เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์

ดัชนี สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์

นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ (27 มิถุนายน 2497 —) อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร รองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย แกนนำกลุ่มขุนค้อน ประธานสภาสถาบันพระปกเกล้า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม.

สารบัญ

  1. 34 ความสัมพันธ์: ชัย ชิดชอบพ.ศ. 2497พรรคเพื่อไทยพรเพชร วิชิตชลชัยพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาคกลุ่มอีสานพัฒนามหาวิทยาลัยขอนแก่นยงยุทธ ติยะไพรัชรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทยรายนามรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุลสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24สมพงษ์ อมรวิวัฒน์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่นสามารถ แก้วมีชัยอนุสรณ์ วงศ์วรรณจังหวัดขอนแก่นคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยนิคม ไวยรัชพานิชโรงเรียนขอนแก่นวิทยายน27 มิถุนายน

ชัย ชิดชอบ

ัย ชิดชอบ (5 เมษายน พ.ศ. 2471 —) เป็นสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร​แบบสัดส่วน พรรคภูมิใจไทย ได้รับเลือกเป็นตัวแทนพรรคพลังประชาชน ในการเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎรแทนนายยงยุทธ ติยะไพรัช ที่โดนใบแดง ก่อนหน้านี้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)หลายสมัย และสมาชิกวุฒิสภา(ส.ว.)จังหวัดบุรีรัม.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และชัย ชิดชอบ

พ.ศ. 2497

ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และพ.ศ. 2497

พรรคเพื่อไทย

รรคเพื่อไทย (ย่อว่า: พท. Pheu Thai Party) จดทะเบียนจัดตั้ง เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550 โดยมี นายบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก และ นายโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์ เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก สำนักงานใหญ่ของพรรค ตั้งอยู่ที่ 1770 อาคารไอเอฟซีที ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10310 ซึ่งเป็นที่ทำการเดิมของพรรคไทยรักไทย และพรรคพลังประชาชน (ย้ายมาจากอาคารนวสร ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร และ 626 อาคาร บีบีดี บิลดิง ซอยจินดาถวิล ถนนพระรามที่ 4 แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500) และสำนักงานสาขาพรรคแห่งแรก ตั้งอยู่ที่จังหวัดพิจิตร ซึ่งเป็นสาขาพรรคพลังประชาชนเดิม.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และพรรคเพื่อไทย

พรเพชร วิชิตชลชัย

ตราจารย์พิเศษ พรเพชร วิชิตชลชัย ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นรองประธานกรรมการ คนที่หนึ่ง ใน คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดองตาม คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 3/2560 เป็นอดีตผู้ตรวจการแผ่นดิน อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เคยดำรงตำแหน่งผู้พิพากษาศาลฎีกา ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฏีกา ประธานศาลอุทธรณ์ภาค 4 และที่ปรึกษากฎหมายของคณะรักษาความสงบแห่งชาต.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และพรเพชร วิชิตชลชัย

พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค

นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัต.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค

กลุ่มอีสานพัฒนา

กลุ่มอีสานพัฒนา เป็นกลุ่มนักการเมืองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เดิมสังกัด พรรคความหวังใหม่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2551 ได้มีนักการเมืองบางส่วนแยกออกไปตั้งกลุ่มใหม่ ในชื่อ "กลุ่มขุนค้อน" หลังจากที่นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ ได้รับเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช ในโควตาของกลุ่มแอีสานพัฒนา แต่สมาชิกในกลุ่มมีความเห็นไม่ตรงกัน.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และกลุ่มอีสานพัฒนา

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

มหาวิทยาลัยขอนแก่น (อังกฤษ: Khon Kaen University; อักษรย่อ: มข.) เดิมชื่อมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล และเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งอยู่ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น มีจุดประสงค์เพื่อให้การศึกษาชั้นสูงขยายออกไปถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงประกอบพิธีเปิดเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม..

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และมหาวิทยาลัยขอนแก่น

ยงยุทธ ติยะไพรัช

ร.ยงยุทธ ติยะไพรัช อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร รองหัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงร.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และยงยุทธ ติยะไพรัช

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย

รายพระนาม รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย

รายนามรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย

รายนามรองประธานสภาผู้แทนราษฎรของไท.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และรายนามรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย

รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย

ทความนี้รวบรวมรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน โดยลำดับประธานสภาในบทความนี้ระบุเฉพาะประธานสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งและแต่งตั้ง ไม่นับประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ที่มาจากการแต่งตั้ง หลังการเกิดรัฐประหาร.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย

วรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล

นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ สังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 (24 เมษายน พ.ศ. 2526 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 324 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบรวมเขตและแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15 (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 - 29 เมษายน พ.ศ. 2531) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 347 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17 (22 มีนาคม พ.ศ. 2535 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2535) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 360 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 (13 กันยายน พ.ศ. 2535 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 360 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 - 27 กันยายน พ.ศ. 2539) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 391 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20 (17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 393 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21 (6 มกราคม พ.ศ. 2544 - 5 มกราคม พ.ศ. 2548) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 (23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 480 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 400 คน และการเลือกตั้งแบบสัดส่วน 80 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม..

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 500 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 375 คน และการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ 125 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม..

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24

สมพงษ์ อมรวิวัฒน์

นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2484 -) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบสัดส่วน สังกัดพรรคพลังประชาชน อดีตรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม และอดีตแกนนำกลุ่ม 16.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และสมพงษ์ อมรวิวัฒน์

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น มี 10 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 10 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น

สามารถ แก้วมีชัย

มารถ แก้วมีชัย (9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 -) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (ชุดที่ 23) และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงราย สังกัดพรรคเพื่อไท.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และสามารถ แก้วมีชัย

อนุสรณ์ วงศ์วรรณ

อนุสรณ์ วงศ์วรรณ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในรัฐบาลของนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำพูน พรรคพลังประชาชน.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และอนุสรณ์ วงศ์วรรณ

จังหวัดขอนแก่น

ังหวัดขอนแก่น เป็นจังหวัดที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นจังหวัดศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เมืองขอนแก่นตั้งอยู่ในจุดที่ถนนมิตรภาพ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก) ตัดผ่าน ซึ่งเป็นเส้นทางสำคัญอีกเส้นหนึ่งในการเดินทางจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางเข้าไปสู่ภาคเหนือตอนล่างที่อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ และเดินทางเข้าสู่ประเทศลาวทางด้านทิศใต้ของลาว อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดอุดรธานี ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดมหาสารคามและจังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศใต้ติดกับจังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันตกติดกับจังหวัดชัยภูมิและจังหวัดเพชรบูรณ.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และจังหวัดขอนแก่น

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 57 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 - 18 กันยายน พ.ศ. 2551) นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายยงยุทธ ติยะไพรัช ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 58 (24 กันยายน พ.ศ. 2551 - 19 ธันวาคม พ.ศ. 2551) หรือที่รู้จักกันในชื่อ คณะรัฐมนตรีสมชาย (ครม.สมชาย 1) นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Engineering, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นพร้อมกับคณะวิทยาศาสตร์และอักษรศาสตร์ (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นคณะวิทยาศาสตร์) และคณะเกษตรศาสตร์ ซึ่งได้ถือว่าเป็นคณะแรกตั้งของการสถาปนามหาวิทยาลัย ถือว่าเป็นสถาบันการศึกษาทางด้านวิศวกรรมศาสตร์แห่งแรกในส่วนภูมิภาค รหัสหน่วยงานในระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 04.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นตำแหน่งหัวหน้าสภาผู้แทนราษฎร (สภาล่าง) ของประเทศไทย ประธานสภาผู้แทนราษฎรคนล่าสุดคือ นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ ภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปปี พ.ศ.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย

นิคม ไวยรัชพานิช

นายนิคม ไวยรัชพานิช ประธานวุฒิสภาไทย และเป็นสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดฉะเชิงเทรา ในการเลือกตั้ง..

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และนิคม ไวยรัชพานิช

โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน

ก่อนชื่อพระราชทาน..

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และโรงเรียนขอนแก่นวิทยายน

27 มิถุนายน

วันที่ 27 มิถุนายน เป็นวันที่ 178 ของปี (วันที่ 179 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 187 วันในปีนั้น.

ดู สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์และ27 มิถุนายน

หรือที่รู้จักกันในชื่อ สมศักดิ์ เกียรติ์สุรนนท์