สารบัญ
18 ความสัมพันธ์: บาคุกัน มอนสเตอร์บอลทะลุมิติฟาโรห์ทุตโมสที่ 4กันดั้มคิวริออสการ์เดียนครอสภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิสมหาสฟิงซ์รายชื่อสัตว์ในตำนานวังเบลนิมสฟิงซ์ ฟาโรห์สิงโตในมุทราศาสตร์อุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ (ทิเชียน)อีคิดนา (เทพปกรณัม)อเมนโฮเทป (พระราชโอรสในอเมนโฮเทปที่สอง)อเมเนโมเพต (พระราชโอรสในอเมนโฮเทปที่สอง)ข้อเขียนวอยนิชแพริโดเลียไนอาลาโธเทปเอากุสตุสแห่งปรีมาปอร์ตา
บาคุกัน มอนสเตอร์บอลทะลุมิติ
กัน มอนสเตอร์บอลทะลุมิติ เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น ซึ่งนำตัวของเล่นบาคุกัน ที่จำหน่ายโดยเซก้า มาดัดแปลงเนื้อเรื่องและสร้างเป็นอะนิเมะ ออกอากาศเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ.
ดู สฟิงซ์และบาคุกัน มอนสเตอร์บอลทะลุมิติ
ฟาโรห์ทุตโมสที่ 4
ฟาโรห์ทุตโมสที่ 4 นำความเปลี่ยนแปลงมาสู่ระบอบการปกครองของอียิปต์ไม่น้อย ทรงส่งเสริมอำนาจของระบบราชการในส่วนกลางและเสริมระบบการป้องกันพรมแดนทั้งหมด พร้อมกันนั้นก็ไม่พลาดการสร้างอนุสาวรีย์ที่มีพระนามจารึกอยู่ขึ้นทั่วพระราชอาณาจักร นักประวัติศาสตร์ตีความเรื่องนี้ว่าบางทีการที่พระองค์ไม่ได้เป็นผู้สืบสายเลือดโดยตรงเป็นปมด้อยที่กดดันให้ทรงป่าวประกาศ และอ้างเรื่องพระนิมิตใต้เงามหาสฟิงซ์มาสร้างความชอบธรรมในการปกครองด้วย ตำนานเรื่องของฟาโรห์ทุตโมสที่ 4 กับ สฟิงซ์ แผ่นหินจารึกตรงหน้าอกของสฟิงซ์มีเรื่องราวของฟาโรห์ทุสโมสที่ 4 พระองค์มีนิมิตว่าหากช่วยนำทรายที่กลบฝังสฟิงซ์ออกก็จะเป็นกษัตริย์ ตามตำนานพระองค์ได้ขึ้นครองราชย์หลังจากปฏิบัติตามนิมิตดังกล่าว หมวดหมู่:ฟาโรห์ยุคราชวงศ์ที่สิบแปด หมวดหมู่:บุคคลในศตวรรษที่ 14 ก่อนคริสตกาล.
กันดั้มคิวริออส
GN-003 กันดั้มคิวริออส(ガンダムキュリオス;Gundam Kyrios) เป็นโมบิลสูทซึ่งมีบทบาทสำคัญในการ์ตูนญี่ปุ่น อะนิเมะ โมบิลสูทกันดั้มดับเบิลโอ ออกแบบโดยทาคายูกิ ยานาเซ.
การ์เดียนครอส
การ์เดียนครอส (Guardian Cross) เป็นเกมสำหรับเครื่องไอโฟน/ไอแพด ผลิตโดยบริษัทสแควร์-เอนิกซ์โดยมีด้วยกันสองรุ่นคือรุ่นภาษาญี่ปุ่น เปิดตัว 21 มิถุนายน 2555 และรุ่นภาษาอังกฤษ เปิดตัวในวันที่ 13 สิงหาคม 2555 ลักษณะเกมประกอบไปด้วยการใช้เทรดดิงการ์ดจำลอง การล่าศัตรู และการแข่งขันระหว่างผู้เล่น เดอะการ์เดียนได้จัดอันดับเกมและขึ้นเป็นเกมยอดนิยม 20 อันดับแรก ของเกมมือถือประจำสัปดาห์ นอกจากนี้เกมยังได้ขึ้นอันดับ 100 เกมยอดฮิตที่ทำเงินได้ของแอปสตอร์ และติดอันดับเกมดาวน์โหลดฟรียอดฮิต 150 อันดับอีกด้วย ในเดือนธันวาคม 2555 เกมนี้ได้มีการดาวน์โหลดรวมทั้งสิ้นมากกว่า 1,000,000 ครั้ง ทำให้เป็นเกมที่มียอดดาวน์โหลดสูงสุดของเกมจากสแควร์เอนิกซ์ของระบบปฏิบัติการไอโอเอ.
ภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส
ระราชินีมารี เดอ เมดีซิส (Marie de' Medici cycle) เป็นภาพเขียนชุดจำนวนยี่สิบสี่ภาพที่เขียนโดยเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ จิตรกรคนสำคัญของสมัยบาโรกแบบเฟลมิช ที่ว่าจ้างโดยพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส พระอัครมเหสีในพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส สำหรับตั้งแสดงที่พระราชวังลุกซ็องบูร์ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส รือเบินส์ได้รับการจ้างในฤดูใบไม้ร่วงปี ค.ศ.
ดู สฟิงซ์และภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส
มหาสฟิงซ์
มหาสฟิงซ์แห่งกิซ่า หมอบเฝ้าอยู่ใกล้กับ พีระมิดคาเฟร มหาสฟิงซ์ (The Great Sphinx of Giza) คือ รูปสฟิงซ์แกะสลักด้วยหินขนาดใหญ่ที่สุด ใน ประเทศอียิปต์ มีตัวเป็น สิงโต และมีหัวเป็น มนุษย์ อยู่ในบริเวณหมู่พีระมิดทั้ง 3 แห่งกิซ่า หมอบเฝ้าอยู่ใกล้กับ พีระมิดคาเฟร โดยหันหน้าไปทาง ทิศตะวันออก สฟิงซ์คือชื่อ สัตว์ประหลาด ในตำนานไอยคุปต์วิทยา และมีในตำนานชนชาติอื่นด้วย มีลักษณะต่างกันไป แต่จะมีตัวเป็นสิงโตเหมือนกัน สฟิงซ์ในตำนานกรีก มีใบหน้าและช่วงอก เป็นหญิงสาว มีปีกแบบนกอินทรีย์ และสามารถพูดภาษามนุษย์ได้ สฟิงซ์จะคอยถามคำถาม กับมนุษย์ที่หลงมาพบมันเข้า หากตอบคำถามไม่ได้ มนุษย์ผู้เคราะห์ร้ายนั้นก็จะถูกสังหาร ส่วนสฟิงซ์ของอียิปต์โบราณ ไม่มีปีกมีหน้าเป็นมนุษย์ผู้ชาย และยังมีแบบที่หัวเป็นแกะ (Criosphinx) และหัวเป็นนกเหยี่ยว (Hierocosphinx) อีกด้วย ชาวอียิปต์โบราณ แกะสลักหินเป็นรูปสฟิงซ์ไว้เป็นจำนวนมาก แต่ที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ มหาสฟิงซ์แห่งกิซ่า นี้เอง โดยนักโบราณคดีเชื่อว่า มหาสฟิงซ์แห่งกิซ่าเป็นอนุสาวรีย์ของ ฟาโรห์คาเฟร (Khafre) หรือ คีเฟรน(Chephren) ฟาโรห์ในราชวงศ์ที่ 4 ผู้สร้างพีระมิดคาเฟร เมื่อประมาณ 2600 ปี ก่อนคริสตกาล โดยเชื่อว่าใบหน้าของมหาสฟิงซ์ จำลองมาจากใบหน้า ของฟาโรห์คีเฟรน และสามารถสังเกตว่าส่วนหัวของ มหาสฟิงซ์ มีสัญลักษณ์ของฟาโรห์อียิปต์ แสดงเอาไว้อย่างชัดเจน คือมีเคราที่คาง มีงูจงอางแผ่แม่เบี้ยที่หน้าผาก และยังมีเครื่องประดับ รัดเกล้าแบบฟาโรห์ ประกอบเข้ากับผ้าคลุมศีรษะ และคออีกด้วย จึงถือกันว่ามหาสฟิงซ์นี้ เป็นอนุสาวรีย์แกะสลักเก่าแก่ที่สุดที่รู้จักกัน อียิปต์โบราณถือกันว่าสฟิงซ์เป็นร่างจำแลงภาคหนึ่งของเทพเจ้า การที่ฟาโรห์คาเฟร ให้แกะสลักใบหน้าสฟิงซ์เป็นใบหน้าของพระองค์ จึงเป็นการแสดงว่าพระองค์เปรียบดังเทพเจ้านั่นเอง.
รายชื่อสัตว์ในตำนาน
นี่คือรายชื่อสัตว์ในตำนาน รวบรวมจากตำนานของหลายประเทศ รายการด้านล่างนี้รวมไปถึงสปีชีส์ของสัตว์ในตำนานด้วย สิ่งมีชีวิตซึ่งค้นพบในสมัยใหม่ไม่รวมอยู่ในรายชื่อด้านล่างนี้.
ดู สฟิงซ์และรายชื่อสัตว์ในตำนาน
วังเบลนิม
วังเบลนิม (Blenheim Palace) หรือ คฤหาสน์เบลนิม เป็นคฤหาสน์ที่สร้างอย่างวังตั้งอยู่ที่เมืองเล็กๆ ชื่อวู้ดสต็อคในมลฑลอ๊อกซฟอร์ดเชอร์ในอังกฤษ สร้างโดยซาราห์ เชอร์ชิลผู้เป็นภรรยาของจอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระ และเป็นพระสหายสนิทของสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์ ระหว่างปี ค.ศ.
สฟิงซ์ ฟาโรห์
ฟิงซ์ ฟาโรห์ ตัวละครในเซนต์เซย่าภาคเจ้านรกฮาเดส เป็น 1 ใน 108 สเป็คเตอร.
สิงโตในมุทราศาสตร์
งโต (Lion) เป็นสัตว์ที่นิยมใช้เป็นเครื่องหมายกันในตราอาร์มกันมากที่สุดเครื่องหมายหนึ่ง เพราะเป็นสัตว์ที่เป็นสัญลักษณ์ของความกล้าหาญ การรักษาเกียรติยศ ความแข็งแกร่ง และ ความเป็นสัตว์ที่ถือกันว่าสูงศักดิ์ ที่เดิมถือกันว่าเป็นราชาแห่งสัตว์ทั้งปวง.
ดู สฟิงซ์และสิงโตในมุทราศาสตร์
อุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ (ทิเชียน)
อุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ (ภาษาอังกฤษ: Allegory of Prudence) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยทิเชียนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติใน กรุงลอนดอนในอังกฤษ ทิเชียนเขียนภาพ “อุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ” ระหว่างปี ค.ศ.
ดู สฟิงซ์และอุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ (ทิเชียน)
อีคิดนา (เทพปกรณัม)
อีคิดนา (Echidna) ในตำนานเทพปกรณัมกรีกเป็นสตรีที่งดงาม แต่ท่อนล่างเป็นงูขนาดยักษ์ เป็นภรรยาของไทฟอน และมีลูกด้วยกันหลายตัวเช่นกัน เช่น เซอร์เบอรัส สฟิงซ์ ไคเมร่า และไฮดรา นับเป็นมารดาของเหล่าอสูรกายที่มีชื่อเสียงอีกตนหนึ่งและได้มีลูกกับซุสคือไออาคอสซึ่งต่อมาเป็นกษัตริย์และผู้พิพากษาในนรกของฮาเดส อีคิดน่าถูกยักษ์ร้อยตา อาร์กัส ซึ่งเป็นผู้รับใช้ของเฮร่าสังหาร อีคิดนายังถูกนำไปตั้งเป็นชื่อตัวกินมดประเภทหนึ่งด้วย หมวดหมู่:มังกร หมวดหมู่:สิ่งมีชีวิตในตำนานเทพปกรณัมกรีก ภรรยาของไทฟอน.
ดู สฟิงซ์และอีคิดนา (เทพปกรณัม)
อเมนโฮเทป (พระราชโอรสในอเมนโฮเทปที่สอง)
อเมนโฮเทป เป็นเจ้าชายแห่งอียิปต์โบราณในช่วงราชวงศ์ที่สิบแปด ซึ่งเป็นพระราชโอรสและ อาจจะเป็นองค์รัชทายาทของฟาโรห์อเมนโฮเทปที่สอง พระองค์เป็นนักบวชของเทพพทาห์ และได้รับการกล่าวถึงในปาปิรัส (ในพิพิธภัณฑ์บริติช) ภาพสลักหินใกล้มหาสฟิงซ์แสดงให้เห็นว่านักบวชของเทพพทาห์ พระนามของพระองค์ถูกลบอาจแสดงให้เห็นถึงพระองค์ อาจจะเป็นไปได้ว่าพระองค์สิ้นพระชนม์ตั้งแต่วัยเยาว์ ซึ่งผู้ที่ขึ้นมาเป็นองค์รัชทายาทแทนคือฟาโรห์ทุตโมสที่สี.
ดู สฟิงซ์และอเมนโฮเทป (พระราชโอรสในอเมนโฮเทปที่สอง)
อเมเนโมเพต (พระราชโอรสในอเมนโฮเทปที่สอง)
อเมเนโมเพต เป็นเจ้าชายแห่งอียิปต์โบราณในช่วงราชวงศ์ที่สิบแปด อาจจะเป็นพระราชโอรสของฟาโรห์อเมนโฮเทปที่สอง พระองค์เป็นที่รู้จักจากที่เรียกว่า ภาพสลัก C ที่พบในวิหารสฟิงซ์ของฟาโรห์อเมนโฮเทปที่สอง พระองค์ถูกระบุว่าเป็นพระราชบุตรของฟาโรห์ตามภาพสลัก เป็นไปได้ว่าเขาเป็นเจ้าชายอเมเนโมเพต ที่ปรากฎบนสลักของหมอหลวงนามว่าเซเนทรูอิอู.
ดู สฟิงซ์และอเมเนโมเพต (พระราชโอรสในอเมนโฮเทปที่สอง)
ข้อเขียนวอยนิช
้อความใน'''ข้อเขียนวอยนิช''' ข้อเขียนวอยนิช (Voynich manuscript) เป็นหนังสือประกอบภาพที่ยังไม่มีใครสามารถแปลความหมายได้ ซึ่งเชื่อกันว่าได้เขียนขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 หรือ 16 ผู้ประพันธ์ เนื้อหา และภาษาที่ใช้ในข้อเขียนนี้ยังคงเป็นปริศนาจนถึงปัจจุบัน ข้อเขียนวอยนิชได้รับการศึกษาจากนักรหัสวิทยา ซึ่งรวมถึงผู้เชี่ยวชาญผู้มีชื่อเสียงของสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรมาตลอดนับตั้งแต่ค้นพบหนังสือเล่มนี้ แต่ก็ไม่เคยมีใครสามารถแปลเนื้อหาได้แม้แต่ส่วนเดียว ซึ่งทำให้ข้อเขียนวอยนิชมีชื่อเสียงอย่างมากในประวัติศาสตร์ของเรื่องลึกลับ แต่ก็มีทฤษฏีว่าหนังสือเล่มนี้เป็นเพียงของปลอมซึ่งเขียนด้วยสัญลักษณ์ที่ไม่มีความหมายใด ๆ เลยเช่นเดียวกัน หนังสือเล่มนี้ได้รับการตั้งชื่อตาม วิลฟริด เอ็ม.
แพริโดเลีย
รูปถ่ายจากดาวเทียมของที่ราบสูงไซโดเนียบนดาวอังคาร ซึ่งบางครั้งเรียกว่า "Face on Mars (ใบหน้าบนดาวอังคาร)" ส่วนรูปที่ถ่ายมาจากมุมอื่น ๆ จะไม่สามารถเห็นภาพลวงตานี้ แพริโดเลีย หรือ แพไรโดเลีย (Pareidolia) เป็นปรากฏการณ์ทางจิต ที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้สิ่งเร้าเช่นภาพหรือเสียงที่ไม่ชัดเจนและไม่มีรูปแบบ (คือบังเอิญ สุ่ม) ว่ามีความหมายมีความสำคัญ เป็นการรับรู้แบบหนึ่งของ apophenia ซึ่งเป็นการเห็นรูปแบบหรือความสัมพันธ์กันในข้อมูลสุ่มที่ไม่มีความหมาย ตัวอย่างที่สามัญอย่างหนึ่งคือการเห็นรูปสัตว์หรือใบหน้าในก้อนเมฆ ชายบนดวงจันทร์ กระต่ายบนดวงจันทร์ และการได้ยินข้อความที่ซ่อนไว้บนแผ่นเสียงไวนิลที่เล่นย้อนทาง คำว่า Pareidolia มาจากคำในภาษากรีกว่า para- (παρά, แปลว่า "ข้าง ๆ, ไปเป็นหน้ากระดาน, แทนที่") ซึ่งในที่นี้หมายถึงอะไรที่บกพร่อง ผิดพลาด หรือเกิดขึ้นแทนที่ และคำนามว่า eidōlon (εἴδωλον แปลว่า "ภาพ, รูปร่าง, สัณฐาน") ซึ่งมีความหมายเป็นส่วนย่อยของคำว่า eidos.
ไนอาลาโธเทป
นอาลาโธเทป ไนอาลาโธเทป (Nyarlathotep) หรือไนอาลัทโฮเทป หรือเนียลาโธเทป เป็นหนึ่งในสิ่งที่เรียกว่า เอาเตอร์ก็อด ในงานประพันธ์ของเอช.
เอากุสตุสแห่งปรีมาปอร์ตา
อากุสตุสแห่งปรีมาปอร์ตา (Augustus of Prima Porta; Augusto di Prima Porta) เป็นประติมากรรมสูง 2.04 เมตรของจักรพรรดิเอากุสตุสที่พบเมื่อวันที่ 20 เมษายน..
ดู สฟิงซ์และเอากุสตุสแห่งปรีมาปอร์ตา
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Sphinx