งตามกฎหมายคณะสงฆ์บัญญัติให้ทรงดำรงตำแหน่งสกลมหาสังฆปริณายก ที่มาและอำนาจหน้าที่ของสมเด็จพระสังฆราชเป็นไปตามพระราชบัญญัติคณะสง..
ดู สมเด็จพระวันรัตและสมเด็จพระสังฆราชไทย
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ)
มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม ปลด เกตุทัต ฉายา กิตฺติโสภโณ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 14 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ.
ดู สมเด็จพระวันรัตและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ)
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ)
มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม ปุ่น สุขเจริญ ฉายา ปุณฺณสิริ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 17 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ.
ดู สมเด็จพระวันรัตและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ)
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)
มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม แพ ฉายา ติสฺสเทโว เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 12 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู สมเด็จพระวันรัตและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)
สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (มี)
มเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช มีพระนามเดิมว่า มี ประสูติเมื่อวันพุธขึ้น 12 ค่ำ เดือน 8 ตรงกับวันที่ 15 กรกฎาคม..
ดู สมเด็จพระวันรัตและสมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (มี)
สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ศุข)
มเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม ศุข เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อปี..
ดู สมเด็จพระวันรัตและสมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ศุข)
สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)
มเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช มีพระนามเดิมว่า ด่อน เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อปี พ.ศ.
ดู สมเด็จพระวันรัตและสมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)
สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (นาค)
มเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (นาค) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 6 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดราชบุรณราชวรวิหาร ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ.
ดู สมเด็จพระวันรัตและสมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (นาค)
สังคายนาในศาสนาพุทธ
ในศาสนาพุทธ สังคายนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 487-8 (สํคายนา) คือการประชุมตรวจชำระสอบทานและจัดหมวดหมู่คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า วางลงเป็นแบบแผนอันหนึ่งอันเดียวกัน ตามศัพท์ "สังคายนา" หมายถึง สวดพร้อมกัน หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “สังคีติ” แปลว่า สวดพร้อมกัน มาจากคำว่า คายนา หรือ คีติ แปลว่า การสวด สํ แปลว่า พร้อมกัน คำนี้มีมูลเหตุมาจากวิธีการสังคายนาพระธรรมวินัย ที่เรียกว่าวิธีการร้อยกรองหรือรวบรวมพระธรรมวินัย หรือประมวลคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีวิธีการคือนำเอาคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าที่ทรงจำไว้มาแสดงในที่ประชุมพระสงฆ์ จากนั้นให้มีการซักถามกัน จนกระทั่งที่ประชุมลงมติว่าเป็นอย่างนั้นแน่นอน เมื่อได้มติร่วมกันแล้วในเรื่องใด ก็ให้สวดขึ้นพร้อมกัน การสวดพร้อมกันแสดงถึงการลงมติร่วมกันเป็นเอกฉันท์ และเป็นการทรงจำกันไว้เป็นแบบแผนต่อไป.
ดู สมเด็จพระวันรัตและสังคายนาในศาสนาพุทธ
หรือที่รู้จักกันในชื่อ วันรัต