โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐ

ดัชนี สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐ

ผู้แทนราษฎรสหรัฐ (United States House of Representatives) เป็นหนึ่งในสองสภาของระบบสภาคู่ของรัฐสภาสหรัฐ คู่กับวุฒิสภา แต่ละรัฐในสหรัฐมีผู้แทนที่ได้รับเลือกจากจำนวนประชากรของแต่ละเขตที่แบ่งตามจำนวนประชากร จำนวนของผู้แทนราษฎรของแต่ละรัฐจึงขึ้นอยู่กับจำนวนประชากร รัฐแคลิฟอร์เนียที่มีประชากรมากที่สุดมีผู้แทนราษฎรทั้งหมด 53 คน สภาผู้แทนราษฎรสมัยปัจจุบันมีสมาชิกทั้งสิ้น 435 คน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแต่ละคนมีตำแหน่งสองปี ประธานสภาผู้แทนราษฎรมาจากการเลือกตั้งของสมาชิก ระบบสภาคู่เป็นระบบที่ผู้ก่อตั้งสหรัฐ (Founding Fathers of the United States) สร้างขึ้นเพื่อให้มีสภาที่เป็นผู้แทนของประชาชนที่เป็นเสียงของประชาชนเพื่อให้เป็นการทำให้สมดุลกับวุฒิสภาที่เป็นผู้แทนของรัฐบาลจากแต่ละรัฐ สภาผู้แทนราษฎรมักจะเทียบได้กับสภาล่าง และวุฒิสภาเทียบได้กับสภาสูง แต่รัฐธรรมนูญของสหรัฐไม่ใช้คำดังกล่าว ทั้งสองสภามีหน้าที่ร่าง เสนอ พิจารณาและอนุมัติกฎหมาย จากการที่สมาชิกได้รับเลือกมาจากกลุ่มคนจำนวนน้อย (ราว 693,000 คนต่อคนใน ค.ศ. 2007) จากเขตที่มักจะมีความเห็นคล้ายคลึงกันจึงทำให้สภาผู้แทนราษฎรเป็นสภาที่ไม่มีความขัดแย้งกันเท่าวุฒิสภา สภาผู้แทนราษฎรมีอำนาจบางอย่างที่เป็นเอกลักษณ์จากวุฒิสภา เช่นอำนาจในการเสนอบัญญัติการหารายได้เพิ่ม อำนาจการปลดนักการเมืองรวมทั้งประธานาธิบดี และเลือกประธานาธิบดีสหรัฐถ้าจำนวนเสียงเลือกตั้งของคณะผู้เลือกตั้ง (electoral college) ไม่เพียงพอตัดสินว่าผู้ใดควรจะได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดี.

64 ความสัมพันธ์: ATM SafetyPIN softwareชาลส์ วิลสันชาลส์ เคอร์ทิสพ.ศ. 2541พรรคริพับลิกัน (สหรัฐ)พรรคลิเบอร์เทเรียน (สหรัฐ)พรรคคอมมิวนิสต์ยูเอสเอพอล ไรอันพิตต์สเบิร์กกระสวยอวกาศโคลัมเบียกอพัฒน์ เจริญบรรพชนการฟ้องให้ขับบิล คลินตันออกจากตำแหน่งการประกาศสงครามต่อเยอรมนีของสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2460การปิดบริการของรัฐบาลกลางแห่งสหรัฐ พ.ศ. 2556การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2523การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2543การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2551มิลลาร์ด ฟิลล์มอร์รอน พอลระบบสองสภารัฐบัญญัติซาร์เบนส์–ออกซเลย์รัฐบาลกลางสหรัฐรัฐสภาสหรัฐรายชื่อรัฐและดินแดนของสหรัฐเรียงตามจำนวนประชากรริค แซนโทรัมร่างรัฐบัญญัติหยุดยั้งการละเมิดลิขสิทธิ์ออนไลน์ร่างรัฐบัญญัติงานวิจัยลัดดา แทมมี ดักเวิร์ธลีออน พาเนตตาวันรักชาติวุฒิสภาสหรัฐสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสหรัฐสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์อับราฮัม ลินคอล์นอัยการสูงสุดสหรัฐอัลเบน บาร์กเลย์จอห์น แมคเคนจอห์น แนนซ์ การ์เนอร์ดอนัลด์ รัมส์เฟลด์ดัสติน เจ. ลีดิคซี คาร์เตอร์-ซาลินาสคริปโทเคอร์เรนซีและความปลอดภัยคดีวอเตอร์เกตค้อนประธานตุลาการสมทบในศาลสูงสุดสหรัฐประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐประธานาธิบดีสหรัฐแฟรงกลิน เพียร์ซแกนแห่งความชั่วร้าย...แอลบูเคอร์คี (รัฐนิวเม็กซิโก)แดน เควลแนนซี เพโลซีโอแคลร์ (รัฐวิสคอนซิน)โคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007ไมก์ ปอมเปโอเบอร์นี แซนเดอร์สเรื่องอื้อฉาวลูวินสกีเหตุผลวิบัติโดยหลักฐานไม่สมบูรณ์เหตุโจมตีด้วยแอนแทรกซ์ พ.ศ. 2544เจมส์ บูแคนันเจมส์ เค. โพล์ก19 ธันวาคม435 (แก้ความกำกวม) ขยายดัชนี (14 มากกว่า) »

ATM SafetyPIN software

ATM SafetyPIN software เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีกลไกให้ผู้ที่ถูกข่มขู่ให้ถอนเงินจากเครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติ สามารถแจ้งตำรวจได้โดยใส่รหัสประจำตัวย้อนหลัง ระบบโปรแกรมประยุกต์นี้ได้คิดค้นและจดสิทธิบัตรโดยทนายรัฐอิลลินอยส์ ชื่อ Joseph Zingher แม้ว่าจะมีเรื่องหลอกลวงแพร่สะพัดว่าหากถูกข่มขู่ให้ถอนเงินแล้วก็ให้ใช้วิธีนี้เพื่อเรียกตำรวจมา แต่อันที่จริงแล้ว ระบบนี้ไม่ได้นำมาใช้งานจริงโดยเครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติใดเลยในปัจจุบัน Diebold, Inc.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและATM SafetyPIN software · ดูเพิ่มเติม »

ชาลส์ วิลสัน

ลส์ เนสบิตต์ วิลสัน (1 มิถุนายน ค.ศ. 1933 - 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2010) อดีตทหารเรือ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 12 สมัยจากรัฐเทกซัส สหรัฐอเมริกา ชาลส์ วิลสันมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในฐานะเป็น..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและชาลส์ วิลสัน · ดูเพิ่มเติม »

ชาลส์ เคอร์ทิส

ลส์ เคอร์ทิส (Charles Curtis) (25 มกราคม พ.ศ. 2403 - 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ดำรงตำแหน่งเป็นรองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 31 ระหว่าง..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและชาลส์ เคอร์ทิส · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคริพับลิกัน (สหรัฐ)

รรคริพับลิกัน (Republican Party หรือ Grand Old Party, อักษรย่อ: GOP) เป็นพรรคการเมืองอนุรักษนิยม ซึ่งเป็นหนึ่งในสองพรรคของสหรัฐที่มีขนาดใหญ่ที่สุด (อีกพรรคหนึ่งคือ พรรคเดโมแครต) ประธานาธิบดีจากพรรคนี้คนล่าสุดคือ ดอนัลด์ ทรัมป์ ถ้านับตั้งแต่ ค.ศ. 1856 พรรคริพับลิกันส่งผู้สมัครลงชิงตำแหน่งประธานาธิบดีทั้งหมด 39 ครั้ง ชนะ 24 ครั้ง.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและพรรคริพับลิกัน (สหรัฐ) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคลิเบอร์เทเรียน (สหรัฐ)

รรคลิเบอร์เทเรียน (Libertarian Party) เป็นพรรคการเมืองของสหรัฐ แห่งชาติที่สะท้อนให้เห็นถึง ส่งเสริมความคิด และปรัชญาของเสรีภาพนิยม ตลาดเสรี,ปล่อยให้ทำไป และทุนนิยม (ไม่มีการแทรกแซงของรัฐบาลในทางเศรษฐกิจ) ก่อตั้งขึ้นในColorado Springs, Colorado ในบ้านของ David F. Nolan ในวันที่ 11 ธันวาคม..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและพรรคลิเบอร์เทเรียน (สหรัฐ) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์ยูเอสเอ

รรคคอมมิวนิสต์สหรัฐอเมริกา (Communist Party USA, Communist Party of the United States of America; อักษรย่อ: CPUSA) เป็นพรรคการเมืองและพรรคคอมมิวนิสต์ของสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและพรรคคอมมิวนิสต์ยูเอสเอ · ดูเพิ่มเติม »

พอล ไรอัน

พอล ไรอัน (ภาษาอังกฤษ; Paul Davis Ryan; เกิด 29 มกราคม พ.ศ. 2511) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ดำรงตำแหน่งเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐอเมริกาคนที่ 54 และคนปัจจุบัน ตั้งแต่วันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2558 ไรอันเป็นหนึ่งในสมาชิกของพรรครีพับลิกัน.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและพอล ไรอัน · ดูเพิ่มเติม »

พิตต์สเบิร์ก

ตต์สเบิร์ก (Pittsburgh) เป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 ของรัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา และเป็นเคาน์ตีซีตของแอลลิเกนีเคาน์ตี ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐ ตรงจุดบรรจบของแม่น้ำแอลลิเกนีและแม่น้ำโมนังกาฮีลาซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของแม่น้ำโอไฮโอ เป็นเมืองที่มีเขตเมืองใหญ่เป็นอันดับ 22 ของสหรัฐอเมริกา มีประชากร 305,704 คน (สำรวจเมื่อ ค.ศ. 2010) เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์สำคัญในเรื่องการผลิตเหล็กกล้า ปัจจุบันมีเศรษฐกิจที่สำคัญได้แก่ ด้านสุขภาพ การศึกษา เทคโนโลยี หุ่นยนต์ และการให้บริการการเงิน เมืองได้มีการปรับปรุงเมือง ในสถานที่ที่เคยเป็นย่านอุตสาหกรรมที่ทิ้งร้าง เปลี่ยนมาเป็นสำนักงานและย่านช็อปปิ้ง เช่นบริเวณเซาท์ไซด์เวิกส์ และเบเกอรีสแควร์ ฝรั่งเศสสร้างป้อมดูเคนขึ้นที่บริเวณเมืองนี้ใน ค.ศ. 1754 ต่อมาอังกฤษได้ยึดป้อมในปี ค.ศ. 1758 และเปลี่ยนชื่อมาเป็นพิตต์ จนเริ่มมีการตั้งถิ่นฐานในปี ค.ศ. 1760 และตั้งเป็นเมืองในปี ค.ศ. 1816.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและพิตต์สเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

กระสวยอวกาศโคลัมเบีย

กระสวยอวกาศโคลัมเบีย (Orbiter Vehicle Designation: OV-102) เป็นกระสวยอวกาศลำแรกที่ใช้งานจริงของนาซา ซึ่งภารกิจแรกในเที่ยวบิน STS-1 เมื่อวันที่ 12 เมษายน ถึง 14 เมษายน ในปี พ.ศ. 2524 (ค.ศ.1981) จนมาถึงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 กระสวยอวกาศโคลัมเบียได้เกิดอุบัติเหตุระเบิดขึ้นเหนือรัฐเทกซัสขณะกลับสู่โลก หลังภารกิจครั้งที่ 28 เสร็จสิ้น ทำให้ลูกเรือในยานทั้ง 7 คนเสียชีวิต.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและกระสวยอวกาศโคลัมเบีย · ดูเพิ่มเติม »

กอพัฒน์ เจริญบรรพชน

กอพัฒน์ "เฮนรี" เจริญบรรพชน (Gorpat Charoenbanpanchon) หรือ จี.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและกอพัฒน์ เจริญบรรพชน · ดูเพิ่มเติม »

การฟ้องให้ขับบิล คลินตันออกจากตำแหน่ง

กระบวนพิจารณาในที่ประชุมของวุฒิสภาสหรัฐระหว่างการพิจารณาประธานาธิบดีบิล คลินตันในปี 2542 โดยมีประธานศาลสูงสุด วิลเลียม เรนควิสต์เป็นประธาน ผู้จัดการสภาผู้แทนราษฎรนั่งข้างโต๊ะรูปหนึ่งส่วนสี่ของวงกลมทางซ้าย และที่ปรึกษาส่วนตัวของประธานาธิบดีนั่งอยู่ขวา การฟ้องให้ขับบิล คลินตันออกจากตำแหน่ง เป็นกระบวนการซึ่งสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐเริ่มเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2541 ต่อบิล คลินตัน ประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 42 ใน 2 ข้อหา ข้อหาหนึ่งฐานเบิกความเท็จ และอีกข้อหนึ่งฐานขัดขวางกระบวนการยุติธรรม ข้อหาทั้งสองเกิดจากคดีการก่อกวนทางเพศที่พอลลา โจนส์ฟ้องคลินตัน ต่อมา วุฒิสภาปล่อยตัวคลินตันจากข้อเหาเหล่านี้เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2542 ส่วนมาตราฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งอีกสองมาตรา คือ ข้อหาเบิกความเท็จที่สองและข้อหาละเมิดอำนาจ ไม่ผ่านสภาผู้แทนราษฎร ก่อนหน้าการฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่ง ที่ปรึกษาอิสระ เคน สตาร์ (Ken Starr) ยื่นเอกสารต่อคณะกรรมาธิการตุลาการของสภาผู้แทนราษฎร หัวหน้าอัยการ เดวิด ชิพเพอส์ (David Schippers) และทีมของเขาทบทวนเอกสารและตัดสินว่ามีมูลพอให้ฟ้องให้ขับประธานาธิบดีออกจากตำแหน่ง ผลคือ สภาผู้แทนราษฎรเต็มสภาพิจารณาสี่ข้อหา โดยผ่านสองข้อหา ทำให้คลินตันเป็นประธานาธิบดีคนที่สองที่ถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่ง คนแรกคือ แอนดรูว์ จอห์นสันในปี 2411 และเป็นคนที่สามที่มาตราฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งถูกเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรเต็มสภาเพื่อพิจารณา (ริชาร์ด นิกสันลาออกจากตำแหน่งประธานาธิบดีในปี 2517 ระหว่างที่มีกระบวนการฟ้องให้ขับเขาออกจากตำแหน่ง) การพิจารณาในวุฒิสภาสหรัฐเริ่มทันทีหลังมีการประชุมรัฐสภาชุดที่ 106 ซึ่งพรรครีพับลิกันเริ่มด้วยสมาชิกวุฒิสภา 55 คน ต้องการคะแนนเสียงสองในสาม (67 เสียง) เพื่อถอดถอนคลินตันออกจากตำแหน่ง สมาชิกวุฒิสภา 50 คนออกเสียงลงคแนนให้ถอดถอนคลินตันฐานขัดขวางกระบวนการยุติธรรม และ 45 เสียงในถอดถอนเขาในข้อหาเบิกความเท็จ ไม่มีสมาชิกพรรคเดโมแครตของเขาออกเสียงลงคะแนนให้มีความผิดทั้งสองข้อหา คลินตันถูกปล่อยตัวในทุกข้อกล่าวห.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและการฟ้องให้ขับบิล คลินตันออกจากตำแหน่ง · ดูเพิ่มเติม »

การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2460

ในวันที่ 6 เมษายน..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและการประกาศสงครามต่อเยอรมนีของสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2460 · ดูเพิ่มเติม »

การปิดบริการของรัฐบาลกลางแห่งสหรัฐ พ.ศ. 2556

การปิดบริการของรัฐบาลกลางแห่งสหรั..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและการปิดบริการของรัฐบาลกลางแห่งสหรัฐ พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2523

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริก..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2543

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริก..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2551

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริก..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

มิลลาร์ด ฟิลล์มอร์

มิลลาร์ด ฟิลล์มอร์ (Millard Fillmore) ประธานาธิบดีคนที่ 13 แห่งสหรัฐเกิดเมื่อวันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 1800 เป็นสมาชิกพรรควิกคนสุดท้ายที่ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 1874 ขณะอายุได้ 74 ปี หมวดหมู่:ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐนิวยอร์ก หมวดหมู่:สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของสหรัฐอเมริกาจากรัฐนิวยอร์ค.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและมิลลาร์ด ฟิลล์มอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รอน พอล

