สารบัญ
9 ความสัมพันธ์: รายพระนามพระมหากษัตริย์สวีเดนรายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์รายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์กรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สวีเดนสมเด็จพระราชินีนาถสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์กสหภาพคาลมาร์เจ้าหญิงคริสตินาแห่งเดนมาร์ก28 ตุลาคม
รายพระนามพระมหากษัตริย์สวีเดน
ตราแห่งสวีเดน พระมหากษัตริย์สวีเดน (Monarki i Sverige) เป็นประมุขของราชอาณาจักรสวีเดนมายาวนาน ถึงแม้ว่าในปัจจุบันประเทศสวีเดนมีการปกครองเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและองค์กษัตริย์เองมิได้มีพระราชอำนาจทางการเมือง กระนั้นก็ยังทรงเป็นสถาบันสูงสุดรวมถึงได้รับความเคารพจากสังคมของราชอาณาจักรสวีเดนมาโดยตลอด ในปี..
ดู สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 1 แห่งเดนมาร์กและรายพระนามพระมหากษัตริย์สวีเดน
รายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์
ตราประจำพระองค์ของพระมหากษัตริย์แห่งนอร์เวย์ตั้งแต่ ปี 1280 สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 กษัตริย์แห่งนอร์เวย์ตั้งแต่ปี 1991 ร่วมกับพระมเหสีของพระองค์ สมเด็จพระราชินีซอนยา ในปี 2010 รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรนอร์เว.
ดู สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 1 แห่งเดนมาร์กและรายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์
รายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก
ระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์ก และ สมเด็จพระราชินีนาถแห่งเดนมาร์ก พระอิศริยยศนี้รวมด้ว.
ดู สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 1 แห่งเดนมาร์กและรายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก
รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สวีเดน
ู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์แห่งสวีเดน จะดำรงพระอิสริยยศ "สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน" ในช่วงแรกสมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนจะเป็นเพียงตำนาน ดังนั้นจนกระทั่งถึงราว..
ดู สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 1 แห่งเดนมาร์กและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สวีเดน
สมเด็จพระราชินีนาถ
มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ในระบอบราชาธิปไตยแบบรัฐสภา สมเด็จพระราชินีนาถ (Queen Regnant) คือ พระมหากษัตริย์หญิงผู้ครองราชสมบัติด้วยสิทธิ์ของพระองค์เอง ต่างจาก "สมเด็จพระราชินี" (Queen Consort) ซึ่งเป็นพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติ และไม่ทรงมีอำนาจในการบริหารราชกิจของบ้านเมืองอย่างเป็นทางการใด ๆ โดยหลักการแล้ว พระมหากษัตริย์มีทั้ง "สมเด็จพระราชาธิบดี" (King Regnant) และ "พระมหากษัตริย์พระราชสวามี" (King Consort) แต่เกิดขึ้นได้ยาก และมีการใช้พระอิสริยยศเพียงสองครั้งในประวัติศาสตร์ราชวงศ์อังกฤษ ระบอบราชาธิปไตยในปัจจุบันที่ให้สมเด็จพระราชินีนาถทรงครองราชบัลลังก์ พระสวามีของพระองค์จะไม่ได้มีพระอิสริยยศเป็นพระราชา แต่เป็นเพียงแค่ชั้นเจ้าชายเท่านั้น พระราชสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระสวามีคนที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสก็อตแลนด์ ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชสวามีในอาณาจักรของพระองค์เอง แต่ไม่เป็นที่ชื่นชอบของพสกนิกรและการอภิเษกสมรสกินเวลาเพียงไม่นาน พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระราชินีนาถแห่งชาวสก็อต ทรงได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี พระมหากษัตริย์ที่ปกครองร่วมกันเป็น พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ ที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ และที่ 1 แห่งไอร์แลนด์ แต่ถือเป็นพระมหากษัตริย์ปกครองร่วมกันครั้งเดียว และเป็นทางการที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ แต่หลังจากนั้นมา พระสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถในประเทศอังกฤษได้รับการสถาปนาเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" (Prince Consort) (มีเพียงคนเดียวที่ได้รับการแต่งตั้งพระอิสริยยศนี้อย่างเป็นทางการคือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) การเสวยราชสมบัติของสมเด็จพระราชินีนาถจะเกิดขึ้นเมื่อลำดับการสืบราชบัลลังก์เอื้ออำนวย วิธีการสืบราชสมบัติ (เป็นพระมหากษัตริย์ หัวหน้าเผ่า ฯลฯ) และรวมถึงการแต่งตั้ง (พระมหากษัตริย์ในรัฐสภา หรือ คณะมนตรีแต่งตั้งรัชทายาท) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติก่อนที่สุด (primogeniture) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติหลังที่สุด (ultimogeniture) ขอบเขตในการสืบราชสมบัติอาจยึดจากสายทางพระชนก สายทางพระชนนีหรือทั้งสองฝ่าย หรือที่ไม่ค่อยเกิดขึ้น (เมื่อถึงคราวจำเป็น) มาจากการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิในการสืบราชสมบัติโดยตามเพศ อาจจะให้ทั้งชายและหญิง จำกัดแต่เพศชายเท่านั้น หรือจำกัดแต่เพศหญิงเท่านั้น การสืบราชบัลลังก์ที่เป็นแบบแผนมากที่สุดตั้งแต่สมัยกลางตอนปลายตลอดจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นแบบการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดา (male-preference primogeniture) กล่าวคือ ลำดับการสืบราชบัลลังก์อยู่ในบรรดาพระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ตามลำดับการประสูติก่อนแล้วจึงตามมาด้วยของพระราชธิดา ในบางอาณาจักรทางประวัติศาสตร์ห้ามมิให้มีการสืบราชสมบัติโดยผู้หญิงหรือผ่านทางเชื้อสายของผู้หญิง แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีบางแห่งที่ยังคงยึดถือหลักเกณฑ์นี้ตามกฎหมายแซลิก ดังตัวอย่างเช่น สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนเธอร์แลนด์เป็นแกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก แต่เมื่อกษัตริย์ดัตช์พระองค์สุดท้ายเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ.
ดู สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 1 แห่งเดนมาร์กและสมเด็จพระราชินีนาถ
สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก
มเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (Queen Margrethe II of Denmark; มาร์เกรเธอ อเล็กซานดรีน ธอร์ฮิลดูร์ อิงกริด; พระราชสมภพ 16 เมษายน พ.ศ.
ดู สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 1 แห่งเดนมาร์กและสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก
สหภาพคาลมาร์
สหภาพคาลมาร์ (Kalmarunionen) คือรัฐร่วมประมุขที่รุ่งเรืองระหว่าง ค.ศ. 1397 จนถึง ค.ศ. 1523 เกิดจากการรวมประเทศเดนมาร์ก ประเทศนอร์เวย์ (รวมถึงไอซ์แลนด์ กรีนแลนด์ หมู่เกาะฟาโร เชตแลนด์ และออร์กนีย์) และสวีเดน (รวมบางส่วนของฟินแลนด์) เข้าอยู่ภายใต้พระมหากษัตริย์พระองค์เดียวกัน หมวดหมู่:ประเทศกลุ่มนอร์ดิก หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศสวีเดน หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศนอร์เวย์ หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศเดนมาร์ก หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 14 หมวดหมู่:สิ้นสุดในคริสต์ศตวรรษที่ 16.
ดู สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 1 แห่งเดนมาร์กและสหภาพคาลมาร์
เจ้าหญิงคริสตินาแห่งเดนมาร์ก
้าหญิงคริสตินาแห่งเดนมาร์ก (Christine af Danmark; พฤศจิกายน ค.ศ. 1521 - 10 ธันวาคม ค.ศ. 1590) เป็นเจ้าหญิงเดนมาร์ก ซึ่งได้เป็นดัชเชสพระมเหสีแห่งมิลาน จากนั้นเป็นดัชเชสพระมเหสีแห่งลอแรน พระองค์ทรงทำหน้าที่เป็นผู้สำเร็จราชการแห่งลอแรนในช่วงปี..
ดู สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 1 แห่งเดนมาร์กและเจ้าหญิงคริสตินาแห่งเดนมาร์ก
28 ตุลาคม
วันที่ 28 ตุลาคม เป็นวันที่ 301 ของปี (วันที่ 302 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 64 วันในปีนั้น.
ดู สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 1 แห่งเดนมาร์กและ28 ตุลาคม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 1 แห่งเดนมาร์ก