เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

ดัชนี สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

มเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 8 แห่งอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ สวรรคต..

สารบัญ

  1. 144 ความสัมพันธ์: บรรดาศักดิ์ไทยบึงพระรามบุพสัญญาพ.ศ. 1972พ.ศ. 1973พ.ศ. 1974พ.ศ. 1991พ.ศ. 1992พ.ศ. 1993พ.ศ. 1994พ.ศ. 1995พ.ศ. 1996พ.ศ. 1997พ.ศ. 1998พ.ศ. 1999พ.ศ. 2000พ.ศ. 2001พ.ศ. 2002พ.ศ. 2003พ.ศ. 2004พ.ศ. 2005พ.ศ. 2006พ.ศ. 2007พ.ศ. 2008พ.ศ. 2009พ.ศ. 2010พ.ศ. 2011พ.ศ. 2012พ.ศ. 2013พ.ศ. 2014พ.ศ. 2015พ.ศ. 2016พ.ศ. 2017พ.ศ. 2018พ.ศ. 2019พ.ศ. 2020พ.ศ. 2021พ.ศ. 2022พ.ศ. 2023พ.ศ. 2024พ.ศ. 2025พ.ศ. 2026พ.ศ. 2027พ.ศ. 2028พ.ศ. 2029พ.ศ. 2030พ.ศ. 2031พ.ศ. 2035พระพุทธชินราชพระมหาอุปราช... ขยายดัชนี (94 มากกว่า) »

บรรดาศักดิ์ไทย

ในฐานันดรศักดิ์ไทย บรรดาศักดิ์ คือ ระดับชั้นหรือยศของข้าราชการไทยในสมัยโบราณ เทียบกับคำภาษาอังกฤษคือ Title.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและบรรดาศักดิ์ไทย

บึงพระราม

ึงพระราม หรือเดิมเรียกว่า หนองโสน หรือ บึงชีชัน เป็นหนองน้ำหรือบึงน้ำขนาดใหญ่กลางเกาะเมืองจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในอดีตบึงแห่งนี้เป็นชุมชนโบราณมาก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยาด้วยสังเกตจากวัดร้างและสถานที่สำคัญจำนวนมากรอบบึงน้ำนี้ ปัจจุบันบึงพระรามได้รับการปรับปรุงจนกลายเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของชาวพระนครศรีอ.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและบึงพระราม

บุพสัญญา

ัญญา (”) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายอัญประกาศคู่แต่มีด้านปิดเพียงด้านเดียว หรือคล้ายรูปสระ ฟันหนู (") ใช้สำหรับเขียนแทนคำหรือประโยคที่อยู่ในบรรทัดบนหรือเหนือขึ้นไปในตำแหน่งกึ่งกลาง เพื่อที่จะได้ไม่ต้องเขียนซ้ำอีก สามารถใช้ขีดกลางยาวประกอบเครื่องหมาย (เช่น) เพื่อกำหนดขอบเขตของการกล่าวซ้ำโดยสังเขป และอาจพบเครื่องหมายบุพสัญญามากกว่าหนึ่งตัวในการซ้ำครั้งเดียวกัน (เช่น) เวลาอ่านต้องอ่านคำเต็ม บทนิพนธ์หลายชนิดอาทิวิทยานิพนธ์ ไม่อนุญาตให้ใช้เครื่องหมายนี้ปรากฏในเนื้อหาเพื่อละข้อความ แต่ให้ใช้คำเต็มแทน ภาษาญี่ปุ่นก็มีการใช้บุพสัญญา มีปรากฏในรหัสยูนิโคด U+3003 ดังนี้ 〃 มีชื่อเรียกว่า ditto mark หรือ โนะโนะจิเท็น (ノノ字点) รูปร่างคล้ายกับของภาษาไทยแต่เขียนอยู่ในระดับเดียวกับบรรทัด ภาษาอื่นที่นอกเหนือจากนี้ไม่มีการใช้บุพสัญญา แต่อาจพบการใช้ขีดกลางยาว (em dash) หรือคำว่า Ibid.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและบุพสัญญา

พ.ศ. 1972

ทธศักราช 1972 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 1972

พ.ศ. 1973

ทธศักราช 1973 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 1973

พ.ศ. 1974

ทธศักราช 1974 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 1974

พ.ศ. 1991

ทธศักราช 1991 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 1991

พ.ศ. 1992

ทธศักราช 1992 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 1992

พ.ศ. 1993

ทธศักราช 1993 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 1993

พ.ศ. 1994

ทธศักราช 1994 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 1994

พ.ศ. 1995

ทธศักราช 1995 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 1995

พ.ศ. 1996

ทธศักราช 1996 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 1996

พ.ศ. 1997

ทธศักราช 1997 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 1997

พ.ศ. 1998

ทธศักราช 1998 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 1998

พ.ศ. 1999

ทธศักราช 1999 ใกล้เคียงกั..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 1999

พ.ศ. 2000

ทธศักราช 2000 ใกล้เคียงกั..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2000

พ.ศ. 2001

ทธศักราช 2001 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2001

พ.ศ. 2002

ทธศักราช 2002 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2002

พ.ศ. 2003

ทธศักราช 2003 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2003

พ.ศ. 2004

ทธศักราช 2004 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2004

พ.ศ. 2005

ทธศักราช 2005 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2005

พ.ศ. 2006

ทธศักราช 2006 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2006

พ.ศ. 2007

ทธศักราช 2007 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2007

พ.ศ. 2008

ทธศักราช 2008 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2008

พ.ศ. 2009

ทธศักราช 2009 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2009

พ.ศ. 2010

ทธศักราช 2010 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2010

พ.ศ. 2011

ทธศักราช 2011 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2011

พ.ศ. 2012

ทธศักราช 2012 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2012

พ.ศ. 2013

แผนที่ทวีปยุโรปเมื่อ ค.ศ. 1470 พุทธศักราช 2013 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2013

พ.ศ. 2014

ทธศักราช 2014 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2014

พ.ศ. 2015

ทธศักราช 2015 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2015

พ.ศ. 2016

ทธศักราช 2016 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2016

พ.ศ. 2017

ทธศักราช 2017 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2017

พ.ศ. 2018

ทธศักราช 2018 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2018

พ.ศ. 2019

ทธศักราช 2019 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2019

พ.ศ. 2020

ทธศักราช 2020 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2020

พ.ศ. 2021

ทธศักราช 2021 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2021

พ.ศ. 2022

ทธศักราช 2022 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2022

พ.ศ. 2023

ทธศักราช 2023 ใกล้เคียงกั..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2023

พ.ศ. 2024

ทธศักราช 2024 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2024

พ.ศ. 2025

ทธศักราช 2025 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2025

พ.ศ. 2026

ทธศักราช 2026 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2026

พ.ศ. 2027

ทธศักราช 2027 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2027

พ.ศ. 2028

ทธศักราช 2028 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2028

พ.ศ. 2029

ทธศักราช 2029 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2029

พ.ศ. 2030

ทธศักราช 2030 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2030

พ.ศ. 2031

ทธศักราช 2031 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2031

พ.ศ. 2035

ทธศักราช 2035 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพ.ศ. 2035

พระพุทธชินราช

ระพุทธชินราช ประดิษฐานอยู่ ณ วิหารด้านตะวันตกในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในปี..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพระพุทธชินราช

พระมหาอุปราช

ระมหาอุปราช เป็นตำแหน่งรัชทายาท พบในประเทศพม่า ล้านนา ลาว และสยาม.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพระมหาอุปราช

พระมหาธรรมราชาที่ 4

ระมหาธรรมราชาที่ 4 หรือ บรมปาล หรือ พระยาบาลเมือง เป็นพระราชโอรสในพระมหาธรรมราชาพระองค์หนึ่ง ได้ครองเมืองพิษณุโลกในระหว่างปี..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพระมหาธรรมราชาที่ 4

พระยายุทธิษเฐียร

ระยายุทธิษฐิระ หรือ พระยายุทธิษเฐียร ทรงเป็นเจ้านายเชื้อสายราชวงศ์พระร่วง เป็นพระร่วงเจ้าสุโขทัยในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพระยายุทธิษเฐียร

พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก

ระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก เป็นพระราชพิธีเฉลิมฉลองเนื่องในวโรกาสที่พระมหากษัตริย์ไทยทรงครองสิริราชสมบัติยาวนานยิ่งกว่าพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ ซึ่งในปัจจุบันมีเพียง 2 ครั้งเท่านั้น คือ.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก

พระราชวังจันทน์

ระราชวังจันทน์ ตั้งอยู่ติดกับ ค่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กองทัพภาคที่ 3 ถนนวังจันทน์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก เป็นที่ตั้งศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในอดีตยังเคยเป็นที่ตั้งของโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม ปัจจุบัน กรมศิลปากร ได้เข้ามาทำการบูรณะค้นหาแนวเขตพระราชวังจันทน์ ระยะที่ 1 เสร็จสิ้นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพระราชวังจันทน์

พระราชวังโบราณ อยุธยา

นที่ภายในพระราชวังหลวงหรือพระราชวังโบราณ พระที่นั่งตรีมุข พระราชวังโบราณ อยุธยา คือ พระราชวังหลวง ในสมัยกรุงศรีอ.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพระราชวังโบราณ อยุธยา

พระราเมศวร

ระราเมศวร เป็นพระอิสริยยศของพระราชโอรสในพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา โดยมากเป็นพระอิสริยยศของพระราชโอรสพระองค์ใหญ่และอยู่ในที่จะรับรัชทายาทต่อไป อาจหมายถึง.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพระราเมศวร

พระศรีศิลป์ (พระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราช)

ระศรีศิลป์ เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราชประสูติแต่นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ มีพระเชษฐา 1 พระองค์ ได้แก่ พระยอดฟ้า ภายหลังการเสด็จขึ้นครองราชสมบัติของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระองค์ทรงได้รับการอุปการะจากสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวเรื่อยมา จนกระทั่ง พระองค์มีพระชันษา 20 พรรษาได้คิดขบถขึ้นและนำไปสู่การสิ้นพระชนม์ในเวลาต่อม.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพระศรีศิลป์ (พระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราช)

พระสุพรรณกัลยา

ระสุพรรณกัลยา สุวรรณกัลยา หรือ สุวรรณเทวี เป็นพระราชธิดาใน สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช และ พระวิสุทธิกษัตรีย์ และเป็นพระพี่นางใน สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และ สมเด็จพระเอกาทศรถ ประสูติ ณ พระราชวังจันทน์ เมืองพิษณุโลก เชื่อว่าพระนามเดิม คือ องค์ทอง.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพระสุพรรณกัลยา

พระอินทราชา

ระอินทราชา เป็นพระนามของพระมหากษัตริย์และพระราชโอรสของกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา สามารถหมายถึง.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพระอินทราชา

พระที่นั่งสรรเพชญปราสาท

ระที่นั่งสรรเพชญปราสาท (จำลอง) ภายในเมืองโบราณ พระที่นั่งสรรเพชญปราสาท หรือ พระที่นั่งสรรเพชญมหาปราสาท คือพระที่นั่งองค์หนึ่งในเขตพระราชวังโบราณ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สร้างขึ้นโดยพระราชดำริของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่กรุงศรีอยุธยาเจริญรุ่งเรืองมาก เป็นศูนย์กลางแห่งอำนาจของราชอาณาจักรอยุธยา พระที่นั่งสรรเพชญปราสาท เคยใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีสำคัญของราชสำนักและเป็นที่รับแขกบ้านแขกเมืองของพระมหากษัตริย์ เช่น พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รับราชทูต ฯลฯ แต่พระที่นั่งองค์นี้เสียหายทั้งองค์เมื่อเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒ ในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพระที่นั่งสรรเพชญปราสาท

พระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหาร หัวเมือง

* สำหรับบรรดาศักดิ์ของพระบรมวงศานุวงศ์ไทยซึ่งทรงทำงานในกรม ดูได้ที่ เจ้าต่างกรม.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหาร หัวเมือง

พระเชษฐา

ระเชษฐา เป็นพระนามของพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์แห่งกรุงศรีอยุธยา อาจหมายถึง.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพระเชษฐา

พระเจ้าติโลกราช

ระเจ้าติโลกราช (120px) (พ.ศ. 1952 – พ.ศ. 2030) พระมหากษัตริย์ล้านนาแห่งราชวงศ์มังรายพระองค์ที่ 9 ครองราชย์ พ.ศ. 1985 – พ.ศ. 2030 พระนามเดิมคือ "เจ้าลก" เนื่องจากเป็นพระโอรสองค์ที่ 6 ในพญาสามฝั่งแกน (ลก ในภาษาไทเดิม มีความหมายว่า ลำดับที่ 6) ร่วมรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแห่งกรุงศรีอ.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและพระเจ้าติโลกราช

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่เรียกกันเป็นสามัญว่าวังหน้า เป็นตำแหน่งที่พระมหากษัตริย์สยามทรงสถาปนาขึ้นสำหรับพระมหาอุปราช และมีฐานะเป็นองค์รัชทายาทผู้มีสิทธิ์ที่จะขึ้นครองราชสมบัติต่อไป ตำแหน่งพระมหาอุปราชปรากฏครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ต่อมาสมเด็จพระเพทราชาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานมงคล" ภายหลังจากการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้เลิกธรรมเนียมตั้งพระมหาอุปราช แล้วทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชแทน.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและกรมพระราชวังบวรสถานมงคล

กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)

กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไท.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)

กองทัพบกไทย

กองทัพบกไทย (คำย่อ: ทบ.; Royal Thai Army) เป็นเหล่าทัพที่มีประวัติความเป็นมายาวนานที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดของกองทัพไทย ก่อตั้งเป็นกองทัพสมัยใหม่ขี้นในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและกองทัพบกไทย

กาพย์

กาพย์ เป็นคำประพันธ์ชนิดหนึ่งที่บังคับจำนวนคำและสัมผัส จัดวรรคต่างจากกลอนและไม่บังคับเสียงวรรณยุกต์ท้ายวรรค ไม่มีบังคับเอก-โทเหมือนโคลง และไม่มีบังคับครุและลหุเหมือนฉันท.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและกาพย์

การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย

ษาบาลี หรือภาษามคธ เป็นภาษาที่จารึกพระไตรปิฎก ด้วยเป็นภาษาที่คนชมพูทวีปในสมัยพุทธกาลนิยมใช้กันทั่วไป จึงเป็นภาษาที่พระพุทธเจ้าใช้เผยแพร่พระพุทธศาสนาในสมัยนั้น หลังจากพุทธปรินิพพานมีการทำปฐมสังคายนา พระเถระได้ตกลงกันใช้ภาษาบาลีสำหรับจดจำพระไตรปิฎก พระสงฆ์สายเถรวาทจึงต้องศึกษาภาษาบาลีให้เข้าใจลึกซึ้งและสามารถเทียบเคียงสอบทานกับพระไตรปิฎกที่เก็บไว้ในสถานที่ต่างกันได้ เพื่อรักษาการแปลความหมายจากพระพุทธพจน์ในพระไตรปิฎกให้ถูกต้องไม่บิดเบือน และหน้าที่นี้ก็เป็นหน้าที่ของพระสงฆ์ในประเทศไทยเช่นเดียวกันเทวประภาส มากคล้าย เปรียญ..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย

การสักยันต์

ันต์แปดทิศ เชื่อว่ามีคุณทางด้านเมตตา อยู่ยงคงกระพัน คุ้มครองทิศทั้งแปด การสักยันต์ลงบนแผ่นหลัง การสักยันต์ เป็นการสักที่ต่างจากการสักทั่วไปที่มุ่งเน้นเรื่องความสวยงามหรือเพื่องานศิลปะ แต่การสักยันต์มีจุดประสงค์หลักในเรื่องของความเชื่อทางไสยศาสตร์ เช่น จะทำให้มีโชค แคล้วคลาด ปลอดภัย อยู่ยงคงกระพัน และพ้นจากอันตรายต่าง ๆ โดยมีความเชื่อว่า รูปแบบลายสักหรือยันต์แต่ละชนิดจะให้คุณที่ต่างกัน และผู้ที่ได้รับการสักยันต์จะต้องปฏิบัติตามข้อบังคับที่แต่ละสำนักกำหนดไว้ เช่น ห้ามด่าบิดามารดา ห้ามลบหลู่ครูอาจารย์ เป็นต้น การสัก คือ การเอาเหล็กแหลมแทงลงด้วยวิธี การหรือเพื่อประโยชน์ต่าง ๆ กัน ใช้เหล็กแหลมจุ้มหมึกหรือน้ำมันแทงที่ผิวหนังให้เป็นอักขระ เครื่องหมายหรือลวดลาย ถ้าใช้หมึกเรียกว่าสักหมึก ถ้าใช้น้ำมันเรียกว่าสักน้ำมัน ส่วนคำว่า "ยันต์" ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน กล่าวว่า ยันต์คือตารางหรือลายเส้นเป็นตัวเลข อักขระหรือรูปภาพที่เขียน สัก หรือแกะสลักลงบนแผ่นผ้า ผิวหนัง ไม้ โลหะ เป็นต้น ถือว่าเป็นของขลัง เช่น ยันต์ตรีนิสิงเห ยันต์พระเจ้า ๕ พระองค์ เรียกเสื้อหรือผ้าเป็นต้นที่มีลวดลายเช่นนั้นว่า เสื้อยันต์ ผ้ายันต์ เรียกกิริยาที่ทำเช่นนั้นว่า ลงเลข ลงยันต.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและการสักยันต์

การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์

การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์เป็นวิธีการประหารพระราชวงศ์ไทยโดยการใช้ท่อนจันทน์เป็นอุปกรณ์ วิธีการดังกล่าวไม่มีการปฏิบัติอีกต่อมาตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรเมนมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้เลิกเสียอย่างเป็นทางการตั้งแต่มีการประกาศใช้กฎหมายลักษณะอาญา ร..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและการสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์

การอุปถัมภ์

การอุปถัมภ์ ในความหมายโดยทั่วไป คือ การค้ำจุน การค้ำชู การสนับสนุน การเลี้ยงดู ในทางการเมืองซึ่งใช้คำว่า ระบบอุปถัมภ์ หมายถึง การได้รับสิทธิพิเศษจากผู้ใหญ่หรือญาติมิตรของตน เป็นระบบที่ตรงกันข้ามกับระบบความชอบธรรมซึ่งนิยมใช้เป็นหลักในปัจจุบัน ระบบอุปถัมภ์ (Patronage System) เป็นรูปแบบความสัมพันธ์ทางสังคมในยุโรปช่วงศตวรรษที่ 5 – 16 และในสังคมไทยจะมีรูปแบบที่คล้ายคลึงกันในสมัยพระบรมไตรโลกนาถจนถึงรัชกาลที่ 5 แห่งรัตนโกสินทร์ คำว่า “ผู้อุปถัมภ์” (patron) เป็นคำที่มาจากภาษาละติน คือ pratronus หมายถึง บุคคลผู้มีอำนาจให้ความยินยอมหรือรับรอง (sanction) โดยคนเหล่านี้ต้องเข้ามาเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผู้ที่มีอำนาจด้อยกว่าหรือเป็น “ผู้รับอุปถัมภ์” (client) ที่ต้องการความช่วยเหลือหรือป้องกัน โดยผู้อุปถัมภ์จะให้ประโยชน์กับผู้รับอุปถัมภ์โดยหวังจะได้ประโยชน์ตอบแทนกลับมาในรูปแบบของสินค้า ความจงรักภักดี การสนับสนุนทางการเมืองในรูปแบบต่างๆ ความสัมพันธ์ในเชิงตอบแทนซึ่งกันและกัน (reciprocal relationships) โดยทั่วไปความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลสองฝ่ายนี้ ฝ่ายผู้รับอุปถัมภ์มักจะเป็นผู้เสียเปรียบเพราะโดยคำจำกัดความว่าเป็นผู้ที่อ่อนแอกว่าทั้งในด้านเศรษฐกิจและการเมือง (Kurian, 2011: 1199-1200).

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและการอุปถัมภ์

การขับเสภา

การขับเสภาเป็นการเล่าเรื่องประเภทหนึ่งโดยกำเนิดมาจากการเล่านิทาน เมื่อการเล่านิทานเริ่มแพร่หลายจึงได้แต่งเป็นกลอนใส่ทำนองโดยใช้กรับเป็นเครื่องประกอบจังหว.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและการขับเสภา

การนวดแผนไทย

ท่ากดสะโพก ในการนวดไทย การนวดไทย หรือ นวดแผนโบราณ เป็นการนวดชนิดหนึ่งในแบบไทย ซึ่งเป็นศาสตร์บำบัดและรักษาโรคแขนงหนึ่งของการแพทย์แผนไทย โดยจะเน้นในลักษณะการกด การคลึง การบีบ การดัด การดึง และการอบ ประคบ ซึ่งรู้จักกันโดยทั่วไปในชื่อ "นวดแผนโบราณ" โดยมีหลักฐานว่านวดแผนไทยนั้นมีประวัติมาจากประเทศอินเดีย โดยเชื่อว่าน่าจะมีการนำการนวดเข้ามาพร้อมกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และมีการนำเข้ามาในประเทศไทยเมื่อใดนั้นไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจน จากนั้นได้ถูกพัฒนาและปรับปรุงแก้ไขให้เข้ากันกับวัฒนธรรมของสังคมไทย จนเป็นรูปแบบแผนที่เป็นมาตรฐานของไทยและส่งทอดมาจนถึงปัจจุบัน การนวดไทยแบ่งเป็น 2 สาย คือ สายราชสำนักและสายเชลยศัก.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและการนวดแผนไทย

การเมืองไทย

การเมืองไทยปัจจุบันอยู่ในระบอบเผด็จการทหารในพฤตินัย ซึ่งสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติ และพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เป็นผู้ใช้อำนาจบริหารและเป็นนายกรัฐมนตรี.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและการเมืองไทย

การเฉลิมพระยศเจ้านาย

ระยศเจ้านาย ในราชสกุลมี 2 ประเภทคือ สกุลยศ คือ ยศที่เกิดเป็นเจ้าชั้นใดในเบื้องต้น เจ้านายที่เกิดในสกุลยศชั้นใด ก็อยู่ในชั้นยศชั้นนั้น เป็นยศที่ได้โดยการเกิด และ "อิสริยยศ" คือยศที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสถาปนาแต่งตั้งให้ทางราชการในภายหลัง และ"ยศทางสกุล"โดยชั้นข้าหลวงให้นำหน้าสกุลว่า"วงค์"(เมื่อสิ้นสุดรัชกาล สำหรับเมื่อเป็นสามัญชน) เช่น วงค์ปินตา วงค์สมบูรณ์ วงค์บวรคง วงค์ปิ่นแก้ว ฯลฯ.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและการเฉลิมพระยศเจ้านาย

มหาชาติคำหลวง

มหาชาติคำหลวง ก็คือเรื่องเวสสันดรชาดก สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดเกล้าฯ ให้ประชุมนักปราชญ์ราชบัณฑิตแปลแต่งที่เมืองพิษณุโลก เมื่อพ.ศ.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและมหาชาติคำหลวง

มหาวิทยาลัยโบราณของสกอตแลนด์

มหาวิทยาลัยโบราณของสกอตแลนด์ หมายถึงมหาวิทยาลัยในสกอตแลนด์ที่ก่อตั้งในช่วงยุคกลาง คือก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 19 ประกอบด้วย.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและมหาวิทยาลัยโบราณของสกอตแลนด์

มหาดเล็ก

มหาดเล็ก หมายถึง ข้าราชการในพระราชสำนัก โดยพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายไว้ว่า “......

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและมหาดเล็ก

มาเลเซียเชื้อสายไทย

วมาเลเซียเชื้อสายไทย หรือ ชาวสยาม (นิยมเรียกในมาเลเซีย) เป็นชาวไทยถิ่นใต้ที่อาศัยอยู่พื้นที่แถบนี้มาช้านาน โดยการเข้ามาเรื่อย ๆ พอนานเข้าก็กลายเป็นชนกลุ่มหนึ่งในรัฐไทรบุรี ปะลิส กลันตัน ทางตอนเหนือของรัฐเประก์ และมีจำนวนหนึ่งอาศัยในปีนัง โดยบางส่วนได้ผสมกลมกลืนกับชนพื้นเมืองแถบนี้ด้วย ภายหลังการยกดินแดนส่วนนี้แก่อังกฤษ ชาวไทยกลุ่มนี้จึงเป็นสิ่งตกค้างในประเทศมาเลเซียจนถึงปัจจุบัน แต่ชาวไทยในประเทศมาเลเซียนี้ก็ยังรักษาประเพณีวัฒนธรรมของไทยในอดีตไว้ได้อย่างดี รวมถึงภาษา และศาสนาที่เป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกับชาวมลายูทั่วไป.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและมาเลเซียเชื้อสายไทย

ยกกระบัตร

การปกครองหัวเมือง สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงจัดการปกครองหัวเมืองรูปแบบใหม่ดังนี้.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและยกกระบัตร

ระบบเจ้าขุนมูลนาย

ระบบเจ้าขุนมูลนาย, ระบบฟิวดัลหรือระบบเจ้าครองนคร (feudalism) เป็นระบอบการปกครองในอดีต สยามเรียกว่า ระบบศักดิน.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและระบบเจ้าขุนมูลนาย

รัฐร่วมประมุข

ียนฉลองรัฐร่วมประมุขระหว่างโปแลนด์และลิทัวเนียเป็นสหราชอาณาจักรโปแลนด์-ลิทัวเนีย รัฐร่วมประมุข หรือ การรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักร (personal union) เป็นการรวมรัฐอิสระมากกว่าสองรัฐขึ้นไปภายใต้การปกครองของพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน ในขณะที่พรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายของอาณาจักรในกลุ่มยังคงเป็นตัวของตัวเอง สหราชไม่ใช่ “สหพันธรัฐ” (federation) ที่เป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นหลายรัฐที่รวมเข้ามาเป็นรัฐเดียวกันและมีพรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายส่วนใหญ่ร่วมกัน หรือ “สหราชวงศ์” (dynastic union) ซึ่งหมายถึงการรวมภายใต้ราชวงศ์เดียวกัน แต่กระนั้นความหมายระหว่าง “สหราช” และ “สหพันธรัฐ” ก็มีความเกี่ยวพันกัน และ “สหราช” มักจะวิวัฒนาการมาเป็น “สหพันธรัฐ” การรวมตัวกันเป็น “สหราช” อาจจะเกิดขึ้นจากเหตุผลหลายประการตั้งแต่การเกิดขึ้นโดยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นพร้อมกันเช่นการเสกสมรสระหว่าง “สมเด็จพระราชินีนาถ” (queen regnant) ของราชอาณาจักรหนึ่ง กับ พระมหากษัตริย์ของอีกราชอาณาจักรหนึ่ง ซึ่งทำให้พระราชโอรสของทั้งสองพระองค์ก็จะได้รับราชบังลังก์ของทั้งสองราชอาณาจักร ไปจนถึงการผนวกดินแดน การรวมตัวกันอาจจะเป็นตามบทบัญญัติทางกฎหมาย เช่นการผ่านพระราชบัญญัติในรัฐสภาระบุการรวมตัวกัน หรืออาจจะโดยพฤตินัยซึ่งง่ายต่อการแยกตัวกลับไปเป็นอาณาจักรเดิม เช่นในกรณีที่เกิดขึ้นหลังจากการเสด็จสวรรคตของกษัตริย์ของบรรดาอาณาจักรร่วมที่มีระบบการสืบสันตติวงศ์ที่ต่างกัน “สหราช” ส่วนใหญ่จะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในระบบราชาธิปไตยเท่านั้น และบางครั้งก็จะใช้คำว่า “สหราชาธิปไตย” (dual monarchy) ในการแสดงแสดงว่าเป็นการรวมอาณาจักรของสองราชบัลลังก์ รายการข้างล่างแสดงให้เห็นถึงรายระเอียดของการรวมเป็นสหราชอาณาจักรตลอดมาในประวัติศาสตร์ ยกเว้นแต่ในกรณีของราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของเครือจักรภพบริติชเช่นออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และแคนาดา ซึ่งไม่ใช่การรวมเป็นสหราชอาณาจักรของโลกยุคปัจจุบัน นอกจากนั้นคำว่า “การรวมสหอำนาจ” ยังใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองที่ใช้โดยนาซีเยอรมนีในการรวมตำแหน่งระดับสูงในพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน เครื่องมือทางการเมืองเดียวกันนี้นำมาใช้โดยรัฐบาลอื่นๆ เช่นสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งคล้ายกันกับ “ผู้ได้รับการแต่งตั้ง” (persona designata) ที่เป็นระบบที่เจ้าหน้าที่ทางศาลสามารถแต่งตั้งให้ผู้ไม่มีหน้าที่ทางศาลมีความรับผิดชอบในหน้าที่กึ่งเกี่ยวกับระบบยุติธรรมภายใต้ระบบคอมมอนลอว.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและรัฐร่วมประมุข

ราชการส่วนกลาง (ประเทศไทย)

ราชการส่วนกลาง หมายถึง ราชการที่ดำเนินการและบริหารโดยหน่วยราชการในส่วนกลางของฝ่ายบริหาร เพื่อสนองความต้องการของประชาชน จะมีลักษณะการปกครองแบบรวมอำนาจ หมายความว่า เป็นการรวมอำนาจในการสั่งการ การกำหนดนโยบายการวางแผน การควบคุมตรวจสอบ และการบริหารราชการสำคัญ ๆ ไว้ที่นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีและกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ตามหลักการรวมอำนาจ การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง จัดแบ่งออกได้ดังนี้.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและราชการส่วนกลาง (ประเทศไทย)

ราชวงศ์พระร่วง

ราชวงศ์พระร่วง เป็นราชวงศ์แรกและราชวงศ์เดียวที่ปกครองอาณาจักรสุโขทัย หลักฐานจารึกปู่สบถหลานระหว่างกษัตริย์สุโขทัยและน่าน แล้วมีการลำดับพระนามพระมหากษัตริย์ของราชวงศ์สุโขทัยตั้งแต่บรรพบุรุษ ส่วนหลักฐานทางประวัติศาสตร์มักพบว่าผู้คนภายในเขตสุโขทัย หรือบ้านเมืองแว่นแคว้นอื่นมักเรียกพระมหากษัตริย์ของสุโขทัยในนามว่า "พระร่วง" ซึ่งเป็นนามที่รู้จักไปอย่างกว้างขวางของคนกลุ่มไทยในสมัยโบราณ เชื้อสายของราชวงศ์พระร่วงนี้สืบทอดมายาวนานในการปกครองสมัยสุโขทัย ราชวงศ์พระร่วง มีการสานสายสัมพันธ์กับราชวงศ์อู่ทองแห่งอาณาจักรละโว้ และราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราชแห่งอาณาจักรตามพรลิงก์ มาถึงสมัยอยุธยา ราชวงศ์สุพรรณภูมิรวมถึงราชวงศ์สุโขทัยแห่งอาณาจักรอยุธยา ยังปรากฏอยู่ผ่านความสัมพันธ์ทางเครือญาติระหว่างอาณาจักร สัญลักษณ์หรืออนุสรณ์อันศักดิ์สิทธิ์ของราชวงศ์พระร่วงที่สืบทอดมาถึงปัจจุบัน คือ รูปพระร่วงพระลือ ในซุ้มพระร่วงพระลือที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรวิหาร อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ตามความเชื่อของคนรุ่นเก่าแก่ในจังหวัดสุโขทัย ระบุว่า ที่นี่คือนิวาสถานดั้งเดิม หรือต้นกำเนิดของราชวงศ์พระร่วง.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและราชวงศ์พระร่วง

ราชวงศ์สุพรรณภูมิ

ราชวงศ์สุพรรณภูมิ หรือ ราชวงศ์สุวรรณภูมิ เป็นราชวงศ์ที่ 2 ที่ได้ครองอาณาจักรอยุธยา ราชวงศ์สุพรรณภูมิมีอายุรวม 199 ปี.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและราชวงศ์สุพรรณภูมิ

ราชาศัพท์ (ภาษาไทย)

ราชาศัพท์ เป็นระเบียบการใช้ภาษาไทยให้สุภาพตามชั้นของบุคคลซึ่งแบ่งเป็นห้าชั้น ได้แก่ 1) พระราชา 2) เจ้านาย หรือพระราชวงศ์ 3) พระสงฆ์ของศาสนาพุทธ 4) ข้าราชการ และ 5) สุภาพชนทั่วไป.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและราชาศัพท์ (ภาษาไทย)

ราฟาเอล

วาดตัวเองของราฟาเอล ราฟาเอล (Raphael) หรือ รัฟฟาเอลโล ซานซีโอ ดา อูร์บีโน (Raffaello Sanzio da Urbino; พ.ศ. 2026-2063) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีที่มีอาวุโสน้อยที่สุดในบรรดาจิตรกรผู้ยิ่งใหญ่ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา โดยมีอายุน้อยกว่าเลโอนาร์โด ดา วินชี 31 ปี และอ่อนกว่ามีเกลันเจโล บัวนาร์โรตี 8 ปี เมื่อ..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและราฟาเอล

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่ราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัยถึงปัจจุบันมีดังนี้.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไท.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและรายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย

ลิลิตพระลอ

ลิลิตพระลอ เป็นลิลิตโศกนาฏกรรมความรัก ที่แต่งขึ้นอย่างประณีตงดงาม มีความไพเราะของถ้อยคำ และเต็มไปด้วยสุนทรียศาสตร์ พรรณนาเรื่องด้วยอารมณ์ที่หลากหลาย ใช้กวีโวหารอย่างยอดเยี่ยม ในการบรรยายเนื้อเรื่อง ที่มีฉากอย่างมากมาย หลากหลายอารมณ์ โดยมีแก่นเรื่องแบบรักโศก หรือโศกนาฏกรรม และแฝงแง่คิดถึงสัจธรรมของชีวิต ลิลิตพระลอนี้เคยถูกวิจารณ์อย่างเผ็ดร้อนจากนักวรรณคดีบางกลุ่ม เนื่องจากเชื่อว่าเป็นวรรณกรรมที่มอมเมาทางโลกีย์ ลิลิตพระลอที่ได้รับยกย่องจากวรรณคดีสโมสร เมื่อ..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและลิลิตพระลอ

ลิลิตยวนพ่าย

ลิลิตยวนพ่าย เป็นวรรณคดีประเภทสดุดีวีรกรรมของพระมหากษัตริย์ จัดเป็นวรรณคดีประวัติศาสตร์ ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง แต่สันนิษฐานว่าแต่งขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ คำว่า "ลิลิต" หมายถึง คำประพันธ์ประเภทร้อยกรองแบบหนึ่งซึ่งใช้โคลงและร่ายต่อสัมผัสกันเป็นเรื่องยาว ส่วน "ยวน" หมายถึง ไทยวน ชาติพันธ์หลักในอาณาจักรล้านนา เพี้ยนมาจาก โยน หรือ โยนก ดังนั้น ลิลิตยวนพ่ายจึงมีเนื้อหากล่าวถึงสงครามที่กรุงศรีอยุธยามีชัยเหนือล้านนานั่นเอง ลิลิตยวนพ่ายแต่งเป็นลิลิตดั้น กล่าวคือ เป็นร่ายดั้น 2 ตอนและโคลงดั้นบาทกุญชร 365 บท ภาษาที่ใช้เป็นภาษาไทยโบราณ เขมร สันสกฤต และบาลี จึงอ่านเข้าใจได้ยาก ใช้ภาษาที่ประณีตงดงาม ศัพท์สูงส่งวิจิตร เต็มไปด้วยชั้นเชิงสูงด้านการใช้ภาษา และเป็นแบบอย่างในการแต่งลิลิตตะเลงพ่ายของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนร.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและลิลิตยวนพ่าย

วัชกู ดา กามา

วัชกู ดา กามา เส้นทางเดินเรือครั้งแรกของวัชกู ดา กามา วัชกู ดา กามา (Vasco da Gama; ประมาณ พ.ศ. 2003-2068) เป็นนักเดินเรือสำรวจชาวโปรตุเกส เกิดที่เมืองซีนึช แคว้นอาเลงเตฌู ประเทศโปรตุเกส สร้างประวัติศาสตร์ด้วยการค้บพบเส้นทางการเดินเรือจากยุโรปสู่อินเดียระหว่างปี..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและวัชกู ดา กามา

วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร

วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า "วัดใหญ่" ตั้งอยู่ที่ ถนนพุทธบูชา ริมฝั่งแม่น้ำน่านด้านทิศตะวันออก ตรงข้ามกับศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก เป็นพระอารามหลวง ชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหาร เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปในฐานะสถานที่ประดิษฐานพระพุทธชินราช พระพุทธรูปที่ได้รับการยกย่องว่าสวยงามที่สุดในประเทศไทย วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร เป็นวัดที่มีประวัติยาวนานมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย มีสถาปัตยกรรม ศิลปกรรม และประติมากรรมที่งดงามยิ่ง ถือได้ว่าเป็นมรดกทางศิลปวัฒนธรรมอันล้ำค่าของเมืองพิษณุโลก.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร

วัดพระศรีสรรเพชญ์

right วัดพระศรีสรรเพชญ์ หรือ วัดพระศรีสรรเพชญ เป็นอดีตวัดหลวงประจำพระราชวังโบราณ อยุธยา ตั้งอยู่ที่ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทางทิศเหนือของวิหารพระมงคลบพิตรในเขตอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา สร้างชึ้นราวปี..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและวัดพระศรีสรรเพชญ์

วัดพระแท่นศิลาอาสน์

วัดพระแท่นศิลาอาสน์ เดิมชื่อ วัดมหาธาตุ ตั้งอยู่ที่บนเนินเขาเต่า บ้านพระแท่น ตำบลทุ่งยั้ง อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ติดกับวัดพระยืนพุทธบาทยุคล ซึ่งตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออก บนเนินเขาลูกเดียวกันแต่คนละยอด วัดพระแท่นศิลาอาสน์เป็นวัดโบราณ ไม่ปรากฏหลักฐานว่าผู้ใดสร้าง และสร้างแต่เมื่อใด ในศิลาจารึกครั้งกรุงสุโขทัยไม่ปรากฏข้อความกล่าวถึงพระแท่นศิลาอาสน์ แต่เพิ่งมีปรากฏในหนังสือพระราชพงศาวดาร ในรัชสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พระองค์ได้เสด็จนมัสการพระแท่นศิลาอาสน์ เมื่อปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและวัดพระแท่นศิลาอาสน์

วิหารพระมงคลบพิตร

วิหารพระมงคลบพิตร เป็นวัดอารามหลวงตั้งอยู่ที่ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทางทิศใต้ของวัดพระศรีสรรเพชญ์ มีจุดเด่นที่สำคัญคือเป็นวัดเก่าแก่ในเขตกำแพงเมือง ที่ได้รับการบูรณะอย่างดี ภายในวิหารมีพระมงคลบพิตร พระพุทธรูปประธานขนาดใหญ่ที่เสียหายตั้งแต่เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง แต่ได้รับการบูรณะใหม่ทั้งหมด ด้วยทองสำริดหุ้มทองตามปัจจุบัน.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและวิหารพระมงคลบพิตร

ศรีปราชญ์

รีปราชญ์ เป็นบุคคลซึ่งเอกสารพม่าและมอญที่เขียนจากคำบอกเล่าระบุว่า เป็นข้าราชสำนักสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 (พระเจ้าเสือ) แห่งกรุงศรีอยุธยา ถูกเนรเทศไปนครศรีธรรมราชและถูกเจ้าเมืองประหาร ก่อนตายแช่งเจ้าเมืองให้ตายด้วยดาบเดียวกัน และภายหลังก็เป็นไปตามนั้น เรื่องราวของเขาได้รับการดัดแปลงและขยายความอย่างมากในเวลาต่อมา โดยระบุว่า เป็นข้าราชสำนักสมเด็จพระนารายณ์ เป็นบุตรชายของพระโหราธิบดี มีความสามารถทางร้อยกรอง และไปเสียชีวิตที่นครศรีธรรมราชเหมือนในเอกสารเดิม เขายังได้รับการนำเสนอว่า เป็นกวีเอกและบุคคลสำคัญของชาติไทย อย่างไรก็ดี นักประวัติศาสตร์เห็นว่า เขาไม่มีตัวตนจริง เพราะปราศจากการบันทึกทางประวัติศาสตร์ที่เชื่อถือได้ เขายังน่าจะเป็นเพียงตัวละครเอกในเรื่องเล่าขานของชาวบ้าน ทำนองเดียวกับศรีธนญชัย โดยทั้งศรีปราชญ์และศรีธนญชัยน่าจะรับมาจากนิทานอินโดนีเซียหรือเปอร์เซีย ศรีปราชญ์เป็นตัวแทนความซื่อตรง ศรีธนญชัยเป็นตัวแทนความคดโกง อนึ่ง เดิมเชื่อว่า เขาเป็นผู้ประพันธ์ร้อยกรองเรื่อง กำสรวลศรีปราชญ์ นอกเหนือไปจากเรื่องอื่น ๆ แต่ปัจจุบันมีข้อเสนอว่า เป็นพระนิพนธ์ของพระบรมราชาที่ 3 พระโอรสของสมเด็จพระบรมไตรโลกน.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและศรีปราชญ์

ศาลชั้นต้น (ประเทศไทย)

ลชั้นต้น เป็นศาลยุติธรรม เป็นศาลที่พิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีในชั้นแรก โดยทั่วไป ผู้ใดที่มีคดีความและประสงค์จะใช้สิทธิฟ้องร้องจะต้องยื่นฟ้องที่ศาลนี้.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและศาลชั้นต้น (ประเทศไทย)

ศาสนาพุทธในประเทศไทย

ระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 236 สมัยเดียวกันกับประเทศศรีลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ทั้ง 7 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ ตามยุคสมัยต่อไปนี้.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและศาสนาพุทธในประเทศไทย

สมัยจตุมุข

อาณาจักรเขมรซึ่งเป็นอาณาจักรที่สืบต่อมาจากอาณาจักรขอมโบราณนั้น มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองจตุรมุข ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของเมืองพนมเปญ ตั้งแต..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและสมัยจตุมุข

สมาคมผู้คงแก่เรียน

มาคมนักปราชญ์ (learned societies) หรือ สมาคมผู้รู้ หมายถึงสมาคมที่จัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมและยกระดับวิชาความรู้ในสาขาวิชาการต่างๆ โดยสมาชิกภาพอาจเปิดให้บุคคลทั่วไปเป็นได้ หรืออาจจำกัดเฉพาะผู้มีคุณสมบัติตามกำหนด ดังเช่นสมาคมนักปราชญ์ที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศต่างๆ เช่น แอกคาเดอเมีย เดอิ ลินเซอิ (en:Accademia dei Lincei ก่อตั้ง พ.ศ.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและสมาคมผู้คงแก่เรียน

สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2

มเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 หรือ เจ้าสามพระยา เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 7 แห่งอาณาจักรอยุธยา ครองราชย์ระหว่างปี..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2

สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3

มเด็จพระบรมราชาธิราชเจ้า พระนามเดิมว่าพระบรมราชา เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ และเป็นพระเชษฐาต่างพระมารดาของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 แม้พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) จะระบุว่าสมเด็จพระบรมราชาธิราชเป็นพระองค์เดียวกับสมเด็จพระรามาธิบดี ส่วนพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ระบุว่าเป็นสมเด็จพระอินทราชาธิราชที่ 2 แต่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ อธิบายว่าที่ถูกควรเรียกว่าสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3

สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ

มเด็จพระมหาจักรพรรดิราชาธิราชเจ้า (พระนามเดิม พระเทียรราชา) พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 15 แห่งอาณาจักรอยุธยา เป็นพระมหากษัตริย์ที่ได้รับการยกย่องว่ามีบุญญาธิการมากเพราะทรงมีช้างเผือกในครอบครองถึง 7 ช้าง จนได้รับการขนานพระนามว่า พระเจ้าช้างเผือก ในรัชกาลนี้ เป็นช่วงเปลี่ยนผ่านทางการเมืองจากคราวขุนวรวงศาธิราช สภาพบ้านเมืองไม่ได้สงบสุขเท่าที่ควร มีเหตุการณ์ความไม่สงบทั้งภายในและภายนอก โดยเฉพาะสงครามกับกรุงหงสาวดี.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ

สมเด็จพระยอดฟ้า

มเด็จพระยอดฟ้า หรือ สมเด็จพระแก้วฟ้า (ประมาณ พ.ศ. 2079นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 97 – 10 มิถุนายน พ.ศ. 2091นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 98) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 14 แห่งกรุงศรีอยุธยาจากราชวงศ์สุพรรณภูมิ สมเด็จพระยอดฟ้าเป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราชกับแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม), หน้า 63-7 เสวยราชย์ตั้งแต..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและสมเด็จพระยอดฟ้า

สมเด็จพระรัษฎาธิราช

มเด็จพระรัษฎาธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 12 แห่งอาณาจักรอยุธยานามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 89 เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 (สมเด็จพระบรมราชาหน่อพุทธางกูร).

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและสมเด็จพระรัษฎาธิราช

สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2

มเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 10 แห่งอาณาจักรอยุธยา มีพระนามเดิมว่า พระเชษฐา เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เสด็จพระราชสมภพที่เมืองพิษณุโลกเมื่อปีมะโรง..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

มเด็จพระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่าพระนเรศ หรือ "พระองค์ดำ" เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิกษัตรีย์ (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรีสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

สมเด็จพระเอกาทศรถ

มเด็จพระเอกาทศรถ หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 3 เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 19 แห่งอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุโขทั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและสมเด็จพระเอกาทศรถ

สยามมกุฎราชกุมาร

มมกุฎราชกุมาร เป็นพระอิสริยยศมกุฎราชกุมารของประเทศไทย ซึ่งเป็นพระอิสริยยศของผู้ที่จะสืบราชสมบัติต่อจากพระมหากษัตริย์ไทย โดยสยามมกุฎราชกุมารจะดำรงพระยศนี้ไปจนกว่าพระมหากษัตริย์จะสวรรคตหรือสละราชสมบัติ พระอิสริยยศนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นผู้ทรงกำหนดขึ้นเมื่อ..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและสยามมกุฎราชกุมาร

สนมเอกสี่ทิศ

'''ท้าวศรีสุดาจันทร์''' ในภาพยนตร์เรื่อง ''สุริโยทัย'' (2544) รับบทโดยสิริวิมล เจริญปุระ ในพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหาร หัวเมือง กำหนดไว้ว่า "สนมเอก" ทั้งสี่คนของพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ได้แก่ อินทรสุเรนทร, ศรีสุดาจันทร์, อินทรเทวี และศรีจุฬาลักษณ์ ซึ่งสตรีทั้งหมดจะต้องสืบเชื้อสายมาจากเจ้านายที่ปกครองแว่นแคว้นที่รวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอยุธยาแล้ว จึงเรียกว่า สนมเอกสี่ทิศสุจิตต์ วงษ์เท.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและสนมเอกสี่ทิศ

หม่อมเจ้า

หม่อมเจ้า (His/Her Serene Highness) นั้นมีมาตั้งแต่ตอนต้นยุคกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี มีหลักฐานปรากฏชัดเจนเพราะว่ามีศักดินาอยู่ในพระอัยการพลเรือนที่ได้ตราขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ผู้ที่จะดำรงพระยศเป็นหม่อมเจ้าได้มีดังนี้.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและหม่อมเจ้า

อาณาจักรล้านนา

อาณาจักรล้านนา (95px) คือ ราชอาณาจักรของชาวไทยวนในอดีตที่ตั้งอยู่บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ตลอดจนสิบสองปันนา เช่น เมืองเชียงรุ่ง (จิ่งหง) มณฑลยูนนาน ภาคตะวันออกของพม่า ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำสาละวิน ซึ่งมีเมืองเชียงตุงเป็นเมืองเอก ฝั่งตะวันตกแม่นำสาละวิน มีเมืองนายเป็นเมืองเอก และ 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอนสรัสวดี อ๋องสกุล.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและอาณาจักรล้านนา

อาณาจักรสุโขทัย

อาณาจักรสุโขทัย เคยเป็นรัฐในอดีตรัฐหนึ่ง ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม สถาปนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18 ในฐานะสถานีการค้าของรัฐละโว้ หลังจากนั้นราวปี 1800 พ่อขุนบางกลางหาวและพ่อขุนผาเมือง ได้ร่วมกันกระทำการยึดอำนาจจากขอมสบาดโขลญลำพง ซึ่งทำการเป็นผลสำเร็จและได้สถาปนาเอกราชให้รัฐสุโขทัยเป็นอาณาจักรสุโขทัย และมีความเจริญรุ่งเรืองตามลำดับและเพิ่มถึงขีดสุดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ก่อนจะค่อย ๆ ตกต่ำ และประสบปัญหาทั้งจากปัญหาภายนอกและภายใน จนต่อมาถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาไปในที.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและอาณาจักรสุโขทัย

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและอาณาจักรอยุธยา

อำเภอพรหมบุรี

รหมบุรี เป็นอำเภอหนึ่งใน 6 อำเภอของจังหวัดสิงห์บุรี.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและอำเภอพรหมบุรี

อำเภอพิชัย

อำเภอพิชัย เป็นอำเภอหนึ่งในจำนวน 9 อำเภอ ของจังหวัดอุตรดิตถ์ พิชัยเป็นเมืองสำคัญมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย เคยเป็นเมืองลูกหลวงของกรุงสุโขทัย เมืองหน้าด่านในสมัยกรุงศรีอยุธยา และเคยเป็นตัวจังหวัดเก่าอีกด้ว.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและอำเภอพิชัย

อำเภอสวรรคโลก

อำเภอสวรรคโลก เป็น 1 ใน 9 อำเภอของจังหวัดสุโขทั.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและอำเภอสวรรคโลก

อำเภอสามโคก

มโคก เป็นอำเภอที่มีขนาดเล็กที่สุดของจังหวัดปทุมธานี มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่ากลางอำเภอ.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและอำเภอสามโคก

อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา

อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา เป็นอุทยานประวัติศาสตร์ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้รับการพิจารณาเป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา

จักรพรรดิเฉิงฮว่า

มเด็จพระจักรพรรดิเฉิงฮว่า จักรพรรดิเฉิงฮว่า (Chenghua Emperor, 9 ธันวาคม 1447 – 9 กันยายน 1487) พระราชโอรสในจักรพรรดิเจิ้งถง ประสูติเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและจักรพรรดิเฉิงฮว่า

จังหวัดชุมพร

มพร มีชื่อปรากฏมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 1098 โดยมีฐานะเป็นเมืองสิบสองนักษัตรของราชอาณาจักรนครศรีธรรมราช ใช้รูปแพะเป็นตราเมือง และเป็นเมืองหน้าด่านฝ่ายเหนือ เพราะอยู่ตอนบนของภาคใต้ ใน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและจังหวัดชุมพร

จังหวัดพิษณุโลก

ังหวัดพิษณุโลก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีประชากรในปี..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและจังหวัดพิษณุโลก

จังหวัดพิจิตร

ังหวัดพิจิตร เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ทางภาคกลางตอนบนระหว่างจังหวัดนครสวรรค์กับจังหวัดพิษณุโลก มีพื้นที่ประมาณ 4,531 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและจังหวัดพิจิตร

จังหวัดสิงห์บุรี

ังหวัดสิงห์บุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคกลางของประเทศไท.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและจังหวัดสิงห์บุรี

จังหวัดปราจีนบุรี

ปราจีนบุรี เดิมสะกดว่า ปราจิณบุรี เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีการพบซากโบราณสถานในหลายพื้นที่ของจังหวัด นอกจากนี้ยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติหลายแห่ง มีอุทยานแห่งชาติอยู่ในเขตมรดกโลกถึง 3 แห่ง ทั้งยังเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ป่ามากที่สุดในภาคตะวันออกอีกด้วย แต่เดิมจังหวัดปราจีนบุรีมีพื้นที่กว้างใหญ่มาก เนื่องจากในอดีตเคยมีการยุบรวมจังหวัดนครนายกเข้ากับจังหวัดปราจีนบุรีในปี..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและจังหวัดปราจีนบุรี

จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและจังหวัดนครราชสีมา

จุฬาราชมนตรี

ฬาราชมนตรี เป็นผู้นำกิจการศาสนาอิสลามในประเทศไทย และเป็นตำแหน่งฝ่ายมุสลิมให้ข้อปรึกษาด้านศาสนาอิสลามแก่รัฐบาลไทย โดยเฉพาะแก่กระทรวงมหาดไทยและกระทรวงวัฒนธรรม มีประวัติมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา ในทำเนียบศักดินาของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทำเนียบตำแหน่งขุนนาง ซึ่งในชั้นหลังเรียกว่า "กรมท่าขวา" มี "พระจุลาราชมนตรี" เป็นหัวหน้าฝ่ายแขก คู่กับ "หลวงโชฎึกราชเศรษฐี" หัวหน้าฝ่ายจีน.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและจุฬาราชมนตรี

จตุสดมภ์

ตุสดมภ์ (เกิดจากคำบาลี "จตุ" หมายถึง สี่ และสันสกฤต สฺตมฺภ หมายถึง หลัก รวมหมายถึง "หลักสี่") เป็นคำที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพใช้เรียกระบบการปกครองส่วนกลางภายในกรุงศรีอยุธยาสมัยอยุธยาตอนต้น โดยมีระบุว่าเป็นแนวคิดที่รับเอามาจากขอม ในขณะที่การปกครองหลังมีการปฏิรูปขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถอันเป็นรูปแบบการปกครองที่ใช้มาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น มีลักษณะเป็นแบบ "นายกรัฐมนตรี 2 คน" มากกว.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและจตุสดมภ์

คริสต์ทศวรรษ 1430

..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและคริสต์ทศวรรษ 1430

ตำรวจไทย

ตำรวจไทย หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ตำรวจแห่งชาติ (Royal Thai Police) เป็นตำรวจแห่งชาติของประเทศไทย ประกอบด้วย บรรดาเจ้าหน้าที่ของรัฐสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติซึ่งเป็นส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง มีฐานะเป็นกรม และอยู่ในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่ตรวจตรารักษาความสงบ จับกุม และปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย เป็นผู้ที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบอันใหญ่หลวงในการดูแลคุ้มครอง ให้เกิดความสงบสุขแก่พลเมืองของประเท.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและตำรวจไทย

ประวัติกระทรวงการคลังไทย

กระทรวงการคลัง คือหนึ่งใน 12 กระทรวงของประเทศไทย เป็นกระทรวงที่มีมาตั้งแต่โบราณ ในฐานะหนึ่งในจตุสดม.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและประวัติกระทรวงการคลังไทย

ประวัติศาสตร์ไทย

การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยมักเริ่มนับตั้งแต่สมัยอาณาจักรสุโขทัยเป็นต้นมา หากแต่ในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบัน พบหลักฐานของมนุษย์ซึ่งมีอายุเก่าแก่ที่สุดถึงห้าแสนปี ตลอดจนหลักฐานของอารยธรรมและรัฐโบราณเป็นจำนวนมาก ภูมิภาคสุวรรณภูมิเคยถูกชาวมอญ เขมร และมลายูปกครองมาก่อน ต่อมา คนไทยได้สถาปนาอาณาจักรของตนเอง เช่น อาณาจักรสุโขทัย ไล่เลี่ยกันกับอาณาจักรล้านนา อาณาจักรเชียงแสน และอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรสุโขทัยเจริญรุ่งเรืองในช่วงเวลาค่อนข้างสั้นประมาณ 200 ปี ก็ถูกผนวกรวมกับอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรอยุธยาเป็นอาณาจักรที่รุ่งเรืองมั่งคั่ง เป็นศูนย์กลางการค้าระดับนานาชาติ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงปฏิรูปการปกครอง ซึ่งบางส่วนใช้สืบมาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และยังทรงตราพระราชกำหนดศักดินา ทำให้อยุธยาเป็นสังคมศักดินา อยุธยาเริ่มติดต่อกับชาติตะวันตกเมื่อ..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและประวัติศาสตร์ไทย

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและประเทศไทย

ปืนใหญ่

ปืนใหญ่ หมายถึง อาวุธปืนที่มีความกว้างปากลำกล้องตั้งแต่ 20 มิลลิเมตรขึ้นไป โดยมีระยะยิงกลางถึงไกล มีอำนาจทำลายล้างสูง ใช้การยิงหัวกระสุนด้วยแรงดันจากการเผาไหม้ดินส่งกระสุนให้เกิดก๊าซจนเคลื่อนที่ออกไป โดยสามารถทำการยิงได้ทั้งแนววิถีราบหรือวิถีโค้ง โดยภายในหัวกระสุนจะบรรจุวัตถุระเบิดและตัวจุดชนวน เมื่อหัวกระสุนตกกระทบเป้าหมายจะเกิดการระเบิดสร้างความเสียหายอย่างรุนแรง.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและปืนใหญ่

นครรัฐแพร่

นครรัฐแพร่ หรือ นครแพร่ เป็นนครรัฐอิสระขนาดเล็กในอดีตรัฐหนึ่ง ซึ่งตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม เดิมเรียกว่า “เมืองพล” นครพล, หรือพลนคร, “เวียงโกศัย” หรือโกศัยนคร, “เมืองแพล” มีชื่อเต็มว่า โกเสยุยธชุชพลวิชยแพร่แก้วเมืองมุร จนกระทั่ง..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและนครรัฐแพร่

ไทยวน

ทยวน (อ่านว่า ไท-ยวน) หรือ ไตยวน (อ่านว่า ไต-ยวน) เป็นกลุ่มประชากรที่พูดภาษาตระกูลภาษาไท-กะไดกลุ่มหนึ่งที่ตั้งถิ่นฐานทางตอนเหนือของประเทศไทยที่เคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา "ไทยวน" เป็นกลุ่มประชากรที่ใหญ่ที่สุดในอาณาจักรล้านนา ซึ่งมีคำเรียกตนเองหลายอย่าง เช่น "ยวน โยน หรือ ไต(ไท)" และถึงแม้ในปัจจุบัน ชาวล้านนาจะกลายเป็นพลเมืองของประเทศไทยแล้วก็ตาม แต่ก็มักเรียกตนเองว่า "คนเมือง" ซึ่งเป็นคำเรียกที่เกิดขึ้นในภายหลัง ในยุคเก็บผักใส่ซ้าเก็บข้าใส่เมือง เพื่อฟื้นฟูประชากรในล้านนาหลังสงคราม โดยการกวาดต้อนกลุ่มคนจากที่ต่างๆเข้ามายังเมืองของตน คนไทยภาคกลางในสมัยโบราณเคยเรียก ชาวไทยในถิ่นเหนือว่า "ยวน" โดยปรากฎหลักฐานในวรรณคดีเช่น ลิลิตยวนพ่าย ซึ่งกวีของอยุธยารจนาขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ นักวิชาการต่างประเทศสันนิษฐานว่า คำว่า ยวน อาจจะมาจากคำสันสกฤตว่า "yavana" แปลว่า คนแปลกถิ่น หรือคนต่างถิ่น เจ้าอาณานิคมอังกฤษในสมัยที่เข้าปกครองประเทศพม่า มองว่าคนยวนเป็นพวกเดียวกับชาวฉาน โดยเรียกพวกนี้ว่า "คนฉานสยาม" (Siamese Shan) เพื่อแยกแยะออกจากจากชาวรัฐฉานในประเทศพม่าที่อังกฤษเรียกว่า "ฉานพม่า" (Burmese Shan) แสดงให้เห็นถึงความใกล้ชิดทางวัฒนธรรมประเพณีของคนไทใหญ่หลายๆกลุ่ม ในปี..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและไทยวน

ไทยเชื้อสายจาม

วไทยเชื้อสายจาม เป็นชื่อเรียกกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่งในตระกูลมาลาโย-โพลินีเชียนหรือชนชาติมลายู อาณาจักรจามอยู่ระหว่าง ญวนกับเขมร ส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาอิสลามเรียกกันว่าแขกจาม มีภาษาพูดที่สื่อสารกันคือ ภาษามลายู เป็นกลุ่มภาษาออสโตรนีเชียน เข้ามาในประเทศไทยด้วยสาเหตุต่าง ๆ ในช่วงหลังจากเสียกรุงวิชัย เมืองหลวงของจามปาให้แก่เวียดนาม คือ.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและไทยเชื้อสายจาม

เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน

ฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน (Ferdinand Magellan), ฟือร์เนา ดือ มากัลไยช์ (Fernão de Magalhães) หรือ เฟร์นันโด เด มากายาเนส (Fernando de Magallanes) เป็นนักเดินเรือชาวโปรตุเกส มีชีวิตอยู่ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 แห่งกรุงศรีอยุธยา เขาเกิดที่เมืองซาบรอซา ทางภาคเหนือของประเทศโปรตุเกส หลังจากรับราชการทหารที่อินเดียตะวันออกและโมร็อกโก มาเจลลันได้เสนอตัวทำงานให้กับพระเจ้าชาลส์ที่ 5 แห่งสเปนเพื่อค้นหาเส้นทางเดินเรือทางทิศตะวันตกสู่ "หมู่เกาะเครื่องเทศ" (หมู่เกาะโมลุกกะในประเทศอินโดนีเซียในปัจจุบัน) เขาจึงได้รับสัญชาติสเปนด้วย มาเจลลันได้เดินเรือออกจากเมืองเซบียาในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและเฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน

เหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอยุธยา

ลำดับเหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอ.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและเหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอยุธยา

เจ้าพระยามหาเสนา

้าพระยามหาเสนา ในบางรัชกาลเรียกว่า เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา เป็นราชทินนามบรรดาศักดิ์ไทยที่เริ่มใช้ตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ สำหรับขุนนางที่ดำรงตำแหน่งสมุหพระกลาโหม เจ้าพระยามหาเสนาที่สำคัญ เช่น.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและเจ้าพระยามหาเสนา

เจ้าพระยาจักรี

้าพระยาจักรี เป็นราชทินนามบรรดาศักดิ์ไทยที่เริ่มใช้ตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ สำหรับขุนนางที่ดำรงตำแหน่งสมุหนายกสมัยอยุธยาและธนบุรี เจ้าพระยาจักรีที่สำคัญ เช่น.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและเจ้าพระยาจักรี

เทศบาลเมืองพิจิตร

ตร เป็นเทศบาลเมืองแห่งหนึ่งในจังหวัดพิจิตร ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองพิจิตร มีพื้นที่ครอบคลุมตำบลในเมืองทั้งตำบล มีพื้นที่ 12.017 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและเทศบาลเมืองพิจิตร

เปดรู อัลวารึช กาบรัล

ปดรู อัลวารึช กาบรัล เปดรู อัลวารึช กาบรัล (Pedro Álvares Cabral) เกิดเมื่อประมาณ พ.ศ. 2010-ประมาณ พ.ศ. 2063) ตรงกับรัชสมัยระหว่างสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 หรือพระเชษฐาธิราชแห่งกรุงศรีอยุธยา กราบรัลเป็นนักเดินเรือและนักสำรวจชาวโปรตุเกส ได้รับการยกย่องเป็นชาวยุโรปผู้ค้นพบบราซิล เมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและเปดรู อัลวารึช กาบรัล

หรือที่รู้จักกันในชื่อ พระบรมไตรโลกนาถพระบาทสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

พระมหาธรรมราชาที่ 4พระยายุทธิษเฐียรพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษกพระราชวังจันทน์พระราชวังโบราณ อยุธยาพระราเมศวรพระศรีศิลป์ (พระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราช)พระสุพรรณกัลยาพระอินทราชาพระที่นั่งสรรเพชญปราสาทพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหาร หัวเมืองพระเชษฐาพระเจ้าติโลกราชกรมพระราชวังบวรสถานมงคลกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)กองทัพบกไทยกาพย์การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทยการสักยันต์การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์การอุปถัมภ์การขับเสภาการนวดแผนไทยการเมืองไทยการเฉลิมพระยศเจ้านายมหาชาติคำหลวงมหาวิทยาลัยโบราณของสกอตแลนด์มหาดเล็กมาเลเซียเชื้อสายไทยยกกระบัตรระบบเจ้าขุนมูลนายรัฐร่วมประมุขราชการส่วนกลาง (ประเทศไทย)ราชวงศ์พระร่วงราชวงศ์สุพรรณภูมิราชาศัพท์ (ภาษาไทย)ราฟาเอลรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยรายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทยลิลิตพระลอลิลิตยวนพ่ายวัชกู ดา กามาวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหารวัดพระศรีสรรเพชญ์วัดพระแท่นศิลาอาสน์วิหารพระมงคลบพิตรศรีปราชญ์ศาลชั้นต้น (ประเทศไทย)ศาสนาพุทธในประเทศไทยสมัยจตุมุขสมาคมผู้คงแก่เรียนสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3สมเด็จพระมหาจักรพรรดิสมเด็จพระยอดฟ้าสมเด็จพระรัษฎาธิราชสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2สมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระเอกาทศรถสยามมกุฎราชกุมารสนมเอกสี่ทิศหม่อมเจ้าอาณาจักรล้านนาอาณาจักรสุโขทัยอาณาจักรอยุธยาอำเภอพรหมบุรีอำเภอพิชัยอำเภอสวรรคโลกอำเภอสามโคกอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาจักรพรรดิเฉิงฮว่าจังหวัดชุมพรจังหวัดพิษณุโลกจังหวัดพิจิตรจังหวัดสิงห์บุรีจังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดนครราชสีมาจุฬาราชมนตรีจตุสดมภ์คริสต์ทศวรรษ 1430ตำรวจไทยประวัติกระทรวงการคลังไทยประวัติศาสตร์ไทยประเทศไทยปืนใหญ่นครรัฐแพร่ไทยวนไทยเชื้อสายจามเฟอร์ดินานด์ มาเจลลันเหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอยุธยาเจ้าพระยามหาเสนาเจ้าพระยาจักรีเทศบาลเมืองพิจิตรเปดรู อัลวารึช กาบรัล