'''รอน พอล''' โรนัลด์ เออร์เนสต์ "รอน" พอล เกิดเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2478 เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐอเมริกาจากเลค แจ็คสัน รัฐเทกซัส เป็นแพทย์ และเป็นผู้สมัครชิงประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาถึง 3 ครั้ง ในนามตัวแทนของพรรคเสรีนิยม ปี 1988 และของพรรคริพับลิกัน (สหรัฐอเมริกา) ปี 2008 และ 2012 รอน พอลเกิดที่เพนซิลเวเนีย เริ่มเข้ารับการศึกษาที่วิทยาลัยแพทย์แห่งมหาวิทยาลัยดู๊ค หลังจากจบการศึกษาในปี 1961 เขาได้เป็นแพทย์ทางด้านสูตินารีเวช จากนั้นได้มาเป็นศัลยแพทย์ของกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา และได้ปฏิบัติหน้าที่ในสงครามเวียดนามอีกด้วย ต่อมาได้หันเข้าสู่วงการการเมืองและได้เป็นสมาชิสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐอเมริกาจากรัฐเทกซัสในปี 1976–1977, 1979–1985 และ 1997 จนถึงปัจจุบัน รอน พอลเป็นนักอนุรักษนิยม นักรัฐธรรมนูญ และนักเสรีนิยม (Libertarian) เขาเป็นนักวิจารณ์ที่พูดอย่างตรงไปตรงมาเกี่ยวกับนโยบายการต่างประเทศและการเงินของชาวอเมริกัน รวมถึงระบบอุตสาหกรรมทางการทหารและธนาคารกลาง มุมมองเสรีนิยม (Libertarianism) ของเขาเป็นที่รู้จักกันอย่างดีและมักจะแตกต่างจากพรรคของตัวเองเในบางกรณี นโยบายต่างประเทศหลักของพอลคือไม่แทรกแซง เขากล่าวว่าอเมริกาไม่ควรเข้าไปแทรกแซงการทหาร การเงินหรือยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในของประเทศอื่นๆ แต่เสนอให้ยังคงสัมพันธภาพในเรื่องการค้า การท่องเที่ยว การสื่อสารและการเจรจาต่อรองกับประเทศอื่นๆไว้ เขาต่อต้านสงครามอิรักแต่เห็นด้วยกับการส่งกองกำลังไปปรามปรามผู้ก่อการร้ายในอัฟฟานิสถานเนื่องจากเชื่อว่าเป็นการตอบโต้การก่อการร้ายในวันที่ 11 กันยายน 2001 เขาอยากจะให้สหรัฐอเมริกาลดบทบาทในนาโตและสหประชาชาติเนื่องจากเล็งเห็นว่าองค์กรเหล่านั้นละเมิดต่ออธิปไตยของสหรัฐ ในทางการเงินพอลมีนโยบายไม่เก็บภาษีเพิ่ม สนับสนุนการลดหรือยกเลิกการเก็บภาษีเงินได้ โดยให้รัฐบาลใช้จ่ายเงินที่ได้จากภาษีศุลกากรและภาษีสรรพสามิต ลดการใช้จ่ายของรัฐบาลด้วยการปิดหน่วยงานของรัฐบาลกลางที่ไม่จำเป็น เขาสนับสนุนนโยบาย Hard Money แต่ในขณะเดียวกันกล่าวว่าจะไม่กลับไปใช้มาตรฐานทองคำแต่จะให้ออกกฎหมายรัฐธรรมนูญที่ทำให้รัฐบาลจำต้องใช้ทองหรือแร่เงิน ในการชำระหนี้ ซึ่งการออกกฎหมายนี้จะยับยั้งพฤติกรรมของรัฐบาลที่ใช้จ่ายอย่างไม่ระวังและคอยมาเร่งให้ธนาคารกลางสหรัฐ (Federal Reserve) พิมพ์เงินเพิ่ม ซึ่งเขาเชื่อว่านี่เป็นสาเหตุหลักของการทำให้เกิดเงินเฟ้อและด้วยเหตุผลนี้เขาจึงไม่สนับสนุนธนาคารกลางของสหรัฐ นอกจากนั้นพอลสนับสนุนให้เลิกสงครามกับยาเสพย์ติดเนื่องจากเชื่อว่ากฎหมายยาเสพติดไม่มีประสิทธิภาพให้คนเลิกใช้ยา กฎหมายยาเสพติดทำให้เกิดอาชญากรรมและแนะนำให้พิจารณาว่ายาเสพติดเป็นปัญหาทางการแพทย์ เขากล่าวว่านักโทษคดียาเสพติดหลายคนไม่ได้จำคุกจากพฤติกรรมรุนแรงแต่จากการเป็นผู้เสพ เราควรจะถือว่าคนเหล่านี้เป็นผู้ป่วยติดยาแทนที่จะเป็นอาชญากร การบังคับให้มีบทลงโทษขั้นต่ำอย่างไร้เหตุผลได้ก่อให้เกิดโทษอย่างมหัน ขณะนี้มีผู้กระทำผิดคดียาเสพติดที่ไม่ใช้ความรุนแรงซึ่งต้องโทษจำคุกตลอดชีวิตแต่เราไม่มีห้องขังพอให้กับนักโทษคดีข่มขืนและฆาตกร เขากล่าว สำหรับการหาเสียงเลือกตั้งประธานาธิบดีของรอน พอลในปี 2012 นั้น เขาเป็นผู้สมัครที่มีคะแนนนำในหลายๆสตรอว์โพลล์ แม้ว่าจะได้คะแนนต่ำกว่าในหลายๆโพลล์ทางโทรศัพท์ มีผู้ที่นิยมตัวเขาในอินเทอร์เน็ตค่อนข้างมากเลยทีเดียว โดยในเว็บสำหรับค้นหาและ Youtube นั้นเขากลายเป็นผู้สมัครที่มีการค้นชื่อมากที่สุด ในระหว่างการหาเสียงเลือกตั้งประธานาธิบดีของเขาในปี 2008 ผู้สนับสนุนจำนวนมากของพอลกล่าวหาว่าสื่อกระแสหลักไม่ยอมนำเสนอข่าวของพอล ข้อกล่าวหาที่คล้ายกันนี้ได้เกิดขึ้นในการหาเสียงเลือกตั้งประธานาธิบดีปี 2012 เช่นเดียวกัน คอลัมนิสของหนังสือพิมพ์การเมืองโพลิติโควโรเจอร์ ไซม่อนตั้งข้อสังเกตในขณะให้สัมภาษณ์ผ่านรายการ Reliable Sources ของ CNN ว่าพอลได้รับการเสนอข่าวน้อยกว่านาง มิเชล บัคแมน แม้จะมีคะแนนนิยมใกล้เคียงเธอในเอมส์สตรอว์โพลล์ ภายหลังไซมอนได้ตั้งข้อสังเกตอีกครั้งในหนังสือพิมพ์การเมืองโพลิติโควว่าสื่อนำเสนอพอลอย่างไม่เป็นธรรม โครงการความเป็นเลิศของสื่อสารมวลชนของศูนย์การวิจัยพิวได้ให้ข้อสรุปในเดือนสิงหาคม 2011 ว่าพอลได้รับการนำเสนอข่าวจากสื่อสารมวลชนน้อยกว่าผู้สมัครชิงประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาปี 2012 คนอื่นๆอย่างมีนัยสำคัญ ในเดือนมกราคมปี 2012 นิตยสารแอตแลนติกอ้างผลการศึกษาของพิวว่าแม้โพลสำรวจของพอลจะดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง เขาเสียส่วนแบ่งจากการนำเสนอข่าวของสื่อจาก 34% ในปลายธันวาคม 2011 เหลือเพียงประมาณ 3% ในช่วงกลางเดือนมกราคม 2012 พวกเขายังตั้งข้อสังเกตเพิ่มอีกว่าการนำเสนอข่าวในเชิงบวกเกี่ยวกับพอลลดลงอย่างชัดเจน ในขณะที่การนำเสนอข่าวในเชิงลบเพิ่มขึ้นเล็กน้อ.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและรอน พอล · ดูเพิ่มเติม »

ระบบสองสภา

ระบบสองสภา (อังกฤษ: bicameralism -bi + Latin camera หรือ chamber) เป็นระบบการปกครองที่มีองค์นิติบัญญัติสององค์หรือมีรัฐสภาสองสภา ดังนั้น ระบบสองสภา หรือ สององค์นิติบัญญัติจึงประกอบด้วย 2 องค์ประชุมคือสภาสูงและสภาล่าง ระบบสองสภานับเป็นหัวใจสำคัญของรูปแบบคลาสสิกของรัฐบาลผสม องค์นิติบัญญัติแบบสองสภาจึงจำเป็นต้องมีเสียงข้างมากในการผ่านกฎหม.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและระบบสองสภา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบัญญัติซาร์เบนส์–ออกซเลย์

ริพับลิกัน) จากรัฐโอไฮโอ รัฐบัญญัติซาร์เบนส์–ออกซเล..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและรัฐบัญญัติซาร์เบนส์–ออกซเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลกลางสหรัฐ

รัฐบาลกลางสหรัฐ (Federal Government of the United States) เป็นรัฐบาลกลางของสหรัฐอเมริกาซึ่งใช้การปกครองแบบสาธารณรัฐตามรัฐธรรมนูญและประกอบด้วยรัฐห้าสิบรัฐ รวมตลอดถึงเขตการปกครองใหญ่หนึ่งแห่ง และดินแดนอื่น ๆ แบ่งเป็นสามฝ่าย คือ นิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกาให้ใช้อำนาจผ่านรัฐสภา ประธานาธิบดี และศาลกลาง รวมถึง ศาลสูงสุด ตามลำดับ อำนาจหน้าที่ของแต่ละฝ่ายนั้น กับทั้งการจัดตั้งกระทรวงในฝ่ายบริหารและศาลชั้นรองนั้น เป็นไปตามที่บัญญัติเพิ่มเติมไว้ในรัฐบัญญัติ ชื่อเต็มของประเทศ คือ "สหรัฐอเมริกา" (The United States of America) ไม่ปรากฏชื่ออื่นในรัฐธรรมนูญ และชื่อนี้ยังปรากฏบนเงินตรา สนธิสัญญา และคดีความซึ่งรัฐเป็นคู่ความ (เช่น คดีระหว่างชาลส์ ที. เช็งก์ กับสหรัฐอเมริกา) ส่วนคำว่า "รัฐบาลแห่งสหรัฐอเมริกา" (Government of the United States of America) หรือ "รัฐบาลสหรัฐ" (United States Government) นั้นนิยมใช้ในเอกสารราชการเพื่อแทนรัฐบาลกลางแยกจากรัฐทั้งหลายโดยรวม ในระดับภาษาเขียนหรือสนทนาอย่างเป็นกันเองนั้น นิยมใช้ว่า "รัฐบาลกลาง" (Federal Government) และบางทีก็ใช้ว่า "รัฐบาลแห่งชาติ" (National Government) คำว่า "กลาง" และ "แห่งชาติ" ที่ปรากฏในชื่อส่วนราชการและโครงการราชการนั้นมักบ่งบอกการสังกัดรัฐบาลกลาง (เช่น สำนักงานสอบสวนกลาง และองค์การบริหารบรรยากาศและมหาสมุทรแห่งชาติ) นอกจากนี้ เพราะรัฐบาลกลางตั้งอยู่ในวอชิงตัน ดี.ซี. โดยทั่วไปจึงใช้ "วอชิงตัน" เรียกแทนรัฐบาลกลาง.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและรัฐบาลกลางสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาสหรัฐ

รัฐสภาสหรัฐ (United States Congress) เป็นสภานิติบัญญัติสูงสุดในระบบการปกครองสหรัฐ ซึ่งเป็นระบบสภาคู่ ที่ประกอบด้วย วุฒิสภา (Senate) และ สภาผู้แทนราษฎร (House of Representatives) สมาชิกของทั้งสองสภาได้รับเลือกจากประชาชนโดยตรง สมาชิก 435 คนของสภาผู้แทนราษฎรเป็นตัวแทนจากเขตการปกครอง (district) และมีหน้าที่สองปี ผู้แทนราษฎรได้รับเลือกตั้งมาจากเขตการปกครองตามจำนวนประชากรที่ระบุไว้ในเขตการเลือกตั้งสหรัฐซึ่งเปลื่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม ฉะนั้นทุกสองปีหนึ่งในสามของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต้องได้รับเลือกตั้งใหม่ ส่วนสมาชิกวุฒิสภา 100 คนของวุฒิสภารับหน้าที่ครั้งละหกปี แต่ละมลรัฐมีสิทธิในการเลือกสมาชิกวุฒิสภาสองคนไม่ว่าจะเป็นรัฐมีประชากรมากหรือน้อยเท่าใด รัฐธรรมนูญสหรัฐให้อำนาจในการออกกฎหมายแก่รัฐสภาทั้งวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎรมีอำนาจเท่ากันในกระบวนการออกกฎหมาย กฎหมายทุกฉบับที่นำมาปฏิบัติได้ต้องได้รับการอนุมัติจากทั้งสองสภา แต่รัฐธรรมนูญให้อำนาจพิเศษที่เป็นเอกลักษณ์บางอย่างแก่ทั้งสองสภา เช่นวุฒิสภามีอำนาจในการอนุมัติสนธิสัญญา และ การแต่งตั้งตำแหน่งของหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาลที่เสนอโดยประธานาธิบดี แต่กฎหมายเกี่ยวกับการหารายได้เพิ่มเป็นหน้าที่ของสภาผู้แทนราษฎรที่จะเสนอ นอกจากนั้นสภาผู้แทนราษฎรก็ยังมีอำนาจฟ้องขับเจ้าหน้าที่ชั้นสูงออกจากตำแหน่ง (impeachment) ขณะที่วุฒิสภามีอำนาจในการพิจารณาฟ้องดังกล่าว ปัจจุบันเป็นสมัยประชุมที่ 115 เริ่มเมื่อวันที่ 3 มกราคม..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและรัฐสภาสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรัฐและดินแดนของสหรัฐเรียงตามจำนวนประชากร

แผนที่แสดงความเปลี่ยนแปลงของจำนวนประชากรในสหรัฐอเมริการะหว่างเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2550 และเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551 Map of each state's population as of 2013 2.0% col-end รายชื่อด้านล่างนี้คือรัฐในสหรัฐอเมริกาเรียงตามจำนวนประชากร (รวมเขตอำนาจไม่ใช่รัฐที่มีผู้อยู่อาศัยเพื่อการเปรียบเทียบ) เมื่อวันที่ 1 เมษายน..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและรายชื่อรัฐและดินแดนของสหรัฐเรียงตามจำนวนประชากร · ดูเพิ่มเติม »

ริค แซนโทรัม

ริค แซนโทรัม ริชาร์ด จอห์น "ริค" แซนโทรัม (Richard John "Rick" Santorum) เกิดวันที่ 10 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและริค แซนโทรัม · ดูเพิ่มเติม »

ร่างรัฐบัญญัติหยุดยั้งการละเมิดลิขสิทธิ์ออนไลน์

ร่างรัฐบัญญัติหยุดยั้งการละเมิดลิขสิทธิ์ออนไลน์ (Stop Online Piracy Act, เรียกโดยย่อว่า "SOPA"), หรือรหัสว่า เอ.อาร.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและร่างรัฐบัญญัติหยุดยั้งการละเมิดลิขสิทธิ์ออนไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

ร่างรัฐบัญญัติงานวิจัย

ร่างรัฐบัญญัติงานวิจัย (Research Works Act) รหัส 102 เอ.อาร.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและร่างรัฐบัญญัติงานวิจัย · ดูเพิ่มเติม »

ลัดดา แทมมี ดักเวิร์ธ

ันโทหญิง ลัดดา แทมมี ดักเวิร์ธ (Ladda Tammy Duckworth, เกิด 12 มีนาคม พ.ศ. 2511 -) สมาชิกวุฒิสภาสหรัฐอเมริกา จากรัฐอิลลินอยส์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเขต 8 รัฐอิลลินอยส์ สหรัฐอเมริกา ผู้ช่วยรัฐมนตรีกระทรวงกิจการทหารผ่านศึกของประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นทหารผ่านศึกหญิง ลูกครึ่งไทย-สหรัฐ ผู้สูญเสียขาทั้งสองข้างในสงครามรุกรานอิรัก และเป็นตัวแทนพรรคเดโมแครต ในการเลือกตั้งกลางเทอมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 6 รัฐอิลลินอยส์ สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 แต่พ่ายแพ้ให้แก่ปีเตอร์ รอสแกม ไปอย่างฉิวเฉียดเพียงร้อยละ 2 ในปี พ.ศ. 2555 เธอได้รับชัยชนะการเลือกตั้งให้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 8 รัฐอิลลินอยส์ ซึ่งทำให้เธอเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่เป็นสตรีเชื้อสายไทยคนแรกในประวัติศาสตร์ที่ผ่านการเลือกตั้งเข้าไปทำงานในรัฐสภาสหรัฐอเมริกา สตรีเชื้อสายเอเชียคนแรกที่ได้รับเลือกเข้าสภาแห่งรัฐอิลลินอยส์ วุฒิสมาชิกคนแรกของสหรัฐฯ ที่ให้กำเนิดบุตรขณะดำรงตำแหน่งสมาชิกวุฒิสภา และสตรีทุพพลภาพคนแรกที่ได้รับเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและลัดดา แทมมี ดักเวิร์ธ · ดูเพิ่มเติม »

ลีออน พาเนตตา

ลีออน เอ็ดเวิร์ด พาเนตตา (Leon Edward Panetta) เป็นรัฐบุรุษ, นิติกร และอาจารย์ชาวอเมริกัน ในปี..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและลีออน พาเนตตา · ดูเพิ่มเติม »

วันรักชาติ

ในสหรัฐอเมริกา วันรักชาติ (Patriot Day) ตรงกับวันที่ 11 กันยายนของทุกปี กำหนดขึ้นเพื่อรำลึกถึงผู้เสียชีวิต 2,977 คนในเหตุวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 แต่เดิมวันนี้เรียกว่า วันสวดมนต์และรำลึกถึงเหยื่อเหตุวินาศกรรมก่อการร้าย 11 กันยายน..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและวันรักชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาสหรัฐ

วุฒิสภาสหรัฐ (United States Senate) เป็นสภาสูงของรัฐสภาสหรัฐ โดยเป็นสภานิติบัญญัติแห่งสหรัฐร่วมกับสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐซึ่งเป็นสภาล่าง องค์ประกอบและอำนาจของวุฒิสภาตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐ มาตรา 1 วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกวุฒิสภาซึ่งเป็นผู้แทนจากแต่ละรัฐ โดยแต่ละรัฐมีผู้แทนเท่ากันรัฐละสองคน ไม่ว่ามีประชากรมากน้อยเพียงใด โดยมีวาระดำรงตำแหน่งสลับฟันปลา (staggered term) วาระละ 6 ปี ปัจจุบันในสหภาพมี 50 รัฐ ฉะนั้นจึงมีสมาชิกวุฒิสภา 100 คน ตั้งแต่ปี 1789 ถึง 1913 สมาชิกวุฒิสภามาจากการแต่งตั้งของสภานิติบัญญัติของรัฐที่ตนเป็นผู้แทน หลังการให้สัตยาบันการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญครั้งที่ 17 ในปี 1913 ปัจจุบัน สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งของประชาชน ห้องประชุมวุฒิสภาตั้งอยู่ปีกเหนือของอาคารรัฐสภาสหรัฐในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและวุฒิสภาสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์

ันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts Institute of Technology, ตัวย่อ เอ็มไอที, เรียกโดยชุมชน MIT ว่า "the Institute แปลว่า สถาบัน") เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ที่มีชื่อเสียงมานานในเรื่องงานวิจัยและการศึกษาในสาขาเคมี ฟิสิกส์ และวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่าง ๆ แล้วเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นต่อ ๆ มาในสาขาชีววิทยา เศรษฐศาสตร์ ภาษาศาสตร์ และการจัดการ MIT ตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ · ดูเพิ่มเติม »

อับราฮัม ลินคอล์น

อับราฮัม ลินคอล์น (Abraham Lincoln) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 16 ของสหรัฐอเมริกา ลินคอล์นเข้าดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาตั้งแต่เดือนมีนาคม..1861 จนกระทั่งถูกลอบสังหารเมื่อเดือนเมษายน..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและอับราฮัม ลินคอล์น · ดูเพิ่มเติม »

อัยการสูงสุดสหรัฐ

อัยการสูงสุดสหรัฐ (United States Attorney General) คือ เจ้ากระทรวงยุติธรรมแห่งสหรัฐอเมริกา เป็นข้าราชการการเมือง ไม่ใช่ข้าราชการประจำ (ตาม) มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับนิติการ เป็นหัวหน้าเจ้าหน้าที่ฝ่ายบังคับใช้กฎหมายและเป็นผู้นำทนายแผ่นดินของรัฐบาลสหรัฐ ทั้งเป็นสมาชิกคณะรัฐมนตรีของประธานาธิบดีด้วย โดยเป็นตำแหน่งเดียวในคณะรัฐมนตรีที่ไม่ใช้ชื่อว่า "รัฐมนตรี" (secretary) ประธานาธิบดีจะเลือกผู้ดำรงตำแหน่งอัยการสูงสุด และเสนอชื่อต่อวุฒิสภาเพื่อรับรอง เมื่อรับรองแล้ว อัยการสูงสุดก็เริ่มดำรงตำแหน่ง โดยต้องปฏิบัติหน้าที่ "ตามอัธยาศัยของประธานาธิบดี" (at the pleasure of the president) และประธานาธิบดีจะให้พ้นจากตำแหน่งเมื่อไรก็ได้ นอกจากนี้ สภาผู้แทนราษฎรมีอำนาจฟ้องให้ขับอัยการสูงสุดออกจากตำแหน่งต่อวุฒิสภาในคดีอาญาฐาน "กบฏ เรียกรับสินบน ตลอดจนอาชญากรรมร้ายแรงและลหุโทษอย่างอื่น" รัฐสภาสหรัฐสถาปนาตำแหน่งอัยการสูงสุดนี้ขึ้นด้วยรัฐบัญญัติตุลาการ ค.ศ. 1789 (Judiciary Act of 1789) หน้าที่ดั้งเดิมของอัยการสูงสุด คือ "ฟ้องและดำเนินคดีทั้งปวงซึ่งเกี่ยวข้องกับสหรัฐต่อศาลสูงสุด กับทั้งให้คำแนะนำและความเห็นเกี่ยวกับปัญหาข้อกฎหมาย เมื่อประธานาธิบดีร้องขอ หรือเมื่อเจ้ากระทรวงใดร้องขอ" ต่อมาใน..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและอัยการสูงสุดสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

อัลเบน บาร์กเลย์

อัลเบน วิลเลี่ยม บาร์กเลย์ (Alben William Barkley; 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2420 - 30 เมษายน พ.ศ. 2499) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ดำรงตำแหน่งเป็นรองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 35 ระหว่าง พ.ศ. 2492 ถึง 2496 ในสมัยประธานาธิบดีแฮร์รี เอส. ทรูแมน จ หมวดหมู่:พรรคเดโมแครต (สหรัฐอเมริกา) หมวดหมู่:นักการเมืองอเมริกัน หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐเคนทักกี หมวดหมู่:สมาชิกวุฒิสภาสหรัฐจากรัฐเคนทักกี.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและอัลเบน บาร์กเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น แมคเคน

อห์น ซิดนี่ย์ แมคเคน ที่ 3 (John Sidney McCain III) เกิดเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม ค.ศ. 1936 เป็นวุฒิสมาชิกของวุฒิสภาแห่งสหรัฐอเมริกาจากรัฐแอริโซนา และเป็นตัวแทนพรรครีพับลิกันในการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ค.ศ. 2008.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและจอห์น แมคเคน · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น แนนซ์ การ์เนอร์

จอห์น แนนซ์ การ์เนอร์ ที่ 3 (John Nance Garner III; 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 - 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2510) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ดำรงตำแหน่งเป็นรองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 32 เมื่อปี 2476 จนถึงปี 2484 ในสมัยประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ จ หมวดหมู่:พรรคเดโมแครต (สหรัฐอเมริกา) หมวดหมู่:นักการเมืองอเมริกัน หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐเทกซัส.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและจอห์น แนนซ์ การ์เนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดอนัลด์ รัมส์เฟลด์

อนัลด์ เฮนรี รัมส์เฟลด์ (Donald Henry Rumsfeld) เป็นนักการเมืองและนักธุรกิจชาวอเมริกัน เขาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกาคนที่ 13 ภายใต้ประธานาธิบดี เจอรัลด์ ฟอร์ด และคนที่ 21 ภายใต้ประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิลยู. บุช วาระแรกที่ตำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกลาโหมนั้น รัมส์เฟลด์ด้วยวัย 43 ปีถือเป็นรัฐมนตรีกลาโหมที่อายุน้อยที่สุดในประวัติศาสตร์สหรัฐ นอกจากนั้น เขายังเคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐจากรัฐอิลลินอยส์, ผู้อำนวยการสำนักงานโอกาสทางเศรษฐกิจ, ที่ปรึกษาประธานาธิบดี, ผู้แทนถาวรสหรัฐประจำนาโต้ และ เสนาธิการทำเนียบขาว.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและดอนัลด์ รัมส์เฟลด์ · ดูเพิ่มเติม »

ดัสติน เจ. ลี

ัสติน เจโรม ลี (Dustin Jerome Lee; 7 เมษายน ค.ศ. 1986 — 21 มีนาคม ค.ศ. 2007) เป็นสิบโทแห่งนาวิกโยธินสหรัฐอเมริกา ซึ่งทำหน้าที่เป็นผู้บังคับสุนัขและตรวจจับวัตถุระเบิดแสวงเครื่องร่วมกับสุนัขของเขาที่มีชื่อว่าเล็กซ์ โดยเขาและเล็กซ์ได้ถูกโจมตีด้วยการยิงแฝงที่ฐานปฏิบัติการกองร้อยเอ เมื่อวันที่ 21 มีนาคม..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและดัสติน เจ. ลี · ดูเพิ่มเติม »

ดิคซี คาร์เตอร์-ซาลินาส

ซี คาร์เตอร์-ซาลินาส หรือที่รู้จักกันดีในนามของ ดิคซี คาร์เตอร์ เกิดวันที่ 6 ตุลาคม..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและดิคซี คาร์เตอร์-ซาลินาส · ดูเพิ่มเติม »

คริปโทเคอร์เรนซีและความปลอดภัย

ริปโทเคอร์เรนซีและความปลอดภัย (Cryptocurrency and security) เป็นบทความที่กล่าวถึงการพยายามขโมยเงินดิจิทัลผ่านวิธีการต่าง ๆ รวมทั้งฟิชชิง การหลอก หรือการแฮ็ก และถึงวิธีการป้องกันธุรกรรมทางคริปโทเคอร์เรนซีที่ไม่ได้อนุญาต และเทคโนโลยีเพื่อเก็บคริปโทเคอร์เรนซี.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและคริปโทเคอร์เรนซีและความปลอดภัย · ดูเพิ่มเติม »

คดีวอเตอร์เกต

กลุ่มสำนักงานวอเตอร์เกต จุดกำเนิดของเรื่องอื้อฉาว ประธานาธิบดีนิกสันขณะเดินทางออกจากทำเนียบขาว ไม่นานก่อนการลาออกมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1974 คดีวอเตอร์เกต (Watergate scandal) คือเหตุอื้อฉาวทางการเมืองระหว่างช่วงต้นคริสต์ทศวรรษที่ 1970 ในสหรัฐอเมริกา เป็นเหตุการณ์สืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ลักลอบโจรกรรมสำนักงานใหญ่ของพรรคเดโมแครต ณ อาคารวอเตอร์เกตคอมเพลกซ์ในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. เมื่อเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1972 ในขณะที่คณะทำงานของประธานาธิบดีริชาร์ด นิกสัน พยายามปกปิดหลักฐานถึงการข้องเกี่ยวในเหตุโจรกรรมดังกล่าว จนในที่สุดเรื่องอื้อฉาวนี้นำไปสู่การลาออกของประธานาธิบดีริชาร์ด นิกสัน เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1974 ซึ่งเป็นการลาออกครั้งแรกและครั้งเดียวของประธานาธิบดีในประวัติศาสตร์อเมริกัน เหตุการณ์นี้ยังนำไปสู่การฟ้องร้อง, การไต่สวน, การลงโทษ และการจำคุกบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้ง 43 คน รวมไปถึงคณะทำงานระดับสูงของรัฐบาลนิกสันอีกหลายสิบคน เหตุอื้อฉาวเริ่มต้นขึ้นด้วยการจับกุมชายห้าคนในคดีลักลอบโจรกรรมข้อมูลในที่ทำการใหญ่พรรคเดโมแครต ณ อาคารวอเตอร์เกตคอมเพลกซ์ เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและคดีวอเตอร์เกต · ดูเพิ่มเติม »

ค้อนประธาน

้อนแกเฟิลไม้วางอยู่บนรายงานกระบวนพิจารณา จัดแสดงอยู่ที่ศูนย์ตุลาการมินเนโซตา (Minnesota Judicial Center) ค้อนประธาน (marteau de président) หรือ ค้อนแกเฟิล (gavel) หรือในภาษาไทยมักเรียกเพียง ค้อน นั้น เป็นอุปกรณ์ทางพิธีการ ลักษณะอย่างค้อน มีขนาดเล็ก มักทำจากไม้แข็งและติดด้าม สำหรับใช้เคาะที่วาง (block) เพื่อกระทำเสียง ค้อนแกเฟิลนี้เป็นสัญลักษณ์แห่งอำนาจและสิทธิสำหรับกระทำกิจการในอำนาจหน้าที่ของประธาน (chair) อย่างเป็นทางการ หรือสำหรับเป็นประธานในการหนึ่ง ๆ โดยมักใช้กระทำเสียงเคาะเพื่อเรียกความสนใจ หรือเคาะนำหรือจบการสั่ง ประกาศ วินิจฉัย หรือพิพากษา หรืออื่น ๆ ในทำนองเดียวกัน จึงเป็นที่มาของสำนวนในภาษาอังกฤษว่า "gavel-to-gavel" อันหมายถึง การประชุมทั้งกระบวนการ ค้อนแกเฟิลนั้น ตุลาการในศาล และผู้ทอดตลาดในการขายทอดตลาด มักใช้ และในภาษาไทย ลักษณนาม คือ "เต้า" หรือ "อัน"ราชบัณฑิตยสถาน, 2551: ออนไลน.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและค้อนประธาน · ดูเพิ่มเติม »

ตุลาการสมทบในศาลสูงสุดสหรัฐ

ตุลาการสมทบในศาลสูงสุดสหรัฐ (Associate Justice of the Supreme Court of the United States) เป็นสมาชิกศาลสูงสุดสหรัฐนอกเหนือไปจากประธานศาลสูงสุดสหรัฐ จำนวนตุลาการสมทบนั้นรัฐสภาสหรัฐเป็นผู้กำหนด ปัจจุบัน รัฐบัญญัติตุลาการ ค.ศ. 1869 (Judiciary Act of 1869) กำหนดให้มีแปดคน เช่นเดียวกับประธานศาล ตุลาการสมทบนั้นประธานาธิบดีเสนอชื่อให้วุฒิสภารับรองด้วยเสียงข้างมาก ตามความในมาตรา 2 ของรัฐธรรมนูญสหรัฐ ซึ่งบัญญัติว่า ให้ประธานาธิบดี "เสนอชื่อ และโดยคำแนะนำและยินยอมของวุฒิสภา แต่งตั้ง...ตุลาการศาลสูงสุด" แม้รัฐธรรมนูญระบุว่า "ตุลาการ" แต่ชื่อตำแหน่งของบุคคลเหล่านี้ คือ "ตุลาการสมทบ" ตามที่รัฐบัญญัติตุลาการ ค.ศ. 1789 กำหนดให้ใช้ ตามประเพณีแล้ว ในความเห็นของศาล ตุลาการสมทบจะเรียกขานว่า "Mr.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและตุลาการสมทบในศาลสูงสุดสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐ

ตำแหน่ง "ประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐอเมริกา" ทำหน้าที่เป็นประธานแห่งผู้แทนราษฎรสหรัฐอเมริกาตั้งขึ้นในปี.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ประธานาธิบดีสหรัฐ

ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา (President of the United States; ย่อ: POTUS) เป็นประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลแห่งสหรัฐ เป็นผู้นำสูงสุดของฝ่ายบริหาร และเป็นจอมทัพสหรัฐ รัฐธรรมนูญ มาตรา 2 บัญญัติว่า ประธานาธิบดีมีอำนาจหน้าที่บังคับใช้กฎหมายส่วนกลาง รับผิดชอบแต่งตั้งข้าราชการฝ่ายบริหาร ข้าราชการทูต ข้าราชการประจำ และข้าราชการตุลาการในส่วนกลาง ทั้งมีอำนาจทำสนธิสัญญาเมื่อได้รับคำแนะนำและยินยอมของวุฒิสภา นอกจากนี้ ประธานาธิบดีมีอำนาจอภัยโทษ ลดโทษ เปลี่ยนโทษ เรียกและเลื่อนประชุมสมัยวิสามัญแห่งสภาทั้งสองของรัฐสภา นับแต่สถาปนาประเทศเป็นต้นมา ประธานาธิบดีและรัฐบาลกลางมีอำนาจเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และแม้ปัจจุบันไม่มีอำนาจนิติบัญญัติอย่างเป็นทางการนอกเหนือไปจากการลงนามและยับยั้งร่างกฎหมายที่รัฐสภาอนุมัติ แต่ประธานาธิบดีก็แบกรับความรับผิดชอบขนานใหญ่ในการกำหนดวาระประชุมพรรค รวมถึงกำหนดนโยบายการต่างประเทศและการในประเทศด้วย ประธานาธิบดีสหรัฐนั้นมาจากการเลือกตั้งโดยอ้อมผ่านทางคณะผู้เลือกตั้ง (electoral college) มีวาระในการดำรงตำแหน่ง 4 ปีและสามารถอยู่ในดำรงตำแหน่งได้ไม่เกิน 2 วาระซึ่งบัญญัติไว้ในการแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งที่ 22 ที่ได้รับการอนุมัติในปี..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและประธานาธิบดีสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

แฟรงกลิน เพียร์ซ

Franklin Pierce รองประธานาธิบดีวิลเลี่ยม อาร์ คิง. แฟรงกลิน เพียร์ซ (Franklin Pierce)ประธานาธิบดีคนที่ 14 ของสหรัฐอเมริกา มาจากพรรคเดโมแครตเกิดเมื่อ วันที่ 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1804ที่ ฮิลส์โบโร่ นิวแฮมป์เชียร์ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีตั้งแต่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1853 ถึง 4 มีนาคม ค.ศ. 1857ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1869ขณะอายุได้ 65 ปี หมวดหมู่:ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐนิวแฮมป์เชียร์.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและแฟรงกลิน เพียร์ซ · ดูเพิ่มเติม »

แกนแห่งความชั่วร้าย

"แกนแห่งความชั่วร้าย" ของบุชประกอบไปด้วยอิหร่าน อิรัก และเกาหลีเหนือ (สีแดง) "แกนแห่งความชั่วร้ายถัดไป" ประกอบไปด้วยคิวบา ลิเบีย และซีเรีย (สีส้ม) สหรัฐอเมริกาสีน้ำเงิน แกนแห่งความชั่วร้าย (Axis of evil) มีที่มาจากประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา จอร์จ ดับเบิลยู. บุช ในการกล่าวสุนทรพจน์ประจำปีของประธานาธิบดีสหรัฐ ในวันที่ 29 มกราคม..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและแกนแห่งความชั่วร้าย · ดูเพิ่มเติม »

แอลบูเคอร์คี (รัฐนิวเม็กซิโก)

แอลบูเคอร์คี (อังกฤษ: Albuquerque) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐนิวเม็กซิโก ตั้งอยู่กึ่งกลางของรัฐ ใกล้กับแม่น้ำริโอแกรนด์ มีประชากร 521,999 ในปี 2008 เป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 34 ของสหรัฐอเมริกา และมีอัตราการเจริญเติบโตเป็นอันดับที่ 6 แอลบูเคอร์คีเป็นที่ตั้งของ มหาวิทยาลัยนิวเม็กซิโก, ฐานทัพอากาศเคิร์ตแลนด์, ศูนย์ทดลองแห่งชาติซานเดีย, อนุสาวรีย์แห่งชาติเปโตรกลิปห์ ภูเขาแซนเดียทางทิศตะวันออก และแม่น้ำริโอแกรนด์ไหลจากเหนือลงใต้.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและแอลบูเคอร์คี (รัฐนิวเม็กซิโก) · ดูเพิ่มเติม »

แดน เควล

มส์ แดนฟอร์ธ "แดน" เควล (James Danforth "Dan" Quayle; เกิดเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2490) เป็นนักการเมือง และนักกฎหมายชาวอเมริกัน ดำรงตำแหน่งรองประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา คนที่ 44 ตั้งแต่ปี..2532 จนถึง..2536 ก่อนหน้านั้นดำรงตำแหน่ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐ ตั้งแต่ปี 2520 ถึง 2524 และ สมาชิกวุฒิสภาสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ปี..2524 ถึง 2532 ซึ่งมาจากรัฐอินดีแอนา เควล เป็นชาวอินดีแอน่าโพลิส รัฐอินดีแอน่า แต่ใช้ชีวิตวัยเด็กใน พาราไดส์ วัลเลย์, รัฐแอริโซนา ย่านชานเมืองฟินิกซ์ เขาได้แต่งงานกับ มาริลีน ทักเกอร์ ในปี.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและแดน เควล · ดูเพิ่มเติม »

แนนซี เพโลซี

แนนซี เพโลซี (Nancy Pelosi (ชื่อเต็ม Nancy Patricia D'Alesandro Pelosi)) เกืดเมื่อวันที่ 26 มีนาคม ค.ศ. 1940 ที่เมืองบัลติมอร์ รัฐแมริแลนด์ ปัจจุบันมีตำแหน่งเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรแห่งสหรัฐอเมริกา ก่อนที่จะได้รับตำแหน่งในสภาคองเกรสที่ 110 เพโลซีมีตำแหน่งเป็นผู้นำพรรคฝ่ายค้าน (Minority Leader) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2002 ถึงปี ค.ศ. 2007 มีตำแหน่งระหว่างสภาคองเกรสที่ 107, สภาคองเกรสที่ 108 และสภาคองเกรสที่ 109 เมื่อวันที่ 4 มกราคม ค.ศ. 2007 เพโลซีได้รับเลือกให้เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1987 เพโลซีเป็นผู้แทนจากเขตเลือกตั้งที่ 8 ของรัฐแคลิฟอร์เนีย ในบริเวณที่ประกอบด้วยเนื้อที่สี่ในห้าของซานฟรานซิสโก (เดิมเป็นเขตเลือกตั้งที่ 5 ระหว่างสามสมัยแรกที่ได้รับเลือก) เพโลซีเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรกที่เป็นสตรี และเป็นชาวแคลิฟอร์เนียคนแรกและชาวอิตาเลียน-อเมริกันคนแรกที่ได้รับตำแหน่ง และเป็นคนที่สองจากรัฐทางตะวันตกของเทือกเขาร็อกกี้ที่ได้รับตำแหน่ง (คนแรกคือทอม โฟลีย์ (Tom Foley) จาก รัฐวอชิงตัน) ในฐานะประธานสภาผู้แทนราษฎรเพโลซีมีสิทธิเป็นลำดับที่สองรองจากโจ ไบเดน รองประธานาธิบดีในการเป็นประธานาธิบดีในกรณีที่จำเป็น ฉะนั้นเพโลซีจึงเป็นสตรีที่มีตำแหน่งสูงสุดในประวัติศาสตร์การปกครองของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและแนนซี เพโลซี · ดูเพิ่มเติม »

โอแคลร์ (รัฐวิสคอนซิน)

Sarge Boyd Bandshell - Owen Park โอแคลร์ (Eau Claire) เป็นเมืองในรัฐวิสคอนซิน สหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางตะวันตก-กลาง ของรัฐ มีประชากรราว 66,623 คน (ค.ศ. 2011) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐ และใหญ่เป็นอันดับ 8 ของรัฐ เป็นเคาน์ตีซีตของโอแคลร์เคาน์ตี เมืองตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำชิปเพวอ.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและโอแคลร์ (รัฐวิสคอนซิน) · ดูเพิ่มเติม »

โคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007

รียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007 (หรือ KAL 007 หรือ KE 007) เป็นเที่ยวบินของโคเรียนแอร์ไลน์ตามกำหนดการจากนครนิวยอร์กสู่โซล แวะพักที่แองเคอเรจ วันที่ 1 กันยายน 2526 เครื่องบินโดยสารของเที่ยวบินดังกล่าวถูกเครื่องบินสกัดกั้นซู-15 ของสหภาพโซเวียตยิงตกใกล้เกาะโมเนรอน ทางตะวันตกของเกาะซาฮาลิน ในทะเลญี่ปุ่น นักบินของเครื่องบินสกัดกั้นลำนั้น คือ นาวาอากาศตรี เกนนาดี โอซีโปวิช ผู้โดยสารและลูกเรือทั้ง 269 คนบนเครื่องเสียชีวิต รวมทั้งลอว์เรนซ์ แมคโดนัลด์ ผู้แทนรัฐจอร์เจียในสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐอเมริกา อากาศยานลำดังกล่าวกำลังอยู่ในเส้นทางจากแองเคอเรจสู่โซลเมื่อบินผ่านน่านฟ้าโซเวียตที่ถูกห้ามในเวลาไล่เลี่ยกับภารกิจสอดแนมของสหรัฐ ทีแรก สหภาพโซเวียตปฏิเสธรู้เห็นเหตุการณ์ดังกล่าว แต่ภายหลังยอมรับการยิง โดยอ้างว่าอากาศยานดังกล่าวอยู่ระหว่างภารกิจสอดแนม โปลิตบูโรแถลงว่า เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นการยั่วยุโดยเจตนาของสหรัฐ เพื่อทดสอบความพร้อมทางทหารของสหภาพโซเวียต หรือกระทั่งยั่วยุให้เกิดสงคราม ทำเนียบขาวกล่าวหาสหภาพโซเวียตว่าขัดขวางปฏิบัติการค้นหาและกู้ภัยCongressional Record, September 20, 1983, pp.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและโคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007 · ดูเพิ่มเติม »

ไมก์ ปอมเปโอ

มเคิล ริชาร์ด ปอมเปโอ (เกิด 30 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นนักการข่าวกรอง และนักการเมืองชาวอเมริกัน ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา คนที่ 70 ตั้งแต่ วันที่ 27 เมษายน 2561 หลักจากถูกเสนอชื่อโดย ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ก่อนหน้านั้น เคยดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองกลางสหรัฐคนที่6 และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากรัฐแคนซัส เขตที่4 ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและไมก์ ปอมเปโอ · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์นี แซนเดอร์ส

อร์นาร์ด "เบอร์นี" แซนเดอร์ส (เกิด 8 ธันวาคม 1941) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกันผู้ได้เป็นสมาชิกวุฒิสภาสหรัฐด้อยอาวุโสจากรัฐเวอร์มอนต์ตั้งแต่ปี 2007 แซนเดอรส์เป็นสมาชิกสภาอิสระที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์รัฐสภาสหรัฐ นับแต่เขาได้รับเลือกตั้งเป็นผู้แทนราษฎรในปี 1991 เขาเข้าร่วมประชุมลับกับพรรคเดโมแครต ซึ่งได้มอบหมายภาระงานคณะกรรมาธิการของรัฐสภาแก่เขา และบางครั้งให้พรรคเดโมแครตได้รับฝ่ายข้างมาก แซนเดอร์สเป็นสมาชิกคนสำคัญของพรรคข้างน้อยในคณะกรรมาธิการงบประมาณของวุฒิสภาในเดือนมกราคม 2015 เขาเคยเป็นประธานคณะกรรมาธิการกิจการทหารผ่านศึกของวุฒิสภาเป็นเวลาสองปี การรณรงค์ของแซนเดอร์สสำหรับการเสนอชื่อชิงประธานาธิบดีสหรัฐในปี 2016 ของพรรคแข่งกับฮิลลารี คลินตันได้ระดมเงินจากผู้สมทบปัจเจกรายย่อยมากกว่าผู้อื่นในประวัติศาสตร์อเมริกา และทำให้เขาเป็นที่รู้จักในระดับนานาชาติ เขาอธิบายตนว่าเป็นนักสังคมนิยมประชาธิปไตย แซนเดอร์สนิยมแรงงานและเน้นการย้อนความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจ นักวิชาการจำนวนมากถือมุมมองของเขาว่าเข้าได้กับแนวประชาธิปไตยสังคมและลัทธิก้าวหน้าอเมริกันสมัยข้อตกลงใหม่มากกว่าสังคมนิยมประชาธิปไตย แซนเดอร์สเกิดและเติบโตในย่านบรุกลินของนครนิวยอร์ก และสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยชิคาโกในปี 1964 ระหว่างเป็นนักศึกษาเขาเป็นผู้จัดระเบียบการประท้วงขบวนการสิทธิพลเมืองแอฟริกัน-อเมริกันผู้แข็งขันให้สภาความเสมอภาคทางเชื้อชาติ (Congress of Racial Equality) และคณะกรรมการประสานงานอหิงสาของนักศึกษา (Student Nonviolent Coordinating Committee) หลังตั้งถิ่นฐานในรัฐเวอร์มอนต์ในปี 1968 แซนเดอร์สรณรงค์เป็นผู้ว่าการและสมาชิกวุฒิสภาสหรัฐพรรคที่สามในต้นถึงกลางคริสต์ทศวรรรษ 1970 แต่ไม่สำเร็จ เขาได้รับเลือกตั้งเป็นนายกเทศมนตรีเบอร์ลิงตัน นครที่มีประชากรมากที่สุดของรัฐเวอร์มอนต์ ในปี 1981 โดยสมัครเป็นนักการเมืองอิสระ ด้วยคะแนนเสียงเฉียดฉิว 10 เสียง ต่อมาเขาได้รับเลือกตั้งใหม่เป็นนายกเทศมนตรีอีกสามสมัย ในปี 1990 เขาได้รับเลือกตั้งให้เป็นผู้แทนของเขตรัฐสภาทั้งหมดของรัฐเวอร์มอนต์ในสภาผู้แทนราษฎร ที่ซึ่งเขาร่วมก่อตั้งการประชุมลับลัทธิก้าวหน้ารัฐสภา (Congressional Progressive Caucus) ในปี 1991 เขารับราชการเป็นสมาชิกวุฒิสภา 16 ปีก่อนได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาสหรัฐในปี 2006 ในปี 2012 เขาได้รับเลือกตั้งอีกด้วยคะแนนเสียงของประชาชน 71% ผลสำรวจความเห็นบ่งว่าเขาเป็นสมาชิกวุฒิสภาลำดับต้น ๆ ที่ได้รับความนิยมสูงสุดกับเขตเลือกตั้งของเขา โดยอยู่อันดับสามในปี 2014 และอันดับหนึ่งทั้งในปี 2015 และ 2016 ในการเลือกตั้งเป็นการทั่วไปปี 2016 แซนเดอร์สได้รับคะแนนเสียงของประชาชนรัฐเวอร์มอนต์เกือบ 6% เป็นผู้สมัครแบบหย่อนชื่อ (write-in candidate) แม้ว่าถอนตัวจากการแข่งและสนับสนุนคลินตันไปแล้วเมื่อหลายเดือนก่อน แซนเดอร์สมีชื่อเสียงระดับชาติหลังอภิปรายประวิงเวลาในปี 2010 ต่อรัฐบัญญัติการลดภาษีชนชั้นกลางปี 2010 ซึ่งขยายการลดภาษีบุชซึ่งเอื้อชาวอเมริกันผู้ร่ำรวย เขาสร้างชื่อเสียงเป็นเสียงนักลัทธิก้าวหน้าในประเด็นอย่างการปฏิรูปการจัดหาเงินทุนการรณรงค์ สวัสดิการบริษัท ภาวะโลกร้อน ความไม่เสมอภาคด้านรายได้ สิทธิแอลจีบีที การลาเลี้ยงบุตร (parental leave) และการประกันสุขภาพถ้วนหน้า แซนเดอร์สวิจารณ์นโยบายต่างประเทศสหรัฐมาอย่างยาวนานและเป็นผู้คัดค้านคนแรก ๆ และเปิดเผยซึ่งสงครามอิรัก สงครามอ่าวเปอร์เซีย และการสนับสนุนคอนทราสในประเทศนิคารากัว เขายังเปิดเผยเรื่องเสรีภาพและสิทธิพลเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเลือกปฏิบัติต่อเชื้อชาติในระบบยุติธรรมอาญา ตลอดจนสนับสนุนสิทธิภาวะเฉพาะส่วนตัวต่อนโยบายสอดส่องดูแลสาธารณะอย่างรัฐบัญญัติความรักปิตุภูมิสหรัฐและโครงการสอดส่องดูแลของเอ็นเอสเอ แซนเดอร์สประกาศการรณรงค์เพื่อเสนอชื่อให้เลือกประธานาธิบดีพรรคเดโมแครตเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2016 แซนเดอร์สชนะการเลือกตั้งไพรมารีและการประชุมลับ 23 ครั้งและผู้แทนให้คำมั่นประมาณ 43% เทียบกับ 55% ของคลินตัน การรณรงค์ของเขาขึ้นชื่อเรื่องความกระตือรือร้นของผู้สนับสนุนเขา ตลอดจนการปฏิเสธการบริจาคครั้งใหญ่จากบริษัท อุตสาหกรรมการเงินและคณะกรรมการทำงานการเมืองที่เกี่ยงข้องใด ๆ วันที่ 12 กรกฎาคม 2016 แซนเดอร์สสนับสนุนคลินตันต่อคู่แข่งการเลือกตั้งเป็นการทั่วไปจากพรรครีพับลิกัน ดอนัลด์ ทรัมป์ ขณะที่กระตุ้นให้ผู้สนับสนุนเขาสานต่อการรณรงค์ "การปฏิวัติการเมือง" ของเขาที่เริ่มต้นแล้ว เขาตั้งองค์การ 501(c) ชื่อ การปฏิวัติของเรา เพื่อระดมและสนับสนุนผู้สมัครสำหรับตำแหน่งระดับท้องถิ่น รัฐและชาต.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและเบอร์นี แซนเดอร์ส · ดูเพิ่มเติม »

เรื่องอื้อฉาวลูวินสกี

รื่องอื้อฉาวลูวินสกี เป็นเรื่องอื้อฉาวทางเพศในการเมืองอเมริกันซึ่งเกี่ยวข้องกับประธานาธิบดีบิล คลินตันวัย 49 ปีกับผู้ฝึกงานทำเนียบขาว โมนิกา ลูวินสกี วัย 22 ปี ความสัมพันธ์ทางเพศดังกล่าวเกิดระหว่างปี 2538 ถึง 2539 และมีการเปิดเผยในปี 2541 คลินตันปิดสุนทรพจน์ทางโทรทัศน์ด้วยถ้อยแถลงว่าเขา "ไม่มีความสัมพันธ์ทางเพศ" กับลูวินสกี การสืบสวนเพิ่มเติมนำสู่ข้อกล่าวหาเบิกความเท็จและให้สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐฟ้องให้ขับประธานาธิบดีคลินตันออกจากตำแหน่งในปี 2541 ต่อมา เขาได้รับการปล่อยตัวในทุกข้อกล่าวหาฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งเบิกความเท็จและขัดขวางกระบวนการยุติธรรมในการพิจารณาของวุฒิสภาสหรัฐนาน 21 วัน ผู้พิพากษา ซูซาน เว็บเบอร์ ไรต์เอาผิดคลินตันในคดีแพ่งละเมิดอำนาจศาลเนื่องจากให้คำให้การทำให้หลงผิดในคดีพอลลา โจนส์เกี่ยวกับลูวินสกี และถูกสั่งจ่ายค่าปรับ 90,000 ดอลลาร์สหรัฐ ใบอนุญาตให้ประกอบกิจกฎหมายของเขาถูกระงับในรัฐอาร์คันซอเป็นเวลาห้าปี และจากนั้นไม่นาน เขาถูกห้ามมิให้เสนอคดีต่อศาลสูงสุดแห่งสหรัฐ ลูวินสกีเป็นผู้สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยลิวอิสแอนด์คลาร์ก ได้รับว่าจ้างระหว่างการดำรงตำแหน่งสมัยแรกของคลินตันในปี 2538 เป็นผู้ฝึกงาน ณ ทำเนียบขาว และต่อมาเป็นลูกจ้างของสำนักงานกิจการนิติบัญญัติของทำเนียบขาว บางคนเชื่อว่าคลินตันเริ่มความสัมพันธ์ส่วนบุคคลกับเธอระหว่างที่ทำงานอยู่ทำเนียบขาว โดยรายละเอียดนั้นต่อมาเธอเปิดเผยต่อลินดา ทริพ เพื่อนร่วมงานกระทรวงกลาโหมของธอซึ่งบันทึกการสนทนาทางโทรศัพท์ของทั้งสองอย่างลับ ๆ ในเดือนมกราคม 2541 ทริพค้นพบว่าลูวินสกีมีคำให้การที่เป็นลายลักษณ์อักษรโดยมีการสาบานในคดีพอลลา โจนส์ โดยปฏิเสธความสัมพันธ์กับคลินตัน เธอส่งมอบเทปแก่เคนเนธ สตาร์ ที่ปรึกษาอิสระซึ่งกำลังสืบสวนคลินตันในประเด็นอื่น รวมทั้งเรื่องอื้อฉาวไวต์วอเตอร์ ซึ่งเป็นข้อถกเถียงแฟ้มเอฟบีไอของทำเนียบขาว และข้อถกเถียงสำนักงานท่องเที่ยวของทำเนียบขาว ระหว่างให้การต่อคณะลูกขุนใหญ่ คลินตันสนองตอบโดยใช้คำอย่างระมัดระวัง และเขาแย้งว่า "มันขึ้นอยู่กับว่าความหมายของคำว่า 'คือ' คืออะไร" โดยหมายถึงความจริงของถ้อยแถลงว่า "ไม่มีความสัมพันธ์ทางเพศ ความสัมพันธ์ทางเพศที่ไม่เหมาะสมหรือความสัมพันธ์ที่ไม่เหมาะสมประเภทอื่น", The NewsHour with Jim Lehrer, 21 January 1998.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและเรื่องอื้อฉาวลูวินสกี · ดูเพิ่มเติม »

เหตุผลวิบัติโดยหลักฐานไม่สมบูรณ์

หตุผลวิบัติโดยหลักฐานไม่สมบูรณ์ (fallacy of incomplete evidence) หรือ การปิดบังหลักฐาน (suppressing evidence) หรือแปลจากคำภาษาอังกฤษว่า Cherry picking คือ การเลือกเก็บเชอร์รี่ เป็นการชี้หลักฐานเป็นกรณี ๆ หรือแสดงข้อมูลที่ยืนยันความเห็นโดยเฉพาะอย่างหนึ่ง ๆ โดยที่มองข้ามกรณีหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันเป็นจำนวนมากที่อาจจะขัดแย้งกับความเห็นนั้น ๆ นี้เป็นเหตุผลวิบัติโดยการเลือกให้ความใส่ใจ และตัวอย่างที่เห็นบ่อยที่สุดก็คือความเอนเอียงเพื่อยืนยัน เหตุผลวิบัติชนิดนี้จะเกิดขึ้นโดยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ได้ เป็นปัญหาสำคัญในการอภิปรายที่เป็นสาธารณะ ชื่อที่เรียกตามภาษาอังกฤษว่า "การเลือกเก็บเชอร์รี่" มีมูลมาจากวิธีการเก็บลูกเชอร์รี่ คือ คนเก็บจะเลือกเก็บแต่ลูกที่สุกและงามที่สุด ส่วนคนที่เห็นแต่ลูกที่เก็บแล้ว อาจจะสรุปอย่างผิด ๆ ว่า ลูกเชอร์รี่โดยมากงาม การเลือกเก็บเชอร์รี่พบได้ในเหตุผลวิบัติเชิงตรรกะหลายอย่าง ยกตัวอย่างเช่นเหตุผลวิบัติโดยหลักฐานเป็นเรื่องเล่ามักจะใส่ใจแต่ข้อมูลที่บุคคลต่าง ๆ เล่าให้ฟังแต่ไม่ใส่ใจหลักฐานข้อมูลอื่น ๆ ส่วน "การใช้หลักฐานแบบเลือก" (selective use of evidence) จะปฏิเสธข้อมูลที่ไม่เข้ากับประเด็นที่อ้าง ในขณะที่ "ทวิวิภาคเทียม" (false dichotomies) จะแสดงทางเลือกเพียงแค่สองอย่างแม้จะมีทางเลือกอื่น ๆ ที่ใช้ได้ การเลือกเก็บเชอร์รี่อาจหมายถึงการเลือกข้อมูลหรือเซ็ตข้อมูล ที่จะมีผลให้งานศึกษาหรืองานสำรวจ แสดงผลที่ต้องการ ซึ่งอาจจะเป็นเพียงแค่ความบิดเบือนจนกระทั่งถึงแม้แต่การคัดค้านความเป็นจริง.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและเหตุผลวิบัติโดยหลักฐานไม่สมบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุโจมตีด้วยแอนแทรกซ์ พ.ศ. 2544

หตุโจมตีด้วยแอนแทรกซ..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและเหตุโจมตีด้วยแอนแทรกซ์ พ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ บูแคนัน

มส์ บูแคนัน (/bjuːˈkænən/.) เป็นประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาคนที่ 15 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกาคนที่ 17 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาจากรัฐเพนซิลเวเนี.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและเจมส์ บูแคนัน · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ เค. โพล์ก

เจมส์ น็อกซ์ โพล์ก (อังกฤษ: James Knox Polk) (2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1795 – 15 มิถุนายน ค.ศ. 1849) เป็นประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา คนที่ 11.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและเจมส์ เค. โพล์ก · ดูเพิ่มเติม »

19 ธันวาคม

วันที่ จันทร์ 19 ธันวาคม เป็นวันที่ 353 ของปี (วันที่ 354 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและ19 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

435 (แก้ความกำกวม)

435 อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐและ435 (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

U.S. House of RepresentativesUS House of RepresentativesUnited States House of Representativesสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐอเมริกาสภาผู้แทนราษฎรแห่งสหรัฐอเมริกาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐอเมริกา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »