โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)

ดัชนี สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)

มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม เกี่ยว โชคชัย ฉายา อุปเสโณ (11 มกราคม พ.ศ. 2471 - 10 สิงหาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช และประธานสมัชชามหาคณิสสร เป็นพระเถระที่มีอาวุโสโดยสมณศักดิ์สูงสุดของมหาเถรสมาคมเดลินิวส์, 30 ธันวาคม 2547มติชน, 15 ม..

33 ความสัมพันธ์: บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2556พ.ศ. 2556พระพรหมกวี (วรวิทย์ คงฺคปญฺโญ)พระพรหมสุธี (เสนาะ ปญฺญาวชิโร)พระพรหมคุณาภรณ์พระพุทธสัมฤทธิ์นิรโรคันตรายพระมหาคณานัมธรรมปัญญาธิวัตร (เจริญ กิ๊นเจี๊ยว)พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์พระวิสุทธิสังวรเถร (ปีเตอร์ พฺรหฺมวํโส)พระสิทธิสารมุนี (ชวรัชต์ มุนิจโร)พระผง ๙ สมเด็จพระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทฺโธ)พระครูสถิตโชติคุณ (ไสว ฐิตวณฺโณ)พระเทพญาณมงคล (เสริมชัย ชยมงฺคโล)พระเทพรัตนมุนี (สุรชัย สุรชโย)มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยวัดสระเกศราชวรมหาวิหารวัดคุ้งตะเภาสมณศักดิ์สมเด็จพระพุฒาจารย์สมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ)สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ)ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชจังหวัดสุราษฎร์ธานีธงชัย สุขโขโกวิทย์ พิมพวงโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาโรงเรียนวิถีพุทธเจ้าคณะใหญ่หนตะวันออกเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค 1010 สิงหาคม

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2556

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมกวี (วรวิทย์ คงฺคปญฺโญ)

ระพรหมกวี ฉายา คงฺคปญฺโญ เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง อดีตเจ้าคณะภาค 10 เจ้าอาวาสวัดโมลีโลกยารามราชวรวิหาร.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และพระพรหมกวี (วรวิทย์ คงฺคปญฺโญ) · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมสุธี (เสนาะ ปญฺญาวชิโร)

ระพรหมสุธี (เสนาะ ปญฺญาวชิโร) นามสกุล ฝังมุข (7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 – 25 มกราคม พ.ศ. 2559) อดีตเจ้าคณะภาค 12 อดีตเจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และพระพรหมสุธี (เสนาะ ปญฺญาวชิโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมคุณาภรณ์

ระพรหมคุณาภรณ์ เป็นสมณศักดิ์ของพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ขั้นหิรัญบัฏ พระราชทานแก่พระภิกษุมหานิก.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และพระพรหมคุณาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธสัมฤทธิ์นิรโรคันตราย

ระพุทธสัมฤทธิ์นิโรคันตราย หรือหลวงพ่อองค์ดำ หรือหลวงพ่อองค์ดำ-ซุ่มเย็น เป็นพระพุทธรูปคู่บ้าน คู่เมืองจังหวัดกาฬสินธุ์ หล่อด้วยคำแดง (ตัมพะโลหะ) ราวจุลศักราช 172 เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 41 เซนติเมตร ความสูงจากฐานถึงยอดพระเมาลี 75 เซนติเมตร พุทธลักษณะเป็นงานช่างที่เก่าแก่มาก ใต้ฐานพระพุทธรูปมีอักษรจารึก (อักษรธรรม) กล่าวถึงประวัติศาสตร์และตำนานการสร้างโดยเจ้าครูนาขาม (กิว) เป็นประธานในการหล่อพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และพระพุทธสัมฤทธิ์นิรโรคันตราย · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาคณานัมธรรมปัญญาธิวัตร (เจริญ กิ๊นเจี๊ยว)

ระมหาคณานัมธรรมปัญญาธิวัตร นามเดิม เจริญ แซ่บู๊ ฉายา กิ๊นเจี๊ยว (Kính Chiếu) เป็นพระภิกษุนิกายมหายาน อดีตเจ้าคณะใหญ่คณะสงฆ์อนัมนิกายแห่งประเทศไทย และอดีตเจ้าอาวาสวัดกุศลสมาคร.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และพระมหาคณานัมธรรมปัญญาธิวัตร (เจริญ กิ๊นเจี๊ยว) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

แบบร่างพระเมรุ พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นพระราชพิธีที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รัฐบาลไทยจัดขึ้นเพื่อแสดงความจงรักภักดีและถวายความอาลัยแด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ โดยรัฐบาลกำหนดวันพระราชพิธีฯ ระหว่างวันที่ 14-19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวิสุทธิสังวรเถร (ปีเตอร์ พฺรหฺมวํโส)

ระวิสุทธิสังวรเถร (พรหมวํโส) นำแถวพระภิกษุออกบิณฑบาต พระวิสุทธิสังวรเถร (พรหมวํโสภิกฺขุ) หรือ "พระพรหมวังโส" หรือตามที่รู้จักในหมู่ลูกศิษย์ว่า "อาจารย์พรหม" (Ajahn Brahm) เป็นพระภิกษุในพุทธศาสนา นิกายเถรวาท คณะมหานิกาย ชาวอังกฤษ หนึ่งในศิษย์ชาวต่างประเทศของพระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) ปัจจุบันเป็นเจ้าอาวาสวัดโพธิญาณ เมืองเซอร์เพนไทน์ รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย ประเทศออสเตรเลีย ซึ่งเป็นอดีตวัดสาขาของวัดหนองป่าพง จังหวัดอุบลราชธานี ประเทศไทย พระพรหมวังโสเป็นที่รู้จักทั่วไปจากกรณีเป็นพระกรรมวาจาจารย์บวชภิกษุณี 4 รูปอย่างลับๆ ที่ประเทศออสเตรเลีย เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2552 ทำให้คณะสงฆ์ไทยและคณะสงฆ์นานาชาติสายวัดหนองป่าพงได้เชิญท่านมาประชุมชี้แจงถึงเรื่องดังกล่าวในเดือนพฤศจิกายนปีเดียวกัน ผลปรากฏว่ามีการลงมติขับพระพรหมวังโสออกจากความเป็นหมู่คณะของสงฆ์สายวัดหนองป่าพง เพราะเห็นว่าการบวชภิกษุณีเป็นการขืนกระทำโดยผิดต่อพระวินัยฝ่ายเถรวาท และตัดวัดโพธิญาณออกจากความเป็นวัดสาขาของวัดหนองป่าพงอีกด้วย มติดังกล่าวนี้ทำให้พระพรหมวังโสได้ขาดจากความปกครองของคณะสงฆ์ไทยมาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และพระวิสุทธิสังวรเถร (ปีเตอร์ พฺรหฺมวํโส) · ดูเพิ่มเติม »

พระสิทธิสารมุนี (ชวรัชต์ มุนิจโร)

ระสิทธิสารมุนี (ชวรัชต์ มุนิจโร) ป.ธ.๓ (นามเดิม: ชวรัชต์ เชาวนะวัณณ์) (3 เมษายน พ.ศ. 2482 - 7 กันยายน พ.ศ. 2551) อดีตเจ้าอาวาสวัดเจ็ดยอด (พระอารามหลวง) และอดีตรองเจ้าคณะจังหวัดเชียงร.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และพระสิทธิสารมุนี (ชวรัชต์ มุนิจโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระผง ๙ สมเด็จ

ระผง ๙ สมเด็จ เป็นพระเครื่องเนื้อผง ที่จัดสร้างตามแบบพระผงสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ถือเป็นส่วนหนึ่งของการเฉลิมฉลองปีมหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมายุ 80 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยกรมทรัพยากรน้ำซึ่งมีหน้าที่ดูแลทรัพยากรน้ำของประเทศ มีโครงการจัดงาน "รวมใจภักดิ์ อนุรักษ์ และพัฒนาแม่น้ำ คู คลอง" เพื่อร่วมเฉลิมพระเกียรติในโอกาสดังกล่าว โดยรายได้ส่วนหนึ่งจากการบริจาคกรมทรัพยากรน้ำจะมอบให้มูลนิธิชัยพัฒนาและเป็นสวัสดิการกรมทรัพยากรน้ำในการดูแลรักษาแหล่งน้ำของประเทศ จึงดำเนินการจัดสร้าง พระผง ๙ สมเด็จ ขึ้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และพระผง ๙ สมเด็จ · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทฺโธ)

ระธรรมโมลี นามเดิม ทองอยู่ พิศลืม ฉายา ญาณวิสุทฺโธ เป็นพระราชาคณะชั้นธรรมฝ่ายมหานิกาย ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 11 อดีตเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ เจ้าอาวาสวัดศาลาลอย รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์ เป็นกรรมการสภาวิชาการมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประเภทโดยตำแหน่งในระดับรองอธิการบดี และอดีตกรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ พิธีบำเพ็ญกุศลอายุวัฒนมงคล พระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทฺโธ) ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 11.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และพระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทฺโธ) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูสถิตโชติคุณ (ไสว ฐิตวณฺโณ)

ระครูสถิตโชติคุณ (หลวงพ่อไสว ตวณฺโณ) (18 มกราคม 2464 - 11 พฤศจิกายน 2543) อดีตเจ้าอาวาสวัดปรีดาราม (ยายส้ม) ตำบลคลองจินดา อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม พระเกจิอาจารย์ผู้มีความเชี่ยวชาญด้านเมตตามหานิยม ลงนะหน้าทอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และพระครูสถิตโชติคุณ (ไสว ฐิตวณฺโณ) · ดูเพิ่มเติม »

พระเทพญาณมงคล (เสริมชัย ชยมงฺคโล)

ระเทพญาณมงคล ว. นามเดิม เสริมชัย พลพัฒนาฤทธิ์ ฉายา ชยมงฺคโล เจ้าอาวาสวัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม เจ้าสำนักและอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวิปัสสนา สำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดราชบุรี ผู้จัดการโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีประจำจังหวัดราชบุรี ผู้อำนวยการวิทยาลัยสงฆ์ราชบุรี ประธานศูนย์ประสานงานสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดแห่งประเทศไทย (ศปท.) ประธานศูนย์ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความมั่นคงแห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ ประจำวัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม (ศสค.) Director, Wat Luang Phor Sodh Buddhist Meditation Institute, an Affiliated Institution of the World Buddhist University.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และพระเทพญาณมงคล (เสริมชัย ชยมงฺคโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระเทพรัตนมุนี (สุรชัย สุรชโย)

ระเทพรัตนมุนี (สุรชัย สุรชโย) นามสกุล วิชชุกิจมงคล เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าคณะภาค 12 และรักษาการเจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และพระเทพรัตนมุนี (สุรชัย สุรชโย) · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(มจร.) คือสถาบันการศึกษาพระพุทธศาสนาชั้นสูงในรูปแบบมหาวิทยาลัย ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาขึ้นเพื่อถวายแด่คณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย โดยเริ่มจัดการเรียนการสอนด้านพุทธศาสตร์เป็นสาขาแรก แล้วต่อมาได้ขยายการเรียนการสอนไปยังสาขาวิชาอื่นๆ คล้ายกับรูปแบบการก่อตั้ง มหาวิทยาลัยปารีส ประเทศฝรั่งเศส และมหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด ประเทศอังกฤษ ที่เริ่มต้นจากสาขาด้านศาสนาแล้วขยายไปยังสาขาอื่นอีกมายมาย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือกำเนิดจาก "มหาธาตุวิทยาลัย" ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นภายในวัดมหาธาตุฯ เมื่อปี พ.ศ. 2430 โดยเริ่มทำการสอนตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร

วัดสระเกศ เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ริมคลองมหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย มีจุดเด่นคือ พระบรมบรรพต.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดคุ้งตะเภา

วัดคุ้งตะเภา เป็นวัดโบราณในเขตการปกครองของคณะสงฆ์มหานิกาย และเป็น 1 ใน 9 วัดศักดิ์สิทธิ์สำคัญของจังหวัดอุตรดิตถ์ ตั้งอยู่ที่ หมู่บ้านคุ้งตะเภา ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ใกล้กับจุดตัดสี่แยกคุ้งตะเภา บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลขที่ 11 (ถนนสายเอเชีย) วัดคุ้งตะเภา เป็นวัดโบราณมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี และได้รับสถาปนาขึ้นใหม่ในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมื่อปีขาล โทศก จุลศักราช 1132 อันเป็นปีที่พระองค์เสด็จขึ้นมาปราบปรามชุมนุมเจ้าพระฝางเมืองสวางคบุรี และประทับชำระคณะสงฆ์ จัดการหัวเมืองฝ่ายเหนือใหม่ตลอดฤดูน้ำ ดังปรากฏหลักฐานในพระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ซึ่งวัดคุ้งตะเภา เป็นเพียงวัดแห่งเดียวในปริมณฑลเมืองพิชัยและสวางคบุรี ที่ปรากฏหลักฐานการสถาปนาวัดในปีนั้น ตำนานวัดเล่าสืบกันมานับร้อยปีว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ผู้คนย้ายกลับมาตั้งครัวเรือน สร้างวัดและศาลาการเปรียญขึ้นใหม่ ณ ริมคุ้งสำเภา พร้อมทั้งตรัสเรียกชื่อวัดที่ตั้งขึ้นใหม่นี้ว่า "วัดคุ้งตะเภา" ปัจจุบันทางราชการได้นำชื่อคุ้งตะเภาไปใช้ตั้งเป็นชื่อหมู่บ้านและชื่อตำบลคุ้งตะเภาสืบมาจนปัจจุบัน วัดแห่งนี้เป็นวัดที่เก่าแก่ที่สุดในเขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภา เคยเป็นวัดที่สถิตย์ของพระครูสวางคมุนี เจ้าคณะใหญ่เมืองฝางมาตั้งแต่โบราณ โดยเป็นวัดที่เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ และสองพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นที่เคารพศรัทธายิ่งของชาวตำบลคุ้งตะเภา ซึ่งพระพุทธรูปทั้งสององค์นั้นจัดได้ว่าเป็น 2 ใน 9 พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์สำคัญคู่บ้านคู่เมืองอุตรดิตถ์ คือ พระพุทธสุวรรณเภตรา และ พระพุทธสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนี ปัจจุบันวัดคุ้งตะเภาเป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง เป็นสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ 3 (สำนักปฏิบัติธรรมภายใต้การกำกับของมหาเถรสมาคม)หนังสือสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ที่ พศ ๐๐๐๙/๐๕๓๖๕ เรื่อง แจ้งมติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๙ เรื่อง ขออนุมัติจัดตั้งสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ ๓ วัดคุ้งตะเภา ลงวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๙มติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๙ วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๙ สำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม มติที่ ๓๓๘/๒๕๕๙ เรื่อง ขออนุมัติจัดตั้งสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ ๓ และเป็นวัดประจำตำบลที่มีสถิติพระภิกษุสามเณรจำพรรษามากที่สุดในตำบลคุ้งตะเภา เป็นศูนย์กลางทางด้านศาสนศึกษาของคณะสงฆ์และคฤหัสถ์ในเขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภาโดยพฤตินัย โดยเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่มูลนิธิ ๒๕๐ ปี วัดคุ้งตะเภา ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ สำนักเลขานุการรองเจ้าคณะอำเภอเมืองอุตรดิตถ์ฝ่ายการศึกษาคณะสงฆ์ สำนักศาสนศึกษาประจำตำบล และหน่วยอบรมประชาชนประจำตำบลคุ้งตะเภา (อปต.) ซึ่งเป็นหน่วยอบรมฯ ที่มีผลงานดีเด่นระดับจังหวัดอุตรดิตถ์ โดยมี พระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ (แสงสิน) เป็นเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภา (จร.).

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และวัดคุ้งตะเภา · ดูเพิ่มเติม »

สมณศักดิ์

มณศักดิ์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายความว่า ยศพระสงฆ์ที่ได้รับพระราชทานมีหลายชั้น แต่ละชั้นมีพัดยศเป็นเครื่องกำหนด อาจกล่าวได้ว่า สมณศักดิ์ คือบรรดาศักดิ์ หรือยศที่พระมหากษัตริย์พระราชทานแก่ภิกษุผู้ประพฤติดี ประพฤติชอบให้ดำรงมั่นอยู่ในสมณเพศ เพื่อเป็นกำลังสืบต่ออายุพระพุทธศาสนาและเพื่อให้การปกครองคณะสงฆ์เป็นไปโดยเรียบร้อย เพราะการที่พระภิกษุรูปใดได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ย่อมได้รับมอบหมายภาระหน้าที่ในการปกครองหมู่คณะแห่งสงฆ์ไปพร้อมกันด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และสมณศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์

มเด็จพระพุฒาจารย์ เป็นราชทินนามของพระเถระรูปหนึ่งที่มีสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระราชาคณะ ในสมัยหลังได้พระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันคือ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ) วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และสมเด็จพระพุฒาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ)

มเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก กรรมการมหาเถรสมาคม ประธานคณะกรรมการศูนย์ควบคุมการไปต่างประเทศสำหรับพระภิกษุสามเณร (ศตภ.) หัวหน้าพระธรรมทูต สายที่ 5.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และสมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)

มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม อาจ ดวงมาลา ฉายา อาสโภ (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2446 - 8 ธันวาคม พ.ศ. 2532) เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช นอกจากนี้ท่านยังเป็นบุคคลแรกที่นำการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐานสี่ (หรือแบบยุบหนอ-พองหนอ) จากพม่ามาเผยแพร่ในประเทศไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)

มเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม เจริญ คชวัตร ฉายา สุวฑฺฒโน (3 ตุลาคม พ.ศ. 2456 – 24 ตุลาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 19 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ)

มเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ นามเดิม ช่วง สุดประเสริฐ ฉายา วรปุญฺโญ เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง กรรมการมหาเถรสมาคมโดยตำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ (พระอารามหลวง) ประธานสมัชชามหาคณิสสร และอดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆร.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ) · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช

ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช เป็นตำแหน่งรักษาการแทนสมเด็จพระสังฆราช มีสมเด็จพระราชาคณะผู้อาวุโสโดยสมณศักดิ์ ซึ่งปฏิบัติหน้าที่แทนสมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ในระหว่างที่ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกยังว่างอยู่ หรือในระหว่างที่สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงปฏิบัติศาสนากิจในราชกิจในต่างประเทศ ตามพระราชบัญญัติคณะสง..

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ังหวัดสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า สุราษฎร์ฯ ใช้อักษรย่อ สฎ เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศไทย และมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และยังมีแหล่งท่องเที่ยวและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ เกาะในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากถึง 108 เกาะ นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากจังหวัดพังงาที่มี 155 เกาะ และจังหวัดภูเก็ตที่มี 154 เกาะ เกาะขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักเช่น เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า และหมู่เกาะอ่างทอง เนื่องจากทำเลที่ตั้งจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากจะมีแนวเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว ในทางกลับกันพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก โดยใช้พิ้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม รวมทั้งมีการทำเหมืองแร่ด้วย ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถใช้ได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ เครื่องบิน รถโดยสารประจำทาง เรือ และรถยนต์ส่วนบุคคล สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุศรีสุราษฎร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรศรีวิชัย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติทั้งอุทยานแห่งชาติทางบก และอุทยานแห่งชาติทางทะเล น้ำตก เกาะ แม่น้ำ เขื่อน วัด และพระอารามหลวง เป็นต้นและยังเป็นแหล่งสืบสานประเพณีที่สำคัญของชาวใต้ คือประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีผลิตผลและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก เช่น ไข่เค็มไชยา หอยนางรม และเงาะโรงเรียน ดังที่ปรากฏในคำขวัญของจังหวั.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และจังหวัดสุราษฎร์ธานี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชัย สุขโข

งชัย สุขโข อดีตพระพรหมสิทธิ ฉายา สุขญาโณ อดีตพระราชาคณะเจ้าคณะรอง เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าคณะภาค 10 เจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร ประธานสำนักงานกำกับดูแลพระธรรมทูตไปต่างประเทศ หัวหน้าพระธรรมทูตสายที่ ๖ รองแม่กองธรรมสนามหลวง และกรรมการมหาเถรสมาคม.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และธงชัย สุขโข · ดูเพิ่มเติม »

โกวิทย์ พิมพวง

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พิมพวง (Asst.Prof.Kowit Pimpuang, Ph.D.) สอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยค ขณะเป็นสามเณร ได้รับพระราชทานการอุปสมบทเป็นนาคหลวงในพระบรมราชูปถัมภ์ ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และโกวิทย์ พิมพวง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา

รงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา หมายถึง โรงเรียนเอกชนที่วัดเป็นผู้ถือใบอนุญาต ตาม พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน..

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวิถีพุทธ

รงเรียนวิถีพุทธ มุ่งเน้นการเรียนการเรียนการสอนโดยให้โรงเรียนเป็นดุจกัลยาณมิตร หรือสหายทางปัญญา ภายใต้การพัฒนาตามหลักไตรสิกขา โดยมีผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา โรงเรียนวิถีพุทธ (Buddhist Oriented Schools) หมายถึงโรงเรียนในระบบปกติทุกระดับ ภายใต้การกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ ที่เน้นการนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาตามหลักไตรสิกขามาบูรณาการประยุกต์ใช้ในการบริหาร และการพัฒนาผู้เรียนในภาพรวมของสถานศึกษา โดยเน้นกรอบการพัฒนาตามหลักไตรสิกขา ผ่านกระบวนการทางวัฒนธรรม แสวงหาปัญญา และมีเมตตา สำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และโรงเรียนวิถีพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก

้าคณะใหญ่หนตะวันออก คือเจ้าคณะใหญ่ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในเขตปกครองคณะสงฆ์หนตะวันออก ตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีเจ้าคณะใหญ่ปฏิบัติหน้าที่ในเขตปกครองคณะสงฆ์ตามที่กำหนดในกฎมหาเถรสมาคม มหาเถรสมาคมจึงตรา "กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2535) ว่าด้วยระเบียบการปกครองคณะสงฆ์" กำหนดให้เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออกปฏิบัติหน้าที่ในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค 8 ภาค 9 ภาค 10 ภาค 11 และภาค 12.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และเจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองคณะสงฆ์ภาค 10

ตปกครองคณะสงฆ์มหานิกาย ภาค 10 เป็นเขตการปกครองคณะสงฆ์ไทย ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช 2505 ฉบับแก้ไขปรับปรุงพุทธศักราช 2535 ที่ให้อำนาจมหาเถรสมาคมในการจัดแบ่ง และแต่งตั้งผู้ปกครองที่เรียกว่าเจ้าคณะภาค อันมีอำนาจหน้าที่ในการมอบนโยบายและบริหารกิจการคณะสงฆ์ในฝ่ายมหานิกายในเขต 6 จังหวัด อันประกอบด้วย จังหวัดอุบลราชธานี, จังหวัดยโสธร, จังหวัดนครพนม, จังหวัดมุกดาหาร, และจังหวัดอำนาจเจริญ ปัจจุบัน พระเทพวิสุทธิโมลี (พรหมา สปฺปญฺโญ) วัดจักรวรรดิราชาวาส เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร เป็นรักษาการเจ้าคณ.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค 10 · ดูเพิ่มเติม »

10 สิงหาคม

วันที่ 10 สิงหาคม เป็นวันที่ 222 ของปี (วันที่ 223 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 143 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)และ10 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สมเด็จ พุทธาจารย์ (เกี่ยว)สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสณมหาเถระ)สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสนมหาเถระ)สมเด็จเกี่ยวเกี่ยว อุปเสโณ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »