โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)

ดัชนี สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)

มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม อาจ ดวงมาลา ฉายา อาสโภ (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2446 - 8 ธันวาคม พ.ศ. 2532) เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช นอกจากนี้ท่านยังเป็นบุคคลแรกที่นำการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐานสี่ (หรือแบบยุบหนอ-พองหนอ) จากพม่ามาเผยแพร่ในประเทศไท.

21 ความสัมพันธ์: พระพิมลธรรมพระพิมลธรรม (ชอบ อนุจารี)พระพิมลธรรม (ช้อย ฐานทตฺโต)พระราชพิธีทรงผนวชในรัชกาลที่ 9พระศาสนโศภน (ปลอด อตฺถการี)พระธรรมไตรโลกาจารย์พระธรรมไตรโลกาจารย์ (ยอด อกฺกวํโส)พระครูนิสิตคุณากร (กัน คงฺครตโน)มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหารสมเด็จพระพุฒาจารย์สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)สมเด็จพระวันรัต (จับ ฐิตธมฺโม)สมเด็จพระวันรัต (ทรัพย์ โฆสโก)สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวงจังหวัดขอนแก่นปาล พนมยงค์เกษม บุญศรีเจ้าคณะใหญ่หนตะวันออกเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค 10

พระพิมลธรรม

ระพิมลธรรม เป็นราชทินนามสมณศักดิ์พระราชาคณะเจ้าคณะรองรูปหนึ่ง ในสมัยหลัง ๆ ได้พระราชทานเฉพาะพระภิกษุฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันไม่มีพระราชาคณะรูปใดได้รับราชทินนามนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)และพระพิมลธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พระพิมลธรรม (ชอบ อนุจารี)

ระพิมลธรรม (ชอบ อนุจารี) ราชบัณฑิต อดีตเจ้าอาวาสวัดราษฎร์บำรุง เจ้าคณะจังหวัดชลบุรี เจ้าคณะตรวจการภาค 9 และ 2 และแม่กองธรรมสนามหลวง และเป็นผู้ริเริ่มให้มีวันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาอีกวันหนึ่งในประเทศไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)และพระพิมลธรรม (ชอบ อนุจารี) · ดูเพิ่มเติม »

พระพิมลธรรม (ช้อย ฐานทตฺโต)

ระพิมลธรรม นามเดิม ช้อย ฝอยทอง ฉายา านทตฺโต เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญในคณะสงฆ์ เช่น เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร เจ้าคณะมณฑลนครสวรรค์ เจ้าคณะตรวจการภาค 1 สังฆมนตรีช่วยว่าการองค์การสาธารณูปการ และสังฆมนตรีว่าการองค์การปกครอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)และพระพิมลธรรม (ช้อย ฐานทตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีทรงผนวชในรัชกาลที่ 9

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเป็นพุทธศาสนิกชนที่มีพระราชศรัทธาในพระพุทธศาสนาเป็นที่ยิ่ง เมื่อ พ.ศ. 2499 มีพระราชประสงค์ที่จะทรงผนวชในพระบวรพุทธศาสนาตามโบราณราชประเพณี จอมพลแปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ได้กราบบังคมทูลพระกรุณาขอรับพระราชภาระสนองพระเดชพระคุณในการทรงผนวชในนามของรัฐบาลและประชาชนชาวไทย และได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้แต่งตั้งสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ด้วยความเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงผนวชในพระบวรพุทธศาสนาเป็นเวลา 15 วัน ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499 ดังตามลำดับเหตุการณ์ในระหว่างทรงประทับพระผนวช ดังนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)และพระราชพิธีทรงผนวชในรัชกาลที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

พระศาสนโศภน (ปลอด อตฺถการี)

ระศาสนโศภน (ปลอด อตฺถการี) อดีตเจ้าอาวาสวัดราชาธิวาสราชวรวิหารและวัดราชผาติการามวรวิหาร และดำรงตำแหน่งสำคัญอีกหลายตำแหน่งในคณะสงฆ์ไทย เช่น สมาชิกสังฆสภา สังฆมนตรีช่วยว่าการองค์การปกครอง เจ้าคณะภาค 7-8-9 (ธรรมยุต) เป็นต้น ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)และพระศาสนโศภน (ปลอด อตฺถการี) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมไตรโลกาจารย์

ระธรรมไตรโลกาจารย์ เป็นสมณศักดิ์พระราชาคณะชั้นธรรม ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายธรรมยุติกนิกาย มีพัดยศประจำตำแหน่งเป็นพัดแฉกทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ มี 5 แฉก พื้นแพรต่วนสีแดง.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)และพระธรรมไตรโลกาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมไตรโลกาจารย์ (ยอด อกฺกวํโส)

ระธรรมไตรโลกาจารย์ (ยอด อกฺกวํโส) (1 มีนาคม พ.ศ. 2427 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2489) เป็นพระเถระชั้นผู้ใหญ่อีกท่านหนึ่งในจังหวัดนครสวรรค์ อดีตเจ้าคณะจังหวัดนครสวรรค์ อดีตเจ้าอาวาสวัดเขาแก้ว เป็นพระราชาคณะรูปแรกของจังหวัดนครสวรรค์ เป็นเจ้าคณะจังหวัดนครสวรรค์ ที่มีสมณศักดิ์สูงที.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)และพระธรรมไตรโลกาจารย์ (ยอด อกฺกวํโส) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูนิสิตคุณากร (กัน คงฺครตโน)

ระครูนิสิตคุณากร(กัน คงฺครตโน) (11 เมษายน พ.ศ. 2435 - 17 ตุลาคม พ.ศ. 2513) เป็นพระเถระชั้นผู้ใหญ่อีกท่านหนึ่งในจังหวัดนครสวรรค์ เป็นเจ้าอาวาสวัดเขาแก้ว, อดีตเจ้าคณะตำบลพยุหะ และเป็น 1 ใน 3 พระเกจิที่มีชื่อเสียงของอำเภอพยุหะคีรี ร่วมกับ หลวงพ่อเทศกับหลวงพ่อเดิม.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)และพระครูนิสิตคุณากร (กัน คงฺครตโน) · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(มจร.) คือสถาบันการศึกษาพระพุทธศาสนาชั้นสูงในรูปแบบมหาวิทยาลัย ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาขึ้นเพื่อถวายแด่คณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย โดยเริ่มจัดการเรียนการสอนด้านพุทธศาสตร์เป็นสาขาแรก แล้วต่อมาได้ขยายการเรียนการสอนไปยังสาขาวิชาอื่นๆ คล้ายกับรูปแบบการก่อตั้ง มหาวิทยาลัยปารีส ประเทศฝรั่งเศส และมหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด ประเทศอังกฤษ ที่เริ่มต้นจากสาขาด้านศาสนาแล้วขยายไปยังสาขาอื่นอีกมายมาย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือกำเนิดจาก "มหาธาตุวิทยาลัย" ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นภายในวัดมหาธาตุฯ เมื่อปี พ.ศ. 2430 โดยเริ่มทำการสอนตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)และมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์

ระวังสับสนกับ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์(Mahachulalongkornrajavidyalaya University Surin Campus; ชื่อย่อ: มจร.สร. - MCU.SR.) ตั้งอยู่ที่ บ้านโคกกระเพอ หมู่ที่ 8 (ห้วยเสนง) ตำบลนอกเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์เป็นวิทยาเขตลำดับที่ 8 ในสังกัดมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)และมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร

วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร เดิมเป็นวัดราษฎร์ชื่อวัดสลัก สร้างในสมัยอยุธยา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี และทรงสร้างพระบรมมหาราชวังเป็นที่ประทับและสร้างพระราชวังบวรสถานมงคลเป็นที่ประทับสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล นั้น วัดสลักเป็นวัดที่อยู่กึ่งกลางระหว่างพระบรมมหาราชวังกับพระราชวังบวรสถานมงคล สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทโปรดให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดสลักเมื่อ พ.ศ. 2326 พร้อมกับการก่อสร้างพระราชวังบวรสถานมงคล จากนั้นทรงเปลี่ยนชื่อวัดจากวัดสลักเป็นวัดนิพพานาราม เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้ใช้วัดนิพพานารามเป็นสถานที่ทำสังคายนาในปี พ.ศ. 2331 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดพระศรีสรรเพชญ” และใน พ.ศ. 2346 พระราชทานนามใหม่ว่าวัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรมหาวิหาร ตามชื่อวัดในกรุงศรีอยุธยาที่เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุและเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราช วัดมหาธาตุเป็นสถานที่ที่ใช้เป็นที่พระราชทานเพลิงพระบุพโพเจ้านายซึ่งดำรงพระเกียรติยศสูง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ใช้พื้นที่ของวัดเป็นที่สร้างเมรุพระราชทานเพลิงพระศพพระบรมวงศ์ชั้นสูง ในปลาย พ.ศ. 2432 โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งบาลีวิทยาลัยที่วัดมหาธาตุ เรียกว่ามหาธาตุวิทยาลัย และย้ายการบอกพระปริยัติธรรมมาจากวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ต่อมา ใน พ.ศ. 2437 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างอาคารถาวรวัตถุ เรียกว่า สังฆิกเสนาสน์ราชวิทยาลัย เพื่อใช้ในงานพระศพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร หลังจากนั้น จะทรงอุทิศถวายแก่มหาธาตุวิทยาลัย เพื่อเป็นที่เรียนพระปริยัติธรรมชั้นสูง ซึ่งจะได้พระราชทานนามว่า “มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย” แต่อาคารหลังนี้มาสร้างเสร็จในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และงานพระศพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงจัดที่วัดบวรสถานสุทธาวาส ใน พ.ศ. 2439 โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ในการบูรณะวัดมหาธาตุและพระราชทานนามว่า “วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์”.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)และวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์

มเด็จพระพุฒาจารย์ เป็นราชทินนามของพระเถระรูปหนึ่งที่มีสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระราชาคณะ ในสมัยหลังได้พระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันคือ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ) วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)และสมเด็จพระพุฒาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)

มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม เกี่ยว โชคชัย ฉายา อุปเสโณ (11 มกราคม พ.ศ. 2471 - 10 สิงหาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช และประธานสมัชชามหาคณิสสร เป็นพระเถระที่มีอาวุโสโดยสมณศักดิ์สูงสุดของมหาเถรสมาคมเดลินิวส์, 30 ธันวาคม 2547มติชน, 15 ม..

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)และสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระวันรัต (จับ ฐิตธมฺโม)

มเด็จพระวันรัต นามเดิม จับ สุนทรมาศ ฉายา ตธมฺโม เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญในคณะสงฆ์ไทย เช่น เจ้าอาวาสวัดโสมนัสราชวรวิหาร เจ้าคณะภาค 16-17-18 (ธรรมยุต) และกรรมการมหาเถรสมาคม.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)และสมเด็จพระวันรัต (จับ ฐิตธมฺโม) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระวันรัต (ทรัพย์ โฆสโก)

มเด็จพระวันรัต นามเดิม ทรัพย์ สุนทรัตต์ ฉายา โฆสโก เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดสังเวชวิศยารามวรวิหาร สังฆมนตรีว่าการองค์การปกครอง สมาชิกสังฆสภา กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก และผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆร.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)และสมเด็จพระวันรัต (ทรัพย์ โฆสโก) · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง

ำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง (Central Dharma Testing Service Headquarters of Thailand.) คู่กับสำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวงของคณะสงฆ์ไทย เป็นหน่วยงานภายใต้การดูแลของมหาเถรสมาคมซึ่งอยู่ในความอุปถัมภ์ของรัฐบาลไทย มีหน้าที่หลักคือดำเนินการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรนักธรรมและธรรมศึกษา ชั้นตรี โท เอกของชาติ และจัดให้มีการสอบไล่วัดผลประจำปีตามหลักสูตรนักธรรมและธรรมศึกษาที่เปิดสอนไปทั่วราชอาณาจักรไทยและต่างประเท.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)และสำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดขอนแก่น

ังหวัดขอนแก่น เป็นจังหวัดที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นจังหวัดศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เมืองขอนแก่นตั้งอยู่ในจุดที่ถนนมิตรภาพ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก) ตัดผ่าน ซึ่งเป็นเส้นทางสำคัญอีกเส้นหนึ่งในการเดินทางจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางเข้าไปสู่ภาคเหนือตอนล่างที่อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ และเดินทางเข้าสู่ประเทศลาวทางด้านทิศใต้ของลาว อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดอุดรธานี ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดมหาสารคามและจังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศใต้ติดกับจังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันตกติดกับจังหวัดชัยภูมิและจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)และจังหวัดขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

ปาล พนมยงค์

ปาล พนมยงค์ (12 ธันวาคม พ.ศ. 2474 - 9 กันยายน พ.ศ. 2524) เป็นนักกฎหมาย บุตรชายคนโตของ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส อดีตนายกรัฐมนตรีของไทย กับ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ (สกุลเดิม: ณ ป้อมเพชร์).

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)และปาล พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

เกษม บุญศรี

กษม บุญศรี (16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 - 22 ตุลาคม พ.ศ. 2531) อดีตแม่กองธรรมสนามหลวง ราชบัณฑิตภาคีสมาชิก อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย 2 สมัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 2 สมัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร 1 สมั.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)และเกษม บุญศรี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก

้าคณะใหญ่หนตะวันออก คือเจ้าคณะใหญ่ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในเขตปกครองคณะสงฆ์หนตะวันออก ตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีเจ้าคณะใหญ่ปฏิบัติหน้าที่ในเขตปกครองคณะสงฆ์ตามที่กำหนดในกฎมหาเถรสมาคม มหาเถรสมาคมจึงตรา "กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2535) ว่าด้วยระเบียบการปกครองคณะสงฆ์" กำหนดให้เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออกปฏิบัติหน้าที่ในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค 8 ภาค 9 ภาค 10 ภาค 11 และภาค 12.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)และเจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองคณะสงฆ์ภาค 10

ตปกครองคณะสงฆ์มหานิกาย ภาค 10 เป็นเขตการปกครองคณะสงฆ์ไทย ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช 2505 ฉบับแก้ไขปรับปรุงพุทธศักราช 2535 ที่ให้อำนาจมหาเถรสมาคมในการจัดแบ่ง และแต่งตั้งผู้ปกครองที่เรียกว่าเจ้าคณะภาค อันมีอำนาจหน้าที่ในการมอบนโยบายและบริหารกิจการคณะสงฆ์ในฝ่ายมหานิกายในเขต 6 จังหวัด อันประกอบด้วย จังหวัดอุบลราชธานี, จังหวัดยโสธร, จังหวัดนครพนม, จังหวัดมุกดาหาร, และจังหวัดอำนาจเจริญ ปัจจุบัน พระเทพวิสุทธิโมลี (พรหมา สปฺปญฺโญ) วัดจักรวรรดิราชาวาส เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร เป็นรักษาการเจ้าคณ.

ใหม่!!: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)และเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค 10 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พระพิมลธรรม (อาจ อาสโภ)

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »