โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช

ดัชนี สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช

มเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชเจ้า หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 1 พระมหากษัตริย์ไทยผู้สถาปนาราชวงศ์สุโขทัยสมัยอาณาจักรอ.

75 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2059พ.ศ. 2133พระพุทธชินราชพระมหาธรรมราชาพระยาภักดีนุชิตพระราชวังสวนหลวงพระราชวังจันทรเกษมพระราชวังจันทน์พระวิสุทธิกษัตรีย์พระศรีศิลป์ (พระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราช)พระสุพรรณกัลยาพระสุริโยทัยพระเจ้านันทบุเรงกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขกรมพระราชวังบวรสถานมงคลกรมขุนเสนาบริรักษ์กษัตริยาการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่หนึ่งมหากาพย์กู้แผ่นดินมหาวิทยาลัยโบราณของสกอตแลนด์มหาอุปราช (จัน)มังกะยอชวารัฐร่วมประมุขราชวงศ์พระร่วงราชวงศ์สุโขทัยราชวงศ์อู่ทองรายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทยรายชื่อสงครามในประเทศไทยรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยรายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทยรายนามนักแสดงจากภาพยนตร์เรื่องสุริโยไทรายนามนักแสดงจากภาพยนตร์เรื่องตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชลิลิตตะเลงพ่ายวัดสะแก (จังหวัดปทุมธานี)ศาลเจ้าเล่งจูเกียงสมัยละแวกสมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระยาละแวก)สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 (นักพระสัตถา)สมเด็จพระมหาจักรพรรดิสมเด็จพระมหินทราธิราชสมเด็จพระศรีเสาวภาคย์สมเด็จพระสรรเพชญ์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระเอกาทศรถสุริโยไทสงครามช้างเผือกสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้หมู่บ้านญี่ปุ่นหลวงศรียศอาณาจักรล้านช้าง...อาณาจักรสุโขทัยอาณาจักรอยุธยาอำเภอพิชัยอำเภอวิเศษชัยชาญอำเภอเวียงแหงจังหวัดสิงห์บุรีจังหวัดหนองบัวลำภูจังหวัดนครสวรรค์ขุนวรวงศาธิราชคลองสระบัวคำให้การชาวกรุงเก่าตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๑ องค์ประกันหงสาตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคองค์ประกันหงสาตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคประกาศอิสรภาพฉัตรชัย เปล่งพานิชป้อมเพชรนางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์เหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอยุธยาเจ้าฟ้าสุทัศน์เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราชเจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู) ขยายดัชนี (25 มากกว่า) »

พ.ศ. 2059

ทธศักราช 2059 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและพ.ศ. 2059 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2133

ทธศักราช 2133 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและพ.ศ. 2133 · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธชินราช

ระพุทธชินราช ประดิษฐานอยู่ ณ วิหารด้านตะวันตกในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและพระพุทธชินราช · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาธรรมราชา

ระมหาธรรมราชา เป็นตำแหน่งผู้ครองแคว้นสุโขทัยสามารถหมายถึง.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและพระมหาธรรมราชา · ดูเพิ่มเติม »

พระยาภักดีนุชิต

พระยาภักดีนุชิต (?-2091) หรือ หมื่นราชเสน่หา (นอกราชการ) ขุนนางคนสำคัญในแผ่นดิน สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ และเป็น 1 ใน 4 ผู้ร่วมก่อการโค่นล้ม ขุนวรวงศาธิราช และ แม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ หมื่นราชเสน่หาผู้นี้เป็นข้าหลวงเดิมที่รับใช้ พระเฑียรราชา ใกล้ชิดเมื่อขุนวรวงศาธิราชและแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ขึ้นครองเมืองหมื่นราชเสน่หาจึงได้ร่วมมือกับขุนนางอีก 3 ท่านคือ ขุนพิเรนทรเทพ เจ้าเมือง พิษณุโลก,ขุนอินทรเทพ อดีตราชองครักษ์ในรัชสมัย สมเด็จพระชัยราชาธิราช และ หลวงศรียศ ขุนนางคนสนิทของขุนพิเรนทรเทพโดยมี โดยวางอุบายให้ขุนวรวงศาธิราชไปคล้องช้างป่าที่ ลพบุรี และเมื่อถึงที่ซุ่มตรง คลองปลาหมอ ผู้ก่อการทั้ง 4 ก็เข้าต่อสู้พร้อมกับจับขุนวรวงศาธิราชและแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์พร้อมบุตรชายประหารชีวิตส่วนพระศรีศิลป์นั้นรอดชีวิตทางด้านหมื่นราชเสน่หา (นอกราชการ) นั้นทำหน้าที่ลั่นไกสังหาร อุปราชจัน น้องชายของขุนวรวงศาธิราชตายตกคอช้าง หลังจากพระเฑียรราชาซึ่งทรงพระผนวชอยู่ ณ วัดราชประดิษฐาน ได้ลาผนวชมารับราชสมบัติพระนามว่า สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ก็ได้มีการปูนบำเหน็จคณะผู้ก่อการโดยเฉพาะหมื่นราชเสน่หา (นอกราชการ) ได้รับการปูนบำเหน็จเป็น พระยาภักดีนุชิต หลังจากครองราชย์ได้เพียง 6 เดือนสมเด็จพระมหาจักรพรรดิก็ต้องทำศึกป้องกันพระนครจากกองทัพพม่าของ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ ที่จะยกมาทางเมือง กาญจนบุรี พระยาภักดีนุชิตจึงอาสาเป็นทัพหน้าโดยตั้งค่ายที่ เขาชนไก่ พระยาภักดีนุชิตตายในที่รบเมื่อปี พ.ศ. 2091 ในศึกครั้งนี้โดยผู้ที่รับบทหมื่นราชเสน่หา (นอกราชการ) ในภาพยนตร์เรื่อง สุริโยไท คือ สรพงศ์ ชาตรี หมวดหมู่:ขุนนางไทย หมวดหมู่:ขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์สุพรรณภูมิ.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและพระยาภักดีนุชิต · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังสวนหลวง

ระราชวังสวนหลวง หรือ วังหลัง ตั้งอยู่ริมวัดสบสวรรค์ ตำบลท่าวาสุกรี อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นพระราชวังที่ปรากฏหลักฐานตามพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์รัชกาลที่ 5 เรื่องอุปราชาภิเษกกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ สันนิษฐานได้ว่าสร้างในสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช เพื่อให้เป็นที่ประทับของสมเด็จพระเอกาทศรถ พร้อมกับการสร้างพระราชวังจันทรเกษมเพื่อเป็นที่ประทับของสมเด็จพระนเรศวร เพราะอยู่ด้านหลังพระราชวังหลวง จึงเรียกว่าวังหลังแต่นั้นมา ในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์นั้นปรากฏว่าทรงโปรดฯ ให้พระไตรภูวนาถทิตยวงศ พระราชอนุชา ประทับอยู่ที่วังหลัง แต่หาได้เพิ่มยศศักดิ์อย่างใดไม่ ครั้นถึงรัชกาลสมเด็จพระเพทราชาทรงโปรดเกล้าฯ ให้นายจบคชประสิทธิ์ผู้เป็นหลานเป็นเจ้าชั้นสูงรองแต่พระมหาอุปราชลงมา ให้อยู่วังหลัง แล้วขนานนามว่า กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข จึงเกิดนามเรียกวังหลังว่า พระราชวังบวรสถานพิมุข แต่นั้นสืบม.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและพระราชวังสวนหลวง · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังจันทรเกษม

ระราชวังจันทรเกษม หรือวังหน้า ตั้งอยู่ริมแม่น้ำป่าสัก (คลองคูขื่อหน้า) ตำบลหัวรอ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นพระราชวังที่ปรากฏหลักฐานตามพระราชพงศาวดารสันนิษฐานได้ว่า สร้างขึ้นประมาณปี พ.ศ. 2120 ในสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช เพื่อให้เป็นที่ประทับของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ยามเสด็จจากเมืองพิษณุโลกเพื่อมาเฝ้าพระราชบิดาที่กรุงศรีอยุธยา พระราชวังแห่งนี้พระนเรศวรทรงใช้เป็นกองบัญชาการรับศึกหงสาวดีเมื่อปี พ.ศ. 2129 นอกจากนี้ยังเคยเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์และพระมหาอุปราชที่สำคัญถึง 8 พระองค์ คือ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเอกาทศรถ เจ้าฟ้าสุทัศน์ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ขุนหลวงสรศักดิ์ (พระเจ้าเสือ) สมเด็จพระเจ้าท้ายสระ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ กรมพระราชวังบวรมหาเสนาพิทักษ์ ภายหลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2310 พระราชวังจันทรเกษมได้ถูกทิ้งร้างไป จนกระทั่งในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและพระราชวังจันทรเกษม · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังจันทน์

ระราชวังจันทน์ ตั้งอยู่ติดกับ ค่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กองทัพภาคที่ 3 ถนนวังจันทน์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก เป็นที่ตั้งศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในอดีตยังเคยเป็นที่ตั้งของโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม ปัจจุบัน กรมศิลปากร ได้เข้ามาทำการบูรณะค้นหาแนวเขตพระราชวังจันทน์ ระยะที่ 1 เสร็จสิ้นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและพระราชวังจันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวิสุทธิกษัตรีย์

ระวิสุทธิกษัตรีย์พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 71 หรือคำให้การชาวกรุงเก่าออกพระนามว่าพระบรมเทวีคำให้การชาวกรุงเก่า, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 497 มีพระนามเดิมว่า สมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระสวัสดิราชธิดา เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ประสูติแต่พระสุริโยทัย ภายหลังได้รับการสถาปนาเป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระมหาธรรมราชา และเป็นพระราชชนนีในพระสุพรรณกัลยา สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระเอกาทศร.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและพระวิสุทธิกษัตรีย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระศรีศิลป์ (พระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราช)

ระศรีศิลป์ เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราชประสูติแต่นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ มีพระเชษฐา 1 พระองค์ ได้แก่ พระยอดฟ้า ภายหลังการเสด็จขึ้นครองราชสมบัติของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระองค์ทรงได้รับการอุปการะจากสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวเรื่อยมา จนกระทั่ง พระองค์มีพระชันษา 20 พรรษาได้คิดขบถขึ้นและนำไปสู่การสิ้นพระชนม์ในเวลาต่อม.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและพระศรีศิลป์ (พระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราช) · ดูเพิ่มเติม »

พระสุพรรณกัลยา

ระสุพรรณกัลยา สุวรรณกัลยา หรือ สุวรรณเทวี เป็นพระราชธิดาใน สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช และ พระวิสุทธิกษัตรีย์ และเป็นพระพี่นางใน สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และ สมเด็จพระเอกาทศรถ ประสูติ ณ พระราชวังจันทน์ เมืองพิษณุโลก เชื่อว่าพระนามเดิม คือ องค์ทอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและพระสุพรรณกัลยา · ดูเพิ่มเติม »

พระสุริโยทัย

ระสุริโยทัย หรือคำให้การชาวกรุงเก่าออกพระนามว่าพระมหาเทวี เป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 15 ของอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ พระสุริโยทัยตามพงศาวดารหลวงประเสริฐฯ กล่าวเพียงแค่เป็นอัครมเหสีผู้เสียสละพระชนม์ชีพเพื่อปกป้องพระราชสวามีในสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้ ในปี พ.ศ. 2091 พงศาวดารบางฉบับ กล่าวว่า พระสุริโยทัยเป็นเจ้านายเชื้อสายราชวงศ์พระร่วงเจ้ากรุงสุโขทัย โดยมิได้กล่าวรายละเอียดใดมากกว่านี้ ไทยยกย่องว่าเป็นวีรสตรีจากวีรกรรมยุทธหัตถีกับพระเจ้าแปรในสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและพระสุริโยทัย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้านันทบุเรง

นันทบุเรง (နန္ဒဘုရင်,; Nanda Bayin; 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1535 – 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600) หรือ พระเจ้าหงษางาจีสะยาง เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชสมบัติตั้งแต..

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและพระเจ้านันทบุเรง · ดูเพิ่มเติม »

กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข

กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข หรือ กรมพระราชวังหลัง เป็นตำแหน่งรองลงมาจากกรมพระราชวังบวรสถานมงคลที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งขึ้น เกิดขึ้นครั้งแรกในสมัยอยุธยา โดยสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช ทรงสร้างวังขึ้นหลังพระราชวังหลวง พระราชทานให้เป็นที่ประทับของสมเด็จพระเอกาทศรถ ดังนั้น จึงเกิดคำว่า "วังหลัง" ขึ้นมา ต่อมา ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช โปรดให้พระไตรภูวนาถทิตยวงศ์ พระราชอนุชา ประทับที่วังหลังอีกพระองค์ อย่างไรก็ตาม ทั้งสมเด็จพระเอกาทศรถและพระไตรภูวนาถทิตยวงศ์เพียงแต่ประทับอยู่ในวังหลังเท่านั้น แต่ไม่ได้มีการเพิ่มยศศักดิ์แต่ประการใด ในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา เมื่อพระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์ ทรงแต่งตั้งหลวงสรศักดิ์ขึ้นเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล และได้แต่งตั้งให้นายจบคชประสิทธิ์ขึ้นเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข" ให้ทรงรับพระราชบัญชา ซึ่งถือเป็นกรมพระราชวังหลังพระองค์แรกในสมัยอยุธยา ต่อมา ในรัชสมัยสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 หรือ สมเด็จพระเจ้าเสือ พระองค์ทรงสถาปนา "เจ้าฟ้าเพชร" พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ที่กรมพระราชวังบวรสถานมงคล หรือ พระบัณฑูรใหญ่ และทรงสถาปนา "เจ้าฟ้าพร" พระราชโอรสพระองค์เล็กที่กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข แต่โปรดให้ออกพระนามกรมว่า "พระบัณฑูรน้อย" เนื่องจากพระองค์อาจจะทรงรังเกียจตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขเนื่องจากในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชาเมื่อทรงสถาปนานายจบคชประสิทธิขึ้นเป็นกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขได้ไม่นาน นายจบคชประสิทธิก็ถูกสำเร็จโทษ หรืออาจจะเป็นเพราะพระองค์ทรงต้องการยกย่องพระยศของเจ้าฟ้าพรให้เสมอกับกรมพระราชวังบวรสถานมงคลก็เป็นไปได้อย่างใดอย่างหนึ่ง เมื่อถึงสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงสถาปนาให้สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าทองอิน กรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์ ซึ่งทรงมีความดีความชอบรบทัพจับศึกมาแต่ครั้งกรุงธนบุรี ขึ้นดำรงตำแหน่ง "กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข" พระองค์แรกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ภายหลังการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขแล้ว ถือเป็นการสิ้นสุดของตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข เนื่องจากไม่มีการสถาปนากรมพระราชวังหลังขึ้นอีกเล.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข · ดูเพิ่มเติม »

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่เรียกกันเป็นสามัญว่าวังหน้า เป็นตำแหน่งที่พระมหากษัตริย์สยามทรงสถาปนาขึ้นสำหรับพระมหาอุปราช และมีฐานะเป็นองค์รัชทายาทผู้มีสิทธิ์ที่จะขึ้นครองราชสมบัติต่อไป ตำแหน่งพระมหาอุปราชปรากฏครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ต่อมาสมเด็จพระเพทราชาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานมงคล" ภายหลังจากการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้เลิกธรรมเนียมตั้งพระมหาอุปราช แล้วทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชแทน.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและกรมพระราชวังบวรสถานมงคล · ดูเพิ่มเติม »

กรมขุนเสนาบริรักษ์

มเด็จเจ้าฟ้าแก้ว กรมขุนเสนาบริรักษ์ พระโอรสของสมเด็จเจ้าฟ้าน้อย พระอนุชาธิราชของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ประสูติกับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ (แจ่ม) พระสนมเอกในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เนื่องจากถือว่าเป็น "ลูกชู้" จึงไม่ได้รับยกย่องให้เป็นพระราชนัดดาของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระองค์จึงมีพระยศเป็น "หม่อมแก้ว".

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและกรมขุนเสนาบริรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

กษัตริยา

กษัตริยา เป็นละครโทรทัศน์อิงประวัติศาสตร์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ช่วงสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (พระเทียรราชา) เมื่อสมเด็จพระสุริโยทัย พระชายา สิ้นพระชนม์ในการยุทธหัตถีกับพม่า จนถึงการกอบกู้เอกราชของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดยทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เป็นองค์นำแสดงในบทพระวิสุทธิกษัตรีย์ มีความยาวในการออกอากาศถึง 260 ตอน โดยแบ่งเป็น 2 ภาค คือ ภาค "กษัตริยา" เป็นเรื่องราวของพระวิสุทธิกษัตรีย์ และพระสุพรรณกัลยา และภาค "อธิราชา" หรือ มหาราชกู้แผ่นดิน เป็นเรื่องราวของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดยเป็นละครที่สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสเจริญพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ จากโครงเรื่องของทมยันตี ผลิตโดย กันตนา ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 ถึง กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 โดยเป็นละครโทรทัศน์เรื่องแรกที่ใช้โรงถ่าย กันตนา มูฟวี่ ทาวน์ ศาลายา จังหวัดนครปฐม ด้วยงบประมาณการสร้างละครถึง 300 ล้านบาท เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ได้นำละครเรื่องนี้มาออกอากาศซ้ำ ทางสถานีโทรทัศน์เคเบิลและดาวเทียม มิราเคิล ของกันตน.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและกษัตริยา · ดูเพิ่มเติม »

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่หนึ่ง

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่หนึ่ง เป็นส่วนหนึ่งของความขัดแย้งระหว่างอาณาจักรตองอูและอาณาจักรอยุธยา อันเป็นผลมาจากความต้องการของพระเจ้าบุเรงนองซึ่งต้องการได้กรุงศรีอยุธยาเป็นประเทศราชดนั.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

มหากาพย์กู้แผ่นดิน

มหากาพย์กู้แผ่นดิน เป็นหนังสือการ์ตูนไทยแนวอิงประวัติศาสตร์ไทยเกี่ยวกับพระราชประวัติของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์คลีเนทีฟในเครืออีคิวพลัส (Cleanative/E.Q.Plus) สตอรี่บอร์ดและเนื้อเรื่อง โดย อรุณทิวา วชิรพรพงศา วาดภาพโดย มนตรี คุ้มเรือน มีจำนวน 5 เล่ม การ์ตูนชุดนี้ยังได้รับรางวัลชมเชยจากรางวัลการ์ตูนนานาชาติ (International Manga Award) ที่จัดขึ้นเป็นครั้งแรกใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและมหากาพย์กู้แผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยโบราณของสกอตแลนด์

มหาวิทยาลัยโบราณของสกอตแลนด์ หมายถึงมหาวิทยาลัยในสกอตแลนด์ที่ก่อตั้งในช่วงยุคกลาง คือก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 19 ประกอบด้วย.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและมหาวิทยาลัยโบราณของสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาอุปราช (จัน)

มหาอุปราช (จัน) เป็นพระมหาอุปราชในรัชกาลขุนวรวงศาธิราช ทรงได้รับการอุปราชาภิเษกได้เพียงไม่กี่วันก็ถูกลอบปลงพระชนม.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและมหาอุปราช (จัน) · ดูเพิ่มเติม »

มังกะยอชวา

มังกะยอชวา (พระนามภาษาพม่า: မင်းကြီးစွာ; อักษรโรมัน: Minyekyawswa, Minchit Sra; ออกเสียง: เมงเยจอสวา) หรือ มังสามเกียด (ตามที่พงศาวดารไทยและพงศาวดารมอญเรียก) เป็นพระราชโอรสในพระเจ้านันทบุเรง เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ไทยโดยทรงนำทัพมาตีกรุงศรีอยุธยาหลายครั้ง รวมถึงได้ทรงทำยุทธหัตถีกับสมเด็จพระนเรศวรมหาร.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและมังกะยอชวา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐร่วมประมุข

ียนฉลองรัฐร่วมประมุขระหว่างโปแลนด์และลิทัวเนียเป็นสหราชอาณาจักรโปแลนด์-ลิทัวเนีย รัฐร่วมประมุข หรือ การรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักร (personal union) เป็นการรวมรัฐอิสระมากกว่าสองรัฐขึ้นไปภายใต้การปกครองของพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน ในขณะที่พรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายของอาณาจักรในกลุ่มยังคงเป็นตัวของตัวเอง สหราชไม่ใช่ “สหพันธรัฐ” (federation) ที่เป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นหลายรัฐที่รวมเข้ามาเป็นรัฐเดียวกันและมีพรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายส่วนใหญ่ร่วมกัน หรือ “สหราชวงศ์” (dynastic union) ซึ่งหมายถึงการรวมภายใต้ราชวงศ์เดียวกัน แต่กระนั้นความหมายระหว่าง “สหราช” และ “สหพันธรัฐ” ก็มีความเกี่ยวพันกัน และ “สหราช” มักจะวิวัฒนาการมาเป็น “สหพันธรัฐ” การรวมตัวกันเป็น “สหราช” อาจจะเกิดขึ้นจากเหตุผลหลายประการตั้งแต่การเกิดขึ้นโดยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นพร้อมกันเช่นการเสกสมรสระหว่าง “สมเด็จพระราชินีนาถ” (queen regnant) ของราชอาณาจักรหนึ่ง กับ พระมหากษัตริย์ของอีกราชอาณาจักรหนึ่ง ซึ่งทำให้พระราชโอรสของทั้งสองพระองค์ก็จะได้รับราชบังลังก์ของทั้งสองราชอาณาจักร ไปจนถึงการผนวกดินแดน การรวมตัวกันอาจจะเป็นตามบทบัญญัติทางกฎหมาย เช่นการผ่านพระราชบัญญัติในรัฐสภาระบุการรวมตัวกัน หรืออาจจะโดยพฤตินัยซึ่งง่ายต่อการแยกตัวกลับไปเป็นอาณาจักรเดิม เช่นในกรณีที่เกิดขึ้นหลังจากการเสด็จสวรรคตของกษัตริย์ของบรรดาอาณาจักรร่วมที่มีระบบการสืบสันตติวงศ์ที่ต่างกัน “สหราช” ส่วนใหญ่จะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในระบบราชาธิปไตยเท่านั้น และบางครั้งก็จะใช้คำว่า “สหราชาธิปไตย” (dual monarchy) ในการแสดงแสดงว่าเป็นการรวมอาณาจักรของสองราชบัลลังก์ รายการข้างล่างแสดงให้เห็นถึงรายระเอียดของการรวมเป็นสหราชอาณาจักรตลอดมาในประวัติศาสตร์ ยกเว้นแต่ในกรณีของราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของเครือจักรภพบริติชเช่นออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และแคนาดา ซึ่งไม่ใช่การรวมเป็นสหราชอาณาจักรของโลกยุคปัจจุบัน นอกจากนั้นคำว่า “การรวมสหอำนาจ” ยังใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองที่ใช้โดยนาซีเยอรมนีในการรวมตำแหน่งระดับสูงในพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน เครื่องมือทางการเมืองเดียวกันนี้นำมาใช้โดยรัฐบาลอื่นๆ เช่นสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งคล้ายกันกับ “ผู้ได้รับการแต่งตั้ง” (persona designata) ที่เป็นระบบที่เจ้าหน้าที่ทางศาลสามารถแต่งตั้งให้ผู้ไม่มีหน้าที่ทางศาลมีความรับผิดชอบในหน้าที่กึ่งเกี่ยวกับระบบยุติธรรมภายใต้ระบบคอมมอนลอว.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและรัฐร่วมประมุข · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์พระร่วง

ราชวงศ์พระร่วง เป็นราชวงศ์แรกและราชวงศ์เดียวที่ปกครองอาณาจักรสุโขทัย หลักฐานจารึกปู่สบถหลานระหว่างกษัตริย์สุโขทัยและน่าน แล้วมีการลำดับพระนามพระมหากษัตริย์ของราชวงศ์สุโขทัยตั้งแต่บรรพบุรุษ ส่วนหลักฐานทางประวัติศาสตร์มักพบว่าผู้คนภายในเขตสุโขทัย หรือบ้านเมืองแว่นแคว้นอื่นมักเรียกพระมหากษัตริย์ของสุโขทัยในนามว่า "พระร่วง" ซึ่งเป็นนามที่รู้จักไปอย่างกว้างขวางของคนกลุ่มไทยในสมัยโบราณ เชื้อสายของราชวงศ์พระร่วงนี้สืบทอดมายาวนานในการปกครองสมัยสุโขทัย ราชวงศ์พระร่วง มีการสานสายสัมพันธ์กับราชวงศ์อู่ทองแห่งอาณาจักรละโว้ และราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราชแห่งอาณาจักรตามพรลิงก์ มาถึงสมัยอยุธยา ราชวงศ์สุพรรณภูมิรวมถึงราชวงศ์สุโขทัยแห่งอาณาจักรอยุธยา ยังปรากฏอยู่ผ่านความสัมพันธ์ทางเครือญาติระหว่างอาณาจักร สัญลักษณ์หรืออนุสรณ์อันศักดิ์สิทธิ์ของราชวงศ์พระร่วงที่สืบทอดมาถึงปัจจุบัน คือ รูปพระร่วงพระลือ ในซุ้มพระร่วงพระลือที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรวิหาร อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ตามความเชื่อของคนรุ่นเก่าแก่ในจังหวัดสุโขทัย ระบุว่า ที่นี่คือนิวาสถานดั้งเดิม หรือต้นกำเนิดของราชวงศ์พระร่วง.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและราชวงศ์พระร่วง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์สุโขทัย

ราชวงศ์สุโขทัย เป็นราชวงศ์ที่ 3 ที่ปกครองกรุงศรีอยุธยา โดยสืบเชื้อสายจากกษัตริย์แห่งอาณาจักรสุโขทัย ราชวงศ์พระร่วง กรุงสุโขทัย ราชวงศ์สุโขทัยถูกสถาปนาขึ้นโดย สมเด็จพระมหาธรรมราชา ซึ่งเป็นพระราชโอรสในตำแหน่ง ขุนพิเรนทรเทพ ที่เชื่อว่าสืบเชื้อสายมาจากพ่อขุน หรือกษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัยแต่ดั้งเดิม เป็นราชวงศ์ที่ถูกผลัดเปลี่ยนขึ้นมาแทนที่ ราชวงศ์สุพรรณภูมิ หรือราชวงศ์สุวรรณภูมิ ที่สูญสิ้นไปหลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่า โดยที่ พระเจ้าบุเรงนอง กษัตริย์พม่าให้สถาปนาขุนพิเรนทรเทพ ซึ่งมีส่วนช่วยเหลือพระองค์ในการทำสงครามกับกรุงศรีอยุธยา ขึ้นเป็นกษัตริย์ปกครองกรุงศรีอยุธยา ภายใต้การเป็นเมืองขึ้นของพม่าต่อไป ราชวงศ์สุโขทัยมีอายุ 60 ปี รายพระนามของพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์สุโขทัย ประกอบด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและราชวงศ์สุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์อู่ทอง

ราชวงศ์อู่ทอง หรือ ราชวงศ์ละโว้-อโยธยา หรือ ราชวงศ์เชียงราย ทั้งหมดล้วนเป็นชื่อสมมุติที่นักประวัติศาสตร์ใช้เรียกราชวงศ์แรกที่ปกครองกรุงศรีอยุธยา เพื่อความสะดวกในการศึกษาประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยา โดยกำหนดเอาพระนามตามตำนานของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ที่มีพระนามเดิมว่า "พระเจ้าอู่ทอง" มาเป็นชื่อราชวงศ์ แต่ความเป็นมาของราชวงศ์ดังกล่าวยังคงคลุมเครืออยู.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและราชวงศ์อู่ทอง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทย

ระราชวังและวัง คือ ที่ประทับของพระมหากษัตริย์ พระมหาอุปราช พระบรมวงศานุวงศ์ตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไป ส่วนที่อยู่ของหม่อมราชวงศ์และหม่อมหลวงนั้นไม่เรียกว่า "วัง" โดยวังใดจะเรียกว่าพระราชวังได้นั้นจะต้องมีพระบรมราชโองการสถาปนาขึ้นเป็น "พระราชวัง" เท่านั้น โดยในประเทศไทยมีพระราชวังและวัง ดังนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและรายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสงครามในประเทศไทย

รายชื่อสงครามในประเทศไทย มีดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและรายชื่อสงครามในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่ราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัยถึงปัจจุบันมีดังนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและรายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนักแสดงจากภาพยนตร์เรื่องสุริโยไท

รายนามนักแสดงจากภาพยนตร์เรื่องสุริโยไท หมวดหมู่:รายนามบุคคล.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและรายนามนักแสดงจากภาพยนตร์เรื่องสุริโยไท · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนักแสดงจากภาพยนตร์เรื่องตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

รายนามนักแสดงจากภาพยนตร์เรื่องตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ตามรายชื่อนักแสดงท้ายเรื่อง เรียงชื่อตัวนักแสดงตามลำดับอักษร ส่วนเลขที่ตามหลังคือภาคที่นักแสดงนั้นรับบทบาท เลขที่เป็นตัวเอียง คือภาคที่มีภาพย้อนอดีตของนักแสดงคนนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและรายนามนักแสดงจากภาพยนตร์เรื่องตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

ลิลิตตะเลงพ่าย

ลิลิตตะเลงพ่าย เป็นบทประพันธ์ประเภทลิลิต ประพันธ์ขึ้นโดยสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูบาลบริรักษ์ เพื่อสดุดีวีรกรรมของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในวาระงานพระราชพิธีฉลองตึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามในรัชกาลที่ 3 โดยตะเลงในที่นี้หมายถึง พม่า ที่มาของเรื่อง 1.พระราชพงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) 2.วรรณคดีเก่าเรื่อง ลิลิตยวนพ่าย ลิลิตพระลอ 3.จินตนาการของผู้แต่ง คือ ช่วงบทนิราศ จุดมุ่งหมายในการแต่ง 1.เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช 2.ฉลองตึกวัดพระเชนตุพนฯ สมัย รัชกาลที่ 3 3.สร้างสมบารมีของผู้แต่ง (เพราะผู้แต่งขอไว้ว่าถ้าแต่งเสร็จขอให้สำเร็จสู่พระนิพพาน).

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและลิลิตตะเลงพ่าย · ดูเพิ่มเติม »

วัดสะแก (จังหวัดปทุมธานี)

วัดสะแก ตั้งอยู่ที่ตำบลสามโคก.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและวัดสะแก (จังหวัดปทุมธานี) · ดูเพิ่มเติม »

ศาลเจ้าเล่งจูเกียง

ลเจ้าเล่งจูเกียง หรือเป็นที่รู้จักในนาม ศาลเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว เป็นศาลเจ้าตามคติจีนหนึ่งในสามแห่งของจังหวัดปัตตานี ตั้งอยู่บริเวณเชิงสะพานเดชานุชิตในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ถือเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดปัตตานีและใกล้เคียง ภายในประดิษฐานเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว (ภาษามลายูปัตตานีว่า โต๊ะแปะกงแมะ หรือโตะกงแมะ) โดยมีตำนานที่ยึดโยงกับสถานที่และโบราณสถานอื่น ๆ ในจังหวั.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและศาลเจ้าเล่งจูเกียง · ดูเพิ่มเติม »

สมัยละแวก

อาณาจักรเขมร มีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่ เมืองละแวก ตั้งแต..

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและสมัยละแวก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระยาละแวก)

มเด็จพระบรมราชาที่ 3 เป็นพระมหากษัตริย์กัมพูชา พระองค์ประสูติในช่วงระหว่าง..

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและสมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระยาละแวก) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 (นักพระสัตถา)

มเด็จพระบรมราชาที่ 4 หรือสมเด็จพระมหินทราชา พระนามเดิมว่านักพระสัตถาหรือนักพระสัฏฐา เป็นพระมหากษัตริย์แห่งกัมพูชาในสมัยที่กรุงละแวกเป็นราชธานี ประสูติราว..

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและสมเด็จพระบรมราชาที่ 4 (นักพระสัตถา) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ

มเด็จพระมหาจักรพรรดิราชาธิราชเจ้า (พระนามเดิม พระเทียรราชา) พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 15 แห่งอาณาจักรอยุธยา เป็นพระมหากษัตริย์ที่ได้รับการยกย่องว่ามีบุญญาธิการมากเพราะทรงมีช้างเผือกในครอบครองถึง 7 ช้าง จนได้รับการขนานพระนามว่า พระเจ้าช้างเผือก ในรัชกาลนี้ เป็นช่วงเปลี่ยนผ่านทางการเมืองจากคราวขุนวรวงศาธิราช สภาพบ้านเมืองไม่ได้สงบสุขเท่าที่ควร มีเหตุการณ์ความไม่สงบทั้งภายในและภายนอก โดยเฉพาะสงครามกับกรุงหงสาวดี.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหินทราธิราช

มเด็จพระมหินทราธิราช พระนามเดิมว่า พระมหินทราธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 16 แห่งอาณาจักรอยุธยา พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ระบุว่าพระองค์ไม่เอาพระทัยใส่การศึก ทำให้การรักษาพระนครอ่อนแอลงจนเสียกรุงครั้งที่หนึ่ง.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและสมเด็จพระมหินทราธิราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีเสาวภาคย์

มเด็จพระศรีเสาวภาคย์นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 129 มีพระนามเดิมว่า เจ้าฟ้าศรีเสาวภาคย์ เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 20 แห่งอาณาจักรอยุธยา และรัชกาลที่ 4 ในราชวงศ์สุโขทัย เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 2 ในสมเด็จพระเอกาทศรถ และมีพระเชษฐาที่ประสูติร่วมพระราชมารดา ได้แก่ เจ้าฟ้าสุทัศน์ ซึ่งดำรงตำแหน่งพระมหาอุปราช พระองค์ประชวรพระยอดจนเสียพระเนตรไปข้างหนึ่ง และมีพระบุคลิกค่อนข้างอ่อนแอและไม่สนพระทัยเกี่ยวกับราชการบ้านเมือง หลังจากที่สมเด็จพระเอกาทศรถเสด็จสวรรคตลง พระองค์ได้รับทูลเชิญให้ขึ้นครองราชย์ เมื่อปี พ.ศ. 2153 ทรงพระนามว่า สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 4 ในรัชสมัยของพระองค์ ได้เกิดเหตุการณ์ร้ายแรงขึ้นในแผ่นดิน โดยเรือของชาวญี่ปุ่นที่เข้ามาค้าขาย ได้ปล้นราษฎร ได้บุกเข้าไปในพระนคร และเข้าไปในพระราชวังหลวง จับสมเด็จพระศรีเสาวภาคย์และบังคับให้ทรงปฏิญาณสัญญาว่ามิให้ผู้ใดทำร้ายพวกญี่ปุ่น แล้วได้ลงเรือแล่นหนีออกทะเล โดยนำตัวสมเด็จพระสังฆราชไปเป็นตัวประกันจนถึงปากน้ำ เมื่อครองราชย์อยู่ได้ 1 ปี 2 เดือน พระศรีศิลป์และจมื่นศรีเสารักษ์ก็ร่วมกันนำกองกำลังเข้ายึดพระราชวังหลวง เมื่อทรงทราบก็ตกพระทัยอยู่ครู่หนึ่ง จึงตรัสว่า "เวราเราแล้วก็ตามเถิด แต่อย่าให้ลำบากเลย" พระองค์ถูกพันธนาการอย่างแน่นหนา จนรุ่งเช้าจึงให้พระภิกษุ 100 รูปมาบังสุกุล ถวายธูปเทียนขมา แล้วนำพระองค์ไปสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ ตรงกับปี พ.ศ. 2154 พระบรมศพถูกนำไปฝังที่วัดโคกพร.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและสมเด็จพระศรีเสาวภาคย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสรรเพชญ์

มเด็จพระสรรเพชญ์ หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ เป็นพระนามของพระเจ้ากรุงศรีอยุธยาหลายพระองค์ ในพระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ปรากฏว่ามีพระเจ้ากรุงศรีอยุธยา 2 พระองค์ใช้พระนามนี้ ได้แก่ สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชมีพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าสรรเพชญวงศ์กุรสุริโคดม และสมเด็จพระเอกาทศรถมีพระนามว่า พระศรีสรรเพชญ์ สมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดี นอกจากนี้ในจารึกชะลอพระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมกข์ ปรากฏว่าพระเจ้าท้ายสระมีพระนามว่า พระบาทพระศรีสรรเพชญ สมเด็จเอกาทศรุทอิศวร ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชนิพนธ์เรื่อง "ทรงวิจารณ์เรื่องพระราชพงศาวดารกับเรื่องประเพณีการตั้งพระมหาอุปราช" โดยทรงวินิจฉัยว่ามีสมเด็จพระสรรเพชญ์ 9 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและสมเด็จพระสรรเพชญ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

มเด็จพระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่าพระนเรศ หรือ "พระองค์ดำ" เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิกษัตรีย์ (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรีสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเอกาทศรถ

มเด็จพระเอกาทศรถ หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 3 เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 19 แห่งอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุโขทั.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและสมเด็จพระเอกาทศรถ · ดูเพิ่มเติม »

สุริโยไท

ริโยไท เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ เน้นถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตของตัวละครเอก คือ พระสุริโยไท พระมเหสีของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอ.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและสุริโยไท · ดูเพิ่มเติม »

สงครามช้างเผือก

งครามช้างเผือก เป็นสงครามก่อนการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่หนึ่ง สงครามมีสาเหตุมาจาก ในปีพ.ศ. 2106 พระเจ้าบุเรงนอง ทรงส่งเครื่องราชบรรณาการมาถวายสมเด็จพระมหาจักรพรรดิเพื่อทูลขอ ช้างเผือก 2 เชือก เนื่องจากกรุงศรีอยุธยาในขณะนั้นมีช้างเผือกอยู่ทั้งหมด 7 เชือก ฝ่ายขุนนางจึงมีความเห็นเป็นสองฝ่าย ฝ่ายหนึ่งต้องการให้ส่งช้างเผือกไปถวายแก่พระเจ้าบุเรงนองเพื่อหลีกเลี่ยงสงคราม ส่วนอีกฝ่าย อันได้แก่พระราเมศวร พระยาจักรี พระสุนทรสงครามไม่เห็นด้วยกับการส่งช้างเผือกไป เนื่องจากจะเป็นการอ่อนข้อให้หงสาวดี ในที่สุดสมเด็จพระมหาจักรพรรดิก็ทรงมีพระบรมราชโองการไม่ประทานช้างเผือก แล้วมีพระราชสาสน์ตอบกลับไปดังนี้ "ช้างเผือกย่อมเกิดสำหรับบุญบารมีของพระเจ้าแผ่นดินผู้เป็นเจ้าของ เมื่อพระเจ้าหงสาวดีได้บำเพ็ญธรรมให้ไพบูรณ์คงจะได้ช้างเผือกมาสู่บารมีเป็นมั่นคงอย่าได้ทรงวิตกเลย" และรับสั่งให้เตรียมไพร่พลพร้อมรับศึกอย่างเข้มแข็ง ทางฝ่ายพระเจ้าบุเรงนองได้ยกทัพรวมพลที่เมืองเมาะตะมะ จัดทัพใหญ่ออก เป็น 5 ทัพ มีเจ้าเมืองเชียงใหม่ควบคุมกองเรือเสบียง ล่องลงมาถึงเมืองตาก รวมไพล่พลเป็นจำนวนประมาณ 500,000 คน ส่วนทางอยุธยาได้เตรียมพลพร้อมรบและเรือรบจำนวนมาก เพื่อป้องกันการโจมตีจากทัพหลวงของหงสาวดีทางด่านเจดีย์สามองค์ แต่เหตุการณ์ไม่เป็นดังที่คาดไว้ กองทัพพม่ากลับยกทัพมาทางด่านแม่ละเมา และเข้าตีกำแพงเพชรจนชนะ แล้วแยกทัพไปตีสุโขทัย เนื่องด้วยทางสุโขทัยมีกำลังน้อยกว่ามากแต่ก็สู้รบอย่างเต็มความสามารถ แต่ท้ายที่สุดก็ถูกพม่ายึดเมืองได้สำเร็จ จากนั้นพม่าจึงล้อมเมืองพิษณุโลก พระมหาธรรมราชาก็ต่อสู้เป็นสามารถเช่นกัน แต่เกิดไข้ทรพิษขึ้นในเมืองและเสบียงอาหารก็หมดจึงยอมจำนน หลังจากที่พม่าได้หัวเมืองฝ่ายเหนือแล้วจึงบังคับให้พระมหาธรรมราชาและเจ้าเมืองถือน้ำกระทำสัตย์ให้อยู่ใต้บังคับของพม่า พร้อมทั้งสั่งให้ยกทัพตามลงมาเพื่อตีกรุงศรีอยุธยาด้วย ในเวลาต่อมา กองทัพพม่าก็ยกมาประชิดเขตเมืองใก้ลทุ่งลุมพลีพระมหาจักรพรรดิทรงให้กองทัพบก กองทัพเรือ ระดมยิงใส่พม่าเป็นสามารถ แต่สู่ไม่ได้จึงถอย ทางพม่าจึงยึดได้ป้อมพระยาจักรี (ทุ่งลุมพลี) ป้อมจำปา ป้อมพระยามหาเสนา (ทุ่งหันตรา) แล้วล้อมกรุงศรีอยุธยาอยู่นาน พระมหาจักรพรรดิทรงเห็นว่าพม่ามีกำลังมาก การที่จะออกไปรบเพื่อเอาชัยคงจะยากนัก จึงทรงสั่งให้เรือรบนำปืนใหญ่ล่องไปยิงทหารพม่าเป็นการถ่วงเวลาให้ เสบียงอาหารหมดหรือเข้าฤดูน้ำหลากพม่าคงจะถอยไปเอง แต่พม่าได้เตรียมเรือรบ และปืนใหญ่มาจำนวนมากยิงใส่เรือรบไทยพังเสียหายหมด แล้วตั้งปืนใหญ่ยิงเข้ามา ในพระนครทุกวัน ถูกชาวบ้านล้มตาย บ้านเรือน วัด เสียหายมาก ทางพระเจ้าบุเรงนองจึงมีพระราชสาสน์มาว่า จะรบต่อไปหรือยอมเป็นไมตรี เนื่องด้วยทางไทยเสียเปรียบมาก พระมหาจักรพรรดิจึงทรงยอมเป็นไมตรี ทำให้ฝ่ายไทยต้องเสียช้างเผือกจาก 2 เชือก เป็น 4 เชือก และทุกปีต้องส่งช้างให้ 30 เชือก พร้อมเงิน 300 ชั่ง จับตัวพระยาจักรี พระราเมศวร และ พระสมุทรสงคราม ไปเป็นตัวประกัน นอกจากนี้ยังจะขอเก็บภาษีอากรจากเมืองมะริดที่ขึ้นกับไทยอีกด้วย ขณะนั้นสมเด็จพระนเรศวรทรงพระชมมายุได้ 9 พรรษาถูกนำเสด็จไปประทับที่กรุงหงสาวดีเพื่อเป็นองค์ประกันด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและสงครามช้างเผือก · ดูเพิ่มเติม »

สงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้

งครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้ หรือ สงครามคราวเสียสมเด็จพระสุริโยทัยดนั.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้านญี่ปุ่น

แสดงอยู่ในอาคารริมน้ำ ภายในจะมีเรื่องราวของยามาดะ นางามาซะ ขุนนางชาวญี่ปุ่นในราชสำนักอยุธยา เป็นหัวหญ้าชาวญี่ปุ่นและเจ้ากรมอาสาญี่ปุ่นในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ต่อมาได้รับการแต่ตั้งให้เป็นออกญาเสนาภิมุข ออกญาเสนาภิมุข มีบทบาทในการเชื่อมสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างไทยและญี่ปุ่น ได้รับการยกย่องในความซื่อสัตย์จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ผู้เป็นเจ้านาย และมีการจัดแสดงรูปปั้นของออกญาเสนาภิมุข ท้าวทองกีบม้า (มารี ดอญา กีมาร์ เดอ ปีนา) ซึ่งเป็นชาวอยุธยาลูกครึ่งเชื้อสายโปรตุเกส-ญี่ปุ่น อาศัยอยู่ในหมู่บ้านโปรตุเกส ต่อมาได้สมรสกับออกญาวิชาเยนทร์ หรือ คอนสแตนติน ฟอลคอน (เสนาบดีกรมท่าในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช) โดยในช่วงปลายชีวิตได้เข้ารับราชการในตำแหน่งท้าวทองกีบม้า หัวหน้าพนักงานวิเสทกลาง (ครัว) ดูแลของหวานแบบเทศ และได้รับการยกย่องว่าเป็นต้นตำรับขนมตระกูลทอง ไม่ว่าจะเป็น ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากอาหารของโปรตุเกสนั่นเอง หมวดหมู่:พิพิธภัณฑ์ในจังหวัดพระนครศรีอ.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและหมู่บ้านญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

หลวงศรียศ

ต๊อก ศุภกรณ์ ผู้รับบทหลวงศรียศ ใน สุริโยไท หลวงศรียศ (?-?) เป็นขุนนางคนสำคัญในรัชสมัยสมเด็จพระชัยราชาธิราช และได้ร่วมกับขุนพิเรนทรเทพ ขุนอินทรเทพ และหมื่นราชเสน่หา (นอกราชการ) ร่วมก่อการโค่นอำนาจขุนวรวงศาธิราชและนางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ หลวงศรียศ เกิดที่บ้านลานตากฟ้า แขวงเมืองนครสวรรค์ แต่เมื่อใดและมีนามเดิมว่าอย่างไรไม่ปรากฏ ปรากฏตัวครั้งแรกในพระราชพงศาวดารเมื่อได้เข้าร่วมกับสมเด็จพระชัยราชาธิราชก่อการรัฐประหารสมเด็จพระรัษฎาธิราชกุมารในปี พ.ศ. 2077 จนปี พ.ศ. 2091 เมื่อพระยอดฟ้า พระราชโอรสของพระชัยราชาซึ่งครองราชย์สืบต่อจากพระราชบิดาเมื่อปี พ.ศ. 2089 ได้ถูกแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และขุนวรวงศาธิราชปลงพระชนม์ด้วยการวางยาพิษในพระกระยาหารเช่นเดียวกับพระราชบิดา หลวงศรียศจึงได้ร่วมมือกับขุนนางอีก 3 ท่านโค่นอำนาจของขุนวรวงศาธิราชและแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์พร้อมกับทูลอัญเชิญพระเฑียรราชา พระราชอนุชาต่างพระราชมารดาของสมเด็จพระชัยราชาธิราช ซึ่งผนวชอยู่ ณ วัดราชประดิษฐาน ขึ้นครองสิริราชสมบัติทรงพระนามว่าสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ หลวงศรียศจึงได้รับการปูนบำเหน็จเป็นเจ้าพระยามหาเสนาที่สมุหพระกลาโหม พร้อมกับพระราชทานลูกพระสนมองค์หนึ่งให้เป็นภรรยาและเครื่องประดับยศอีกมากมาย หลวงศรียศ หรือเจ้าพระยามหาเสนาบดีถึงแก่อสัญกรรมเมื่อใดไม่ปรากฏแต่หายสาบสูญไปในการกบฏของพระศรีศิลป์ หมวดหมู่:สุริโยไท หมวดหมู่:ขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและหลวงศรียศ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านช้าง

อาณาจักรล้านช้าง (ອານາຈັກລ້ານຊ້າງ) เป็นอาณาจักรของชนชาติลาวซึ่งตั้งอยู่ในแถบลุ่มแม่น้ำโขง มีอาณาเขตอยู่ในบริเวณประเทศลาวทั้งหมด ตลอดจนพื้นที่บางส่วนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย โดยมีความเจริญรุ่งเรืองทั้งการเมืองการปกครอง ด้านศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนพระพุทธศาสนา ที่มีพัฒนาการเคียงคู่มาพร้อมกันอาณาจักรอื่น ๆ ใกล้เคียง ทั้งล้านนา สยาม พม่า และเขมร อาณาจักรแห่งนี้ได้สถาปนาขึ้นอย่างเป็นปึกแผ่นมั่งคงอย่างแท้จริงในปี พ.ศ. 1896 สมัยพระเจ้าฟ้างุ้ม มีความรุ่งเรืองสลับกับความร่วงโรยต่อมาหลายสมัย ซึ่งยุคที่นับได้ว่าเป็นยุคทองของอาณาจักรล้านช้างคือรัชสมัยของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช (พ.ศ. 2091- พ.ศ. 2114 และรัชสมัยพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช (พ.ศ. 2181- พ.ศ. 2238) หลังจากนั้นอาณาจักรลาวก็เสื่อมอำนาจลงและแตกแยกเป็น 3 ราชอาณาจักร และในปี พ.ศ. 2321 ทั้ง 3 อาณาจักรก็ได้สูญเสียเอกราชแก่ราชอาณาจักรสยามในที.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและอาณาจักรล้านช้าง · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรสุโขทัย

อาณาจักรสุโขทัย เคยเป็นรัฐในอดีตรัฐหนึ่ง ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม สถาปนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18 ในฐานะสถานีการค้าของรัฐละโว้ หลังจากนั้นราวปี 1800 พ่อขุนบางกลางหาวและพ่อขุนผาเมือง ได้ร่วมกันกระทำการยึดอำนาจจากขอมสบาดโขลญลำพง ซึ่งทำการเป็นผลสำเร็จและได้สถาปนาเอกราชให้รัฐสุโขทัยเป็นอาณาจักรสุโขทัย และมีความเจริญรุ่งเรืองตามลำดับและเพิ่มถึงขีดสุดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ก่อนจะค่อย ๆ ตกต่ำ และประสบปัญหาทั้งจากปัญหาภายนอกและภายใน จนต่อมาถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาไปในที.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและอาณาจักรสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพิชัย

อำเภอพิชัย เป็นอำเภอหนึ่งในจำนวน 9 อำเภอ ของจังหวัดอุตรดิตถ์ พิชัยเป็นเมืองสำคัญมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย เคยเป็นเมืองลูกหลวงของกรุงสุโขทัย เมืองหน้าด่านในสมัยกรุงศรีอยุธยา และเคยเป็นตัวจังหวัดเก่าอีกด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและอำเภอพิชัย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวิเศษชัยชาญ

อำเภอวิเศษชัยชาญ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอ่างทอง เดิมชื่อ อำเภอวิเศษไชยชาญ และก่อนหน้านั้น ชื่อ อำเภอไผ่จำศีล.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและอำเภอวิเศษชัยชาญ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเวียงแหง

วียงแหง (50px) เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ จัดตั้งในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและอำเภอเวียงแหง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสิงห์บุรี

ังหวัดสิงห์บุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคกลางของประเทศไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและจังหวัดสิงห์บุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดหนองบัวลำภู

หนองบัวลำภู เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทยตั้งอยู่ในแอ่งสกลนครและอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน1 เป็นหนึ่งในสามจังหวัดที่ได้รับการจัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2536 พร้อมกับจังหวัดอำนาจเจริญและจังหวัดสระแก้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและจังหวัดหนองบัวลำภู · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครสวรรค์

ังหวัดนครสวรรค์ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ระหว่างตอนบนของภาคกลาง มีพื้นที่ประมาณ 9,597 ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความสำคัญในทางประวัติศาสตร์อีกจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย มีพื้นที่ติดต่อกับหลายจังหวัด ได้แก่ ด้านเหนือ ติดต่อกับจังหวัดพิจิตรและกำแพงเพชร ทางตะวันออกติดกับจังหวัดเพชรบูรณ์และลพบุรี ด้านใต้ติดกับจังหวัดสิงห์บุรี ชัยนาท และอุทัยธานี ส่วนด้านตะวันตกติดกับจังหวัดตาก.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและจังหวัดนครสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

ขุนวรวงศาธิราช

นวรวงศาธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยในสมัยอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์ไทยบางท่านไม่นับว่าพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์เพราะถือว่าเป็นกบฏสมคบกับนางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์แย่งชิงราชบัลลังก์จากพระยอดฟ้า อย่างไรก็ตาม ในพงศาวดารได้ระบุว่าพระองค์ได้ผ่านพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและขุนวรวงศาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

คลองสระบัว

ลองสระบัว เป็นคลองสายหนึ่งทางทิศเหนือนอกเกาะเมือง อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ถือเป็นคลองสายประวัติศาสตร์ที่สำคัญเพราะเป็นลำคลองที่ทำการจับกุมขุนวรวงศาธิราชกับนางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ขณะเสด็จไปเพนียดคล้องช้าง ทั้งยังเป็นคลองที่เป็นย่านการผลิตภาชนะดินเผา กระเบื้องมุงหลังคา และอิฐ มาแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและคลองสระบัว · ดูเพิ่มเติม »

คำให้การชาวกรุงเก่า

ำให้การชาวกรุงเก่า เป็นหนังสือพงศาวดารบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทยโดยเฉพาะช่วงอาณาจักรอยุธยา ตั้งแต่ก่อตั้งอาณาจักร จนกระทั่งเสียแก่พม่าใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและคำให้การชาวกรุงเก่า · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ กำกับการแสดงโดยหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล มี 6 ภาค ทุนสร้าง 700 ล้านบาท (ในครั้งแรกกำหนดให้มี 5 ภาค) เป็นภาคต่อจากภาพยนตร์เรื่อง สุริโยไท โดยหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ได้วางเป้าหมายเรื่องนี้ไว้ว่าจะต้องทำให้ดีกว่าภาพยนตร์เรื่อง "สุริโยไท" ในทุกด้าน โดยมีขอบเขตการทำงานใหญ่กว่า, อลังการกว่า, ฉากต่าง ๆ มีความยิ่งใหญ่อลังการกว่า, นักแสดงหลัก และนักแสดงประกอบมีจำนวนมากกว่า เครื่องมือ และเทคโนโลยีต่าง ๆ มากกว่า ภาพยนตร์เรื่องนี้สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตพระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสมหามงคลที่ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 72 พรรษ.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๑ องค์ประกันหงสา

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๑ องค์ประกันหงสา หรือ ภาคปฐมวัย เป็นภาพยนตร์ภาคแรกของภาพยนตร์ไตรภาคชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช นำแสดงโดย ปรัชฌา สนั่นวัฒนานนท์, จิรายุ ละอองมณี, สุชาดา เช็คลีย์, โชติ บัวสุวรรณ, สรพงษ์ ชาตรี, ปวีณา ชารีฟสกุล, สมภพ เบญจาธิกุล, ฉัตรชัย เปล่งพานิช, สันติสุข พรหมศิริ, ไพโรจน์ ใจสิงห์, เกรซ มหาดำรงค์กุล บทภาพยนตร์และกำกับการแสดงโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๑ องค์ประกันหงสา · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ ภาพยนตร์ภาคสองในภาพยนตร์ไตรภาคชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช นำแสดง.ต.วันชนะ สวัสดี, นพชัย ชัยนาม, ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ, จักรกฤษณ์ อำมะรัตน์, นภัสกร มิตรเอม, อินทิรา เจริญปุระ,.ต.คมกริช อินทรสุวรรณ, ปราบต์ปฎล สุวรรณบาง, พ.ท.วินธัย สุวารี, สรพงษ์ ชาตรี เขียนบทภาพยนตร์และกำกับการแสดงโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี เป็นภาพยนตร์ภาคที่ห้าในภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กำหนดฉายในวันที่ 29 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ หรือ ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช The Series เป็นชุดละครโทรทัศน์อิงประวัติศาสตร์ กำกับการแสดงโดยหม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล เป็นการสร้างละครที่อิงเอาเนื้อเรื่องจากภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคลที่ทำไว้มาสร้างใหม่อีกครั้ง ใช้กระบวนการถ่ายทำและเทคนิคแบบภาพยนตร์ ด้วยความมุ่งหมายจะให้เนื้อเรื่องสมบูรณ์กว่าในแบบฉบับภาพยนตร.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคองค์ประกันหงสา

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาค องค์ประกันหงสา หรือ ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาค ปฐมวัย เป็นละครโทรทัศน์อิงประวัติศาสตร์ ภาคที่หนึ่งของละครเรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ กำกับการแสดงโดย หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล เป็นการสร้างละครที่อิงเอาเนื้อเรื่องจากภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคลที่ทำไว้มาสร้างใหม่อีกครั้ง ใช้กระบวนการถ่ายทำและเทคนิคแบบภาพยนตร์ ด้วยความมุ่งหมายจะให้เนื้อเรื่องสมบูรณ์กว่าในแบบฉบับภาพยนตร์ ละครเรื่องนี้ออกอากาศตอนแรกในวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2560 และออกอากาศตอนจบในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ละครเรื่องนี้มีภาคต่อคือ ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคประกาศอิสร.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคองค์ประกันหงสา · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคประกาศอิสรภาพ

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาค ประกาศอิสรภาพ หรือ ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช The Series ภาค ประกาศอิสรภาพ เป็นละครโทรทัศน์อิงประวัติศาสตร์ ภาคที่สองของละครเรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ กำกับการแสดงโดย หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล เป็นการสร้างละครที่อิงเอาเนื้อเรื่องจากภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ ที่หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคลได้สร้างไว้มาสร้างใหม่อีกครั้ง โดยใช้กระบวนการถ่ายทำและเทคนิคแบบภาพยนตร์ ด้วยความมุ่งหมายจะให้เนื้อเรื่องสมบูรณ์กว่าในแบบฉบับภาพยนตร์ ละครเรื่องนี้เป็นภาคต่อของ ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคองค์ประกันหง.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคประกาศอิสรภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรชัย เปล่งพานิช

ฉัตรชัย เปล่งพานิช นักแสดงชาวไทย มีชื่อเล่นว่า นก เกิดวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2503 ที่จังหวัดกาญจนบุรี เป็นบุตรชายของ พล.ต.อ.ถวิล เปล่งพานิช ชีวิตวัยเด็กต้องย้ายที่อยู่ตามอาชีพราชการของบิดา เข้าเรียนหนังสือในชั้นอนุบาลที่โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี ชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียนสตรีวรนารถ แล้วไปต่อที่โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ฯ จนจบมัธยมศึกษาตอนปลายและระดับปริญญาตรี ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและฉัตรชัย เปล่งพานิช · ดูเพิ่มเติม »

ป้อมเพชร

ป้อมเพชร ป้อมเพชร เป็นป้อมที่ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะเมืองอยุธยา ในตำบลหอรัตนไชย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยู่บริเวณบางกะจะ จุดบรรจบของแม่น้ำ 3 สายคือ แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำป่าสัก และแม่น้ำลพบุรี ป้อมเพชร เป็นป้อมสำคัญที่สุดในบรรดา 29 ป้อม ที่ในปัจจุบันหลงเหลืออยู่ 2 ป้อม ทำหน้าที่ป้องกันข้าศึก ที่มาทางน้ำตรงมุมพระนคร สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระมหาธรรมร..

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและป้อมเพชร · ดูเพิ่มเติม »

นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์

นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ คือพระมเหสีฝ่ายซ้ายคำให้การชาวกรุงเก่า, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, นนทบุรี: ศรีปัญญา, 2553, หน้า 492-494ในสมเด็จพระไชยราชาธิราช พระอัครมเหสีในขุนวรวงศาธิราช และพระราชมารดาในพระยอดฟ้าและพระศรีศิลป์พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม), นนทบุรี: ศรีปัญญา, 2553, หน้า 66-7.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและนางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอยุธยา

ลำดับเหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอ.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและเหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้าสุทัศน์

้าฟ้าสุทัศน์ เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระเอกาทศรถที่ประสูติแต่สมเด็จพระอัครมเหสี พระองค์มีพระอนุชาร่วมพระมารดา 1 พระองค์ คือ เจ้าฟ้าศรีเสาวภาคย์ สมเด็จพระเอกาทศรถทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นพระมหาอุปราช หลังจากนั้น เจ้าฟ้าสุทัศน์กราบบังคมทูลสมเด็จพระเอกาทศรถว่า ขอพิจารณาคนออก สมเด็จพระเอกาทศรสจึงตรัสว่า "จะเป็นขบถหรือ" เป็นเหตุให้เจ้าฟ้าสุทัศน์เกิดความเกรงพระราชอาญาจากสมเด็จพระราชบิดา เมื่อพระองค์ออกจากที่เฝ้าและเสด็จมายังพระราชวังบวรสถานมงคลแล้ว พระองค์ได้เสวยยาพิษและเสด็จสวรรคตลง ความทราบถึงสมเด็จพระเอกาทศรถทำให้พระองค์ทรงพระโทมนัสเป็นอันมากและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดงานพระราชทานเพลิงพระศพตามพระอิสริยยศพระมหาอุปราช ซึ่งพระองค์ทรงตั้งพระทัยบำเพ็ญทานกุศลเป็นอเนกประการ.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและเจ้าฟ้าสุทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช

เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช จากภาพยนตร์เรื่อง สุริโยไท แสดงโดย อำพล ลำพูน เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช เป็นชื่อตำแหน่งเจ้านายในราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช สมัยอยุธยา ซึ่งเป็นราชวงศ์ที่ปกครองทางใต้ของไทย มีเมืองสิบสองเมืองชื่อเมืองสิบสองนักษัตร เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราชที่ปรากฏเด่นชัดในประวัติศาสตร์ท่านหนึ่ง คือ เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช ผู้ที่อวยยศมาจากขุนอินทรเทพ ราชองครักษ์ของสมเด็จพระชัยราชาธิราช พระมหากษัตริย์ของกรุงศรีอยุธยา แห่งราชวงศ์สุพรรณภูมิ เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราชผู้นี้ ได้ร่วมรบเคียงบ่าเคียงไหล่กับออกญาพิษณุโลก เพื่อสังหารขุนวรวงศาธิราช และท้าวศรีสุดาจันทร์ อนึ่งเจ้าพระยาศรีธรรมโศกราชองค์นี้ ยังเป็นพระอนุชาของพระนางเจ้าอินทรเทวี พระมเหสี 1 ใน 4 พระองค์ของพระเจ้าไชยราชาธิราช ที่เป็นพระธิดาพระเจ้าศรีธรรมโศกราชแห่งนครศรีธรรมราช หมวดหมู่:บุคคลในประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยา.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและเจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู)

้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี หรือ พระราชมนู เป็นขุนศึกและสมุหพระกลาโหมคนสำคัญในรัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระราชมนู เกิดเมื่อไรและมีชื่อใดไม่ปรากฏแต่ได้ติดตาม สมเด็จพระนเรศวรมหาราชคราวประกาศอิสรภาพจึงสันนิษฐานว่าครอบครัวของพระราชมนูอาจถูกกวาดต้อนคราวเสียกรุงฯครั้งที่ 1 ได้มีการกล่าวไว้ในพงศาวดารว่าพระราชมนูเป็นทหารที่เก่งกล้าและมีความสามารถนอกจากนั้นยังเป็นทหารคู่พระทัยของสมเด็จพระนเรศวรอีกด้วย ซึ่งพระราชมนูมักออกศึกเคียงคู่พระนเรศวรในการตีเมืองต่างๆเสมอและสามารถชนะกลับมาได้เกือบทุกครั้งรวมถึงศึกยุทธหัตถีที่ตำบลหนองสาหร่ายอีกด้วย ภายหลังพระราชมนูได้รับการโปรดเกล้าจากสมเด็จพระนเรศวรให้เป็นออกญาพระสมุหกลาโหม แต่ประวัติของพระราชมนูมีอยู่น้อยมากเพราะมีการกล่าวถึงในพงศาวดารไม่กี่เล่ม พระราชมนูนั้นเคยรับพระราชบัญชาให้ไปตีเมืองโพธิสัตว์ (ปัจจุบันอยู่ในเขตพม่า) ซึ่งถือเป็นเมืองใหญ่ ในครั้งยังมียศเป็นคุณพระ ตอนนั้นองค์ดำเกรงว่าทัพน้อยของพระราชมนูจะไม่อาจเอาชัย จึงส่งทัพหลวงออกตามไปช่วย ปรากฏว่าเมื่อทัพหลวงไปถึง เมืองโพธิสัตว์ก็แตกเสียแล้ว ทัพหลวงไม่ต้องเข้าช่วยแต่อย่างใด นอกจากนี้พระราชมนูยังมีความบ้าบิ่นอย่างที่ใครๆในยุคนั้นไม่กล้า คือการขัดรับสั่งของพระนเรศในคราวตามเสด็จศึกพระเจ้าเชียงใหม่ ซึ่งพระราชมนูขัดรับสั่งถอนทัพโดยกล่าวว่า "การรบกำลังติดพัน กลัวว่าถอยแล้วจะเป็นเหตุให้ข้าศึกตามตี" เมื่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้เสด็จขึ้นครองราชย์สืบต่อจากสมเด็จพระมหาธรรมราชา พระองค์จึงได้ปูนบำเหน็จให้พระราชมนูขึ้นเป็น เจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี ที่สมุหพระกลาโหม พระราชทานพานทอง น้ำเต้าทอง เจียดทองซ้ายขาว กระบี่ ฝวักทองและเครื่องอุปโภคต่าง ๆ ล่าสุดได้มีการค้นพบเจดีย์บรรจุอัฐิของเจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดีหรือพระราชมนูพร้อมกับภริยาที่วัดช้างให้ บ้านน้ำผึ้ง ตำบลบ้านอิฐ อำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง ทำให้ได้ทราบความจริงว่าพระราชมนูนั้นมีชื่อจริงว่า เพชร หรือ เพ็ชร เมื่อสิ้นรัชสมัยของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช แล้วพระราชมนูได้ลาออกจากราชการและมาบวชจำพรรษาที่วัดช้างให้จนมรณภาพซึ่งทางกรมศิลปากรได้เตรียมเข้ามาบูรณะปฏิสังขรณ์เจดีย์บรรจุอัฐิของพระราชมนูและภร.

ใหม่!!: สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและเจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู) · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สมเด็จพระมหาธรรมราชาสมเด็จพระสรรเพชญที่ 1สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 1สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ ๑ออกญาพิษณุโลกขุนพิเรนทรเทพ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »