สารบัญ
7 ความสัมพันธ์: พระบรมราชาที่ 2 (พญาจันทน์)พระบรมราชาที่ 6พระบรมราชาที่ 7รายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชาสมัยละแวกสมเด็จพระบรมราชาที่ 4 (นักพระสัตถา)สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช
พระบรมราชาที่ 2 (พญาจันทน์)
ระบรมราชาที่ 2 (พญาจันทน์) หรือสมเด็จพระบรมราชาธิราช หรือพระยาจันทราชา ทรงเป็นพระราชโอรสของพระธรรมราชาธิราชรามาธิบดี หลังจากที่เจ้ากองก่อกบฏในรัชกาลพระศรีสุคนธบท พระเชษฐาของพระองค์ พระองค์ได้เสด็จหนีไปกรุงศรีอยุธยา ต่อมาได้ออกมาครองราชสมบัติที่เมืองโพธิสัตว์ภายใต้การสนับสนุนของสยาม และได้รวบรวมกำลังทหารมาปราบเจ้ากองได้สำเร็จและได้ขึ้นครองราชย์ ทรงพระนามพระบรมราชาที่ 2 ต่อมาพระองค์ได้ย้ายราชธานีไปอยู่ที่กรุงละแวกเมื่อ..
ดู สมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระยาละแวก)และพระบรมราชาที่ 2 (พญาจันทน์)
พระบรมราชาที่ 6
ระบรมราชาที่ 6 หรือ เจ้าพญาอน หรือเจ้าพญานง ทรงเป็นพระราชโอรสพระองค์สุดท้ายของสมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระยาละแวก) หลังจากพระราชนัดดาของพระองค์คือพระบรมราชาที่ 5 สิ้นพระชนม์ใน..
ดู สมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระยาละแวก)และพระบรมราชาที่ 6
พระบรมราชาที่ 7
ระบรมราชาที่ 7 หรือสมเด็จพระศรีสุริโยพรรณ ในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาเรียกว่าพระศรีสุพรรณมาธิราช เป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระยาละแวก) และเป็นพระอนุชาของสมเด็จพระบรมราชาที่ 4 (นักพระสัตถา) จารึกที่พระเจดีย์ไตรตรึงษ์ระบุว่าทรงประสูติเมื่อ..
ดู สมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระยาละแวก)และพระบรมราชาที่ 7
รายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา
250px หน้านี้เป็นรายพระนามพระมหากษัตริย์ในพระราชอาณาจักรกัมพูชา ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน.
ดู สมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระยาละแวก)และรายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา
สมัยละแวก
อาณาจักรเขมร มีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่ เมืองละแวก ตั้งแต..
ดู สมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระยาละแวก)และสมัยละแวก
สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 (นักพระสัตถา)
มเด็จพระบรมราชาที่ 4 หรือสมเด็จพระมหินทราชา พระนามเดิมว่านักพระสัตถาหรือนักพระสัฏฐา เป็นพระมหากษัตริย์แห่งกัมพูชาในสมัยที่กรุงละแวกเป็นราชธานี ประสูติราว..
ดู สมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระยาละแวก)และสมเด็จพระบรมราชาที่ 4 (นักพระสัตถา)
สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช
มเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชเจ้า หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 1 พระมหากษัตริย์ไทยผู้สถาปนาราชวงศ์สุโขทัยสมัยอาณาจักรอ.
ดู สมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระยาละแวก)และสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช