เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี

ดัชนี สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี

มเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี (21 ธันวาคม พ.ศ. 2377 — 10 ตุลาคม พ.ศ. 2395) พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลักขณานุคุณ กับหม่อมงิ้ว และเป็นพระราชนัดดาเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลที่ 3 ที่ดำรงพระอิสริยยศเป็น พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า พระองค์ได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศขึ้นเป็นพระอัครมเหสี เมื่อวันที่ 2 มกราคม..

สารบัญ

  1. 20 ความสัมพันธ์: พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระมหาพิชัยราชรถพระยศเจ้านายไทยพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระโกศทองใหญ่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลักขณานุคุณพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิลาส กรมหมื่นอัปสรสุดาเทพพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุดรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทยรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์วัดโสมนัสราชวรวิหารสมเด็จพระวันรัตน์ (ทับ พุทฺธสิริ)สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าโสมนัสหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทหอพระธาตุมณเฑียรท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาวาด ในรัชกาลที่ 4)ท้าวสมศักดิ์ (เจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 4)เจ้าจอมมารดางิ้ว

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดีและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระมหาพิชัยราชรถ

ระมหาพิชัยราชรถ เป็นราชรถที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อปี..

ดู สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดีและพระมหาพิชัยราชรถ

พระยศเจ้านายไทย

ในประเทศไทย พระยศเจ้านาย คือพระอิสริยยศของพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวง.

ดู สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดีและพระยศเจ้านายไทย

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

นี่คือพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระราชโอรสและพระร.

ดู สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดีและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระโกศทองใหญ่

ระโกศทองใหญ่ รัชกาลที่ 5 ในงานพระบรมศพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระโกศทองใหญ่ ทรงพระศพสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ขณะประดิษฐานบนพระมหาพิชัยราชรถในพระราชพิธีเชิญพระโกศทรงพระศพออกพระเมรุ พระโกศทองใหญ่ หรือ พระลองทองใหญ่ เป็นพระโกศสำหรับทรงพระบรมศพของพระมหากษัตริย์และพระศพของพระบรมวงศ์ชั้นสูง สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช นับเป็นพระโกศที่มีลำดับยศสูงที่สุด โดยได้ใช้ทรงพระศพของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงศรีสุนทรเทพเป็นพระองค์แรก (แต่ในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์รัชกาลที่ 1 ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ ฉบับตัวเขียน ระบุว่าพระศพสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงศรีสุนทรเทพนั้น ใช้พระโกศไม้สิบสอง และเมื่อเสร็จการพระศพจึงลอกทองที่หุ้มพระโกศไม้สิบสองมาหุ้มทำพระโกศทองใหญ่และทรงพระบรมศพของรัชกาลที่ 1 เป็นพระองค์แรก) พระโกศทองใหญ่ใช้ทรงพระศพของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีเป็นพระองค์ล่าสุด นอกจากนี้ พระโกศทองใหญ่ยังใช้เป็นเครื่องประกอบพระอิสริยยศพระศพสำหรับพระบรมวงศานุวงศ์ที่บรรจุพระบรมศพและพระศพลงในหีบพระศพแทนการลงพระโกศ เช่น พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ดู สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดีและพระโกศทองใหญ่

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลักขณานุคุณ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลักขณานุคุณ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 8 ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติเมื่อวันพุธ เดือนยี่ แรม 4 ค่ำ ปีวอกจัตวาศก จุลศักราช 1174 ตรงกับวันที่ 20 มกราคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลักขณานุคุณ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิลาส กรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิลาส กรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ ลางแห่งสะกดว่า พระองค์เจ้าวิลาศ กรมหมื่นอับศรสุดาเทพ, อับษรสุดาเทพ, อัปษรสุดาเทพ (5 ธันวาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิลาส กรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ

พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุด

ระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุด หรือ พระองค์สุดศาลา (พ.ศ. 2360 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2413) พระราชธิดาพระองค์ที่ 40 ในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาม่วง.

ดู สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดีและพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุด

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4

นี่คือรายพระนามรายนามพระมเหสี เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดีและรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4

รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไท.

ดู สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดีและรายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

มื่อถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสถาปนาพระอิสริยยศเจ้านายในพระราชวงศ์ ก็ทรงตั้งเป็นต่างกรมตามชั้นยศซึ่งบัญญัติมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา แต่มีผิดกันบ้างเล็กน้อย มีการสถาปนาเจ้านายในพระราชวงศ์เรื่อยมาในทุกรัชกาล โดยครั้งล่าสุดในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดีและรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

วัดโสมนัสราชวรวิหาร

วัดโสมนัสวิหารราชวรวิหาร หรือ วัดโสมนัสวิหาร สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ใช้ศิลปะสถาปัตยกรรมแบบไทยในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ภายในอุโบสถและพระวิหารมีภาพจิตกรรฝาผนังอันงดงาม มีคลองผดุงกรุงเกษมที่รัชการที่ 4 โปรดให้ขุดขึ้นแล้วเสร็จในปี 2395 ผ่านทางด้านหน้าของพระอุโบสถ ภายในวัดมีเจดีย์ 2 องค์ เจดีย์องค์ใหญ่ซึ่งภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ (เจดีย์ทอง รูปทรงแบบลังกาสีทองเหลืองอร่าม ยอดแหลมสูงเด่นเป็นสง่า สามารถมองเห็นได้ไกลซึ่งเป็นจุดที่นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติแวะเวียนเข้ามาชมความงามและกราบนมัสการกันอยู่มิได้ขาด) และยังมีเจดีย์องค์เล็ก (เจดีย์มอญ) อีกองค์ที่มีลักษณะสวยงามเช่นเดียวกับปรินิพพานสถูปในอินเดีย และหาชมได้ยากเพราะเจดีย์ลักษณะนี้มีเพียง 2 องค์ในประเทศไทย คือ ที่วัดโสมนัสวิหารราชวรวิหาร และที่วัดกันมาตุยาราม อีกองค์หนึ่ง ปัจจุบันมีการสร้างและปรับปรุงอาคารต่างๆ ภายในวัด อาทิเช่น ตึก 150 ปี โรงเรียนพระปริยัติธรรม (ตึกสาลักษณาลัย) ซึ่งเป็นตึกเก่าสร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมหาเสวกโท พระยาศรีภูริปรีชา (กมล สาลักษณ) เพื่อเป็นที่ระลึกแก่คุณหญิง (พึ่ง) ศรีภูริปรีชา ศาลาสำนักงานภาค ศาลาสถิต ศาลามุขหน้าวัด ตึก 80 ปีสมเด็จพระวันรัต เป็นต้น นอกจากนั้นยังมี โรงเรียนวัดโสมนัส กองการฌาปนกิจกรมทหารบก สุสานทหาร อยู่ภายในบริเวณวั.

ดู สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดีและวัดโสมนัสราชวรวิหาร

สมเด็จพระวันรัตน์ (ทับ พุทฺธสิริ)

มเด็จพระวันรัตน์เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๑, หน้า 123 นามเดิม ทับ ฉายา พุทฺธสิริ (6 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดีและสมเด็จพระวันรัตน์ (ทับ พุทฺธสิริ)

สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี

มเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี หรือที่ชาวบ้านเรียกพระนามว่า สมเด็จพระนางเรือล่ม (10 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดีและสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าโสมนัส

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าโสมนัส (21 สิงหาคม พ.ศ. 2395) พระราชโอรสพระองค์ที่ 5 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี.

ดู สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าโสมนัส

หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เป็นหมู่พระที่นั่งที่อยู่ระหว่างพระมหามณเฑียรและหมู่พระมหาปราสาทภายในพระบรมมหาราชวัง ทอดตัวจากทิศเหนือไปทิศใต้ ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นกลางและเขตพระราชฐานชั้นใน สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อใช้เป็นสถานที่ออกว่าราชการและเป็นที่ประทับส่วนพระองค์ เดิมประกอบด้วยหมู่พระที่นั่ง 11 องค์ แต่เนื่องจากพระที่นั่งบางองค์ทรุดโทรมจนยากต่อการบูรณะจึงได้ทำการรื้อลง ปัจจุบัน หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ประกอบด้วย พระที่นั่ง 5 องค์ ได้แก่ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เป็นพระที่นั่งองค์เดียวในหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทที่สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5 พระที่นั่งมูลสถานบรมอาสน์ พระที่นั่งสมมติเทวราชอุปบัติ พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร และพระที่นั่งเทวารัณยสถาน เป็นพระที่นั่งที่รื้อลงและสร้างขึ้นใหม่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุล.

ดู สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดีและหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

หอพระธาตุมณเฑียร

ในหอพระธาตุมณเฑียร ภายนอกหอพระธาตุมณเฑียร หอพระธาตุมณเฑียร เป็นหนึ่งในสิ่งก่อสร้างภายในพระมหามณเฑียร พระบรมมหาราชวัง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของพระที่นั่งไพศาลทักษิณ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดให้สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ประดิษฐานพระบรมอัฐิสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกเป็นปฐม ภายหลังจึงเป็นที่ประดิษฐานพระบรมอัฐิพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 1-3 และพระบรมวงศ์ชั้นสูงหลายพระอง.

ดู สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดีและหอพระธาตุมณเฑียร

ท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาวาด ในรัชกาลที่ 4)

ท้าววรจันทร บรมธรรมิกภักดี นารีวรคณานุรักษา (เจ้าจอมมารดาวาด) (11 มกราคม พ.ศ. 2384 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482) เป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระเจ้าลูกยาเธอ 1 พระองค์ คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา เจ้าจอมมารดาวาด มีนามเดิมว่า "แมว" เป็นบุตรของสมบุญ งามสมบัติ (มหาดเล็กในรัชกาลที่ 3) กับถ้วย งามสมบัติ (ท้าวปฏิบัติบิณฑทาน)กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร.

ดู สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดีและท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาวาด ในรัชกาลที่ 4)

ท้าวสมศักดิ์ (เจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 4)

ท้าวสมศักดิ์ นามเดิม เหม (พ.ศ. 2382 — 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2465) เป็นพระสนมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติการพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวคือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ ต้นราชสกุลโศภางค์ ณ อ.

ดู สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดีและท้าวสมศักดิ์ (เจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 4)

เจ้าจอมมารดางิ้ว

้าจอมมารดางิ้ว เป็นหม่อมห้ามสามัญในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลักขณานุคุณ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นหม่อมมารดาในสมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี พระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดีและเจ้าจอมมารดางิ้ว

หรือที่รู้จักกันในชื่อ สมเด็จพระนางโสมนัสสมเด็จพระนางเจ้า โสมนัสวัฒนาวดี