โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา

ดัชนี สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา

ันโทหญิง สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา (พระนามเดิม: ประไพ สุจริตกุล; ประสูติ: 10 มิถุนายน พ.ศ. 2445 — สิ้นพระชนม์: 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518) พระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาของเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล) กับท่านผู้หญิงสุธรรมมนตรี (กิมไล้ สุจริตกุล) เข้ารับราชการฝ่ายในในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงได้รับการสถาปนาพระราชอิสริยยศสูงสุดที่ "สมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินี" ภายหลังพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการให้ออกพระนามว่า สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาแทน พระองค์สิ้นพระชนม์ ณ โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน..

40 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2445พ.ศ. 2518พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระยศเจ้านายไทยพระราชวังพญาไทพระราชวังสนามจันทร์พระราชนิเวศน์มฤคทายวันพระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล)พระที่นั่งวิมานเมฆพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีกิมไล้ สุธรรมมนตรีราชวงศ์จักรีรายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทยรายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทยรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ร.ว.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ว.ภ.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน น.ร.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้ารายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรีรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์วังริมคลองภาษีเจริญศาลเจ้าเล่งจูเกียงสมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวงสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีสุชาดา ถิระวัฒน์หลวงอาสาสำแดง (แตง)หอพระนากอรอำไพ โกมารกุล ณ นครอินทร์ (แก้ความกำกวม)จิตติ สุจริตกุลทางรถไฟสายหาดเจ้าสำราญท้าวสุจริตธำรง (นาค)ขวัญแก้ว วัชโรทัยแก้วขวัญ วัชโรทัยโกศเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล)10 มิถุนายน30 พฤศจิกายน

พ.ศ. 2445

ทธศักราช 2445 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1902 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและพ.ศ. 2445 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและพ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระยศเจ้านายไทย

ในประเทศไทย พระยศเจ้านาย คือพระอิสริยยศของพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและพระยศเจ้านายไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังพญาไท

ระราชวังพญาไท หรือ วังพญาไท ตั้งอยู่ที่ริมคลองสามเสน ถนนราชวิถี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น พระราชทานนามให้ว่า "พระตำหนักพญาไท" หรือ "วังพญาไท" ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็นพระราชวังพญาไทในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและพระราชวังพญาไท · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังสนามจันทร์

ระราชวังสนามจันทร์ ตั้งอยู่ในตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ห่างจากพระปฐมเจดีย์ประมาณ 2 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 888 ไร่ 3 งาน 24 ตารางวา สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากพระองค์สวรรคต พระราชวังสนามจันทร์ใช้เป็นที่ทำการของส่วนราชการต่าง ๆ ของจังหวัดนครปฐม รวมทั้งเป็นวิทยาเขตหนึ่งของมหาวิทยาลัยศิลปากร ปัจจุบัน พระราชวังสนามจันทร์อยู่ภายใต้การดูแลของสำนักพระราชวัง ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและพระราชวังสนามจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน

ระราชนิเวศน์มฤคทายวัน เป็นที่ประทับแปรพระราชฐานในฤดูร้อนของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน · ดูเพิ่มเติม »

พระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล)

ระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล) (เกิด: 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2438 — ถึงแก่อนิจกรรม: 9 มีนาคม พ.ศ. 2524) พระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาในเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล) กับท่านผู้หญิงกิมไล้ สุธรรมมนตรี และเป็นพี่สาวของสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรร.

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและพระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล) · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งวิมานเมฆ

ระที่นั่งวิมานเมฆ เป็นพระที่นั่งในพระราชวังดุสิต กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและพระที่นั่งวิมานเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี

ระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี (15 เมษายน พ.ศ. 2448 — 10 ตุลาคม พ.ศ. 2528) เป็นพระวรราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่า เครือแก้ว อภัยวงศ์ บุตรีของพระยาอภัยภูเบศร (เลื่อม อภัยวงศ์) กับคุณเล็ก บุนนาค ต่อมาได้รับพระราชทานนามจากสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า สุวัทนา ได้เข้ารับราชการฝ่ายใน ในตำแหน่งเจ้าจอมสุวัทนา และได้รับการสถาปนาเป็น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ตามลำดับ พระองค์ได้ให้ประสูติการแก่พระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลคือ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี แต่หลังจากประสูติพระเจ้าลูกเธอได้เพียงหนึ่งวัน พระราชสวามีได้สวรรคตลง พระองค์และพระธิดาจึงได้เสด็จไปประทับยังสหราชอาณาจักรกว่า 20 ปี ภายหลังจึงได้เสด็จนิวัตประเทศไทยโดยพำนักในวังรื่นฤดี เป็นการถาวรตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

กิมไล้ สุธรรมมนตรี

ท่านผู้หญิงสุธรรมมนตรี (กิมไล้ สุจริตกุล) เป็นภริยาเอกของเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล) มีบุตรธิดาด้วยกันหลายท่าน อาทิ สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา พระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล).

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและกิมไล้ สุธรรมมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทย

ระราชวังและวัง คือ ที่ประทับของพระมหากษัตริย์ พระมหาอุปราช พระบรมวงศานุวงศ์ตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไป ส่วนที่อยู่ของหม่อมราชวงศ์และหม่อมหลวงนั้นไม่เรียกว่า "วัง" โดยวังใดจะเรียกว่าพระราชวังได้นั้นจะต้องมีพระบรมราชโองการสถาปนาขึ้นเป็น "พระราชวัง" เท่านั้น โดยในประเทศไทยมีพระราชวังและวัง ดังนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและรายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและรายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.

รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (The Most Illustrious Order of the Royal House of Chakri) มีอักษรย่อว่า ม..ก. มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์และทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานและเรียกคืนเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์มีจำนวน 25 สำรับ สำหรับพระมหากษัตริย์ 1 สำรับ สมเด็จพระบรมราชินี 1 สำรับ และพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ที่สืบเนื่องโดยตรงในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกหรือผู้ซึ่งพระบรมวงศานุวงศ์ดังกล่าวได้เสกสมรสด้วยอีก 23 สำหรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่ประมุขของต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมใน 25 สำรับอีกด้วย โดยมีพระนามผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เช่น.

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ร.ว.

รื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ (The Ratana Varabhorn order of Merit) เรียกอย่างย่อว่า ตรารัตนาวราภรณ์ และมีอักษรย่อว่า ร.ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเหน็จในพระองค์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2454 เพื่อเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับเชิดชูเกียรติคุณแก่ข้าราชการผู้ที่ตั้งใจรับราชการสนองพระเดชพระคุณด้วยความจงรักภักดีและมีความซื่อสัตย์สุจริตตลอดมา โดยเมื่อแรกสถาปนานั้นจะพระราชทานสำหรับฝ่ายหน้าเท่านั้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2465 พระองค์จึงสถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรย์รัตนวราภรณ์สำหรับพระราชทานฝ่ายในด้วยราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๒๘, ตอน ๐ก, ๒๐ สิงหาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ร.ว. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ว.ภ.

รื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์ หรือ ตราวัลลภาภรณ์ เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเหน็จในพระองค์ ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2461 พระราชทานให้แก่ผู้มีหน้าที่อยู่ประจำใกล้ชิดพรองค์ในพระราชสำนัก โดยตั้งใจรับราชการด้วยความจงรักภักดี ซื่อสัตย์สุจริต เป็นที่พอพระราชหฤทัย โดยพระราชทานให้ทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์จัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติเป็นลำดับที่ 20 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย ปัจจุบัน พ้นสมัยพระราชทานแล้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ว.ภ. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน น.ร.

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ (ฝ่ายหน้า) เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ มีอักษรย่อว่า น.ร. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีความเป็นมาสืบแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลนี้ มีเฉพาะชั้นสายสะพายชั้นเดียว ทั้งนี้ ผู้รับพระราชทานต้องเป็นพุทธมามกะเท่านั้น และจะประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ในงานมงคล หรืองานที่มีหมายกำหนดการระบุไว้เท่านั้น เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ จัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติเป็นลำดับที่ 3 รองจากเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์และเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ และเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดที่สามัญชนจะได้รับพระราชทาน โดยมีรายพระนามและรายนาม เช่น.

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน น.ร. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานของเครื่องอิสริยาภรณ์ รวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานแก่ผู้ที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า แบ่งออกสำหรับพระราชทานฝ่ายหน้าจำนวน 30 สำรับ และฝ่ายในจำนวน 20 สำรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่เจ้านายหรือผู้มีเกียรติจากต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมกับจำนวนดังกล่าว รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า (ไม่รวมพระนามของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าในชั้นที่สูงขึ้น ได้แก่ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ) ตั้งแต่สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เช่น.

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี

้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี เป็นการรวบรวมรายพระนามเจ้านายในราชวงศ์จักรีตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้า ซึ่งมีพระชันษายืนนับตั้งแต่ 90 ปีขึ้นไปอันเคยมีเป็นสูงสุดลงจน 60 ปีบริบูรณ์ ซึ่งเป็นต้นเขตของ "อายุยืน" เรียงเป็นลำดับกันตามพระชันษา โดยได้อ้างอิงเนื้อหาตามหนังสือชื่อ"เจ้านายพระชันษายืนในพระราชวงศ์จักรี" พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและรายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

มื่อถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสถาปนาพระอิสริยยศเจ้านายในพระราชวงศ์ ก็ทรงตั้งเป็นต่างกรมตามชั้นยศซึ่งบัญญัติมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา แต่มีผิดกันบ้างเล็กน้อย มีการสถาปนาเจ้านายในพระราชวงศ์เรื่อยมาในทุกรัชกาล โดยครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2548 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ได้โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเจ้านายในพระราชวงศ์จักรี จำนวน 3 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

วังริมคลองภาษีเจริญ

วังริมคลองภาษีเจริญ เป็นวังที่ประทับของสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาทรงย้ายมาประทับ ณ วังริมคลองภาษีเจริญ ภายหลังจากที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต เมื่อสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาเสด็จมาประทับเป็นการถาวรแล้ว พระบิดาจึงกั้นบริเวณที่ดินว่างเปล่าด้านหลังของบ้านซึ่งเป็นที่กว้างขวาง ให้เป็นที่ประทับกับให้สร้างพระตำหนักสไตล์ยุโรปงดงาม เป็นพระตำหนักที่ประทับ โดยมีทางเชื่อมต่อกับตึกใหญ่ของท่านเจ้าพระยาสุธรรมมนตรีและท่านผู้หญิงสุธรรมมนตรีอีกด้วย สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาได้ประทับอยู่ ณ วังริมคลองภาษีเจริญนี้มาโดยตลอดท่ามกลางพระประยูรญาติอย่างอบอุ่นต่อมาอีกกว่า 40 ปี ริมคลองภาษีเจริญ.

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและวังริมคลองภาษีเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลเจ้าเล่งจูเกียง

ลเจ้าเล่งจูเกียง หรือเป็นที่รู้จักในนาม ศาลเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว เป็นศาลเจ้าตามคติจีนหนึ่งในสามแห่งของจังหวัดปัตตานี ตั้งอยู่บริเวณเชิงสะพานเดชานุชิตในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ถือเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดปัตตานีและใกล้เคียง ภายในประดิษฐานเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว (ภาษามลายูปัตตานีว่า โต๊ะแปะกงแมะ หรือโตะกงแมะ) โดยมีตำนานที่ยึดโยงกับสถานที่และโบราณสถานอื่น ๆ ในจังหวั.

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและศาลเจ้าเล่งจูเกียง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวง

สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร สมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวง (queen mother สำหรับพระราชินี และ empress mother สำหรับพระจักรพรรดินี) คือ พระมเหสีม่ายของพระมหากษัตริย์รัชกาลก่อน และเป็นพระราชมารดาของพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบัน คำนี้เกิดขึ้นในภาษาอังกฤษเมื่อราว..

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและสมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ันเอกหญิง สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี

ันเอกหญิง สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี (20 ธันวาคม พ.ศ. 2447 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2527) เป็นพระอัครมเหสีเพียงพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมเหสีพระองค์แรกตามแบบยุโรปและระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย หลังจากพระราชสวามีสละราชสมบัติเมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี · ดูเพิ่มเติม »

สุชาดา ถิระวัฒน์

ณหญิงสุชาดา ถิระวัฒน์ (20 มิถุนายน พ.ศ. 2467 —) อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ท่านที่ ๕ อดีตผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตอาจารย์ใหญ่และผู้อำนวยการโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการท่านแรก และผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้.

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและสุชาดา ถิระวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงอาสาสำแดง (แตง)

ตรานาคพันแตง ประจำราชินิกูลสุจริตกุล หลวงอาสาสำแดง (แตง) (พ.ศ. 2320 - พ.ศ. 2395) เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและหลวงอาสาสำแดง (แตง) · ดูเพิ่มเติม »

หอพระนาก

หอพระนาก หอพระนาก ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ของพระอุโบสถ ใกล้กับพระวิหารยอดตรงกันข้ามกับ หอพระมณเฑียรธรรม พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างขึ้นในระยะที่ 2 ของการสร้างวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อขยายเขตพระระเบียงออกไปทางด้านทิศเหนือ เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปหล่อและแผลงด้วยนาก ซึ่งอัญเชิญมาจากพระนครศรีอยุธยา และถือพระนากเป็นพระประธานในการ “เปตพลี” (การอุทิศกุศลแก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว) ลักษณะของหอพระนากในรัชกาลนี้ ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีรูปร่างอย่างไร ในสมัยรัชกาลที่ 3 หอพระนากคงจะชำรุดทรุดโทรมจึงโปรดเกล้า ฯ ให้ซ่อมแปลงหอพระนาก แล้วประดิษฐานพระพุทธรูปต่าง ๆ หลายสิบองค์ มีทั้งหุ้มทองบ้าง หุ้มเงินบ้าง หุ้มนากบ้าง รวมทั้งรูปพระเชษฐบิดร คือรูปสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ซึ่งสร้างกรุงศรีอยุธยา ที่แปลงเป็นพระพุทธรูปแล้วนั้นก็ประดิษฐานอยู่ด้วย ส่วนพระอัฐิเจ้านายนั้นเก็บอยู่ในตู้ผนังด้านหลังพระวิหาร ในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ 100 ปี โปรดเกล้า ฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ เมื่อครั้งดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นเทวะวงศ์วโรปการปฏิสังขรณ์หอพระนาก ซ่อมแซมช่อฟ้า ใบระกา และหลังคา รวมทั้งลงรักปิดทองซุ้มประตูหน้าต่างภายนอกทั้งหมด ตลอดจนเขียนผนังเพดาน ทำตู้ ปูพื้น และทำพระโกศทรงพระอัฐิในหอพระนากทั้งหมด ส่วนพระพุทธรูปทั้งหมดที่ประดิษฐานอยู่ในหอพระนาก โปรดเกล้า ฯ ให้อัญเชิญไปประดิษฐานไว้บนพระวิหารยอด อย่างไรก็ตามด้วยความเคยชินที่เคยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปแผลงด้วยนากเช่นนี้ จึงยังคงเรียกว่า "หอพระนาก" มาตราบจนทุกวันนี้ ในสมัยรัชกาลที่ 7 เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ 150 ปี โปรดเกล้า ฯ ให้ปฏิสังขรณ์ทั้งภายนอกและภายในทั้งหลัง เขียนลายผนังด้านในใหม่เป็นลายพุ่มข้าวบิณฑ์อย่างเดิม แล้วทำพระโกศทรงพระอัฐิเจ้านายที่ยังไม่มีพระโกศที่บรรจุทั้งหมด สิ่งที่เพิ่มเติมคือ เจาะผนังด้านทิศตะวันตกให้เป็นช่องสร้างเป็นพระวิมานประดิษฐานพระบวรอัฐิ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบวชราชเจ้า กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ในรัชกาลที่ 1, 2 และ 3 เบื้องหน้าพระวิมานสร้างเป็นซุ้มคูหาตั้งพระเบญจาแบบย่อเก็จด้านหน้า ด้านหลังติดผนังสำหรับเป็นที่ประดิษฐานพระโอศทรงพระอัฐิเจ้านายในพระบรมราชจักรีวงศ์ ระหว่างการบูรณะหอพระนากได้อัญเชิญพระบวรอัฐิและพระอัฐิ ไปพักไว้ท้ายจรนำปราสาทพระเทพบิดรเป็นการชั่วคราว เมื่อการบูรณะสำเร็จแล้ว ใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและหอพระนาก · ดูเพิ่มเติม »

อรอำไพ โกมารกุล ณ นคร

ณหญิงอรอำไพ โกมารกุล ณ นคร..

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและอรอำไพ โกมารกุล ณ นคร · ดูเพิ่มเติม »

อินทร์ (แก้ความกำกวม)

อินทร์ หรือ อินทรา สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและอินทร์ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

จิตติ สุจริตกุล

ตติ สุจริตกุล อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร และอดีตรองปลัดกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและจิตติ สุจริตกุล · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายหาดเจ้าสำราญ

| ทางรถไฟสายหาดเจ้าสำราญ หรือ รถไฟรางเล็กสายเพชรบุรี-บางทะลุ เป็นทางรถไฟที่สร้างขึ้นในการเดินทางของเจ้านายและขนส่งเสบียงในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวยามเสด็จแปรพระราชฐานประทับ ณ พระตำหนักหาดเจ้าสำราญในจังหวัดเพชรบุรี มีระยะทางราว 15 กิโลเมตร ถือเป็นหนึ่งในเส้นทางคมนาคมหลักของข้าราชบริพารที่ตามเสด็จมาหาดเจ้าสำราญในขณะนั้น เดินรถครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 เมษายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและทางรถไฟสายหาดเจ้าสำราญ · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวสุจริตธำรง (นาค)

ท้าวสุจริตธำรง (นาค) (10 กันยายน พ.ศ. 2355 - 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2434) ต้นสกุลสุจริตกุล ผู้เป็นมารดาของสมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยมในรัชกาลที่ 4) และเป็นขรัวยายของพระมเหสีในรัชกาลที่ 5 ทั้งสามพระองค์คือ สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี, สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า และสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและท้าวสุจริตธำรง (นาค) · ดูเพิ่มเติม »

ขวัญแก้ว วัชโรทัย

นายขวัญแก้ว วัชโรทัย (ขวา) และนายแก้วขวัญ วัชโรทัย (ซ้าย) ขวัญแก้ว วัชโรทัย (3 กันยายน พ.ศ. 2471 - 28 มกราคม พ.ศ. 2560) เป็นอดีตรองเลขาธิการพระราชวัง เป็นคู่แฝดกับแก้วขวัญ วัชโรทัย อดีตเลขาธิการพระราชวัง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและขวัญแก้ว วัชโรทัย · ดูเพิ่มเติม »

แก้วขวัญ วัชโรทัย

นายแก้วขวัญ วัชโรทัย (ซ้าย) และนายขวัญแก้ว วัชโรทัย (ขวา) แก้วขวัญ วัชโรทัย (3 กันยายน พ.ศ. 2471 - 15 กันยายน พ.ศ. 2559) อดีตเลขาธิการพระราชวัง ปฏิบัติหน้าที่ตั้งแต..

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและแก้วขวัญ วัชโรทัย · ดูเพิ่มเติม »

โกศ

ระเบญจาประดิษฐานพระโกศทองใหญ่ทรงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ตีพิมพ์ในหนังสือ "Description du Royaume Thai ou Siam" (ตีพิมพ์ภาษาไทยในชื่อ "เล่าเรื่องกรุงสยาม") ของบาทหลวงฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว พิมพ์ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อ ค.ศ. 1854 (พ.ศ. 2397) พระบรมโกศ, พระโกศ และ โกศ คือที่ใส่พระบรมศพ พระมหากษัตริย์ พระบรมราชินี และพระบรมวงศ์ กับโกศที่พระราชทานสำหรับศพข้าราชการผู้มีบรรดาศักดิ์สูง ตามคตินิยมของพราหมณ์ที่เชื่อว่า ต้องตั้งพระบรมศพ,พระศพ และ ศพที่มีบรรดาศักดิ์สูง ในท่ายืน, นั่ง, คุกเข่า หรือกอดเข่าประสานมือ เพื่อส่งดวงพระวิญญาณ /วิญญาณกลับสู่สรวงสวรร.

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและโกศ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล)

้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล) เป็นบุตรพระยาราชภักดี (โค) ซึ่งเป็นน้องชายของสมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม) และคุณหญิงราชภักดี (ทองศุข สุจริตกุล) และมีน้องสาวเพียงคนเดียว คือ คุณท้าววนิดาพิจาริณี (เจ้าจอมเพิ่ม ในรัชกาลที่ 5) เกิดเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล) · ดูเพิ่มเติม »

10 มิถุนายน

วันที่ 10 มิถุนายน เป็นวันที่ 161 ของปี (วันที่ 162 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 204 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและ10 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

30 พฤศจิกายน

วันที่ 30 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 334 ของปี (วันที่ 335 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 31 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาและ30 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจีสมเด็จพระนางเจ้าอินทศักดิศจี พระวรราชชายาสมเด็จพระนางเจ้าอินทศักดิ์ศจี พระบรมราชินีประไพ สุจริตกุล

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »