เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1

ดัชนี สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1

มเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 หรือ พระเจ้าอู่ทอง (พ.ศ. 1857 - พ.ศ. 1912) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยพระองค์แรกในราชวงศ์อู่ทองแห่งอาณาจักรอ.

สารบัญ

  1. 79 ความสัมพันธ์: บึงพระรามบุพสัญญาพ.ศ. 1857พ.ศ. 1887พ.ศ. 1893พ.ศ. 1894พ.ศ. 1895พ.ศ. 1896พ.ศ. 1897พ.ศ. 1898พ.ศ. 1899พ.ศ. 1900พ.ศ. 1901พ.ศ. 1902พ.ศ. 1903พ.ศ. 1904พ.ศ. 1905พ.ศ. 1906พ.ศ. 1907พ.ศ. 1908พ.ศ. 1909พ.ศ. 1910พ.ศ. 1911พ.ศ. 1912พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระมหาเทวีแห่งสุโขทัย (พระชายาในสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1)พระราชพิธีสถาปนาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมารพระราชพงศาวดาร ฉบับหมอบรัดเลพระราชวังโบราณ อยุธยาพระรามพระราเมศวรพระที่นั่งสรรเพชญปราสาทพระเจ้าอู่ทองพระเทพบิดรการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทยการสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ราชการส่วนกลาง (ประเทศไทย)ราชวงศ์อู่ทองรายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทยรายชื่อสงครามในประเทศไทยรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยรายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทยร่ายวัดพระรามวัดพระศรีสรรเพชญ์วัดพุทไธศวรรย์ศาลชั้นต้น (ประเทศไทย)สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมารสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ... ขยายดัชนี (29 มากกว่า) »

บึงพระราม

ึงพระราม หรือเดิมเรียกว่า หนองโสน หรือ บึงชีชัน เป็นหนองน้ำหรือบึงน้ำขนาดใหญ่กลางเกาะเมืองจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในอดีตบึงแห่งนี้เป็นชุมชนโบราณมาก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยาด้วยสังเกตจากวัดร้างและสถานที่สำคัญจำนวนมากรอบบึงน้ำนี้ ปัจจุบันบึงพระรามได้รับการปรับปรุงจนกลายเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของชาวพระนครศรีอ.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และบึงพระราม

บุพสัญญา

ัญญา (”) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายอัญประกาศคู่แต่มีด้านปิดเพียงด้านเดียว หรือคล้ายรูปสระ ฟันหนู (") ใช้สำหรับเขียนแทนคำหรือประโยคที่อยู่ในบรรทัดบนหรือเหนือขึ้นไปในตำแหน่งกึ่งกลาง เพื่อที่จะได้ไม่ต้องเขียนซ้ำอีก สามารถใช้ขีดกลางยาวประกอบเครื่องหมาย (เช่น) เพื่อกำหนดขอบเขตของการกล่าวซ้ำโดยสังเขป และอาจพบเครื่องหมายบุพสัญญามากกว่าหนึ่งตัวในการซ้ำครั้งเดียวกัน (เช่น) เวลาอ่านต้องอ่านคำเต็ม บทนิพนธ์หลายชนิดอาทิวิทยานิพนธ์ ไม่อนุญาตให้ใช้เครื่องหมายนี้ปรากฏในเนื้อหาเพื่อละข้อความ แต่ให้ใช้คำเต็มแทน ภาษาญี่ปุ่นก็มีการใช้บุพสัญญา มีปรากฏในรหัสยูนิโคด U+3003 ดังนี้ 〃 มีชื่อเรียกว่า ditto mark หรือ โนะโนะจิเท็น (ノノ字点) รูปร่างคล้ายกับของภาษาไทยแต่เขียนอยู่ในระดับเดียวกับบรรทัด ภาษาอื่นที่นอกเหนือจากนี้ไม่มีการใช้บุพสัญญา แต่อาจพบการใช้ขีดกลางยาว (em dash) หรือคำว่า Ibid.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และบุพสัญญา

พ.ศ. 1857

ทธศักราช 1857 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพ.ศ. 1857

พ.ศ. 1887

ทธศักราช 1887 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพ.ศ. 1887

พ.ศ. 1893

ทธศักราช 1893 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพ.ศ. 1893

พ.ศ. 1894

ทธศักราช 1894 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพ.ศ. 1894

พ.ศ. 1895

ทธศักราช 1895 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพ.ศ. 1895

พ.ศ. 1896

ทธศักราช 1896 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพ.ศ. 1896

พ.ศ. 1897

ทธศักราช 1897 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพ.ศ. 1897

พ.ศ. 1898

ทธศักราช 1898 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพ.ศ. 1898

พ.ศ. 1899

ทธศักราช 1899 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพ.ศ. 1899

พ.ศ. 1900

ทธศักราช 1900 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพ.ศ. 1900

พ.ศ. 1901

ทธศักราช 1901 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพ.ศ. 1901

พ.ศ. 1902

ทธศักราช 1902 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพ.ศ. 1902

พ.ศ. 1903

ทธศักราช 1903 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพ.ศ. 1903

พ.ศ. 1904

ทธศักราช 1904 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพ.ศ. 1904

พ.ศ. 1905

ทธศักราช 1905 ตรงกั.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพ.ศ. 1905

พ.ศ. 1906

ทธศักราช 1906 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพ.ศ. 1906

พ.ศ. 1907

ทธศักราช 1907 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพ.ศ. 1907

พ.ศ. 1908

ทธศักราช 1908 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพ.ศ. 1908

พ.ศ. 1909

ทธศักราช 1909 ตรงกั.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพ.ศ. 1909

พ.ศ. 1910

ทธศักราช 1910 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพ.ศ. 1910

พ.ศ. 1911

ทธศักราช 1911 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพ.ศ. 1911

พ.ศ. 1912

ทธศักราช 1912 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพ.ศ. 1912

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

พระมหาเทวีแห่งสุโขทัย (พระชายาในสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1)

มหาเทวี เป็นฝ่ายในที่ไม่ปรากฏพระนามแห่งอาณาจักรสุโขทัยพระองค์หนึ่ง ปรากฏเพียงว่าเป็นพระขนิษฐาในพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลือไทย) และเป็นพระชายาพระองค์หนึ่งในสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 แห่งกรุงศรีอยุธยา โดยพระองค์ได้ขึ้นครองเมืองสุโขทัยระยะหนึ่งหลังต่อจากพระมหาธรรมราชาที่ 1 ผู้เป็นพระเชษฐา หลังพระองค์เสด็จสวรรคตพระราชอำนาจจึงตกอยู่กับพระศรีเทพาหูราช พระราชโอร.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพระมหาเทวีแห่งสุโขทัย (พระชายาในสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1)

พระราชพิธีสถาปนาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร

ทความนี้รวบรวมการประกอบ พระราชพิธีสถาปนาเฉลิมพระนามาภิไธย สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร พระองค์ต่าง.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพระราชพิธีสถาปนาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร

พระราชพงศาวดาร ฉบับหมอบรัดเล

ระราชพงศาวดาร ฉบับหมอบรัดเล เป็นพงศาวดารสยามที่โรงพิมพ์หมอบรัดเลพิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกในปี..

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพระราชพงศาวดาร ฉบับหมอบรัดเล

พระราชวังโบราณ อยุธยา

นที่ภายในพระราชวังหลวงหรือพระราชวังโบราณ พระที่นั่งตรีมุข พระราชวังโบราณ อยุธยา คือ พระราชวังหลวง ในสมัยกรุงศรีอ.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพระราชวังโบราณ อยุธยา

พระราม

ระราม (राम รามะ) เป็นตัวละครเอกในเรื่องรามเกียรติ์ ซึ่งชาวฮินดูเชื่อว่าเป็นร่างอวตารปางที่ 7 ของพระวิษณุ อวตารลงมาเป็นโอรสท้าวทศรถและนางเกาสุริยา มีพระวรกายเป็นสีเขียว ทรงธนูเป็นอาวุธ มีศรวิเศษสามเล่มคือ ศรพรหมมาตร ศรอัคนิวาต และศรพลายวาต เวลาสำแดงอิทธิฤทธิ์จะปรากฏเป็น 4 มือ ทรงเทพอาวุธ ตรี คฑา จักร สังข์ พระรามมีพระอนุชาร่วมพระบิดา 3 พระองค์ ได้แก่ พระพรต พระลักษมณ์ และพระสัตร.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพระราม

พระราเมศวร

ระราเมศวร เป็นพระอิสริยยศของพระราชโอรสในพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา โดยมากเป็นพระอิสริยยศของพระราชโอรสพระองค์ใหญ่และอยู่ในที่จะรับรัชทายาทต่อไป อาจหมายถึง.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพระราเมศวร

พระที่นั่งสรรเพชญปราสาท

ระที่นั่งสรรเพชญปราสาท (จำลอง) ภายในเมืองโบราณ พระที่นั่งสรรเพชญปราสาท หรือ พระที่นั่งสรรเพชญมหาปราสาท คือพระที่นั่งองค์หนึ่งในเขตพระราชวังโบราณ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สร้างขึ้นโดยพระราชดำริของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่กรุงศรีอยุธยาเจริญรุ่งเรืองมาก เป็นศูนย์กลางแห่งอำนาจของราชอาณาจักรอยุธยา พระที่นั่งสรรเพชญปราสาท เคยใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีสำคัญของราชสำนักและเป็นที่รับแขกบ้านแขกเมืองของพระมหากษัตริย์ เช่น พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รับราชทูต ฯลฯ แต่พระที่นั่งองค์นี้เสียหายทั้งองค์เมื่อเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒ ในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพระที่นั่งสรรเพชญปราสาท

พระเจ้าอู่ทอง

ระเจ้าอู่ทอง เป็นคำที่ใช้เรียก ตำแหน่งพระมหากษัติย์หรือเจ้าผู้ครองเมืองอู่ทอง ของแคว้นลพบุรีสุพรรณภูมิ เช่นเดียวกับ คำว่าพระร่วงเจ้า ของอาณาจักรสุโขทัย และพระเจ้าศรีธรรมาโศกราชแห่งอาณาจักรศรีธรรมโศกราช พระเจ้าอู่ทอง สามารถหมายถึง.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพระเจ้าอู่ทอง

พระเทพบิดร

ระเทพบิดร หรือจดหมายเหตุกรุงเก่าเรียก พระเชษฐบิดร เป็นเทพตามความเชื่อของราชวงศ์ไทย ซึ่งจำลองเป็นพระพุทธรูปหุ้มเงินประดิษฐานไว้ในพระบรมมหาราชวัง และเชื้อพระวงศ์กับเหล่าขุนนางต้องสักการบูชาก่อนทำพระราชพิธีถือน้ำพิพัฒน์สัต.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และพระเทพบิดร

การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย

ษาบาลี หรือภาษามคธ เป็นภาษาที่จารึกพระไตรปิฎก ด้วยเป็นภาษาที่คนชมพูทวีปในสมัยพุทธกาลนิยมใช้กันทั่วไป จึงเป็นภาษาที่พระพุทธเจ้าใช้เผยแพร่พระพุทธศาสนาในสมัยนั้น หลังจากพุทธปรินิพพานมีการทำปฐมสังคายนา พระเถระได้ตกลงกันใช้ภาษาบาลีสำหรับจดจำพระไตรปิฎก พระสงฆ์สายเถรวาทจึงต้องศึกษาภาษาบาลีให้เข้าใจลึกซึ้งและสามารถเทียบเคียงสอบทานกับพระไตรปิฎกที่เก็บไว้ในสถานที่ต่างกันได้ เพื่อรักษาการแปลความหมายจากพระพุทธพจน์ในพระไตรปิฎกให้ถูกต้องไม่บิดเบือน และหน้าที่นี้ก็เป็นหน้าที่ของพระสงฆ์ในประเทศไทยเช่นเดียวกันเทวประภาส มากคล้าย เปรียญ..

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย

การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์

การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์เป็นวิธีการประหารพระราชวงศ์ไทยโดยการใช้ท่อนจันทน์เป็นอุปกรณ์ วิธีการดังกล่าวไม่มีการปฏิบัติอีกต่อมาตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรเมนมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้เลิกเสียอย่างเป็นทางการตั้งแต่มีการประกาศใช้กฎหมายลักษณะอาญา ร..

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และการสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์

ราชการส่วนกลาง (ประเทศไทย)

ราชการส่วนกลาง หมายถึง ราชการที่ดำเนินการและบริหารโดยหน่วยราชการในส่วนกลางของฝ่ายบริหาร เพื่อสนองความต้องการของประชาชน จะมีลักษณะการปกครองแบบรวมอำนาจ หมายความว่า เป็นการรวมอำนาจในการสั่งการ การกำหนดนโยบายการวางแผน การควบคุมตรวจสอบ และการบริหารราชการสำคัญ ๆ ไว้ที่นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีและกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ตามหลักการรวมอำนาจ การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง จัดแบ่งออกได้ดังนี้.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และราชการส่วนกลาง (ประเทศไทย)

ราชวงศ์อู่ทอง

ราชวงศ์อู่ทอง หรือ ราชวงศ์ละโว้-อโยธยา หรือ ราชวงศ์เชียงราย ทั้งหมดล้วนเป็นชื่อสมมุติที่นักประวัติศาสตร์ใช้เรียกราชวงศ์แรกที่ปกครองกรุงศรีอยุธยา เพื่อความสะดวกในการศึกษาประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยา โดยกำหนดเอาพระนามตามตำนานของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ที่มีพระนามเดิมว่า "พระเจ้าอู่ทอง" มาเป็นชื่อราชวงศ์ แต่ความเป็นมาของราชวงศ์ดังกล่าวยังคงคลุมเครืออยู.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และราชวงศ์อู่ทอง

รายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทย

ระราชวังและวัง คือ ที่ประทับของพระมหากษัตริย์ พระมหาอุปราช พระบรมวงศานุวงศ์ตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไป ส่วนที่อยู่ของหม่อมราชวงศ์และหม่อมหลวงนั้นไม่เรียกว่า "วัง" โดยวังใดจะเรียกว่าพระราชวังได้นั้นจะต้องมีพระบรมราชโองการสถาปนาขึ้นเป็น "พระราชวัง" เท่านั้น โดยในประเทศไทยมีพระราชวังและวัง ดังนี้.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และรายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทย

รายชื่อสงครามในประเทศไทย

รายชื่อสงครามในประเทศไทย มีดังต่อไปนี้.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และรายชื่อสงครามในประเทศไทย

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่ราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัยถึงปัจจุบันมีดังนี้.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไท.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และรายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย

ร่าย

ร่ายเป็นร้อยกรองแบบหนึ่ง มีสี่ประเภทได้แก่ ร่ายยาว ร่ายสุภาพ ร่ายดั้น และร่ายโบราณ.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และร่าย

วัดพระราม

วัดพระราม เป็นวัดที่ตั้งอยู่นอกเขต พระราชวัง ทางด้านทิศตะวันออก ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตรงข้ามกับวิหารพระมงคลบพิตร วัดพระราม คาดว่าสร้างขึ้นในปี..

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และวัดพระราม

วัดพระศรีสรรเพชญ์

right วัดพระศรีสรรเพชญ์ หรือ วัดพระศรีสรรเพชญ เป็นอดีตวัดหลวงประจำพระราชวังโบราณ อยุธยา ตั้งอยู่ที่ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทางทิศเหนือของวิหารพระมงคลบพิตรในเขตอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา สร้างชึ้นราวปี..

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และวัดพระศรีสรรเพชญ์

วัดพุทไธศวรรย์

วัดพุทไธศวรรย์ เป็นพระอารามหลวงตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก ในตำบลสำเภาล่ม อำเภอพระนครศรีอยุธยา ในสมัยกรุงศรีอยุธยา วัดพุทไธศวรรย์เป็นพระอารามหลวงที่ใหญ่โตและมีชื่อเสียงวัดหนึ่ง ปรากฏตามตำนานว่าสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงสร้างขึ้นในบริเวณที่ซึ่งเป็นที่ตั้งพลับพลาที่ประทับเมื่อทรงอพยพมาตั้งอยู่ก่อนสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ที่ตรงนี้มีชื่อปรากฏในพระราชพงศาวดารว่า "ตำบลเวียงเล็กหรือเวียงเหล็ก" ครั้นเมื่อสถาปนากรุงศรีอยุธยาแล้ว ถึง..

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และวัดพุทไธศวรรย์

ศาลชั้นต้น (ประเทศไทย)

ลชั้นต้น เป็นศาลยุติธรรม เป็นศาลที่พิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีในชั้นแรก โดยทั่วไป ผู้ใดที่มีคดีความและประสงค์จะใช้สิทธิฟ้องร้องจะต้องยื่นฟ้องที่ศาลนี้.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และศาลชั้นต้น (ประเทศไทย)

สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1

มเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 หรือ ขุนหลวงพะงั่ว เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกในราชวงศ์สุพรรณภูมิที่ได้ครองกรุงศรีอยุธยา ตั้งแต่ปี..

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร

นายร้อยโท สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร หรือ สมเด็จพระบรมราชปิตุลาธิบดี เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ (27 มิถุนายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร

สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

มเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 8 แห่งอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ สวรรคต..

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

สมเด็จพระรามาธิบดี

มเด็จพระรามาธิบดี อาจหมายถึง.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และสมเด็จพระรามาธิบดี

สมเด็จพระราเมศวร

มเด็จพระราเมศวร (พ.ศ. 1882 - พ.ศ. 1938) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 2 แห่งอาณาจักรอยุธยา เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 กับพระมเหสีซึ่งเป็นพระขนิษฐาในสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ผู้ครองเมืองสุพรรณบุรี พระองค์ทรงขึ้นครองราชย์ได้เพียงปีเดียวก็สละราชสมบัติให้สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ผู้เป็นพระมาตุลา และเสด็จขึ้นครองราชสมบัติอีกครั้งภายหลังการสำเร็จโทษสมเด็จพระเจ้าทองลัน พระราชโอรสของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ที่ครองราชสมบัติได้เพียง 7 วัน แม้พระองค์จะทรงสำเร็จโทษพระเจ้าทองลันเพื่อชิงราชสมบัติ แต่ก็ทรงสร้างคุณูปการต่อกรุงศรีอยุธยาไว้หลายประการ ไม่ว่าจะด้านพระศาสนาหรือการสงคราม ซึ่งพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่ควรยกย่องเชิดชูพระเกียรติที่ทรงปกครองบ้านเมืองให้อยู่อย่างร่มเย็นเป็นสุขโดยที่ไม่มีเมืองต่างๆมารุกราน พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงขยายอาณาเขตให้อาณาจักรอยุธยายิ่งใหญ่ พระองค์ยังทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาอยู่ตลอดเวลา แม้เวลาส่วนมากจะทำศึกสงคราม.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และสมเด็จพระราเมศวร

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

มเด็จพระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่าพระนเรศ หรือ "พระองค์ดำ" เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิกษัตรีย์ (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรีสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ..

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

สยามมกุฎราชกุมาร

มมกุฎราชกุมาร เป็นพระอิสริยยศมกุฎราชกุมารของประเทศไทย ซึ่งเป็นพระอิสริยยศของผู้ที่จะสืบราชสมบัติต่อจากพระมหากษัตริย์ไทย โดยสยามมกุฎราชกุมารจะดำรงพระยศนี้ไปจนกว่าพระมหากษัตริย์จะสวรรคตหรือสละราชสมบัติ พระอิสริยยศนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นผู้ทรงกำหนดขึ้นเมื่อ..

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และสยามมกุฎราชกุมาร

สารเสพติด

รเสพติด หรือ ยาเสพติดหมายถึง ยาหรือสารเคมีหรือวัตถุชนิดใดๆ เมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่ว่าจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือวิธีใดก็ตาม ทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใ.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และสารเสพติด

สำนักพระราชวัง

ำนักพระราชวัง (Bureau of the Royal Household; BRH) เป็นหน่วยงานของทางราชการมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลและรับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้องกับพระราชวัง ตลอดจนดูแลรักษาทรัพย์สินและผลประโยชน์ในองค์ พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นผู้บังคับบัญชาสำนักพระราชวัง และเลขาธิการพระราชวังเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารราชกิจราชการ.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และสำนักพระราชวัง

หอพระนาก

หอพระนาก หอพระนาก ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ของพระอุโบสถ ใกล้กับพระวิหารยอดตรงกันข้ามกับ หอพระมณเฑียรธรรม พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างขึ้นในระยะที่ 2 ของการสร้างวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อขยายเขตพระระเบียงออกไปทางด้านทิศเหนือ เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปหล่อและแผลงด้วยนาก ซึ่งอัญเชิญมาจากพระนครศรีอยุธยา และถือพระนากเป็นพระประธานในการ “เปตพลี” (การอุทิศกุศลแก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว) ลักษณะของหอพระนากในรัชกาลนี้ ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีรูปร่างอย่างไร ในสมัยรัชกาลที่ 3 หอพระนากคงจะชำรุดทรุดโทรมจึงโปรดเกล้า ฯ ให้ซ่อมแปลงหอพระนาก แล้วประดิษฐานพระพุทธรูปต่าง ๆ หลายสิบองค์ มีทั้งหุ้มทองบ้าง หุ้มเงินบ้าง หุ้มนากบ้าง รวมทั้งรูปพระเชษฐบิดร คือรูปสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ซึ่งสร้างกรุงศรีอยุธยา ที่แปลงเป็นพระพุทธรูปแล้วนั้นก็ประดิษฐานอยู่ด้วย ส่วนพระอัฐิเจ้านายนั้นเก็บอยู่ในตู้ผนังด้านหลังพระวิหาร ในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ 100 ปี โปรดเกล้า ฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ เมื่อครั้งดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นเทวะวงศ์วโรปการปฏิสังขรณ์หอพระนาก ซ่อมแซมช่อฟ้า ใบระกา และหลังคา รวมทั้งลงรักปิดทองซุ้มประตูหน้าต่างภายนอกทั้งหมด ตลอดจนเขียนผนังเพดาน ทำตู้ ปูพื้น และทำพระโกศทรงพระอัฐิในหอพระนากทั้งหมด ส่วนพระพุทธรูปทั้งหมดที่ประดิษฐานอยู่ในหอพระนาก โปรดเกล้า ฯ ให้อัญเชิญไปประดิษฐานไว้บนพระวิหารยอด อย่างไรก็ตามด้วยความเคยชินที่เคยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปแผลงด้วยนากเช่นนี้ จึงยังคงเรียกว่า "หอพระนาก" มาตราบจนทุกวันนี้ ในสมัยรัชกาลที่ 7 เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ 150 ปี โปรดเกล้า ฯ ให้ปฏิสังขรณ์ทั้งภายนอกและภายในทั้งหลัง เขียนลายผนังด้านในใหม่เป็นลายพุ่มข้าวบิณฑ์อย่างเดิม แล้วทำพระโกศทรงพระอัฐิเจ้านายที่ยังไม่มีพระโกศที่บรรจุทั้งหมด สิ่งที่เพิ่มเติมคือ เจาะผนังด้านทิศตะวันตกให้เป็นช่องสร้างเป็นพระวิมานประดิษฐานพระบวรอัฐิ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบวชราชเจ้า กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ในรัชกาลที่ 1, 2 และ 3 เบื้องหน้าพระวิมานสร้างเป็นซุ้มคูหาตั้งพระเบญจาแบบย่อเก็จด้านหน้า ด้านหลังติดผนังสำหรับเป็นที่ประดิษฐานพระโอศทรงพระอัฐิเจ้านายในพระบรมราชจักรีวงศ์ ระหว่างการบูรณะหอพระนากได้อัญเชิญพระบวรอัฐิและพระอัฐิ ไปพักไว้ท้ายจรนำปราสาทพระเทพบิดรเป็นการชั่วคราว เมื่อการบูรณะสำเร็จแล้ว ใน..

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และหอพระนาก

อาณาจักรพริบพรี

อาณาจักรพริบพรี (เพชรบุรี) อาณาจักรแคว้นหนึ่งของประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์อยุธยาโดยตรง ทั้งนี้มีกษัตริย์ปกครองราชอาณาจักร ภายหลังเกิดโรคระบาดจึงได้มีการย้ายการตั้งถิ่น ความสำคัญของทฤษฎีหนึ่งของนักประวัติศาสตร์ให้ความสำคัญถึงที่มาของกษัตริย์ผู้สถาปนากรุงศรีอยุธยา ก็คือ พระเจ้าอู่ทอง ซึ่งมาการกล่าวอ้างในหนังสือลาร์ลูแบร์ และคำให้การของคนกรุงเก่า มีหลักฐานการตั้งถิ่นฐานอยู่ในสองฝั่งของแม่น้ำเพชรบุรี.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และอาณาจักรพริบพรี

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และอาณาจักรอยุธยา

อำเภอพรหมบุรี

รหมบุรี เป็นอำเภอหนึ่งใน 6 อำเภอของจังหวัดสิงห์บุรี.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และอำเภอพรหมบุรี

อำเภอสิงหนคร

งหนคร เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขล.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และอำเภอสิงหนคร

อำเภออินทร์บุรี

อินทร์บุรี เป็นอำเภอหนึ่งใน 6 อำเภอของจังหวัดสิงห์บุรี.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และอำเภออินทร์บุรี

อำเภออู่ทอง

อำเภออู่ทอง เป็นอำเภอที่อยู่ในจังหวัดสุพรรณบุรี.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และอำเภออู่ทอง

อำเภอขนอม

นอม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครศรีธรรมร.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และอำเภอขนอม

อำเภอเมืองนนทบุรี

มืองนนทบุรี เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา เศรษฐกิจ และการสาธารณสุขของจังหวัดนนทบุรี.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และอำเภอเมืองนนทบุรี

อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา

อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา เป็นอุทยานประวัติศาสตร์ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้รับการพิจารณาเป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา

จังหวัดสิงห์บุรี

ังหวัดสิงห์บุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคกลางของประเทศไท.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และจังหวัดสิงห์บุรี

จังหวัดสงขลา

งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และจังหวัดสงขลา

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และจังหวัดนนทบุรี

จังหวัดเพชรบุรี

ังหวัดเพชรบุรี (/เพ็ดชะบุรี/; เดิมสะกดว่า เพ็ชร์บุรี) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันตก (บ้างก็จัดอยู่ในภาคกลางตอนล่าง ด้านของการพยากรณ์อากาศจัดอยู่ภาคใต้ตอนบน) มีภูมิประเทศทั้งเป็นที่สูงติดเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มักเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า เมืองเพชร เดิมเรียก พริบพรี และจากหลักฐานในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปรากฏชื่อว่า ศรีชัยวัชรปุระ จังหวัดเพชรบุรีมีชื่อเสียงในฐานะแหล่งผลิตน้ำตาล เนื่องจากมีต้นตาลหนาแน่น เป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เพชรบุรีเป็นเมืองที่เคยรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณและเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญของไทยในกลุ่มหัวเมืองฝ่ายตะวันตก ปัจจุบันมีวัดเก่าแก่และบ้านเรือนทรงไทยจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีคำพูดติดปากว่า นักเลงเมืองเพชร ปัจจุบันเพชรบุรีเป็นเมืองด่านสำคัญระหว่างภาคกลางและภาคใต้ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญ เช่น หาดชะอำ หาดปึกเตียน หาดเจ้าสำราญ แหลมหลวง แหลมเหลว และเขื่อนแก่งกระจาน.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และจังหวัดเพชรบุรี

คลองฉะไกรใหญ่

ลองฉะไกรใหญ่หรือคลองท่อ เมื่อปี 2556 คลองฉะไกรใหญ่ หรือ คลองท่อ เป็นแนวคลองขุดโบราณบนเกาะเมืองในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เชื่อมแม่น้ำลพบุรีทางทิศเหนือกับแม่น้ำเจ้าพระยาทางทิศใต้ ถือเป็นเส้นทางหลักในการคมนาคมระหว่างเกาะเมืองไปสู่นอกเกาะเมือง.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และคลองฉะไกรใหญ่

ประวัติศาสตร์ไทย

การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยมักเริ่มนับตั้งแต่สมัยอาณาจักรสุโขทัยเป็นต้นมา หากแต่ในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบัน พบหลักฐานของมนุษย์ซึ่งมีอายุเก่าแก่ที่สุดถึงห้าแสนปี ตลอดจนหลักฐานของอารยธรรมและรัฐโบราณเป็นจำนวนมาก ภูมิภาคสุวรรณภูมิเคยถูกชาวมอญ เขมร และมลายูปกครองมาก่อน ต่อมา คนไทยได้สถาปนาอาณาจักรของตนเอง เช่น อาณาจักรสุโขทัย ไล่เลี่ยกันกับอาณาจักรล้านนา อาณาจักรเชียงแสน และอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรสุโขทัยเจริญรุ่งเรืองในช่วงเวลาค่อนข้างสั้นประมาณ 200 ปี ก็ถูกผนวกรวมกับอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรอยุธยาเป็นอาณาจักรที่รุ่งเรืองมั่งคั่ง เป็นศูนย์กลางการค้าระดับนานาชาติ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงปฏิรูปการปกครอง ซึ่งบางส่วนใช้สืบมาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และยังทรงตราพระราชกำหนดศักดินา ทำให้อยุธยาเป็นสังคมศักดินา อยุธยาเริ่มติดต่อกับชาติตะวันตกเมื่อ..

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และประวัติศาสตร์ไทย

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และประเทศไทย

ปู่โสมเฝ้าทรัพย์

ปู่โสมเฝ้าทรัพย์ เป็นชื่อที่ใช้เรียกผีหรือวิญญาณที่ทำหน้าที่เฝ้าทรัพย์สมบัติที่เป็นสมบัติล้ำค่าหรือสมบัติของชาติ เช่น กรุสมบัติในอาณาจักรอยุธยา เป็นต้น ปู่โสมเฝ้าทรัพย์ทำหน้าที่คล้ายเจ้าที่เจ้าทาง หรือเทพารักษ์ที่พิทักษ์ทรัพย์สมบัติเหล่านี้เอาไว้ เรื่องราวของปู่โสมเฝ้าทรัพย์ที่โด่งดังและเป็นที่รู้จักกันดี จนกลายเป็นข่าวลงหน้าหนึ่งหนังสือพิมพ์เกิดขึ้นในราวปี..

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และปู่โสมเฝ้าทรัพย์

แคว้นสุพรรณภูมิ

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ ดินแดนสุวรรณภูมิ อาณาจักรสุพรรณภูมิ หรือ แคว้นสุพรรณภูมิ เป็นแคว้นของชนชาติไทยในอดีต มีมาก่อนสถาปณากรุงศรีอยุธยา โดยมีเมืองอู่ทองเป็นเมืองหลวง.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และแคว้นสุพรรณภูมิ

เหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอยุธยา

ลำดับเหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอ.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และเหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอยุธยา

เทศบาลตำบลบางม่วง

ทศบาลตำบลบางม่วง เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบเทศบาลในเขตอำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี และเป็นเทศบาลหนึ่งในห้าแห่งของอำเภอ ยกฐานะมาจากสุขาภิบาลบางม่วง ปัจจุบันมีความเจริญไปมาก เพราะแต่เดิมจุดนี้คือที่ว่าการอำเภอบางใหญ่ (เก่า) เป็นบริเวณที่คลองบางใหญ่ คลองอ้อม และคลองบางกอกน้อยมาบรรจบกัน ทำให้เกิดเป็นชุมชนหนาแน่น อย่างไรก็ตามเขตนี้ก็ยังเป็นบริเวณชานเมืองของกรุงเทพมหานครและมีสภาพเหมือนต่างจังหวัดครั้งอดีต.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และเทศบาลตำบลบางม่วง

3 มีนาคม

วันที่ 3 มีนาคม เป็นวันที่ 62 ของปี (วันที่ 63 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 303 วันในปีนั้น/.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และ3 มีนาคม

3 เมษายน

วันที่ 3 เมษายน เป็นวันที่ 93 ของปี (วันที่ 94 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 272 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1และ3 เมษายน

หรือที่รู้จักกันในชื่อ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑สมเด็จพระเจ้าอู่ทองพระเจ้าวรเชษฐ์

สมเด็จพระรามาธิบดีสมเด็จพระราเมศวรสมเด็จพระนเรศวรมหาราชสยามมกุฎราชกุมารสารเสพติดสำนักพระราชวังหอพระนากอาณาจักรพริบพรีอาณาจักรอยุธยาอำเภอพรหมบุรีอำเภอสิงหนครอำเภออินทร์บุรีอำเภออู่ทองอำเภอขนอมอำเภอเมืองนนทบุรีอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาจังหวัดสิงห์บุรีจังหวัดสงขลาจังหวัดนนทบุรีจังหวัดเพชรบุรีคลองฉะไกรใหญ่ประวัติศาสตร์ไทยประเทศไทยปู่โสมเฝ้าทรัพย์แคว้นสุพรรณภูมิเหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอยุธยาเทศบาลตำบลบางม่วง3 มีนาคม3 เมษายน